Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore The Evolution of Computer

The Evolution of Computer

Published by aonz.spc, 2017-08-09 09:13:35

Description: The Evolution of Computer

Search

Read the Text Version

9/8/2560 วิวฒั นาการของ คอมพิวเตอร์นางสาวสพุ ชิ ฌาย์ ธนฐั พงศก์ ฤษ | วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษานครราชสมี า

ววิ ฒั นาการของคอมพวิ เตอร์จุดกำเนดิ ของคอมพวิ เตอร์ ต้นกาเนิดของคอมพิวเตอร์อาจกล่าวได้ว่ามาจากแนวความคิดของระบบตัวเลข ซ่ึงได้พัฒนาเป็นวิธีการคานวณต่าง ๆ รวมท้ังอุปกรณ์ที่ช่วยในการคานวณอย่างง่าย ๆ คือ\" กระดานคานวณ\" และ\"ลูกคดิ \" ในศตวรรษที่ 17 เคร่ืองคานวณแบบใช้เฟ่ืองเคร่ืองแรกได้กาเนิดขึ้นจากนักคณิตศาสตร์ชาวฝร่ังเศษคือ Blaise Pascal โดยเครื่องของเขาสามารถคานวณการบวกการลบได้อย่างเที่ยงตรง และในศตวรรษเดียวกนั นักคณิตศาสตรช์ าวเยอร์มัน คือ Gottried Wilhelm von Leibnizได้สร้างเคร่ืองคดิ เลขเครือ่ งแรกที่สามารถคณู และหารได้ด้วย ในต้นศตวรรษที่ 19 ชาวฝรั่งเศษชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พัฒนาเคร่ืองทอผ้าที่สามารถตงั้ โปรแกรมได้ โดยเคร่อื งทอผา้ นี้ใช้บตั รขนาดใหญ่ซ่ึงได้เจาะรูไว้เพื่อควบคุมรูปแบบของลายที่จะปัก บัตรเจาะรู(punched card) ท่ี Jacquard ใช้นี้ได้ถูกพัฒนาต่อๆมาโดยผู้อื่น เพ่ือใช้เป็นอปุ กรณป์ อ้ นขอ้ มลู และโปรแกรมเข้าเครอื่ งคอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆ ต่อมาในศตวรรษเดียวกัน ชาวอังกฤษชื่อ Charles Babbage ได้ทาการสร้างเครื่องสาหรับแก้สมการโดยใช้พลังงานไอน้าเรียกว่า difference engine และถัดจากน้ันได้เสนอทฤษฎีเก่ียวกับคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เม่ือเขาได้ทาการออกแบบ เครื่องจักรสาหรับทาการวิเคราะห์ ( analyticalengine) โดยใช้พลังงานจากไอน้า ซ่ึงได้มีการออกแบบให้ใช้บัตรเจาะรูของ Jacquard ในการป้อนข้อมูล ทาให้อุปกรณ์ชิ้นนี้มีหน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล และหน่วยเก็บข้อมูลสารอง ครบตามรปู แบบของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ แต่โชคไม่ดีที่แม้ว่าแนวความคิดของเขาจะถูกต้องแต่เทคโนโลยีในขณะนนั้ ไมเ่ อือ้ อานวยตอ่ การสร้างเคร่ืองท่ีสามารถทางานได้จริง อย่างไรก็ดี CharlesBabbage ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์คนแรกและผู้ร่วมงานของเขาคือ AugustaAda Byron ก็ได้รบั การยกยอ่ งวา่ เป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก

เครื่อง Difference Engine ของ Charles Babbage จากนั้นประมาณปี ค.ศ. 1886 Dr.Herman Hollerith ได้พัฒนาเครื่องจัดเรียงบัตรเจาะรูแบบelectromechanical ขึ้นซ่ึงทางานโดยใช้พลังงานไฟฟ้าและสามารถทาการ จัดเรียง (sort) และคดั เลอื ก (select) ขอ้ มลู ได้ ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1896 Hollerith ไดท้ าการก่อต้ังบริษัทสาหรับเครื่องจักรในการจัดเรียงชื่อTabulating Machine Company และในปี ค.ศ.1911 Hollerith ได้ขยายกิจการโดยเข้าหุ้นกับบริษัทอ่ืนอีก 2 บริษัทจัดตั้งเป็นบริษัท Computing -Tabulating-RecordingCompany ซ่ึงประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก และในปี ค.ศ. 1924 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นInternational Business Corporation หรอื ทีร่ ู้จักกันตอ่ มาในชือ่ ของบรษิ ัท IBM นน่ั เอง เครอ่ื งจดั เรยี งบตั รเจาะรูของ Dr. Her Hollerith

ในปี ค.ศ.1939 Dr. Howard H. Aiken จาก Harvard University ได้ร่วมมือกับบริษัท IBMออกแบบคอมพิวเตอรโ์ ดยใช้ทฤษฎขี องBabbageและในปี ค.ศ.1944 Harvard mark I ก็ได้ถือกาเนิดขึ้นเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ซ่ึงมีขนาดยาว 5 ฟุต ใช้พลังงานไฟฟ้าและใช้ relay แทนเฟืองแต่ยังทางานไดช้ ้าคือใชเ้ วลาประมาณ 3-5 วนิ าทสี าหรับการคณู การพฒั นาท่ีสาคัญกับ Mark I ได้เกิดข้ึนปี 1946 ดดย Jonh Preper Eckert, Jr. และ Dr. JonhW.Msuchly จาก University of Pennsylvniaได้ออกแบบสร้างเคร่ือง ENIAC ( ElectronicNumeric Integator and Calcuator ) ซึ่งทางานไดเ้ ร็วอยู่ในหน่วยของหน่ึงส่วนล้านวินาทีในขณะท่ีMark I ทางานอยู่ในหน่วยของหน่ึงส่วนพันล้านเท่า โดยหัวใจของความสาเร็จนี้อยู่ท่ีการใช้หลอดสูญญากาศมาแทนท่ี relay น่นั เองและถัดจากน้ัน Mauchly และ Eckert ก็ทาการสร้าง UNIVAC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอรอ์ เิ ลก็ ทรอนสิ เ์ พือ่ การค้าเครื่องแรกของโลก เครือ่ ง ENIAC สงู 10 ฟุต กว้าง 10 ฟตุ และยาว 10 ฟุต การพัฒนาที่สาคัญได้เกิดขึ้นมาอีก เม่ือ Jonh von Neumann ซ่ึงเป็นที่ปรึกษาของโครงการENIAC ไดเ้ สนอแผนสาหรับคอมพิวเตอรเ์ ครื่องแรกทจี่ ะทาการเก็บโปรแกรมไว้ในหนว่ ยโปรแกรมไว้ในหน่วยความจาที่เหมอื นกบั ทีเ่ ก็บขอ้ มูลซ่งึ พฒั นาการนีท้ าให้สามารถเปลียนวงจรของคอมพวิ เตอร์ได้โดยอัตโนมัติแทนที่จะต้องทาการเปล่ียนสวิทต์ด้วยมือเหมือนช่วงก่อน นอกจากน้ี Dr. Vonneumann ยังไดน้ าระบบเลขฐานสองมาใช้ในคอมพวิ เตอร์ซง่ึ หลักการตา่ งๆเหล่านี้ได้ทาให้เคร่ือง IASท่สี ร้างโดย Dr. von Neumann เป็นเครอ่ื งคอมพิวเตอรเ์ อนกประสงค์เคร่ืองแรกของโลกเป็นการเปิดศักราชของคอมพิวเตอร์อยา่ งแท้จรงิ และยังไดเ้ ป็นบดิ าคอมพิวเตอร์คนท่ี 2

ยคุ ของคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรม์ กี ารพฒั นาอยา่ งต่อเนอื่ ง สามารถแบง่ ออกไดโ้ ดยแบ่งส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ (Hardward ) เป็น 5 ยุคด้วยกันยุคที่ 1 (The First Generation)ปี ค.ศ. 1951 – 1958 คอมพิวเตอร์ในยุคแรกน้ี ใช้หลอดสูญญากาศในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทาให้ต้องการกาลังไฟฟ้าเล้ียงวงจรท่ีมีปริมาณมากและทาให้มีความร้อนเกิดขึ้นมากจึงต้องติดต้ังเคร่ืองในหอ้ งปรับอากาศ ความเร็วในการทางานเป็นวินาที เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ สื่อท่ีใช้ในการเกบ็ ขอ้ มลู คือ บตั รเจาะรู ภาษาคอมพวิ เตอรท์ ่ใี ช้ในการเขยี นโปรแกรมเพ่ือควบคุมการทางาน คือภาษาเครอ่ื งซ่งึ เปน็ ภาษาที่ใชร้ หสั เลขฐานสอง ทาใหเ้ ข้าใจยากสรุปอุปกรณ์ : ใช้หลอดไฟสูญญากาศและวงจรไฟฟ้าหน่วยวัดความเร็ว : วดั เป็นวินาที ( Second)ตวั อย่างภาษาคอมพิวเตอร์ : ภาษาเครือ่ ง (Machine Language)ตัวอย่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ : Univac I, IBM 650, IBM 700, IBM 704, IBM 705, IBM 709 และMARK I MARK I

ยุคที่ 2 (The Second Generation) ปี ค.ศ. 1959 – 1964 เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง กินไฟน้อยลง ราคาถูกลง เพราะมีการประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ขึ้นมาใช้แทนหลอดสูญญากาศ ทาให้ทางานได้เร็วข้ึน ความเร็วในการทางานเท่ากั บ1/103 วินาที (มิลลเิ ซคค่ัน) และได้ผลลพั ธท์ ่ถี ูกตอ้ งมากกวา่ ใชห้ ลอดสูญญากาศ ทรานซสิ เตอร์มีขนาดเล็กกว่าหลอดสูญญากาศ 200 เท่า และได้มีการสร้างวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic core) มาใช้แทนดรัมแมเ่ หล็ก (Magnetic drum) เป็นหนว่ ยความจาภายในซงึ่ ใช้ในการเก็บข้อมูลและชุดคาสัง่ภาษาคอมพิวเตอรท์ ใี่ ชเ้ ขียนโปรแกรมในยคุ ที่ 2 นี้ คือ ภาษาแอสแซมบล้ี (Assembly) ซึ่งเป็นภาษาท่ีใช้สญั ลักษณ์แทนคาสั่งต่าง ๆ ทาให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าภาษาเคร่ืองเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคน้ีเชน่ IBM 1620,IBM 401, Honeywellสรุปอุปกรณ์ : ใชท้ รานซสิ เตอร์(Transistor) แทนหลอดไฟสญู ญากาศหน่วยวดั ความเรว็ : วัดเปน็ มลิ ลวิ ินาที ( Millisecond)ตัวอยา่ งภาษาคอมพิวเตอร์ : ภาษาแอสแซมบลี (Assembly) , ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN)ตัวอยา่ งเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ : IBM 1620, IBM 1401, CDC 6600, NCR 315 , Honey Well Honey Wellยุคท่ี 3 (The Third Generation) ปี ค.ศ. 1965 – 1970 เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีถูกพัฒนามาใช้ในยุคน้ีเป็นวงจรรวม หรือ เรียกว่าไอซี (IC : IntegratedCircuit) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ท่ีถูกบรรจุลงในแผ่นซิลิคอน (silicon) บาง ๆ ที่ เรียกว่า ซิป

(Chip) ในซิปแต่ละตัวจะประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายพันตัว จึงทาให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ลงกว่าเดิมแต่ความเร็วในการทางานสูงขึ้น ความเรว็ ในการทางานเป็น 1/106 วนิ าที่ (ไมโครเซคค่ัน)กินไฟน้อยลง ความร้อนลดลงปละประสิทธิภาพในการทางานเพิ่มขึ้น แต่ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะเป็นวงจรรวม คอมพิวเตอรจ์ ะถูกออกแบบเพื่อใช้กับงานแต่ละอย่าง เช่น ใช้ในงานคานวณหรือใช้กับงานธรุ กจิ เม่ือคอมพวิ เตอรถ์ ูกพัฒนามาใชว้ งจรรวมกส็ ามารถใชก้ บั งานทีซ่ บั ซ้อนได้มากขึ้น IBM 360 เป็นหนง่ึ ในคอมพิวเตอร์ท่ีใช้วงจรรวมที่สามารถทางานได้ทั้งการประมวลผลแฟ้มข้อมูล และวิเคราะห์ค่าทางคณิตศาสตร์ ต่อมาบริษัท DEC (Digital Equiptment Corporation) ได้หันมามุ่งผลิตคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เพื่อหลีกเล่ียงการแข่งขันกับ IBM มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) จึงถูกพัฒนาขนึ้ เปน็ คร้งั แรก ในช่วงยคุ ที่ 2 และนยิ มใชก้ ันแพรห่ ลาย DEC ได้แนะนามินิคอมพิวเตอร์เคร่ืองแรก และ PDP1 เป็นหนึ่งในมินิคอมพิวเตอร์ยุคแรกท่ีนิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในกลุ่มของนักวิทยาศาสตร์ นักวิศวกร และนักวิจัยตามมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ก็เกิดขึ้นโปรแกรมมาตรฐานได้ถกู เขยี นข้ึนเพอ่ื ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ท่ีเป็นวงจรรวม และใช้เครื่องมาหลังจากท่ไี ดม้ ีการปรับปรงุ ทางดา้ นฮารด์ แวร์สรุปอุปกรณ์ : ใชว้ งจรแบบไอซี (IC) ซง่ึ เปน็ วงจรอเิ ล็กทรอนกิ สท์ ี่ถูกบรรจลุ งในแผน่ ซลิ กิ อน ( Silicon)ที่เรียกวา่ Chipหน่วยวดั ความเร็ว : วัดเปน็ ไมโครวินาที ( Microsecond)ตวั อยา่ งภาษาคอมพิวเตอร์ : COBOL , PL/1 , RPG , BASICตัวอยา่ งเครื่องคอมพิวเตอร์ : IBM 360 , CDC 3300 , UNIVAC 9400 BURROUGH 7500 , PDP1 UNIVAC

ยคุ ท่ี 4 (The fourth Generation) ปี ค.ศ. 1971 ในยุคนี้ได้มีการพัฒนาเอาวงจรรวมหลาย ๆ วงจรมารวมเป็นวงจรขนาดใหญ่ เรียกว่า LSI(Large Scalue Integrated) ลงในซิปแต่ละอัน บริษัทอินเทล (Intel) ได้สร้างไมโครโปรเซสเซอร์(Microprocessor) ซง่ึ เปน็ ซิป 1 อัน ทปี่ ระกอบด้วยวงจรทง้ั หมดท่ีต้องใช้ในการประมวลผลโปรแกรมไมโครโปรเซสเซอรซ์ ปิ ทใี่ ชใ้ นเครือ่ งพีซี (PC : Personal Computer) มีขนาดกระทัดรัดประกอบด้วยส่วนประกอบของ ซีพียู (CPU) 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม (Control Unit) และ หน่วยคานวณและตรรก (Arithmetic / Logic Unit) ปัจจุบันได้มีการสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายหม่ืนวงจรรวมอยู่ในซิปเดียว เป็นวงจร LSI(Large Scalue Integrated) และ VLSI (Very Large Scale Integrated) ในยุคนี้ได้มีการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ได้แก่ ไมโครคอมพิวเตอร์มินิคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับความนิยมมากเพราะมีขนาดเล็ก กระทัดรัดและราคาถูกแต่มีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน ทางานเร็วข้ึน ความเร็วในการทางานเป็น 1/109 วินาที (นาโนเซคค่ัน) และ 1/1012 วินาที(พิโคเซคค่ัน) นอกจากน้ีวงจร LSI ยังได้ถูกนาไปใช้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เป็นการลดคา่ ใช้จา่ ยพรอ้ มกับเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการทางานสรปุอปุ กรณ์ : ใชร้ ะบบ LSI ( Large Scale Integrated ) ซงึ่ เปน็ วงจรท่ีประกอบด้วยทรานซิสเตอร์หลายพนั ตวั และต่อมาไดร้ ับการพัฒนาปรับปรงุ เปน็ VLSI ซึ่งก็คอื Microprocessor หรอื CPUหน่วยวดั ความเรว็ : วัดเป็นนาโนวนิ าที ( Nanosecond) และพโิ ควนิ าที (Picosecond)ตวั อยา่ งภาษาคอมพิวเตอร์ : ภาษาปาสคาล (PASCAL) , ภาษาซี (C)ตวั อย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ : IBM 370 เนื่องจากการเพ่ิมความจุของหน่วยบันทึกข้อมูลสารองน่ีเอง ซอฟต์แวร์ชนิดใหม่ได้พัฒนาข้ึนเพื่อให้สามารถเก็บรวมรวบและบันทึกแก้ไขข้อมูลจานวณมหาศาลท่ีถูกจัดเก็บไว้ นั่นคือ ซอฟร์แวร์ฐานข้อมูล (Data base ) นอกจากน้ี ยังมีการถือกาเนิดขึ้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี1975 คือเครื่อง Altair ซึ่งใช้ชิฟ intel 8080 และถัดจากน้ันก็เป็นยุคของเคร่ือง และ ตามลาดับ ในส่วนของซอฟต์แวร์กไ็ ดม้ กี ารพฒั นาใหเ้ ปน็ มิตรกบั ผู้ใช้ มีขนาดใหญ่และซบั ซอ้ นมากขนึ้ เร่ือย ๆ รวมทั้ง

มีการนาเทคนิคต่าง ๆ เช่น OOP (Object-Oriented Programming) และ Visual Programmingมาเปน็ เครือ่ งมอื ชว่ ยในการพัฒนา การพัฒนาที่สาคัญอื่นๆในยุคที่ 4 คือการพัฒนาเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ทาให้คอมพิวเตอรส์ ามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ โดยการใช้งานภายในองค์กรน้ัน ระบบเคร่ือข่ายท้องถนิ่ (Local Araa Networks) ซ่งึ นิยมเรยี กวา่ แลน (LANs) จะมีบทบาทในการเชื่องโยงเคร่ืองนับรอ้ ยเข้าด้วยกันในพน้ื ที่หา่ งไกลกนั นกั ส่วนระบบเครือ่ งข่ายระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรือแวน (WANs) จะทาหน้าท่เี ชอ่ื มโยงเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทอี่ ยหู่ ่างไกลคนละซกี โลกเขา้ ด้วยกนั IBM 370ยุคที่ 5 (The Fifth Generation) ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1980 - 1989 ในยุคที่ 4 และยคุ ท่ี 5 ก็จัดเป็นยคุ ของคอมพวิ เตอร์ในปัจจุบนั แตใ่ นยคุ ที่ 5 น้ีมีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยการจดั การและนามาใช้สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารจึงเกิดสาขา MIS (ManagementInformation System) ขน้ึ ในปี ค.ศ 1980 ญ่ีปุ่นได้พยายามที่จะสร้างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้สามารถคิดและ ตัดสินใจได้เองโดยสร้างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้มี “สติปัญญา” เพื่อใช้ในการตัดสินใจแทนมนุษย์จึงเกิดสาขาใหม่ขึ้นเรยี กวา่ สาขาปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) สาขาปัญญาประดิษฐ์เป็นสาขาท่ีเน้นถึง

ความพยายามในการนาเอากระบวนการทางความคิดของมนุษย์มาใช้ในการ แก้ปัญหาด้วยระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้มีการต่ืนตัวในการจัดเก็บข้อมูลเป็นระบบฐานข้อมูล (Database) การนาคอมพิวเตอร์มาใช้กับงานทางด้านกราฟิก และมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software) เพ่ือใช้กับงานเฉพาะอย่าง เช่น งานการเงนิ งานงบประมาณ งานบัญชี งานสต๊อกสนิ ค้า เปน็ ต้นยคุ ที่ 6 (Sixth Generation) ปี ค.ศ. 1990- ปจั จุบัน ที่ผ่านมาทั้ง 5 ยุค พัฒนาการของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปในทางการปรับปรุงการผลิต และการเสริมสร้างความสามารถทางด้านการคานวณของคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นการจากัดความสามารถทางด้านการป้อนข้อมูล ในปัจจุบัน ความต้องการทางด้านการป้อนข้อมูลอย่างอิสระโดยใช้เสียงและภาพ ซ่ึงถือเป็นการป้อนข้อมูลโดยธรรมชาติน้ันสูงขึ้นเรื่อยๆ ความต้องการคอมพิวเตอร์รุน่ ใหมท่ ไ่ี ม่เปน็ เพยี งแต่เคร่อื งคานวณ จึงสูงข้ึนเรอื่ ย ๆ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ความตอ้ งการประยุกตใ์ ชค้ อมพวิ เตอร์ในการแก้ปัญหาสงั คม เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เทคโนโลยี การติดต่อระหว่างประเทศและอนื่ ๆ ในชว่ งทศวรรษปี 1990 เช่น1) การพฒั นาด้านการผลิตของอตุ สาหกรรม การตลาด ธรุ กจิ2) การพัฒนาทางดา้ นการตดิ ตอ่ ส่ือสารระหวา่ งประเทศ3) การชว่ ยเหลือทางด้านการประหยดั พลงั งาน4) การแก้ไขปัญหาของสังคม การศกึ ษา การแพทย์ ควำมสำมำรถทีค่ อมพิวเตอร์ยุคท่ี 6 ควรจะมี อาจแบ่งไดด้ งั น้ี 1) การพฒั นาปญั ญาใหค้ อมพวิ เตอร์ เพอ่ื ท่จี ะสามารถนาไปใช้เป็นผู้ช่วยของมนุษย์ได้ สาหรับการพัฒนาดา้ นปญั ญาของคอมพิวเตอรห์ รือทเ่ี รยี กว่า AI (artificial intelligence) อาจกล่าวได้ว่าเป็นการพัฒนาด้านการป้อนข้อมูลด้วยเสียงและภาพ ความสามารถในการโต้ตอบด้วยภาษาพูดความสามารถในการเก็บข้อมูลในด้านความรู้และการนาความรู้ไปใช้ การค้นหาความรู้จากข้อมูลมหาศาสล และอนื่ ๆ 2) การลดความยากลาบากในการผลิตซอฟต์แวร์ เป็นการพัฒนาทางด้านการเขียนโปรแกรมพัฒนา ภาษาของโปรแกรมให้ง่ายขนึ้ วธิ ีการตดิ ต่อกับผูใ้ ช้ และอืน่ ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook