Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรการประกอบอาชีพช่างเย็บผ้า

หลักสูตรการประกอบอาชีพช่างเย็บผ้า

Published by busakonkhotchomphu, 2020-06-11 04:35:04

Description: หลักสูตรการประกอบอาชีพช่างเย็บผ้า

Search

Read the Text Version

หลักสูตรการประกอบอาชพี ช่างเย็บผ้า จำนวน 40 ชัว่ โมง กลมุ่ วิชาอาชพี พาณชยิ กรรมและการบรกิ าร ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าบอ่ สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั หนองคาย สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หลกั สูตรการประกอบอาชีพช่างเย็บผ้า จำนวน 40 ชั่วโมง กลุ่มวิชาอาชีพพาณชยิ กรรมและการบรกิ าร ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าบ่อ

ความเป็นมา การจัดการศกึ ษาอาชีพในปัจจบุ ันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้ มี ความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็ง ใหแ้ กเ่ ศรษฐกิจชมุ ชน ตามยุทธศาสตร์ท่ี 2 ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ขอ้ 2.1 เรง่ ปรับหลักสตู รการ จดั การศึกษาอาชพี กศน. เพือ่ ยกระดับทักษะด้านอาชีพของประชาชนให้เปน็ อาชีพทร่ี องรบั อุตสาหกรรมเปา้ หมาย ของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาและเสริมทกั ษะใหม่ ด้านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุ่งเน้นสร้างโอกาสในการสร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองต่อความ ต้องการของตลาดแรงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบริการ โดยเฉพาะในพื้นท่ีเขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขค พฒั นาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศสำหรับพื้นที่ปกติให้พัฒนาอาชีพที่เน้นการต่อยอดศักยภาพและตาม บริบทของพ้ืนที่ มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมี คุณภาพ ทั่วถึงและ เท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้ม่ันคง ม่ังคั่ง และมีงานทำอย่างย่ังยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับ ภูมิภาคอาเซียนและระดับสากล ซึ่งจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ ประชาชนและประเทศชาติ การเย็บผ้ามีความละเอียดอ่อนประณีตและมีกรรมวิธีท่ีประณีตบรรจง ปัจจุบันคนรุ่นใหม่ไม่นิยมและให้ ความสนใจในการเยบ็ ผ้า จงึ เหน็ สมควรท่ีจะจัดโครงการการเยบ็ ผา้ เพือ่ ให้ประชาชนมคี วามรู้ในการประกอบอาชีพ ในการเยบ็ ผา้ และมที กั ษะในการประกอบอาชีพการเยบ็ ผา้ หลกั การของหลักสูตร การจัดการศกึ ษาเพ่ือการพัฒนาอาชพี เพือ่ การมงี านทำ กำหนดหลักการไว้ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรที่เน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ ห้าด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของพื้นที่ตามลกั ษณะภูมิอากาศ ศักยภาพภูมิประเทศ และทำเลที่ต้ังของแต่ละประเทศ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพ้ืนท่ีและ ศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ยใ์ นแต่ละพื้นท่ี 2. เน้นการฝึกปฏิบัติจรงิ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถนำไปประกอบ อาชีพใหเ้ กิดรายได้ที่ม่นั คง มง่ั คง่ั และยงั ยนื ในอาชีพ ส่งเสรมิ ใหม้ ีการเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณเ์ ข้าสู่ หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน จดุ หมาย 1. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนเกิดทกั ษะความรู้ ความเข้าใจ หลักการเยบ็ ผา้ และสามารถนำไปใช้ในการประกอบ อาชพี ได้ 2. เพอื่ ให้ผู้เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจและฝกึ ทักษะการบริหารจดั การในอาชีพได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพที่ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาด กลมุ่ เปา้ หมาย กล่มุ เปา้ หมายคือประชาชนกลุ่มเปา้ หมายนอกระบบโรงเรยี น 1. ผู้ทไ่ี มม่ ีอาชพี 2. ผูท้ ี่มอี าชพี และตอ้ งการพฒั นาอาชีพ ระยะเวลา เรียนรู้ และฝกึ ทกั ษะ จำนวน 40 ช่ัวโมง แบ่งเป็น

ภาคทฤษฎี จำนวน 15 ชัว่ โมง ภาคปฏบิ ัติ จำนวน 25 ช่ัวโมง โครงสรา้ งหลกั สูตร ท่ี เรอื่ ง จุดประสงค์การ เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมง เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 1. - ชอ่ งทางการ 1.1 ศึกษาขอ้ มูลจากเอกสาร ประกอบอาชีพ 1.1 บอก 1.1 ความสำคญั การ สือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ สถาน 5- กางเยบ็ ผา้ ประกอบการ สื่อของจริง สอ่ื ความสำคญั การเห็น เหน็ ช่องทางของการ บคุ คลในชมุ ชน เพ่อื นำขอ้ มลู มาวิเคราะหแ์ ละใช้ในการ ชอ่ งทางการประกอบ ประกอบอาชพี การเยบ็ ประกอบอาชีพทีม่ ีความ เป็นไปได้ในชุมชน อาชีพการเยบ็ ผ้าได้ ผา้ 1.2 วิเคราะหอ์ าชีพท่ีจะ สามารถเลอื กประกอบอาชีพ 1.2 บอกความ 1.2 ความเป็นไปได้ใน ได้ในชมุ ชนจากขอ้ มลู ต่างๆ 1.3 ศึกษาดูงานในสถาน เป็นไปได้การ การประกอบอาชพี การ ประกอบการ แหลง่ เรยี นรู้ ต่างๆ ในอาชีพทตี่ ัดสินใจ ประกอบอาชีพการ เย็บผา้ เยบ็ ผ้า - การวางแผนและ 1.3 บอกและหา บริหารจดั การ แหล่งเรียนรู้ - แหล่งเงินทุนและการ 1.4 บอกทิศทางการ จัดหาเงนิ ทนุ ประกอบอาชพี การง - ความตอ้ งการของ เย็บผา้ ตลาด

- ช่องทางการจัด เลอื ก จำหนา่ ย 1.4 ครู ผู้เรยี น และผูร้ ู้ 1.3 แหลง่ เรยี นรู้ รว่ มกนั อภปิ รายเกี่ยวกับทิศ 1.4 ทิศทางการ ทางการประกอบอาชีพการ ประกอบอาชพี การเยบ็ เย็บผ้าในรูปแบบท่ีเหมาะสม ผ้า กับตนเอง เชน่ ลูกจ้าง เจ้าของกิจการ รว่ มทุน ฯลฯ โดยคำนงึ ถึงความเสี่ยงจากภยั ธรรมชาติ ความค้มุ คา่ และ ความต้องการของตลาด ท่ี เรอ่ื ง จุดประสงค์การ เน้ือหา การจดั กระบวนการเรียนรู้ ช่ัวโมง เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 2. ทักษะการ 2.1 ทดสอบก่อนเรยี น เพ่อื ประกอบอาชพี 2.1 สามารถอธิบาย 2.1 ความรู้เบอ้ื งต้น วดั ความรู้ ความเขา้ ใจ และ 5- การเยบ็ ผา้ พืน้ ฐานของผู้เรยี น ความรูเ้ บ้อื งตน้ เกยี่ วกบั การเย็บผา้ 2.2 จดั ให้ผู้เรยี นศึกษา 5- เอกสารเก่ยี วกบั การทำช่าง - 10 เกีย่ วกบั การเย็บผ้าได้ - ความรู้เก่ียวกับการ เยบ็ ผ้า -- 2.3 อภปิ รายแลกเปลี่ยน -- เย็บผา้ เรียนรู้ 2.4 จดั ผู้เรยี นไปศกึ ษาดูงาน - กระบวนการและ ในแหลง่ เรียนรชู้ มุ ชน พรอ้ ม จดบันทกึ รูปแบบการเยบ็ ผา้ 2.5 จดั ทำแผนการฝกึ ทักษะ การประกอบอาชพี การเย็บ - ความสำคัญและ ผา้ 2.6 วิทยากรบรรยายและ ประโยชนข์ องการ สาธติ 2.7 ฝกึ ปฏบิ ัติจริง ทดสอบ 2.2 สามารถอธิบาย ประกอบอาชพี การเย็บ หลังเรยี น วธิ กี ารเตรียมวัสดใุ น ผ้า การเย็บผ้าได้ 2.2 การเตรยี มวัตถดุ ิบ และส่วนประกอบได้แก่ - ความรเู้ กี่ยวกบั การ เลือกใช้วัสดุ - ข้นั ตอนในการเตรยี ม 2.3 สามารถอธิบาย วัสดุ ความรเู้ กี่ยวกบั การ - วสั ดุและสว่ นประกอบ เยบ็ ผา้ ได้

2.4 สามารถอธิบาย 2.3 ความรูเ้ กีย่ วกับการ 2.8 ฝกึ ปฏิบตั ิด้วยตนเองหลัง และสาธติ การเย็บผ้า เย็บผา้ เรียนอยา่ งตอ่ เน่อื ง ได้ - การเลอื กซ้ือวตั ถุดบิ ท่ี 2.9 ดำเนินการวดั และ ใช้ ประเมินผลตามท่ีหลักสูตร - สูตรชา่ งเย็บผา้ กำหนด จดบนั ทึกผลการ เรยี นรู้ 2.4 การฝึกปฏบิ ตั ิการ เยบ็ ผ้าแบบตา่ งๆ - ขนั้ ตอนการทำช่างเย็บ ผ้า ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หา การจดั กระบวนการ ช่วั โมง 3.1 สามารถอธิบายการ 3. การบรหิ าร บริหารจดั การอาชีพการ เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ จัดการในการ เยบ็ ผา้ ได้ ประกอบอาชพี 3.1 การบรหิ ารจัดการ 3.1 การบริหารจัดการ - 10 การเย็บผา้ 3.2 สามารถอธบิ ายการ จัดการการตลาดได้ อาชพี การทำช่างเย็บผา้ การผลิต จัดให้ผู้เรียน 3.3 สามารถอธบิ ายการ 3.1.1 การดแู ลรกั ษา 3.1.1 สำรวจและ จดั การความเส่ยี ง คุณภาพของสินคา้ ศึกษาแหลง่ วสั ดุ 3.1.2 การลดตน้ ทุนใน อปุ กรณ์ และการใช้ การผลติ ประโยชน์ของแหลง่ 3.1.3 การเพมิ่ มูลคา่ ทรัพยากรธรรมชาติ สินคา้ เชน่ และทนุ ตา่ งๆ - การแปรรูป 3.1.2 การกำหนด - การออกแบบ และการควบคุมคุณภาพ - การ ผลผลิตที่ตอ้ งการ ประยกุ ตใ์ ช้ 3.1.3 ศกึ ษาการลด 3.2 จัดการการตลาด ต้นทนุ การผลติ แต่คุณภาพ 3.2.1 การทำ คงเดิม ฐานขอ้ มลู ลูกค้าที่ใช้ 3.1.4 ศกึ ษา บรกิ าร/คู่แข่งทาง วเิ คราะห์ ปจั จยั ความ การตลาด เส่ยี งทค่ี าดวา่ จะเกิดขนึ้ 3.2.2 การ และมแี นวทางในการ ประชาสัมพันธ์ จดั การความเสี่ยง 3.2.3 การส่งเสริม 3.2 การบรหิ ารจัดการ การขายและการบรกิ าร การตลาด จดั ใหผ้ ู้เรียน 3.3 การจัดการความเส่ียง ศึกษา 3.3.1 การวิเคราะห์ 3.2.1 ขอ้ มูล ศักยภาพในการประกอบ การตลาด และวเิ คราะห์

3.4 สามารถอธิบายการ อาชพี การทำช่างเย็บผา้ ความต้องการของตลาด วางแผนการดำเนินงาน 3.3.2 การแก้ปัญหา 3.2.2 กำหนด ความเสยี่ งในการประกอบ ทิศทาง เปา้ หมาย และ อาชีพการทำช่างเย็บผ้า แผนการจัดการตลาดที่ 3.4 การวางแผนการ เกย่ี วขอ้ งกับการทำชา่ ง ดำเนินงาน เยบ็ ผา้ 3.2.3 ดำเนนิ การตาม กระบวนการจดั การ การตลาด เช่น การคิด ต้นทนุ การผลติ การ กำหนดราคาขาย การ ส่งเสรมิ การขาย จำหน่าย สนิ คา้ ฯลฯ 3.3 การจัดการความ เสยี่ ง จดั ให้ผู้เรยี นศึกษา 3.3.1 ให้ผ้เู รียน ศกึ ษาเอกสารเรอ่ื งการ จดั การความเสยี่ ง 3.3.2 ฝึกการ วิเคราะห์การจดั การ ความเสย่ี ง พร้อมการวาง แผนการจัดการความ เสี่ยง 3.4 การวางแผนการ ดำเนนิ งาน 3.4.1 ใหค้ วามรู้ เก่ยี วกับเร่ืองการวาง แผนการดำเนนิ งานใน แบบตารางการ ปฏบิ ัติงาน (Gantt Chart)

ท่ี เรอ่ื ง จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา การจัดกระบวนการ ช่วั โมง เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 4. โครงการ ประกอบอาชพี 4.1 บอกความสำคัญของ 4.1 ความสำคญั ของ 4.1 จัดใหผ้ ู้เรียนศกึ ษา -5 การเยบ็ ผา้ โครงการอาชีพการเย็บผา้ โครงการอาชพี การเย็บผา้ เน้ือหาจากใบความรู้ ได้ 4.2 ประโยชน์ของโครงการ เรื่อง ความสำคัญของ 4.2. บอกประโยชน์ของ อาชีพการเย็บผ้า โครงการอาชพี โครงการอาชีพการเยบ็ ผา้ 4.3 องคป์ ระกอบของ ประโยชน์ของโครงการ ได้ โครงงานอาชีพการเย็บผา้ อาชพี องคป์ ระกอบของ 4.3 บอกองค์ประกอบ 4.4 การเขยี นโครงการ โครงการอาชีพ แล้วจัด ของโครงการอาชีพการ อาชพี การเย็บผ้า กจิ กรรมการสนทนา เยบ็ ผ้าได้ 4.5 การประเมินความ แลกเปลี่ยนขอ้ มูลความ 4.4 อธิบายความหมาย เหมาะสมและสอดคลอ้ ง คดิ เห็น เพ่อื สรา้ งแนวคิด ขององค์ประกอบของ ของโครงการอาชีพการเยบ็ ในการดำเนินกิจกรรม โครงการอาชพี การเยบ็ ผ้า ผ้า การเรยี นรู้ ได้ 4.2 จัดให้ผู้เรยี นศึกษา 4.5 อธบิ ายลักษณะการ สาระข้อมูลจากใบ เขยี นท่ดี ีของ ความรู้ เร่อื ง ตวั อย่าง องคป์ ระกอบของ การเขียนโครงการอาชีพ โครงการอาชพี การเยบ็ ผ้า ท่ีดี เหมาะสม และ ได้ ถูกตอ้ ง พร้อมจัดการ 4.6 เขียนโครงการในแต่ อภิปราย เพ่อื สรปุ ละองคป์ ระกอบให้ แนวคิดเป็นแนวทางใน เหมาะสมและถกู ต้องได้ การเขียนโครงการอาชีพ 4.7 ตรวจสอบความ ท่ดี ี เหมาะสม และ เหมาะสมและสอดคล้อง ถูกตอ้ ง ของโครงการอาชีพการ 4.3 จัดให้ผู้เรียนฝึก เย็บผา้ ได้ ปฏิบัติ การเขยี น โครงการอาชพี 4.4 กำหนดให้ผู้เรียนฝึก ปฏบิ ัติการประเมินความ เหมาะสมและสอดคลอ้ ง ของโครงการอาชพี 4.5 จัดให้ผู้เรียน ปรับปรุงโครงการอาชีพ ให้มีความเหมาะสมและ ถูกต้อง 4.6 กำหนดให้ผู้เรยี น เขียนโครงการอาชีพของ

ตนเอง เพ่ือเสนอขอรบั การสนับสนุน งบประมาณดำเนินงาน อาชพี และใช้ในการ ดำเนินการประกอบ อาชีพตอ่ ไป วธิ ีจดั กระบวนการเรยี นรู้ - ศกึ ษาข้อมลู จากเอกสาร /ภูมิปัญญา - การศกึ ษาดูงานจากแหลง่ เรียนรู้ - แลกเปลย่ี นเรียนรู้ - ฝกึ ปฏบิ ัตจิ ริงและทดสอบผา่ นเกณฑ์ที่กำหนดไว้ สื่อการเรียนรู้ ในกระบวนการจดั การเรยี นรู้ ใชส้ ือ่ ท่หี ลากหลาย เชน่ ส่ือสิง่ พิมพ์ สอื่ อิเล็กทรอนิกส์ สถานประกอบการ สอ่ื ของจริง และสอ่ื บุคคลในชมุ ชน 1. วทิ ยากร/ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นใหค้ วามรู้ 2. VCD / หนังสอื 3. Internet 4. ศึกษาดูงานจากกลุ่มอาชพี ตัวอย่าง/แหล่งเรียนรู้ การวดั และประเมินผล 1. การประเมนิ ความรภู้ าคทฤษฎีระหว่างเรยี นและจบหลักสูตร 2. การประเมินผลงานระหว่างเรยี นจากการปฏิบัติ ไดผ้ ลงานที่มีคุณภาพสามารถสร้างรายได้ และ จบหลกั สตู ร การจบหลักสตู ร 1. มเี วลาเรียนและฝึกปฏบิ ัติตามหลักสูตร ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ตลอดหลกั สูตร ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 3. มีผลงานที่มีคุณภาพ เอกสารหลักฐานการศกึ ษา 1. หลักฐานการประเมนิ ผล 2. ทะเบยี นคุมวุฒบิ ตั ร 3. วฒุ ิบัตร ออกโดยสถานศกึ ษา การเทยี บโอน

ผู้เรียนทจ่ี บหลักสูตรน้สี ามารถนำไปเทยี บโอนผลการเรยี นรู้กบั หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวชิ าเลือกที่สถานศึกษาไดจ้ ัดทำข้นึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook