Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore is กล้วย

is กล้วย

Published by 21304, 2020-11-13 18:47:07

Description: โครงงานสะเต็มศึกษา
เรื่องโครงงานถ่านชะลอการสุกของกล้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ IS การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้

Search

Read the Text Version

โครงงานสะเตม็ ศึกษา เร่ืองโครงงานถ่านชะลอการสุกของกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ IS การศึกษาคน้ คว้าและสร้างองคค์ วามรู้ จดั ทาโดย นางสาวกชกร ลือยศ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 13 นางสาวณฐั ณชิ า วเิ ชยละ ชั้น ม.5/2 เลขท่ี 16 นางสาวณศิ รา ตะ๊ เเก้ว ชัน้ ม.5/2 เลขท่ี 17 นางสาวอภิชญา เเก้วโก ชน้ั ม.5/2 เลขที่ 20 ครูท่ีปรึกษา คุณครู ดารงค์ คันธะเรศย์ รายวิชา I30201 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองคค์ วามรู้ โรงเรียนปัว อาเภอปัว จังหวัดน่าน สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาน่านเขต 2



ห น้ า | ข โครงงานสะเตม็ ศึกษา เรื่องโครงงานถ่านชะลอการสุกของกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ IS การศึกษาค้นคว้าและสร้างองคค์ วามรู้ จดั ทาโดย นางสาวกชกร ลือยศ ช้นั ม.5/2 เลขท่ี 13 นางสาวณฐั ณชิ า วิเชยละ ชัน้ ม.5/2 เลขท่ี 16 นางสาวณิศรา ต๊ะเเก้ว ชน้ั ม.5/2 เลขที่ 17 นางสาวอภิชญา เเก้วโก ช้ัน ม.5/2 เลขที่ 20 ครูที่ปรึกษา คณุ ครู ดารงค์ คนั ธะเรศย์ รายวชิ า I30201 การศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ โรงเรียนปัว อาเภอปัว จังหวัดน่าน สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาน่านเขต 2

ห น้ า | ข ชอื่ เรื่อง : ถ่านชะลอการสุกของกลว้ ย ผู้จดั ทำ : นางสาวกชกร ลือยศ ชนั้ ม.5/2 เลขท่ี 13 นางสาวณัฐณิชา วิเชยละ ชน้ั ม.5/2 เลขท่ี 16 นางสาวณิศรา ตะ๊ เเกว้ ชนั้ ม.5/2 เลขท่ี 17 นางสาวอภิชญา เเกว้ โก ชนั้ ม.5/2 เลขท่ี 20 ทป่ี รึกษา : คณุ ครู ดารงค์ คนั ธะเรศย์ ปี การศึกษา : 2563 บทคัดย่อ เรื่องโครงงานถา่ นชะลอการสุกของกลว้ ย โดยงานวจิ ยั นมี้ ีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ ศกึ ษาการชะลอการสุกของ กลว้ ยจากกระดาษดูดซบั เอทิลีน ชาวไทยส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก แต่มีเพยี งบางส่วน เทา่ นนั้ ท่ปี ระกอบธุรกจิ การส่งออก ผลผลิตของตวั เอง โดยปญั หาทีต่ ามมาหลงั จากการประกอบธุรกิจการ ส่งออกผลไม้ คือผลไมเ้ กดิ การเนา่ เสียระหว่างการขนส่งทาใหจ้ ากดั พนื้ ที่ไดเ้ พียงแคบๆไม่สามารถส่งไปยงั พนื้ ทท่ี ี่ห่างไกลได้ ทางคณะผูจ้ ดั ทาจึงศึกษาถึงสาเหตุการสุกของผลไม้ ไดค้ วามวา่ DLIT Resources คลังสื่อการสอน( 2015) กล่าวว่า เมอื่ ผลไมเ้ ขา้ สู่กระบวนการสุก ผลไมจ้ ะมีอตั ราการหายใจทีส่ ูงขนึ้ และจะมีการสรา้ งฮอรโ์ มนเอ ทลิ ีนในปริมาณทส่ี ูงมาก โดยเอทลิ ีนเป็นสารเคมที ่ีอย่ใู นภาวะแก๊ส โดยเอทิลีนทพี่ ืชสรา้ งจะทาใหเ้ กิดการ เปลี่ยนแปลงในผลไมค้ อื ทาใหเ้ กดิ การสลายตวั ของคลอโรฟิลลส์ ังเกตไดจ้ ากสีของผลไมเ้ ปลี่ยนไป เชน่ กล้วยจากสีเขียว เป็นเหลือง ทาใหผ้ ลไมม้ กี ารออ่ นนมิ่ ลงและแปง้ ในผลไมเ้ ปลี่ยนเป็นน้าตาลทาใหผ้ ลไมม้ ี รสชาตหิ วานขนึ้ นน่ั กค็ ือเอทิลีนทาใหผ้ ลไมส้ ุกเร็วยิ่งขนึ้ ทางคณะผู้จดั ทาจึงใชถ้ า่ นในการดดู ซบั แกส๊ ชนดิ นี้ ขนั้ ตอนการทากระดาษนนั้ คลา้ ยกบั การทากระดาษสา ยงั เป็นการนากระดาษที่ไมใ่ ชแ้ ลว้ มารีไซเคิล ใหเ้ กิด ประโยชนม์ ากทีส่ ุดและไม่เป็นการเพิ่มของปรมิ าณขยะ เมื่อผลงานชนิ้ นสี้ าเร็จจะสามารถช่วยผู้ประกอบการรายย่อยใหเ้ ก็บผลไมแ้ ละส่งตอ่ ออกไปไดไ้ กลย่ิงขนึ้

ห น้ า | ค กิตตกิ รรมประกาศ การทาโครงงานสะเตม็ ศึกษาเร่ืองถา่ นชะลอการสุกของกล้วย คณะผู้จดั ทาขอขอบพระคุณ คณุ ครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ ทไ่ี ดใ้ หค้ วามอนุเคราะห์ คอยใหค้ าปรกึ ษาและขอ้ เสนอแนะเก่ียวกับแนวทางในการทาโครงงาน สะเตม็ ศกึ ษาครง้ั นี้ ขอบคณุ เพอื่ นในกลุ่มทุกคนท่ีใหค้ วามรว่ มมือ ความสามคั คี ความชว่ ยเหลือและตลอดจนถึงคาแนะนาที่ เป็นประโยชนต์ ่อการทาโครงงาน ทา้ ยท่สี ุดขอขอบคณุ พอ่ และคุณแม่ ทส่ี ่งเสริมและเป็นกาลงั ใจในการทา โครงงานเร่ืองนี้ นางสาวกชกร ลือยศ ชน้ั ม.5/2เลขที่ 13 นางสาวณฐั ณิชา วเิ ชยละ ชนั้ ม.5/2 เลขที่ 16 นางสาวณิศรา ตะ๊ เเกว้ ชนั้ ม.5/2 เลขท่ี 17 นางสาวอภชิ ญา เเกว้ โก ชนั้ ม.5/2 เลขที่ 20

สารบญั ห น้ า | ง เรื่อง หน้า ปกรอง ก บทคัดยอ่ ข ค กิตตกิ รรมประกาศ ง สารบญั 1-2 บทที่ 1 บทนา 2 1.1 ทมี่ าและความสาคญั ของปญั หา 2-3 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั สรา้ งโครงงาน 3 1.3 ขอบเขตของการจดั สรา้ งโครงงาน 4-17 1.4 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เก่ียวขอ้ ง 18 บทท่ี 3 วธิ ีการจัดทาโครงงาน 19-21 3.1 วสั ดอุ ปุ กรณเ์ ครื่องมือทีใ่ ช้ 22 23 3.2 วธิ ีการจดั ทาโครงงาน 24 บทท่ี 4 ผลการดาเนินโครงงาน 25 4.1 ผลการดาเนินงาน 26 4.2 การนาไปใช้ บทท่ี 5 สรุปผล และอภปิ รายขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

สารบัญภาพ ห น้ า | จ ภาพท่ี 1 รูปถ่าน หนา้ ภาพที่ 2 การทุบถา่ นใหเ้ ป็นผง 19 ภาพท่ี 3 การนากระดาษทใ่ี ชแ้ ลว้ มาฉกี เป็นชนิ้ เล็กๆ แลว้ นาไปแชใ่ นน้าเปล่า 19 ภาพที่ 4 การนาเยื่อกระดาษที่ไดม้ าผสมกบั ผงถา่ น 20 ภาพท่ี 5 การนา เย่อื กระดาษที่ไดไ้ ปตากใหแ้ หง้ 20 ภาพที่ 6 กระดาษดดู ซับเอทิลีน 21 ภาพที่ 7 กราฟแสดงอตั ราการหายใจ และการผลติ เอทลิ ีน 21 ภาพท่ี 8 ภาพแสดงอตั ราการหายใจ และการผลิตเอทิลนี 22 ภาพที่ 9 ภาพการเกิดทางเคมีของเอทิลีน. 26 26

ห น้ า | 1 บทท่ี 1 บทนา 1.1 ท่มี าและความสาคัญของปัญหา เน่ืองจากปจั จบุ นั มกี ารซอื้ ขายสินคา้ ออนไลนก์ นั มากขนึ้ เนอ่ื งจากสะดวกสบายเพยี งแค่มี โทรศพั ทม์ อื ถอื และเงินกซ็ อื้ ของจากที่บา้ นหรอื ที่ทางานไดแ้ ลว้ เพยี งแค่กดส่งั และรอสินคา้ มาส่ง แตก่ ลบั มสี ินคา้ ชนดิ หนึ่งที่ประสบปญั หาในการจดั ส่งสินคา้ อยา่ งมากนนั้ คอื ผลไมส้ ดเน่ืองจากระยะเวลาการ จดั ส่งในปัจจบุ นั คอ่ นขา้ งทจ่ี ะใชเ้ วลาพอสมควรจงึ ทาใหผ้ ลไมส้ ุกก่อนที่จะถงึ มอื ผูร้ บั สินคา้ บางกรณีอาจถงึ ขน้ั เน่าเสียกินไมไ่ ด้ ทางคณะผูจ้ ดั ทาการศกึ ษาเกย่ี วกบั ปัจจัยท่ีส่งใหผ้ ลไมส้ ุก และศึกษาสิ่งทจ่ี ะมาลดปจั จยั นน้ั ลงเพอ่ื ให้ ผลไมส้ ุกชา้ ลงกว่าเดิม โดยคานึกถงึ ตน้ ทนุ และความคมุ้ คา่ ในการจดั ทาโดยส่ิงทเี่ ราศึกษาไดน้ น้ั คอื พชื มี การปลดปล่อยฮอรโ์ มนเอทิลีน DLIT Resources คลงั ส่ือการสอน( 2015) กล่าวว่า เมอ่ื ผลไมเ้ ขา้ สู่กระบวนการสุก ผลไมจ้ ะมอี ตั ราการ หายใจทส่ี ูงขนึ้ และจะมีการสรา้ งฮอรโ์ มนเอทลิ ีนในปรมิ าณท่ีสูงมาก โดยเอทิลีนเป็นสารเคมที ี่อย่ใู นภาวะ แก๊ส โดยเอทิลีนทพ่ี ชื สรา้ งจะทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงในผลไมค้ อื ทาใหเ้ กดิ การสลายตวั ของคลอโรฟิลล์ สงั เกตไดจ้ ากสีของผลไมเ้ ปลี่ยนไป เชน่ กลว้ ยจากสีเขยี ว เป็นเหลือง ทาใหผ้ ลไมม้ กี ารอ่อนนิ่มลงและแปง้ ใน ผลไมเ้ ปลี่ยนเป็นนา้ ตาลทาใหผ้ ลไมม้ รี สชาติหวานขึ้น เอทิลีนไมไ่ ดม้ ีผลแค่ในผลไม้ แคย่ งั มีประโยชนใ์ นส่วนต่างๆของพชื ดงั นี้ - การตอบสนองตอ่ ภาวะนา้ ทว่ มขงั พืชทีถ่ ูกนา้ ท่วมจะสงั เคราะหเ์ อทิลีนไดม้ าก ทาใหพ้ ืชเกิดการ เปล่ียนแปลงคอื ใบเหลือง เห่ียว หบุ ลู่ลง แลว้ หลุดร่วง - การยบั ยงั้ ความยาวของราก ผลของเอทลิ ีนต่อรากจะแตกต่างกนั ไปในพชื แต่ละชนิด พชื ทเ่ี จรญิ ใน ดินท่ีระบายอากาศไดด้ ี จะผลิตเอทิลีนจานวนนอ้ ย และจะแสดงผลการอยา่ งชดั เจนเมอื่ ไดร้ บั เอ ทิลีนจากภายนอก ส่วนพืชท่ีเจริญในพนื้ ทีช่ ุ่มนา้ เช่น ขา้ ว รากพชื จะผลิตเอทลิ ีนในปริมาณท่ีสูง กวา่ และทนต่อการไดร้ บั เอทลิ ีนจากภายนอกนอ้ ยกว่า - การยืดขยายความยาวของลาตน้ เอทลิ ีนยบั ยง้ั การยดื ยาวของลาตน้ ทาใหอ้ ว้ นหนาขนึ้ พบมากใน พชื ใบเลีย้ งคู่ ส่วนยอดของลาตน้ จะโคง้ งอเป็นตะขอ

ห น้ า | 2 - ผลต่อการเจรญิ ของก่งิ และใบ เอทิลีนกดการเจรญิ ของกิ่งและใบ โดยเฉพาะบรเิ วณปล้อง เอทิลีนมี ส่วนในการกระตนุ้ การเกิดของใบ แต่เมอ่ื เกิดใบขนึ้ แล้วจะยบั ยง้ั การแผ่ขยายของใบ (Dugardeyn, and Van Der Straeten, 2008) - ทาใหก้ ลีบดอกร่วงหลงั จากการปฏิสนธิ โดยการถา่ ยละอองเกสรทาใหม้ ีการสังเคราะหเ์ อทลิ ีน สูงขนึ้ ซึง่ เป็นผลจากการปล่อยออกซินในขณะละอองเรณงู อก ทาใหม้ ีการปล่อยเอทลิ ีนมากขนึ้ - ชกั นาใหเ้ กดิ ขนรากมากขนึ้ ดว้ ย - เรง่ ใหเ้ กดิ การสุกในแอปเปิล กลว้ ย มะม่วง แคนตาลูบและมะเขือเทศ โดยจะเพ่ิมการผลิตเอทลิ ีน ในระยะทแี่ กเ่ ตม็ ที่แต่ยงั เป็นสีเขียวอยู่ การเพ่มิ ขนึ้ ของเอทลิ ีนทาใหม้ อี ตั ราการหายใจเพ่มิ ขึน้ คลอโรฟิลลส์ ลายตวั การสรา้ งสารสี รส และกล่ิน การอ่อนตวั ลงของเนอื้ เย่ือ และเตรียมพรอ้ ม สาหรบั การหลุดรว่ ง - เอทลิ ีนถกู ผลิตมากขนึ้ เม่ือพชื ตดิ เชอื้ เป็นไปไดว้ า่ เอทลิ ีนยบั ยง้ั การกระจายตวั ของเชื้อโรคโดย กระตนุ้ ใหช้ นิ้ ส่วนนน้ั ของพชื หลุดร่วงไป ซ่งึ เราไดศ้ ึกษาเจอสิ่งท่ีสามารถชะลอหรือลดการปลดปล่อยเอทิลีนในพืช น่นั ก็คอื ถ่านกมั มนั ต์ ซึ่งหา ไดง้ ่ายและมีราคาถกู และนามาแปรรูปเพื่อใหใ้ ชก้ ารไดง้ ่ายขนึ้ สามารถนามารไี ซเคลิ ได้ และมีตน้ ทนุ ต่า ทา ใหไ้ มว่ ่าจะทาใชใ้ นการจดั ส่งสาหรบั ธุรกิจ หรอื แค่ส่งผลไมใ้ หญ้ าติพ่ีนอ้ งในต่างจงั หวดั ก็สามารถจดั ส่งได้ อย่างคมุ้ ค่า ไมฟ่ ่ มุ เฟื่อย 1.2 วัตถุประสงคข์ องการจดั สร้างโครงงาน 1. เพ่ือชะลอการสุกของกล้วย 2.เพอ่ื ศกึ ษาและดาเนินการสรา้ งกระดาษชะลอการสุกของกลว้ ย จากถ่าน 3.เพ่ือปอ้ งกนั ไมใ่ หผ้ ลไมส้ ุกก่อนความตอ้ งการในระยะเวลาหนึ่งไดแ้ ละเพ่ือเพ่มิ ประสิทธิภาพในการจดั ส่ง ผลไมส้ ดใหม้ ากขนึ้ 4.เพอ่ื ฝึกปฏิบตั ติ ามหลกั วิทยาศาสตร์ และแบบ STEM 1.3 ขอบเขตของการจดั สร้างโครงงาน 1.3.1 สถานท่ี บา้ นของนางสาววชิรญาณ์ หาญยุทธ 1.3.2 ระยะเวลา ระยะเวลาในการทา 3ชม. ระยะเวลาในการทาการทดลอง 3วนั

ห น้ า | 3 1.3.3 ตวั แปร - ตวั แปรตน้ คือ กล้วยท่ีหอ่ ดว้ ยกระดาษดูดซบั เอทลิ ีน และไมไ่ ดห้ ่อกระดาษดดู ซบั เอทลิ ีน - ตวั แปรตาม คือ กล้วยทีเ่ นา่ และชา้ นอ้ ยกวา่ ปกติ -ตวั แปรควบคุม คอื กล้วยชนิดเดยี วกนั 1.4 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ 1. ไดก้ ระดาษจากถา่ นทส่ี ามารถชะลอการสุกของกล้วยทาให้เก็บรักษาไดน้ านขึ้น 2. สามารถรกั ษาสภาพของสีผิว ลักษณะเนอื้ กลว้ ยใหส้ วยและเนอื้ แน่นไวใ้ หน้ านทีส่ ุด 3. รูจ้ กั การนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั 4. นาไปต่อยอดในการดาเนินชวี ติ ประจาวนั

ห น้ า | 4 บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เก่ียวข้อง ในการศกึ ษาเร่ือง ถา่ นชะลอการสุกของกลว้ ย ผู้จดั ทาไดร้ วบรวมแนวคดิ ทฤาฎแี ละหลักการต่างๆจากเอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ งตอ่ ไปนี้ 2.1 การสุกของผลไม้ การสุกของผลไม้ หมายถึง ระยะที่ผลไมม้ กี ารเจริญเตบิ โตเตม็ ที่ มกี ารเปล่ียนแปลงทางสรีรวิทยาและ ปฏิกริ ิยาทางชีวเคมีหลายอย่าง ดชั นที ่ีบ่งชคี้ วามบริบรู ณ์ของผลไม้ โดยประเภทของผลไมแ้ บง่ ไดต้ าม การเปล่ียนแปลงอตั ราการหายใจที่แตกต่างกนั 2 อยา่ ง โดยอตั ราการหายใจเป็นการวดั อตั ราการใชก้ ๊าซออกซเิ จนและ/หรอื การคายกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดต์ ่อ หน่วยเวลาและหนว่ ยนา้ หนกั 1. climacteric fruit หมายถึงผลไมท้ ีม่ ีอตั ราการหายใจเปล่ียนแปลงตามอายุ นบั จากท่ีผลไมแ้ กจ่ ดั หรอื ผลบรบิ ูรณ์ (maturity) อตั ราการหายใจจะเพม่ิ สูงขนึ้ จนถึงจุดสูงสุด (climacteric peak) จากนน้ั อตั ราการหายใจจะคอ่ ยๆ ลดลง เมอ่ื ผลไมเ้ ร่มิ สุกจะมีการเปลี่ยนแปลงสภาพภายใน เช่น มีการเปลี่ยนสีของเปลือก การเปลี่ยนแป้งใหเ้ ป็นนา้ ตาล ทาใหผ้ ลไมส้ กุ มีรสหวาน เนอื้ น่มิ กล่นิ หอมมากกว่าผลไมด้ บิ ผลไมป้ ระเภท climacteric fruit ในระยะดบิ มีการสงั เคราะหเ์ อทลิ ีนนอ้ ยมาก แลว้ กลบั เพ่มิ ขนึ้ อยา่ งรวดเร็วในระยะท่ีผลไมบ้ ริบูรณ์ (mature) และ มีการสังเคราะหเ์ อทลิ ีน (ethylene) และมี อตั ราการหายใจสูงสุดเมือ่ ผลไมส้ ุก (fruit ripening) เอทิลีนมีผลเรง่ ใหผ้ ลไมส้ ุกเรว็ ขนึ้ ดงั นน้ั การ ควบคุมความเขม้ ขน้ ของเอทลิ ีนร่วมกับปจั จยั อ่ืนๆ จะสามารถควบคุมระยะเวลาในการนาผลไม้ ไปใชป้ ระโยชน์ เช่น อาจใชช้ ะลอหรือเรง่ ใหเ้ กิดการสุกเร็ว ผลไมป้ ระเภท climacteric fruit จะตอ้ ง เกบ็ มาจากตน้ เมื่อผลแก่จดั แล้วจงึ ปล่อยใหส้ ุกตอ่ หรอื บม่ ใหส้ ุกไดโ้ ดยใชแ้ ก๊สเอทิลีน หรือใช้ แคลเซียมคารไ์ บด์ (calcium carbide) จะไดผ้ ลไมส้ ุกที่มีระยะการสุกสม่าเสมอ

ห น้ า | 5 2. Non-climacteric fruit เป็นประเภทของผลไม้ ซ่ึงหมายถงึ ผลไม้ ทมี่ อี ตั ราการหายใจคอ่ ยๆ ลดลง เม่ือผลไมอ้ ายุมากขนึ้ และเม่ือผลไมส้ ุกอตั ราการหายใจจะไมเ่ พมิ่ ขนึ้ เม่อื เก็บเก่ียวมาจากตน้ แลว้ จะไมส่ ุกตอ่ และไมส่ ามารถบม่ ใหส้ ุกไดโ้ ดยใชเ้ อทิลีน ดงั นน้ั ควรเกบ็ เกีย่ วเมอ่ื ผลสุก (ripe) เต็มที พรอ้ มบริโภค สรุปไดว้ ่าระหวา่ งการสุกของผลไม้ ประเภท climacteric fruit จะมีการผลิตเอทิลีนเพิม่ มากขนึ้ ส่วนผลไม้ ประเภท non climacteric fruit มีการสังเคราะหเ์ อทลิ ีนนอ้ ยมาก กล้วยท่นี ามาศกึ ษาเป็นผลไมป้ ระเภท climacteric fruit ท่ีเมอ่ื เกบ็ ออกมาจากตน้ แล้วยงั คงสามารถบม่ ได้ ดว้ ยแกส๊ เอทลิ ีน แก๊สเอทลิ นี เอทิลีน เป็นฮอรโ์ มนพืชทีม่ สี ภาพเป็นก๊าซที่อณุ หภูมิหอ้ ง บทบาททีส่ าคญั ของเอทลิ ีนคอื ควบคุม กระบวนการเตบิ โตท่เี กย่ี วขอ้ งกับความชรา การหลุดร่วงของใบ ดอก ผล และควบคมุ การเจริญของพชื เม่อื อยใู่ นสภาวะทไี่ ม่เหมาะสม 2.2 การสังเคราะหเ์ อทิลีน เกดิ ขนึ้ ไดใ้ นส่วนตา่ งๆของพืชทง้ั ราก ลาตน้ ใบ ผล เมล็ด และส่วนหวั แต่อตั ราการสังเคราะห์จะขนึ้ กบั ระยะเวลาในการเตบิ โต โดยเนอื้ เยือ่ ทีแ่ ก่จะสังเคราะหเ์ อทลิ ีนมาก เชน่ ผลไมท้ ่กี าลังสุก ในใบ ใบอ่อนจะ ผลิตเอทิลีนนอ้ ยและจะเพ่ิมขนึ้ เมอ่ื ใบแกข่ นึ้ และจะมากทส่ี ุดเมื่อใบใกล้รว่ ง เมื่อผลไมเ้ ร่มิ สงั เคราะหเ์ อทิลีน ปริมาณเอทิลีนทผ่ี ลิตอยใู่ นระดบั 0.1 -1 ไมโครลิตร ซึง่ สามารถกระตนุ้ ใหผ้ ลไมเ้ พม่ิ อตั ราการหายใจได้ เนอื้ เยอื่ ทีย่ งั ไม่แกแ่ ต่เกดิ บาดแผลหรือถูกรบกวนจะปล่อยเอทิลีนออกมาไดภ้ ายในคร่งึ ชว่ั โมง การถูกรบกวน โดยการกรดี (ในกรณีของตน้ ยาง) การติดเชอื้ จุลินทรีย์ นา้ ทว่ ม อากาศเย็นจดั ลว้ นแต่กระตนุ้ การผลิตเอ ทิลีนไดท้ ง้ั สิ้นการผลิตเอทิลีนเกิดขนึ้ ไดท้ กุ ส่วนในพชื ชน้ั สูง ทงั้ ที่ใบ ราก ลาตน้ ดอก ผล และตน้ กลา้ \"การผลิตเอทลิ ีนถกู ควบคุมดว้ ยปัจจยั ทางพฒั นาการและสิ่งแวดลอ้ มจานวนมาก ในชว่ งชีวิตของพืช การ ผลิตเอทิลีนถูกชกั นาดว้ ยระหวา่ งระยะของการเจรญิ เช่น การงอกของเมล็ด การสุกของผลไม้ การรว่ งของ ใบ และ ความชราของดอกไม้ การผลิตเอทิลีนถกู ชกั นาดว้ ยกลไกภายนอกหลายประการ เชน่ การเกิด บาดแผล ความกดดนั ทางสิ่งแวดลอ้ ม และสารเคมี เช่น ออกซนิ และสารควบคุมการเจริญเติบโตอ่นื ๆ\"

ห น้ า | 6 เอทิลีนผลิตจากกรดอะมโิ นเมทไทโอนนี โดยเปลี่ยนรูปมาเป็น S-adenosyl-L-methionine (SAM, หรือ เรยี ก Adomet) ดว้ ยเอนไซม์ Met Adenosyltransferase SAM ถกู เปล่ียนไปเป็น 1-aminocyclopropane- 1-carboxylic-acid (ACC) ดว้ ยเอนไซม์ ACC synthase (ACS)การทางานของ ACS เป็นตวั กาหนดอตั รา การผลิตเอทิลีน การควบคุมการทางานของเอนไซมน์ ีเ้ ป็นกญุ แจสาคญั ในการควบคุมการผลิตเอทิลีน ขนั้ ตอนสุดทา้ ยตอ้ งการออกซิเจนและเกย่ี วขอ้ งกบั การทางานของเอนไซม์ ACC-oxidase (ACO) ซ่งึ เดิม เรยี กว่า Ethylene Forming Enzyme (EFE) การผลิตเอทิลีนถกู ชกั นาไดด้ ว้ ยเอทิลีนภายใน และภายนอกลาตน้ การสงั เคราะห์ ACC เพ่มิ ขนึ้ เมื่อมอี อกซนิ ระดบั สูง โดยเฉพาะ กรดอินโดลอะซีตกิ และ ไซโตไคนนิ ACC synthase ถกู ยบั ยง้ั ดว้ ย กรดแอบไซซิก โดยแก๊สเอทลิ ีนทาใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงในผลคอื การเปล่ียนแปลงสีผิว เนื่องจาก การเปล่ียนแปลงของรงควตั ถุ (pigment) ต่างๆ เช่น การสูญเสียคลอโรฟิลล์ (chlorophyll ) ซึ่งมสี ีเขยี วทาใหผ้ กั เหลือง การพฒั นาของ carotenoid ( สีเหลืองและสีสม้ ) ไลโคปีน (lycopene) ทม่ี สี ีแดง และ anthocyanin (สีแดง และสีนา้ เงิน) การเปลี่ยนแปลงกลิ่นรส การเปล่ียนแปลงของคารโ์ บไฮเดรต เช่น การเปล่ียนแปง้ เป็นนา้ ตาล ทาใหผ้ ลไมม้ ี ความหวานเพิ่มมากขนึ้ การลดลงของกรดอินทรยี ์ (organic acid) ทาใหม้ ีความเปรยี้ วลดลง รวมทงั้ การเกดิ ขนึ้ ของสารหอมระเหย บางชนดิ ทาใหม้ ีกล่ินหอม การเปลี่ยนแปลงเนอื้ สมั ผสั การลดความแน่นเนอื้ จะทาใหผ้ ลไมน้ ่ิมลง เชน่ กล้วย มะมว่ ง มะละกอ การลด ความแน่นเนอื้ เกิดจากการสลายตวั ของสารประกอบเพกทิน (pectin) การเปลี่ยนแปลงคณุ คา่ ทางโภชนาการ สูญเสียวิตามิน โดยเฉพาะ vitamin C โดยแก๊สเอทลิ ีนมกั จะถูกใชใ้ นทางดา้ นการเกษตร เอทลิ ีนเป็นฮอรโ์ มนพืชชนดิ เดียวทีอ่ ยูใ่ นรูปก๊าซ แต่มผี ล มากมายตอ่ การเตบิ โตของพชื พชื สามารถสรา้ งเอทลิ ีนไดม้ ากโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในช่วงท่ผี ลไมใ้ กล้สุก ก่อน การหลุดรว่ งของใบและกอ่ นการออกดอกของพชื บางชนิด เอทลิ ีนมีหนา้ ทีค่ วบคุมการแกข่ องพชื ดงั นน้ั ชว่ ง ใดก็ตามถา้ มีเอทิลินมากกจ็ ะเป็นการเรง่ ใหพ้ ชื แก่ได้เร็วขึน้ เอทิลีนมีประโยชนใ์ นการเกษตรอย่างมาก แต่ เน่อื งจากสารนอี้ ยใู่ นรูปก๊าซจึงทาใหก้ ารใช้ประโยชนค์ อ่ นข้างจากดั จึงไดม้ ีการคน้ ควา้ หาสารรูปอื่นซ่ึงเป็น

ห น้ า | 7 ของแขง็ หรือของเหลว แต่สามารถปลดปล่อยก๊าซเอทิลินออกมาได้ จนในทีส่ ุดพบวา่ สาร ethephon (2- chloroethylphosphonic acid) มีคุณสมบตั ิดงั กล่าว จึงไดน้ ามาใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งกวา้ งขวางจนถงึ ปัจจุบนั ประโยชนข์ องเอทลิ ีนทีน่ ามาใชท้ างเกษตรไมใ่ ช่ทาใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงในผลไดอ้ ย่างเดียวแตท่ าการเร่ง ในผลไมไ้ ดอ้ กี ดว้ ย 1. เร่งการสุกของผลไม้ ผลไมเ้ ม่อื แก่จดั และเขา้ สู่ระยะการสุกจะมีการสรา้ งเอทิลีนขนึ้ มาซึ่งเอทิลีนทผ่ี ลไม้ สรา้ งขนึ้ นนั้ เป็นตวั การสาคญั ในการกระตนุ้ ใหผ้ ลไมส้ ุก ดงั นนั้ ถา้ มีการใหส้ ารเอทิลีนในระยะที่ผลไมแ้ ก่จดั แต่ยงั ไมส่ ุก กจ็ ะมีผลเร่งใหเ้ กิดการสุกไดเ้ ร็วขนึ้ การบม่ ผลไมโ้ ดยการใชก้ ๊าซเอทิลีนโดยตรงมกั จะทาไดย้ าก เนือ่ งจากตอ้ งสรา้ งหอ้ งบม่ ท่ีปิดสนิทปอ้ งกนั อากาศถา่ ยเท ซงึ่ ตอ้ งมีการลงทนุ สูง ชาวสวนในประเทศไทย นยิ มใชถ้ า่ นก๊าซ (calcium carbide) ในการบ่มผลไมแ้ ทนกา๊ ซเอทิลีน โดยการใชถ้ า่ นกา๊ ซหอ่ กระดาษแลว้ วางไวก้ ลางเขง่ ทบ่ี รรจผุ ลไม้ เมอ่ื ผลไมค้ ายนา้ ออกมาไอนา้ จะทาปฏิกรยิ าเคมีกบั ถา่ นก๊าซ เกดิ เป็นกา๊ ซ อะเซทิลีน (acetylene) ซง่ึ มีสูตรโครงสรา้ งและคุณสมบตั ิคลา้ ยก๊าซเอทิลีน จึงทาใหผ้ ลไมส้ ุกไดเ้ ชน่ กนั ผลไมท้ ่บี ่มดว้ ยกา๊ ชชนดิ นแี้ ละไดผ้ ลดคี ือมะม่วง กลว้ ย ละมดุ เป็นตน้ นอกจากเอทลิ ีนจะเร่งการสุกของ ผลไมแ้ ล้วยงั มผี ลเร่งการแก่ของผลไมบ้ นตน้ ไดเ้ ช่นกนั ยกตวั อย่างการใช้ ethephon กบั เงาะ องุ่น ลองกอง มะเขือเทศ ในระยะทผ่ี ลแก่จดั แต่ยงั ไมเ่ ปลี่ยนสี จะทาใหผ้ ลเปล่ียนสีไดเ้ ร็วขนึ้ และสม่าเสมอมากขนึ้ สามารถเก็บเกี่ยวไดพ้ รอ้ มๆ กนั 2. เรง่ การเกดิ ดอก เอทิลีนสามารถเรง่ การเกดิ ดอกของพืชบางชนดิ ได้ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ทีเ่ หน็ ไดช้ ดั คอื การใชถ้ า่ นกา๊ ซ เรง่ การเกิดดอกของตน้ สับปะรดปัจจบุ นั ใช้กนั อยา่ งกวา้ งขวางในอุตสาหกรรมการผลิต สับปะรดกระป๋ อง ส่วนในพืชอ่ืนเชน่ มะมว่ ง ลิน้ จี่ ก็เคยมรายงานเช่นกนั ว่าการใช้ ehtephon สามารถเร่ง การเกดิ ดอกของพืชดงั กล่าวได้ แตใ่ นประเทศไทยยงั ไมม่ ีการทดลองยืนยนั ในเรือ่ งนี้ 3. ทาลายการพกั ตวั ของพืช สารในกลุ่มเอทลิ ีนสามารถทาลายการพกั ตวั ของหวั มนั ฝร่งั แกลดโิ อลัส และ พืชหวั อีกหลายชนิด ทาใหง้ อกไดเ้ ร็วและสมา่ เสมอมากขนึ้ พืชหวั เหล่านโี้ ดยปกตจิ ะตอ้ งนาไปเกบ็ ไวใ้ นที่ อณุ หภมู ิตา่ ระยะหนึ่งก่อนนาไปปลูกจึงจะงอกได้ การใชส้ ารเอทลิ ีนกระตนุ้ การงอกจงึ มีประโยชนใ์ นการยน่ ระยะเวลา ทาใหน้ าหวั พชื ไปปลูกต่อไดเ้ รว็ ขึน้ 4. ใชใ้ นการปลิดผล เอทลิ ีนมีผลต่อการหลุดร่วงของใบ ดอก ผล ดงั นนั้ จึงอาจใชป้ ระโยชนข์ อ้ นใี้ นการปลิด ผลไมบ้ างชนดิ ในกรณีทต่ี ดิ ผลมากเกินไป โดยใชส้ าร ethephon พ่นไปยงั ตน้ ในขณะทผี่ ลยงั ออ่ นอยู่ แตก่ าร ปลิดผลโดยใชส้ าร ethephon อาจเกิดผลเสียไดง้ ่ายเนอ่ื งจากผลท่เี ราตอ้ งการเก็บไวอ้ าจหลุดรว่ งไดเ้ ช่นกนั

ห น้ า | 8 การใช้ ethephon กบั เงาะพนั ธุส์ ีชมพูในระยะที่แก่จดั พรอ้ มท่ีจะเกบ็ เก่ยี ว จะทาใหผ้ ลร่วงไดภ้ ายหลงั การ ใหส้ าร 2-3 วนั โดยไมต่ อ้ งใชเ้ ครือ่ งมือเกบ็ เกี่ยว นอกจากนยี้ งั มีผลลดความเหนียวของขว้ั ผลในพืชหลาย ชนิด เชน่ ส้ม เชอรร์ ี แอปเปิ้ล ทาใหเ้ ก็บเกี่ยวไดง้ ่ายขนึ้ ในประเทศไทยเคยมกี ารทดลองใช้ ethephon พน่ ตน้ ทอ้ เพ่อื ใหใ้ บรว่ ง และเขา้ สู่ระยะพกั ตวั เรว็ ขนึ้ แตเ่มอื่ พชื ไดส้ ารแกส๊ เอทิลีนมากเกนิ ไปในชว่ งการเจริญเติบโต กอ่ ทาให้เกดิ ผลเสียไดเ้ หมอื นกนั โดยมกี รณี ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ใบร่วง พชื ทไ่ี ดร้ บั เอทิลีนในปริมาณมากเช่นถูกรมดว้ ยควนั ไฟเป็นเวลานาน จะทาใหใ้ บร่วงได้ เน่ืองจาก ในควนั ไฟมีเอทิลีนเป็นองคป์ ระกอบ ในบางสภาวะทพ่ี ชื อย่ใู นสภาพแวดล้อมไมเ่ หมาะสมเชน่ นา้ ท่วม แล้ง จดั หรอื ถูกรบกวนจากแมลง โรค หรือพืชไดร้ บั การกระทบ กระเทอื นและเกิดบาดแผล สภาพเหล่านจี้ ะ ส่งเสรมิ ใหพ้ ชื สรา้ งเอทลิ ีนขนึ้ มามากผิดปกตแิ ละจะทาใหใ้ บรว่ งไดเ้ ช่นกนั 2. ผลสุกเร็วเกนิ ไป ผลไมบ้ างชนดิ ท่ีใชบ้ รโิ ภคผลดบิ เช่นมะมว่ งมนั ถา้ เก็บไวเ้ พียงไม่ก่ีวนั ก็จะเกดิ การสุก และขายไดร้ าคาต่าลง การสุกของผลในกรณีนเี้ ป็นส่ิงทเ่ี ราไมต่ อ้ งการใหเ้ กิดขนึ้ เช่นเดยี วกบั กรณีทต่ี อ้ งการ เก็บผลไมบ้ างชนดิ ใหอ้ ยใู่ นสภาพดิบเป็นเวลานานเพ่อื ประโยชนใ์ นการขนส่งไปจาหน่ายไกลๆ เชน่ ส่งไป ตา่ งประเทศ การสุกของผลเกิดขนึ้ จากการ ทผ่ี ลไมส้ รา้ งเอทลิ ีนขนึ้ มา ดงั นนั้ ถา้ สามารถกาจดั เอทิลีนออกไปได้ ก็จะสามารถยดื อายุการเกบ็ รกั ษาผลไม้ เหล่านีใ้ หอ้ ยใู่ นสภาพดิบไดเ้ ป็นเวลานานขึน้ 3.การเหี่ยวของดอกไม้ ดอกไมท้ ่ไี ดร้ บั การผสมเกสรแล้วจะพบว่ากลีบดอกเหี่ยวอย่างรวดเรว็ เน่ืองจาก ในช่วงนนั้ ดอกไมจ้ ะสรา้ งเอทลิ ีนขนึ้ มามากกวา่ ปกติ ในกรณีไมต้ ดั ดอกกเ็ ชน่ กนั เมอ่ื ตดั ดอกจากตน้ แล้วจะ เกิดการสรา้ งเอทิลีนขนึ้ มาอยา่ งมากมายที่บริเวณรอยตดั ซง่ึ มีผลทาใหก้ ลีบดอกเห่ยี ว ทอ่ นา้ ในบรเิ วณกา้ น ดอกใกลร้ อยตดั เกดิ การอุดตนั ดงั นน้ั อายกุ ารปกั แจกนั ของดอกไมจ้ ึงสัน้ งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง 2.3 วจิ ยั และพัฒนากระดาษดดู ซบั เอทลิ ีนจากเปลือกทเุ รียน ศิรพิ ร เตง็ รงั , กนกศกั ดิ์ ลอยเลิศ, วิมลวรรณ วฒั นวิจิตร, นภสั สร เลียบวนั , สุปรยี า ศขุ เกษม และธีรชาต

ห น้ า | 9 วชิ ิตชลชยั กองวิจยั และพฒั นาวิทยาการหลังการเก็บเก่ียวและแปรรูปผลิตผลเกษตร งานวิจยั นมี้ วี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ผลิตกระดาษดูดซบั เอทิลีน (Ethylene Absorber Paper) จากเปลือก ทเุ รยี น เพอ่ื ใชย้ ืดอายกุ ารเก็บรกั ษาผกั และผลไม้ ทาการทดลองทกี่ องวิจยั และพฒั นาวทิ ยาการหลงั การเก็บ เกย่ี วและแปรรูปผลิตผลเกษตร ระหวา่ งปี 2556 - 2558 โดยเลือกใชเ้ ปลือกทุเรียนเน่ืองจากมเี สน้ ใยเป็น องคป์ ระกอบสามารถนามาทากระดาษได้ เร่มิ โดยสกดั และฟอกขาวเสน้ ใยจากนน้ั ขนึ้ รูปเป็นแผ่นกระดาษ แล้วศกึ ษาคณุ สมบตั ิ พบวา่ เสน้ ใยไมฟ่ อกใหก้ ระดาษทีม่ คี ณุ สมบตั ดิ ีกว่าทง้ั ปริมาณความชนื้ ความ ตา้ นทานแรงฉีกขาด ความตา้ นทานแรงดึงขาด และความตา้ นทานแรงดนั ทะลุ คือ 7.99% 435 mN 1.09 kN/m และ 289 kPa ตามลาดบั เป็นไปตาม มอก.170-2550 จากนนั้ นา มาเตรียมกระดาษดดู ซบั เอทิลีนโดยใช้ถ่านกมั มนั ตเ์ ป็นตวั ดูดซับ เร่ิมจากใช้ ถ่านกมั มนั ต์ 3 ชนิด ในปริมาณเท่ากนั คอื ชนดิ ผง เม็ด และแท่ง พบวา่ กระดาษดดู ซบั เอทลิ ีนทใ่ี ชถ้ ่านกมั มนั ตช์ นิดผงมปี ระสิทธิภาพในการยืดอายุการเก็บรักษามะมว่ งท่อี ณุ หภมู หิ ้องไดด้ ที ่ีสุด คอื สามารถเกบ็ รกั ษามะมว่ งไดน้ าน 10 วนั มีเปอรเ์ ซน็ ตก์ ารสูญเสียนา้ หนกั นอ้ ยท่สี ุด เท่ากบั 10.55% จากนน้ั ศกึ ษาหา ปริมาณทเ่ี หมาะสมของถา่ นกมั มนั ตช์ นิดผงในการเตรียมกระดาษดูดซบั เอทลิ ีนทป่ี รมิ าณ 5 15 25 และ 35% ของนา้ หนกั เสน้ ใยพบว่ากระดาษทุกกรรมวธิ ีมีคุณสมบตั เิ ป็นไปตาม มอก.170-2550 ยกเวน้ ความ ตา้ นทานแรงดึงขาดโดยเมื่อปริมาณผงถ่านกัมมนั ตเ์ พ่ิมขึน้ กระดาษจะมีความแข็งแรงสูงขนึ้ แตกตา่ งกนั อย่างมนี ยั สาคญั มปี ระสิทธิภาพการดดู ซบั ก๊าซเอทลิ ีนมากกวา่ 95% ในช่วั โมงแรกของการดดู ซบั ใกลเ้ คียง กบั สารดูดซบั เทลิ ีนทางการคา้ ทีม่ นี า้ หนกั สารดูดซบั เท่ากัน โดยกระดาษเติมผงถา่ นกมั มนั ต์ 5% มี ประสิทธิภาพในการยดื อายกุ ารเก็บรักษามะม่วงทอี่ ุณหภมู ิหอ้ งดที ่ีสุด คอื สามารถเก็บรกั ษามะมว่ งไดน้ าน 15 วนั มีเปอรเ์ ซ็นตก์ ารสูญเสียนา้ หนกั น้อยทส่ี ุด เทา่ กบั 28.59% แตกต่างกนั อย่างมนี ยั สาคญั กบั กรรมวิธี อน่ื ๆ และดกี วา่ สารดดู ซบั เอทิลีนทางการคา้ ที่มีเปอรเ์ ซ็นต์การสูญเสียนา้ หนกั 30.25% มตี น้ ทุนการผลิต 1.60 บาท/แผ่น (พนื้ ท่ี 188.60 ตารางเซนติเมตร) ถูกกวา่ สารดูดซบั เอทิลีนทางการคา้ 2.4 บทบาทของเอทลิ ีนและ1-Methylcycloproprne ตอ่ การสุกของปาล์มน้ามันหลังการ เก็บเกี่ยว นฤมล นวลวจิ ิตร เอทลิ ีน (Ethylene)

ห น้ า | 10 เอทิลีน (CH) เป็นฮอรโ์ มนพชื อย่ใู นรูปก๊าซสังเคราะหจ์ ากเมไธโอนีน (methionine) ในเนอื้ เย่ือต่างๆของพืช ชน้ั สูงทตี่ อบสนองตอ่ สภาวะเครียด โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเนอื้ เยื่อทเี่ ร่ิมเสื่อมสภาพหรอื สุก เอทลิ ีนจดั เป็น ฮอรโ์ มนเรง่ การสุกของผลไม้ (Davies, 2004) โดยเฉพาะผลไมป้ ระเภทไคลแมคเทอรกิ (climacterie) ซึ่ง เม่อื ผลแกเ่ ตม็ ทีแ่ ละเขา้ สู่ระยะการสุกผลจะมีการสรา้ งเอทลิ ีนขนึ้ มาในปริมาณมากจนมผี ลทาใหผ้ ลไมส้ ุก (Klee and Clark, 2004) การบ่มผลไมโ้ ดยใชก้ ๊าชเอทลิ ีนโดยตรงทาไดย้ ากในประเทศไทยนยิ มใช้ ถา่ นแกส็ หรือแคลเซยี มคารไ์ บต์ (calcium carbide) ห่อกระดาษวางไวก้ ลางภาชนะท่บี รรจุเมือ่ ผลไมค้ ายนา้ ไอนา้ จะทาปฏิกริ ิยาเกดิ แก๊สอะเซทลิ ีนซงึ่ มีคณุ สมบตั ิคลา้ ยกา๊ ซเอทิลีนทาใหผ้ ลไมส้ ุก ซงึ่ ใหผ้ ลดีกบั พชื พวก มะมว่ ง กล้วย เป็นตน้ (สมบุญ. 2548) ในปจั จุบนั มีการใชส้ ารปลดปล่อยเอทลี ีนในรูปของเหลวมากขนึ้ หรือ ท่เี รยี กกนั ว่าสารเอทฟี อนหรอื กรตคลอโรเอทลิ ฟอสโฟนคิ (2-chercetinylchospheric acid) ซงึ่ เป็นสาร ปลอดปล่อยเอทิลีนในรูปของเหลวมีสภาพเป็นกรด ซึ่งเม่อื ทาปฏกิ ิรยิ ากนั นา้ จะปลดปล่อยเอทลิ ีนแก่พืชมี ฤทธิ์แทรกซึมและเขา้ สู่เนอื้ เยือ่ พชื ไดง้ ่าย ซง่ึ นิยมใชพ้ ่นหรอื จุ่มเพ่อื เรง่ การสุกของผลไมต้ า่ งๆ (Lurie, 2000, สมบญุ 2548) ผลของเอทิลีนต่อการสุกและการหลุดรว่ งของผลปาลม์ นา้ มนั ผลปาล์มนา้ มนั เป็นผลประเภทไคลแมคเทอรกิ เม่ือผลปาลม์ นา้ มนั อยู่ในระยะสุก จึงมีการผลิตเอทิลีนใน ปรมิ าณมาก โดยเร่ิมมกี ารสงั เคราะหเ์ อทิลีนระบบ1 (System l)ในชว่ ง 90-120 วนั หลงั ผสมเกสร และมกี าร สังเคราะหเ์ อทลิ ีนระบบ 2 ( System ll ) ในชว่ ง 120-150 วนั หลงั ผสมเกสร ซ่งึ ปาล์มนา้ มนั จะปลดปล่อยเอ ทิลีนในชว่ ง 130-160 วนั หลงั ผสมเกสร( Tranbarger et al., 2011) ท่ผี ่านมามีการทดลองใชส้ ารเอทิฟอน และถา่ นแกส็ ในการบ่มทะลาย ปาลม์ นา้ มนั เพื่อเรง่ การสุกและการหลุดร่วงของผลปาล์มนา้ มนั จากทะลาย เน่อื งจากผลปาลม์ นา้ มนั ร่วงมีราคาสูงกว่าผลท่ยี งั ติดอยกู่ ับทะลาย (ธีระพงศ์ และคณะ, 2539) โดยจาก การศกึ ษาของธีระพงศ์ และคณะ (2539) ไดท้ ดลองบ่มทะลายสดปาล์มนา้ มนั โดยใชเ้ อทิฟอนและถา่ นแก็ส พบว่า การบ่มเอทฟิ อนเป็นเวลา 36 ชว่ั โมงทีร่ ะดบั ความเขม้ ขน้ 200 และ 250 ppm และบม่ ดว้ ยถา่ นแก็สท่ี ระดบั ความเขม้ ขน้ 1.25 และ 1.50% ของนา้ หนกั ทะลายย่อยสามารถทาใหผ้ ลปาลม์ นา้ มนั หลุดรว่ งจาก กา้ นทะลายจนหมด แต่ทงั้ สองวธิ ีการทาใหเ้ กดิ การเน่าของผลเพิม่ ขนึ้ โดยการบม่ ดว้ ยถา่ นแกส๊ มผี ลทา ใหผ้ ลเนา่ และมปี รมิ าณกรดไขมนั อิสระเพมิ่ ขนึ้ เม่ือมากกว่าการบ่มดว้ ยเอทิฟอน อย่างไรกต็ ามการบ่มทะ สายสดปาล์มนา้ มนั ดว้ ยเอทฟิ อนความเขม้ ขน้ 200 และ 250 ppm เป็นเวลา 36 ช่วั โมงสามารถทาใหผ้ ล ปาล์มนา้ มนั หลุดรว่ งจากทะลายได้ แต่มีปริมาณกรดไขมนั อสิ ระเพ่มิ ขนึ้ นอกจากนี้ lsmail และคณะ (2011) ไดท้ าการทดลองใชเ้ ครือ่ งส่นั สะเทือนโดยใชค้ วามถีเ่ พ่ือแยกผลปาลม์ นา้ มนั ออกจากทะลายร่วมกบั การใชเ้ อทิฟอนเพอื่ หาความเข้มขน้ ทีเ่ หมาะสมในการกระตนุ้ ใหเ้ กิดการหลุดรว่ งจากทะลายใหเ้ ร็วทีส่ ุด ผล การศึกษา พบว่า การฉีดเอทิฟอนความเขม้ ขน้ 10% ปริมาตร 10 ml เขา้ ทางกา้ นทะลายปาลม์ นา้ มนั

ห น้ า | 11 สามารถทาใหผ้ ลปาล์มนา้ มนั หลุดรว่ งจากทะลายไดม้ ากที่สุด และเมอื่ นาทะลายปาลม์ นา้ มนั ไปทดสอบ การส่นั สะเทือนพบวา่ ทีร่ ะดบั ความถ่ี 3.3 Hz ทาใหผ้ ลปาลม์ นา้ มนั หลุดรว่ งจากทะลายไดด้ ที สี่ ุด นอกจากนี้ มีการบ่มผลปาล์มนา้ มนั ดว้ ยการรดน้าในสภาพลานเทปาล์มนา้ มนั โดยการรดนา้ ใหแ้ ก่ทะลายปาลม์ นา้ มนั 2 ระยะ ไดแ้ ก่ ทะลายปาลม์ นา้ มนั สุกไม่เตม็ ท่ี และทะลายปาล์มนา้ มนั สุกเต็มท่ี พบว่าการรดนา้ ทะลาย ปาลม์ นา้ มนั ทง้ั 2 ระยะทาใหป้ ริมาณนา้ มนั ลดลง แตท่ าใหม้ ปี รมิ าณกรดไขมนั อิสระเพ่มิ ขึน้ (เบญจมาภรณ์ และคณะ, 2552) ผลของเอทิลนตอ่ การเปล่ียนแปลงปรมิ าณนา้ มนั และกรดไขมันอสิ ระ ในระยะผลปาลม์ นา้ มนั สุกมีการผลิตเอทิลีนเพมิ่ สูงขนึ้ อยา่ งต่อเน่ือง ซงึ่ การผลิตเอทลิ ีนนสี้ อดคล้องกบั ระยะทีผ่ ลปาลม์ นา้ มนั มกี ารสะสมปรมิ าณนา้ มนั สูงสุด (Tranbarger et al., 2011) เม่ือเกบ็ เกี่ยวทะลาย ปาลม์ นา้ มนั ลงจากตน้ จะเกิดแรงกระแทกระหว่างทะลายปาลม์ นา้ มนั กบั พนื้ ดิน ทาใหท้ ะลายปาลม์ นา้ มนั บอบชา้ เกดิ บาดแผลส่งผลใหเ้ กิดการเพมิ่ ขนึ้ ของปริมาณกรดไขมนั อิสระ (Hadi et al., 2008) ซึง่ ในสภาวะ ทีพ่ ืชเกดิ บาดแผลจะกระตนุ้ การผลิตเอทิลีนเพิ่มขนึ้ ( สมบญุ . 2548) 2.5 การประยุกตใ์ ช้กล่องบรรจุแบบดัดแปลงบรรยากาศทีใ่ ชห้ น้าตา่ ง ซิลิโคนเมมเบร นร่วมกับสารดดู ซบั และยับย้งั การทางานของเอทธิลีนในการรักษา คณุ ภาพและยดื อายกุ ารเก็บรักษาทุเรียนพันธหุ์ มอนทอง นายเรวตั ิ ชยราช คณะเกษตรศาสตรม์ หาวิทยาลัยอุบลราชธานี Boonprasom และคณะ (2008) ศึกษากระบวนการผลิตสารดูดซบั เอทิลีนโดยใชด้ ินสอพองและ โพแทสเซียมเปอรแ์ มง-กาเนตเป็นส่วนประกอบหลกั จากผลการทดลองพบว่าสารดูดซบั เอทธิลีนท่ีใช้ 3% KMnO4 มีอตั ราการดดู ซบั เอทิลีนใกลเ้ คียงกับสารดดู ซับเอทลิ ีนทจี่ าหน่ายในทอ้ งตลาด นอกจากนยี้ งั พบว่า ตวั อย่างสารดดู ซบั เอทลิ ีนที่อบดว้ ยเคร่อื งอบแบบสุญญากาศมอี ตั ราการดดู ซบั เอทธิลีนไดเ้ รว็ กว่าตวั อยา่ ง ทอ่ี บดว้ ยตอู้ บลมรอ้ น ประสิทธิภาพการทางานในบรรจภุ ณั ฑ์ของสารดดู ซบั เอทธิลีน พบวา่ ก ารบรรจสุ าร ดูดซบั เอทธิลีนในซองที่ทาจากกระดาษพรูฟมอี ตั ราการดดู ซบั เอทลิ ีนสูงกว่าซองทที่ าจากกระดาษทาโคม และกระดาษสาแบบบาง หลงั จากนาสารดดู ซบั เอทธิลีนทบ่ี รรจใุ นซองกระดาษพรูฟหมุ้ ดว้ ยถุงพลาสติก ชนดิ OPP เจาะรูไปวดั อตั ราการดดู ซบั เอทธิลีนเปรยี บเทียบกบั สารดดู ซบั เอทลิ ีนที่จาหน่ายในท้องตลาด 2 ชนิด พบวา่ สารดูดซบั เอทลิ ีนที่ผลิตขนึ้ จากกระดาษพรูฟ และสารดดู ซบั เอทธิลีนท่ีจาหน่ายใน ทอ้ งตลาด

ห น้ า | 12 สามารถยดื อายุการเกบ็ รกั ษาผลิตผลไดน้ านกว่าสารดูดซับเอทธิลีนที่ใชช้ อลค์ เป็นตัวพา 10 Rachtanapun และคณะ (2008) ทดสอบการใชส้ ารดูดซบั เอทธิลีนท่ีทาการผลิตขนึ้ เองจากไดอะ ทอไมตเ์ พ่ือยดื อายกุ าร เกบ็ รกั ษากล้วยหอมทอง โดยทาการผสมในอตั ราส่วนของไดอะทอไมตต์ ่อ สารละลาย KMnO4 เทา่ กบั 2 : 3 ทค่ี วามเขม้ ขน้ ของสารละลายโพแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนตต่างๆ ดงั นี้ คอื 3% 5% และ 7% (w/v) เม่อื ผสมใหเ้ ขา้ กนั แลว้ นาเขา้ อบในตอู้ บลมรอ้ นท่ีอุณหภูมิ 102±3°C เป็น เวลา 1 ช่วั โมง แล้วนามาบดเป็นผง และอบต่อเป็นเวลา 30 นาทจี ากการทดลองพบวา่ กลว้ ยหอมทองที่ เก็บรกั ษารว่ มกบั สารดูดซบั เอทธิลีนค วามเขม้ ขน้ ของ 5% และ 7% KMnO4 ที่อุณหภูมิ 23 องศาเซลเซยี ส ความชนื้ สัมพทั ธ์ 69% สามารถชะลอ การสูญเสียนํา้ หนกั สด การเปล่ียนแปลงสีเปลือก การลดลงของ ความแนน่ เนอื้ และชะลอการเพิม่ ขนึ้ ของ ปริมาณกรดและปรมิ าณของแขง็ ทลี่ ะลายนํา้ ไดก้ ล้วยหอมทองที่ ทาการเก็บรกั ษารว่ มกบั สารดดู ซบั เอทธิ ลีนท่ีมคี วามเขม้ ขน้ ของโพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนต 7% สามารถ ยดื อายุการเกบ็ รกั ษากลว้ ยหอมทองได้ 18 วนั เทา่ กบั สารดูดซบั เอทลิ ีนทางการคา้ 2.6 วัตถุดดู ซับเอทลิ ีน (Ethylene scavenger) Ozdemir, M., & Floros, J. D. (2004). Active food packaging technologies. Critical reviews in food science and nutrition, 44(3), 185-193 เอทิลีนเป็นฮอรโ์ มนทพี่ ชื ปลดปล่อยออกมาในระยะที่พืชสุก เพอื่ ทาใหเ้ กิดการสุกของผลไม้ และเกิดการ เปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การสลายแปง้ ไปเป็นนา้ ตาล ทาใหผ้ ลไมม้ ีรสหวาน การสลายตวั ของกรดอนิ ทรีย์ ทาใหร้ สเปรยี้ วของผลไมล้ ดลงเมื่อสุก ความแน่นเนอื้ ลดลง และการสูญเสียความเต่งตงึ ของเซลล์ (loss of cell turgor) การทางานของเอนไซมย์ อ่ ยเพกตนิ และผนงั เซลล์เกิด สารใหก้ ล่ินรส และสารระเหยต่าง ๆ และยงั มีผลตอ่ การสลายตวั ของคลอโรฟิลล์ ทาใหส้ ีเขียวลดลง และเหน็ สีของรงควตั ถุ เชน่ แคโรทีนอยด์ท่ี ใหส้ ีเหลืองในมะมว่ งเพิม่ ขึน้ เมือ่ ผลไมส้ ุก รวมถงึ การหลุดร่วงของใบ ส่วนใหญ่วตั ถุดูดซบั เอทิลีนจะอยใู่ นรูปแบบของซอง (Sachet) และในหลายผูผ้ ลิตจะนยิ มใชโ้ พแทสเซยี ม เปอรแ์ มงกาเนต (KMnO4 ) เป็นตวั พนื้ ฐานในการดูดซบั เอทิลีน โดยโพแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนสจะทา หนา้ ทีอ่ อกซิไดซเ์ อทิลีน ใหเ้ ปล่ียนไปอยู่ในรูป อะซีเตท (acetate) และเอทานอล (ethanol) กระบวนการ ดงั กล่าวจะก่อใหเ้ กิดการเปลี่ยนสีจาก สีมว่ ง ไปเป็น สีนา้ ตาล ซง่ึ เป็นตวั บง่ ชใี้ หเ้ ห็นว่าไดม้ กี ารกาจดั เอทลิ ีน แล้ว โพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนสไม่สามารถนาไปรวมกบั วสั ดสุ มั ผสั กบั อาหารได้ เนื่องจากมีสีมว่ ง และ เป็นพิษ ดงั นน้ั จึงมีจาหน่ายเฉพาะในรูปแบบของซอง

ห น้ า | 13 หลักการของของตวั ดดู ซบั เอทิลีนบางชนดิ ขนึ้ อยู่กบั การดดู ซบั และลาดบั การสลายตวั ของเอทิลีนบน activated carbon โดยถ่านท่ีมี PdCl เป็นตวั เรง่ ปฎิกริ ิยาโลหะทอ่ี ุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสจะเป็นการ ปอ้ งกนั การสะสมของเอทิลีน ซึง่ จะช่วยชะลอ อตั ราการความนิ่มของเนอื้ สัมผัสในกวี ีแ่ ละกลว้ ย รวมถงึ ยงั ลดการสูญเสียของคลอโรฟิลล์ในผักโขมไดอ้ กี ดว้ ย นอกจากนยี้ งั มเี ทคโนโลยอี ่ืนๆในการดูดซบั เอทิลีน โดยจะขนึ้ อยู่กบั การรวมกนั ของแร่ธาตตุ ่างๆ ตวั อย่างเช่น ซโี อไลต์ ดนิ เหนยี ว (Clay) และ Japanese oya ในบรรจภุ ณั ฑฟ์ ิล์ม แต่ฟิลม์ จะเป็นสีขาวขนุ่ และยงั ไมส่ ามารถดูดซบั เอทลิ ีนไดเ้ พยี งพอ นอกจาก แร่ธาตเุ หล่านอี้ าจจะดูดซบั เอทิลีนได้ พวกเขายงั มี ปรบั เปลี่ยนการซมึ ผ่านของฟิล์ม โดยทาใหเ้ กิดการแพรข่ องเอทลิ ีนและกา๊ ซ คารบ์ อนไดออกไซดอ์ ย่าง รวดเรว็ และจะมกี ารซึมผ่านของแก๊สออกซิเจนมากและเรว็ ขึน้ กว่าฟิลม์ พอลีเอทลิ ีนบรสิ ุทธิ์ซ่ึงจาก ผลกระทบนจี้ ะสามารถยืดอายกุ ารเก็บรักษาและลดความเขม้ ขน้ ของเอทลิ ีนอิสระทอ่ี ยูใ่ นช่องวา่ งในบรรจุ ภณั ฑ์ได้ ในความเป็นจริง วสั ดผุ งใดๆก็สามารถเขา้ ถึงผลกระทบดงั กล่าวได้ และมากกวา่ นน้ั วตั ถุดูดซบั มกั จะหายไปเม่อื นามาผสมรวมกนั กบั พอลิเมอร์ ทง้ั นวี้ ตั ถดุ ดู ซบั เอทลิ ีนยงั ไม่ประสบผลสาเร็จมากนัก อาจ เป็นเพราะความจใุ นการดูดซบั ยงั ไม่เพยี งพอ และส่วนใหญ่ของ ผักและผลไมส้ ดทเ่ี ก็บเกี่ยวไดใ้ นแต่ละปีจะ มีสูญเสียจากสาเหตุการปนเปื้อนของเชอื้ ราและความเสียหายทางสรรี วิทยา โดยแนวคดิ การใชบ้ รรจุภณั ฑ์ ทม่ี ีวตั ถดุ ูดซบั เอทิลีนอาจน าไปสู่การเพิ่มขนึ้ ของการส่งออกของผลิตภณั ฑ์พืชผักผลไมส้ ด 2.7 ผลของสารดูดซับเอทลิ ีนตอ่ การชะลอการสุกและคณุ ภาพการแปรรูป เป็ นกลว้ ย กรอบของกล้วยไข่พันธพุ์ ระตะบอง ปวณี พล คุณารูป และ วาสนา พิทกั ษพ์ ล สารดูดซบั เอทลิ ีนทกุ ชนดิ คอื สารดูดซบั เอทลิ ีนที่ ผลิตเอง (3%KMnO4 ) สารดูดซบั เอทลิ ีนทางการคา้ BeFresh และ Ethyl-Gone พบว่าสามารถชว่ ยชะลอ การสุกและชว่ ยยืดอายกุ ารเกบ็ รกั ษากล้วยไข่พนั ธุ์ พระ ตะบองทีเ่ ก็บรกั ษาทอี่ ุณหภูมหิ อ้ งไดน้ านขนึ้ และชว่ ย ชะลอการเปลี่ยนแปลงของสีผิวของเปลือกกลว้ ย ได้ ช่วยรกั ษาความแนน่ เนอื้ และปริมาณของแขง็ ท่ลี ะลาย นา้ โดยพบว่ากลว้ ยไข่ทีบ่ รรจใุ นกล่องท่ใี ส่สารดดู ซบั เอทิลีนทางการคา้ Ethyl-Gone ไดผ้ ลดที ่สี ุด สามารถ เก็บรกั ษาทีอ่ ณุ หภูมหิ อ้ งไดน้ านทส่ี ุด 10 วนั และ เม่อื นาไปแปรรูปเป็นกล้วยกรอบ พบวา่ ไดก้ ล้วยกรอบที่มี คณุ ภาพดี, สีเหลืองทอง, มีความกรอบมาก และ มี ความชนื้ นอ้ ย ขณะทีก่ ล้วยในชดุ ควบคุมมคี ุณภาพไม่ ด,ี มสี ีนา้ ตาลไหม,้ มคี วามกรอบนอ้ ย และมี ความชนื้ มากท่ีสุด

ห น้ า | 14 ผลของสารดูดซับเอทิลนี ต่อการเปล่ียนแปลงทางด้านคุณภาพของสตรอเบอรรี รอสมี ยะสะแต สมชาย กลา้ หาญ และ ขวญั ชนก เรอื นงาม การศกึ ษาผลของสารดดู ซบั เอทลิ ีนทีม่ ผี ลต่อการเปล่ียนแปลงทางดา้ นคณุ ภาพของสตรอเบอรร่ี มี วตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษาการ เปล่ียนแปลงทางดา้ นคณุ ภาพ และวิธีการทเ่ี หมาะสมตอ่ การยดื อายกุ ารเก็บ รกั ษารว่ มกบั สารดูดซบั เอทิลีน โดยวางแผนการทดลองแบบ completely randomized design (CRD) ประกอบดว้ ย 5 วธิ ีการ 3 ซา้ คอื ปริมาณสารดูดซบั เอทลิ ีน 0 5 10 15 และ 20 เปอรเ์ ซน็ ตข์ อง นา้ หนกั สตรอ เบอรร์ ่ี เก็บรกั ษาท่ีอุณหภมู ิ 13 องศาเซลเซียส ผลปรากฏว่าภายหลงั การเก็บรกั ษาสตรอเบอรร์ ่ีจะสูญเสีย นา้ หนกั สดเพมิ่ ขนึ้ ตามอายุ การเกบ็ รกั ษาท่ีเพม่ิ ขนึ้ ภายหลงั การเกบ็ รกั ษา 10 วนั สตรอเบอรร์ ที่ ่เี กบ็ รกั ษา ในถุง PE รว่ มกบั การใชส้ ารดดู ซบั เอทิลีน 15 เปอรเ์ ซ็นตข์ องนา้ หนกั สด มเี ปอรเ์ ซ็นตก์ ารสูญเสียนา้ หนกั สด มากที่สุด คอื 1.09 เปอรเ์ ซ็นต์ ในทุกวธิ ีการทดลองสตรอเบอรร์ จี่ ะมีสีแดง เพิม่ ขนึ้ ตามอายกุ ารเก็บ รกั ษาที่ เพ่ิมขนึ้ สตรอเบอรร์ ่ที ่เี ก็บรกั ษาในถงุ PE ร่วมกบั การใชส้ ารดดู ซบั เอทลิ ีน 5เปอรเ์ ซน็ ต์ มปี รมิ าณ TSS มาก ท่ีสุดคอื 9.33 brix กอ่ นทา้ การ เกบ็ รกั ษาสตรอเบอรร์ ี่มปี รมิ าณ TA 3.69 เปอรเ์ ซ็นต์ และสีของผิวผลสตรอ เบอรร์ ี่มคี วามสวา่ ง คา่ สีแดง (a*) ค่าสีเหลือง (b*) มคี า่ คือ 52.45 17.49 และ 24.67 ตามลา้ ดบั สตรอเบอร์ รี่ท่เี ก็บรกั ษาในถงุ PE รว่ มกบั การใชส้ ารดูดซบั เอทิลีน 10 เปอรเ์ ซ็นตจ์ ะมีคะแนนคณุ ภาพทาง ประสาท สัมผสั ทด่ี ีท่ีสุด และมอี ายกุ ารเก็บรกั ษานานท่ีสุดคอื 10 วนั ส่วนสตรอเบอรร์ ท่ี ่เี กบ็ รกั ษาในถงุ PE รว่ มกบั การใชส้ ารดูดซบั เอทิลีน 0 และ 5 เปอรเ์ ซ็นต์ จะมอี ายกุ ารเกบ็ รกั ษาสั้นท่สี ุดคือ 6 วนั และมีความแตกต่าง กนั ทางสถติ ิ ก๊าซเอทลิ ีนเป็นสารประกอบอินทรียท์ ่ีมีผลต่อขบวนการสรีรวิทยาของพืช เกดิ จากขบวนการเปล่ียนแปลง ทางเคมภี ายในพชื โดยจดั ให้ เอทิลีนเป็นฮอรโ์ มนพืชชนดิ หนึง่ ซง่ึ ตา่ งจากฮอรโ์ มนพืชชนดิ อื่นๆ เพราะเป็น ฮอรโ์ มนพชื เพยี งชนดิ เดยี วทีเ่ ป็นก๊าซ การสงั เคราะหเ์ อทนิ สามารถ Prapthuk et al (2016) เกิดขนึ้ ไดก้ บั ทุก เซลล์ แต่ตา้ แหน่งในการสงั เคราะหใ์ นการสังเคราะหย์ งั ไมเ่ ป็นท่ีทราบแนช่ ดั เชอื่ กนั วา่ การสงั เคราะหเ์ กดิ ขนึ้ ในแวคิวโอล เอทลิ ีน เป็นสารประกอบ hydrocarbon ทม่ี อี ทิ ธิพลต่อการเจริญและพฒั นาการของพืชมากมาย ไดแ้ ก่ การ พกั ตวั การรว่ ง การชรา การออกดอก การ ตอบสนองตอ่ เรา้ ต่างๆ และทีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ ผลิตผลหลงั การเก็บ เก่ยี ว คือ การสุกของผลผลิต สังคม (2536) โดยทว่ั ไปเอทลิ ีนจะไปเร่งอตั ราการ เสื่อมสภาพของพืชหรือส่วน ของพืช ทั งนนั้ เพราะเอทลิ ีนสามารถกระตนุ้ เนอื้ เย่อื ทุกชนิดใหม้ ีอตั ราการหายใจสูงขนึ้ ได้ สา้ หรบั ในไมผ้ ล

ห น้ า | 15 นน้ั ลักษณะ การผลิตกา๊ ซเอทิลีน และปรมิ าณความเขม้ ขน้ ภายในมีความสัมพนั ธ์กบั การหายใจ ผลไม้ ประเภท climacteric มกี ารผลิตและความเขม้ ขน้ ของ กา๊ ซเอทลิ ีนภายในผลในระหวา่ งการเจริญเติบโตตา่ จนกระท่งั เมื่อผลไมเ้ ร่ิมสุกการผลิตกา๊ ซเอทิลีนจงึ เพ่มิ ขนึ้ หลายเท่าตวั ความเขม้ ขน้ ภายในก็ สูงขนึ้ ดว้ ย สมชาย (2543) การเพมิ่ ขนึ้ ของปริมาณการผลิตก๊าซเอทิลีนอาจเกดิ ขนึ้ กอ่ น หรอื หลงั การเพิ่มขนึ้ ของอตั รา การหายใจกไ็ ด้ ผลไม้ ประเภท non- climacteric และเนอื้ เยอื่ vegetative อ่นื ๆ มีการผลิตก๊าซเอทลิ ีน ตามปกตทิ มี่ อี ยู่ในเนอื้ เยือ่ ท่วั ๆ ไปเทา่ นนั้ จงึ ไมต่ อบสนองต่อ กา๊ ซ เอทธิลีนตามปกตทิ ม่ี อี ย่ใู นเนอื้ เย่ือท่วั ๆ ไปเทา่ นนั้ จึงไมต่ อบสนองต่อก๊าซเอทลิ ีน (จรงิ แทม้ , 2541) การใชส้ ารดูดซบั เอทลิ ีน (ethylene absorbent, EA) รว่ มกบั การใชถ้ งุ พลาสตกิ สามารถยดื อายุการเกบ็ รกั ษาของผลผลิตได้ สารดูดซบั เอทลิ ีนทรี่ ูจ้ กั กนั ดคี ือ ด่างทบั ทมิ (potassium permanganate, KMnO4 ) ซึ่งจะทา้ ปฏกิ ริ ิยาทางเคมกี บั กา๊ ซเอทิลีน เกิดเป็นสาร ใหม่ 2 ชนิดคอื แมงกานสี ไดออกไซด์ (manganese dioxide, MnO2 ) และเอทิลีนไกลคอล (ethylene glycol, C6H6O2 ) ซึง่ ไมส่ ามารถเปล่ียนกลับไปเป็นก๊าซเอ ทลิ ีนไดอ้ ีก วีธีการเตรียมสารดดู ซบั เอทิลีน ทา้ ไดโ้ ดยจุม่ วสั ดุท่ีมคี วามพรุนสูงในสารละลายอม่ิ ตวั ของดา่ งทบั ทมิ แลว้ ผ่ึงลมใหแ้ หง้ สารดดู ซับเอทลิ ีน สามารถดดู ซบั กา๊ ซเอทลิ ีน ทีผ่ ลไมป้ ลดปล่อยออกมานอกผล ช่วยลดปรมิ าณกา๊ ซเอทิลีน จึงชะลอการสุกได้ (สุธีรา, 2537) 2.8 การผลิตถ่านกัมมนั ตจ์ ากถ่านไมย้ างพาราที่ได้จากโรงไฟฟ้าชีวมวลสาหรับงาน เครื่องกรองน้า รองศาสตราจารย์ ดร.จนั ทิมา ชง่ั สิรพิ ร (หวั หนา้ โครงการ ) ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พรศริ ิ แกว้ ประดษิ ฐ์ นางสาวพฤกระยา พงศย์ ห่ี ลา้ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ความหมายของถา่ นกมั มนั ตถ์ ่านกมั มนั ต์ (Activated Carbon) คอื วตั ถุที่มีพนื้ ทีผ่ ิวภายในและมีความพรุนสูงเป็นการนาเอาวตั ถุดิบธรรมชาตทิ ่มี คี าร์บอนเป็นองคป์ ระกอบ มาผ่านกระบวนการก่อกมั มนั ตซ์ งึ่ ทาให้วตั ถุดิบนน้ั มีโครงสรา้ งรูพรุนและมีพนื้ ที่ผิวสูง (รุจิรา, 2556) ซ่งึ พนื้ ทห่ี นา้ ตดั ของถ่านกมั มนั ตจ์ ะมลี กั ษณะคลา้ ยรงั ผึง้ โดยถ่านกัมมนั ตจ์ ะมีคารบ์ อนเป็นองคป์ ระกอบหลัก และมธี าตุอืน่ ทเี่ ป็นองคป์ ระกอบคอื ไฮโดรเจนอรแ์ ละไนโตรเจนโดยจะมีปรมิ าณมากน้อยเทา่ ใดนน้ั ขนึ้ อยู่กบั ปริมาณทม่ี ีเดอ้ กี ในขนั้ ตอนการผลิตดงั นน้ั จงึ มคี วามสามารถในการดูดซบั สารเคมีจากเกดิ และของเหลวได้ ในปรมิ าณสูงถ่านกมั มนั ตเ์ ป็นถ่านที่อยใู่ นรูปคาร์บอนสณั ฐาน (Amorphous carbon) แต่ถูกทาขนึ้ มาเป็น พเิ ศษโดยกระบวนการกอ่ กมั มนั ต์ (Activation) ซง่ึ ทาใหพ้ นื้ ที่ผิวใน (Internal surface area) เพิ่มขนึ้ อนั

ห น้ า | 16 เน่ืองมาจากโครงสรา้ งท่ีเป็นรูพรุนจานวนมากและมคี วามสามารถในการดดู ซบั สูงอนั เนอื่ งมาจากพนื้ ที่ผิว มากมคี วามจุในการดูดซบั สูงผิวโครงสรา้ งเป็นแบบรูพรุนขนาดเล็กจานวนมากและมีความสามารถในการ ดูดซบั สูง ประมาทของถา่ นกมั มนั ต์ 1. ถ่านกมั มนั ตแ์ บบผง (Powder Activated Carbon, PAC) เป็นถ่านกมั มนั ตท์ ่ถี กู นามดจนสามารถผ่าน ตะแกรงรอ่ นขนาด 60 เมซไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 99 โดยนา้ หนกั มลี กั ษณะเป็นผงโดยทว่ั ไปจะมีขนาด 0.15- 0.25 มิลลิเมตรนิยมใชใ้ นการดดู ซบั สารในสภาวะแก็สหรือของเหลวเช่นการฟอกสีการดูดซับกลิ่นระเหย ง่ายและดดู กลิ่นในของเหลว 2. ถา่ นกมั มนั ตแ์ บบเกล็ดหรือเม็ด (Granular Activated Carbon, (GAC) เป็นถา่ นกมั มนั ตท์ ่ที าจาก วตั ถุดบิ ทเ่ี ป็นเมด็ หรือเป็นถ่านกมั มนั ตแ์ บบผงแลว้ มาเตมิ ตวั ประสานทา่ ใหเ้ ป็นเม็ดสามารถผ่านตะแกรง รอ่ นขนาด 20 เมชไดไ้ มต่ า่ กว่ารอ้ ยละ 85 และสามารถผ่านตะแกรงร่อนขนาด 40 เมชไดไ้ มเ่ กินรอ้ ยละ 5 โดยนา้ หนกั ถา่ นกมั มนั ตแ์ บบเกล็ดหรือเม็ดทีใ่ ชง้ านมานานจนประสิทธิภาพลดลงแล้วสามารถนาไปทาการ ฟื้นฟูสภาพเพ่อื ทาใหม้ ีอานาจการดูดซบั ทผี่ ิวารมากขึ้นถ่านกมั มนั ตแ์ บบนนี้ ิยมใชเ้ ป็นไสก้ รองในเคร่อื ง กรองนา้ 3. ถ่านกมั มนั ตแ์ บบเป็นแท่ง (Extrusioned) นยิ มใชใ้ นเบดนึงเพ่อื การดดู ซบั เสารปนเปื้อนทตี่ อ้ งการอตั รา การดูดซบั สูง ๆ ถ่านกมั มนั ตช์ นิดเป็ดและแบบขึน้ รูปเป็นแหง่ มีการใชง้ านมากกวา่ ถา่ นกมั มนั ตช์ นิดผง เน่ืองจากสามารถนากลบั มาใชใ้ หม่ได้ คุณสมบตั ิทางกายภาพ 1. ความหนาแนน่ (Density) เป็นการทดสอบหานา้ หนกั ของถา่ นกมั มันตต์ ่อหน่วยปรมิ าตรโดยปริมาตรใน ที่นหี้ มายถงึ ปรมิ าตรของชอ่ งวา่ งระหว่างอนภุ าคปริมาตรของรูพรุนของถ่านกัมมนั ตง์ ถ่านกัมมนั ตด์ งั นน้ั คา่ นขี้ นึ้ กบั ขนาดและความพรุนของถา่ นกมั มนั ตโ์ ดยถ่านกมั มนั ตเ์ กรดการค้าจะมคี ่าความหนาแนน่ เชิง ปริมาตรอยูร่ ะหว่าง 0.3-0.5 กรมั ต่อลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตรในการวิเคราะหท์ ี่กาหนดใหข้ นาดของอนภุ าคคงท่ี พบวา่ ถ่านกมั มนั ตท์ มี่ คี วามหนาแนน่ เชิงปรมิ าตร (Volumetric density) ตา่ จะมีปรมิ าณรูพรุนขนาดเล็ก จานวนมากและคา่ ความหนาแนน่ เชิงปรมิ าตรยงั ขนึ้ อยู่กบั ความชนื้ ของอนภุ าคดว้ ยคืออนุภาคทม่ี ีคา่ ความชนื้ สูงจะมีค่าความหนาแนน่ เชงิ ปรมิ าตรสตสง

ห น้ า | 17 2. พนื้ ทผ่ี ิวจาเพาะ (Specific surface area) เป็นคา่ มาตรฐานใชเ้ พ่อื แสดงคณุ สมบตั ถิ ่านกมั มนั ตเ์ น่ืองจาก สามารถทดสอบเปรียบเทียบไดก้ บั ถ่านกมั มนั ตท์ ุกชนิดคา่ พนื้ ที่ผิวที่มใี นการรายงานคณุ สมบตั ิของถา่ นกมั มนั ตส์ ่วนใหญ่จะใชว้ ธิ ีการของบีอีที (BE) โดยใชก้ า๊ ซไนโตรเจนเป็นก๊าซในการดดู ซบั ใชเ้ คร่ืองทดสอบพนื้ ที่ ผิวเป็นเครอื่ งวิเคราะหโ์ ดยปกตถิ ่านกมั มนั ตส์ ามารถมพี นื้ ท่ีผิวตงั้ แต่ 600-2,500 ตารางเมตรตอ่ กรมั 3. ค่าความแข็ง/ค่าการขดั ถู ( Hardness/Abrasion number ) บอกถงึ ความตา้ นทานการสึกกร่อน ความสามารถในการทนตอ่ แรงเสียดสี ละความสามารถในการคงสภาพไดข้ องถา่ นกัมมนั ตท์ มี่ ีต่อ กระบวนการล้างวสั ดกุ รอง ( Backwashing ) ซง่ึ ค่านจี้ ะแตกต่างอยา่ งชดั เจนตามชนิดวตั ถุดิบและระดบั ท่ี ถา่ นถกู กระตนุ้ ทดสอบความแขง็ ของถา่ นดว้ ย Brinell hardness test คณุ สมบตั ิในการดดู ซบั คุณสมบตั ิในการดดู ซบั คณุ สมบตั ใิ นการดดู ซบั ของถา่ นกมั มนั ตห์ าไดจ้ ากไอโซเทอมการดดู ซบั (Adsorptionisotherm) ของของเหลวบนถา่ นกมั มนั ตเ์ มอ่ื นาไปดดู ซับของเหลวตวั อย่างซงึ่ มีการดูดชบั 2 แบบตามรายละเอียดดงั นี้ 1. การดดู ซบั ไอโอดีนเป็นวิธีทง่ี ่ายในการหาพนื้ ทีผ่ ิวของถ่านกมั มนั ตโ์ ดยเป็นการหาจานวนมลิ ลิกรมั ของ สารละลายไอโอดีนทถ่ี ูกดูดซบั โดยใชถ้ ่านกมั มนั ต์ 1 กรมั ท่ีจุดซง่ึ ความเขม้ ขน้ ของสารละลายไอโอดนี ท่ีเหลือ เทา่ กบั 0.02 นอรม์ ลั ใหอ้ ยู่ในช่วง 0.007-0.03 นอรม์ ลั โมเลกลุ ของไอโอดนี มีขนาดเท่ากบั 0.54 นาโนเมตร วิธีวเิ คราะหค์ วามสามารถในการดูดซบั ไอโอดีนตามมาตรฐาน ASTM D4607-86 2. การดูดซบั เมทิลีนบลูสามารถบอกค่าการดดู ซบั ของถา่ นกมั มนั ตไ์ ดส้ าหรบั โมเลกลุ ที่ถกู ดดู ชับมีขนาด ใกลเ้ คยี งกบั โมเลกลุ ของเมทลิ ีนบลูซึ่งจะมคี ่าอย่ใู นชว่ งของรูพรุนแบบเมโซพอร์ (Mesoporouspore) คอื จะ มีขนาดใหญ่กว่า 15 นาโนเมตรเนอื่ งจากเมทลิ ีนบลูมขี นาดรศั มโี มเลกุลเท่ากบั 1.6 นาโนเมตร (บุญรกั ษ์, 2543) ประโยชนข์ องถ่านกมั มนั ต์ 1.ใชใ้ นอุตสาหกรรมทาหนา้ กากป้องกนั แกส๊ พิษทง้ั นถี้ ่านกมั มันตส์ ามารถดดู ซับแกส๊ พษิ และไอของ สารอินทรยี ไ์ ด้ 2. ใชแ้ ยกแก๊สโซลีนออกจากแก๊สธรรมชาติ

ห น้ า | 18 3. ใชแ้ ยกไอระเหยของตวั ทาละลายที่ใชแ้ ลว้ นากลับมาใชใ้ หม่โดยถ่านกมั มนั ตจ์ ะถูกดูดซบั ไอระเหย เหล่านนั้ ท่ีอณุ หภูมหิ อ้ งและคายออกที่ความดนั ของไอต่า 4. ใชใ้ นอุตสาหกรรมนา้ ตาลเพ่อื ฟอกสีและทาใหน้ า้ ตาลดบิ บริสุทธ์ิขึน้ 5. ใชท้ านา้ ใหบ้ รสิ ุทธิ์เป็นการกาจดั รสสีและกลิ่นนอกจากนีย้ งั ใชใ้ นการบาบดั นา้ เสีย 6. ใชใ้ นเครอ่ื งกรองนา้ ดืม่ เพอ่ื ช่อื กรองสีกลิ่นและสารอินทรียใ์ นนา้ ใหบ้ ริสุทธิ์ 7. ใชใ้ นอุตสาหกรรมเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์เช่นไวนว์ ิสกีม้ กั ใช้ถ่านกมั มนั ตเ์ พื่อดดู กล่ินที่ไมต่ อ้ งการเช่นเอ สเตอรท์ าใหไ้ ดเ้ ครอ่ื งดืม่ ท่ีมรี สชาติดีขนึ้ บทที่ 3 วิธีการจัดทาโครงงาน ในการจดั ทาโครงงานสะเตม็ ศึกษาเรื่องโครงงานถ่านชะลอการสุกของกลว้ ยผู้จดั ทาโครงงานมีวธิ ี ดาเนนิ งานโครงงานตามขนั้ ตอนดงั นี้ -คดิ หวั ขอ้ โครงงานเพื่อนาเสนอครูท่ีปรกึ ษาโครงงาน -ศึกษาและคน้ ควา้ ขอ้ มูลที่เกี่ยวขอ้ งกบั เร่อื งท่สี นใจ คอื เรอื่ ง ถ่านชะลอการสุกของกลว้ ย ว่ามเี นอื้ หามาก นอ้ ยเพียงใด และตอ้ งศึกษาคน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ เพียงใดจากเวบ็ ไซส์ตา่ งๆและเก็บขอ้ มลู ไวเ้ พื่อจดั ทาเนอื้ หา ตอ่ ไป -ศกึ ษาถงึ การสุกของกลว้ ย จากเอกสารและเว็บไซส์ตา่ งๆ ที่เป็นสาเหตขุ องการสุกและทง้ั เป็นการชะลอการ สุก -จดั ทาโครงรา่ งโครงงานคอมพิวเตอรเ์ พ่ือนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน -ปฏบิ ตั ิการจดั ทาโครงงานอาชีพ เรอ่ื ง ถา่ นชะลอการสุกของกลว้ ย นาเสนอรายงานความกา้ วหนา้ ของงาน เป็นระยะๆซึ่งครูทป่ี รึกษาจะใหข้ อ้ เสนอแนะต่างๆ เพือ่ ใหจ้ ดั ทาเนอื้ หาและนาเสนอที่นา่ สนใจตอ่ ไป ทง้ั นี้ เม่อื ไดร้ บั คาแนะนากจ็ ะนามาปรบั ปรุง แกไ้ ขใหด้ ียงิ่ ขนึ้ -นาเสนองาน

ห น้ า | 19 3.1 วัสดุอุปกรณเ์ ครื่องมอื ท่ีใช้ 3.1.1.กระดาษท่ีใชแ้ ล้ว 3.1.2.ถ่านบดละเอียด 3.1.3.ตะแกรงแบบถ่ี 3.1.4.กล้วย 3.1.5.กล่อง 3.3 วิธีการจดั ทาโครงงาน 3.3.1 ทาถ่านกามนั ตโ์ ดยการกระตนุ้ ทางกายภาพ เป็นการนาถ่านทผ่ี ่านการเผาไหมใ้ นสภาพ อบั อากาศ หรือจากดั อากาศ ทาใหม้ อี อกซิเจนนอ้ ย มากระตนุ้ โดยใชก้ า๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ 3.3.2 บดถ่านกมั มนั ตท์ ี่ไดใ้ หเ้ ป็นผง

ห น้ า | 20 3.3.3 นากระดาษทใ่ี ชแ้ ล้วมาฉีกเป็นชนิ้ เล็กๆ แลว้ นาไปแชใ่ นนา้ เปล่าและนากระดาษไปป่ันใหล้ ะเอียด

ห น้ า | 21 3.3.4 นาเยือ่ กระดาษท่ีไดม้ าผสมกบั ผงถา่ นที่เตรยี มไว้

ห น้ า | 22 3.3.4 นาตะแกรงทีถ่ กู ขงึ้ เป็นสี่เหล่ียมตกั เยอ่ื กระดาษท่นี าไปผสมกบั ผงถ่าน แล้วกระจายใหท้ ว่ั ตะแกรง แลว้ ยกขนึ้ จากนา้ สะเด็ดนา้ ออกเล็กนอ้ ย 3.3.5 นาเยอ่ื กระดาษท่ีไดไ้ ปตากให้แหง้ 3.3.6 ตดั ใหก้ ระดาษใหพ้ อดกี บั การใชง้ าน แลว้ สามารถนาไปห่อผลไมไ้ ดเ้ ลย

ห น้ า | 23 บทท่ี 4 ผลการดาเนินโครงงาน 4.1.ผลการดาเนินงาน สรุปการศึกษาเรื่องการทาถา่ นชะลอการสุกของกลว้ ย ศกึ ษาเฉพาะ เทคนิคและกระบวนการทาทาถ่าน ชะลอการสุกของกลว้ ย โดยเป็นการสรุปผลท่ไี ดจ้ ากบทที่ 1-3 ซ่งึ ผศู้ กึ ษานาขอ้ มลู ตา่ งๆมาเป็นแนวทางใน การทา โดยมรี ายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี 4.1.2 กระดาษดดู ซบั เอทลิ นี ทไี่ ด้ สรุปผลการศึกษา การศึกษาเรื่องการทาถา่ นชะลอการสุกของกลว้ ย ศึกษาเฉพาะ เทคนิคและกระบวนการทาการทาถ่าน ชะลอการสุกของกลว้ ย ทน่ี ามาสูก่ ระดาษดูดซบั เอทิลีนที่ได้ โดยท้งั หมดไดน้ าเทคนิคการทาถา่ นชะลอการสุกของกลว้ ยไปใชก้ ารชะลอการสุกของผลกลว้ ยและยืด อายุการเกบ็ รกั ษาได้ และยงั สามารถใชก้ ระดาษดดู ซบั เอทลิ นี ในการประกอบเป็นอาชีพหรือธุรกจิ ไดอ้ ีกดว้ ย อกี ท้งั ยงั ไดใ้ ชว้ สั ดเุ หลอื ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์สูงสุด

ห น้ า | 24 4.2 การนาไปใช้ -สามารถเกบ็ ผลไมไ้ วไ้ ดน้ านมากข้นึ -หากเป็นธุรกจิ สง่ ออกผลไม้ กส็ ามารถขยายกจิ การได้มากข้ึน -ถา่ นชะลอความสุกของกลว้ ย ยงั สามารถใชก้ บั ผลไมอ้ ืน่ ไดอ้ ีกด้วย

ห น้ า | 25 บทที่ 5 สรุปผล และอภิปรายข้อเสนอแนะ 5.1.สรุปผลการดาเนินงาน การศกึ ษาเร่ืองการทาถา่ นชะลอการสุกของกลว้ ย ศกึ ษาเฉพาะ เทคนิคและกระบวนการทาการทาถา่ น ชะลอการสุกของกลว้ ย ท่นี ามาสูก่ ระดาษดูดซบั เอทิลนี ท่ีได้ 5.2.ปัญหาและอุปสรรค กระดาษกรอบและแข็งมากเกนิ ไปจึงไมส่ ะดวกตอ่ การหอ่ เพราะกระดาอาจแตกได้ 5.3.ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา เมอ่ื ทากระดาษดูดซบั เอทิลีน ในขน้ั ตอนการทาให้ควรทาให้กระดาษยยุ่ ละเอยี ด และควรทาให้กระดาษไมด่ ดู ซบั น้ามากเกนิ ไปโดยใชฟ้ องน้าดูดซับน้าออก เพราะจะทาให้กระดาษไมแ่ ขง็ มากเกนิ ไป

ห น้ า | 26 บรรณานุกรม ผศ.ดร.พมิ พเ์ พญ็ พรเฉลิมพงศแ์ ละศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์. ม.ป.ป. การ สกุ ของผลไม.้ [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ท่ีมา http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1839/fruit-ripening- %E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0 %B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%84%E0%B8 %A1%E0%B9%89 (5 ตุลาคม 2563) ศิริพร เต็งรัง, กนกศกั ด์ิ ลอยเลิศ, วมิ ลวรรณ วฒั นวจิ ิตร, นภสั สร เลียบวนั , สุปรียา ศขุ เกษม และธีรชาต วชิ ติ ชลชยั . 2018. วจิ ยั และพฒั นากระดาษดูดซบั เอทิลีนจากเปลือกทุเรียน. [ระบบ ออนไลน์]. แหลง่ ที่มา http://doa.go.th/research/showthread.php?tid=2365&pid=2383 (5 ตุลาคม 2563) ลดาวลั ย์เลิศเลอวงศ.์ 2555. บทบาทของเอทิลีนและ 1-methylcylopropene ตอ่ การสกุ ของผล ปาล์มน้ามนั หลงั การเกบ็ เก่ียว. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา https://vcr.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11800 (5 ตุลาคม 2563) รอสมี ยะสะแต, สมชาย กลา้ หาญ และขวญั ชนก เรือนงาน. 2559. ผลของสารดูดซับเอทิลีนตอ่ การเปลี่ยนแปลงด้านคณุ ภาพของสตอเบอรรี่. วารสารพชื ศาสตรส์ งขลานครินทร.์ 3. 26-32 (5 ตุลาคม 2563)

ห น้ า | 27 ภำคผนวก อตั ราการหายใจ และการผลติ เอทิลีน ภาพการเกิดทางเคมีของเอทลิ ีน.

ห น้ า | 28

ห น้ า | 29

ห น้ า | 30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook