Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาครู ศศช.กลุ่มแม่จ๊าง

การพัฒนาครู ศศช.กลุ่มแม่จ๊าง

Published by rommanee.1654, 2021-05-31 00:20:44

Description: การพัฒนาครู ศศช.กลุ่มแม่จ๊าง

Search

Read the Text Version

-โครงการจัดต้ัง หมูบ่ า้ นยาม ชายแดน ตอนที่ 2 ข้อพจิ ารณาผลการประเมนิ ครอู าสาสมัครฯ ตามมาตรฐาน ศศช. เกณฑก์ ารประเมินดงั น้ี 1. ระดับดีมาก = ประกาศขวัญและกำลังใจ (ประกาศนียบตั ร/รางวัล) ระดับจังหวดั 2. ระดับดี = มอบขวัญและกำลงั ใจ (ประกาศนยี บตั ร/รางวัล) ระดับอำเภอ 3. พอใช้ = ศึกษาพ้ืนทีต่ ้นแบบ (ภายในอำเภอหรอื ตา่ งอำเภอ) เพ่ือกลับมาพัฒนางานตนเองภายใน 2 เดอื น (นเิ ทศซำ้ ) 4. ปรบั ปรุง = เขา้ รับการพฒั นาอยา่ งเร่งดว่ น (ภายในกรอบระยะเวลาทก่ี ำหนด) ระดับจังหวัด หมายเหตุ 1. มาตรฐาน ศศช.ได้รบั การพจิ ารณาจากระดบั จงั หวดั โดยเหน็ ชอบจากทีมงาน ผู้บริหาร ข้าราชการ และครู นเิ ทศก์ 2. อำเภอสามารถนำมาตรฐานงาน ศศช. ไปปรับใช้ใหเ้ หมาะสมตามบริบท 3. ผลการประเมินพนักงานราชการตามมาตรฐานศศช. ตอ้ งสอดคล้องกับการประเมินพนกั งานราชการ 4. ครู ศศช.ศกึ ษามาตรฐานงาน ศศช.และนำไปปฏบิ ัติทำอย่างปจั จบุ นั เพื่อการพัฒนางานตนเองและพ้นื ที่ เพ่ือพร้อมรบั การนิเทศ 5. การประเมินผลการปฎบิ ัตงิ านตามมารฐาน ศศช. ควรมีชุมชนเข้ามามีสว่ นร่วมด้วยทุกคร้ัง เพ่ือ ประกอบการพจิ ารณา (สอบถาม ซักถาม หรือมีแบบประชานเิ ทศ ) http://www.lertchaimaster.com/doc/NNFE-256106.pdf แนวทางการดำเนนิ งานศรข.ชาวไทยภเู ขาแม่ฟ้าหลวงโดย สถาบนั กศน.ภาคเหนือ คู่มอื การพฒั นาครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 45

การจัดการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ 2551 คู่มอื การพัฒนาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 46

การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานพุทธศกั ราช2551 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้ใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 เป็นหลักสูตรที่มุ่งจัดการ ศึกษาเพื่อตอบสนอง อุดมการณก์ ารจดั การศึกษาตลอดชวี ติ และการสร้างลงั คมไทยใหเ้ ปน็ ลงั คมแหง่ การเรียนรู้ ตามปรัชญา “คิดเปน็ ” เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสังคม มีการบูรณาการอย่างสมดุลระหว่างปัญญาธรรม คีลธรรม และวัฒนธรรม มุ่งสร้างพื้นฐานการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และพัฒนาความสามารถ เพื่อการทำงานที่มีคุณภาพ โดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจัดการศึกษาให้ตรงตามความต้องการของ ผู้เรียน และสามารถตรวจสอบได้ว่า การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการพัฒนาชีวิตและสังคม สามารถ พึ่งพาตนเองได้ และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เป็นหลักสูตรที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับ สภาพปัญหา ความต้องการของบุคคลที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ ประสบการณ์จากการ ทำงาน และการประกอบอาชีพ โดยการกำหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้ความสำคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมายด้านจิตใจให้มีคุณธรรมควบลู่ไปกับ การพัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปรับคัวอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งคำนึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้ที่อยู่นอกระบบ และสอดคล้องกับสภาพ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจรญิ กา้ วหนา้ ของเทคโนโลยแี ละการสื่อสาร หลักการ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 กำหนดหลกั การไวด้ ง้ น้ี 1. เป็นหลักสูตรท่ีมีโครงสร้างยืดหยุ่นด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน และการจัดการเรียนรู้ โดยเนน้ การบูรณาการเนอื้ หาให้สอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ิต ความแตกต่างของบุคคล ชุมชน และสงั คม 2. ส่งเสรีมให้มิการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 3. ส่งเสรีมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตโดยตระหนักว่าผู้เรีย นมิ ความสำคัญ สามารถพฒั นาตนเองไดต้ ามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศักยภาพ 4. สง่ เสรมิ ใหภ้ าคีเครือขา่ ยมิส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา จดุ มงุ่ หมาย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาให้ผเู้ รียน มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มสี ตปิ ญั ญา มีคุณภาพชวี ิตที่ดี มศี ักยภาพในการประกอบอาชีพและการเรยี นรู้ อย่างต่อเน่อื งซ่ึงเปน็ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ท่ตี ้องการ จึงกำหนดจุดหมายดังต่อไปนี้ 1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมทดี่ ีงาม และสามารถอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอย่างสันตสิ ุข 2. มคี วามรู้พนื้ ฐานสำหรบั การดำรงชวี ติ และการเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง 3. มีความสามารถในการประกอบลัมมาอาชีพให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดและ ตามทันความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ ลงั คม และการเมือง คูม่ ือการพัฒนาครูศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 47

4. มีทักษะการดำเนินชีวิตที่ดี และสามารถจัดการกับชีวิต ชุมซน ลังคมไต้อย่างมีความสุข ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. มีความเข้าใจประวัติศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ความเป็นพลเมืองดี ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนายึดมั่น ในวิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ 6. มจี ติ สำนึกในการอนุรกั ษ์ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 7. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และ บรู ณาการความร้มู าใช้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน ลงั คม และประเทศชาติ กลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายเปน็ ประซาชนท่ีไม่ได้อยู่ในระบบโรงเรยี น ซึ่งเปน็ ไปตามมาตรา 5 แห่งพระราชบญั ญัติ สง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. 2551 ระบวุ ่า “เพื่อประโยชน์ในการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การศึกษาใหบ้ ุคคลไดร้ ับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยา่ งท่ัวถึง และ มคี ณุ ภาพตามกฎหมายว่าดว้ ยการศกึ ษาแหง่ ชาติโดยให้บุคคลซง่ึ ไตร้ ับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานไปแล้วหรอื ไม่ก็ตามมลี ทั ธิไตร้ บั การศกึ ษาในรปู แบบการศกึ ษานอกระบบหรือการศึกษาตามอธั ยาศยั ใต้ แลว้ แตก่ รณี ทงั้ น้ีตามกระบวนการและ การดำเนินการที่ไต้บัญญัติไวัในพร ะราชบัญญตั นิ ้ี” ระดบั การศกึ ษา แบ่งระดบั การศึกษาออกเป็น3 ระดับ คือ ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นและ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยแตล่ ะระดบั ใช้เวลาเรยี น 4 ภาคเรียน ยกเว้นกรณที ี่มกี ารเทยี บโอน ท้งั น้ีต้องลงทะเบยี นเรยี นในสถานศึกษาอยา่ งน้อย 1 ภาคเรียน สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 สาระดังน้ี 1. สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเก่ยี วกบั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การใช้แหลง่ เรียนรู้ การจัด การความรู้ การคดิ เปน็ และการวจิ ยั อยา่ งง่าย 2. สาระความรู้พื้นฐาน เป็นสาระเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 3. สาระการประกอบอาชีพ เป็นสาระเกี่ยวกับการมองเห็นช่องทางและการตัดสินใจประกอบ อาชีพ ทักษะในอาชีพ การจดั การอาชีพอย่างมคี ุณธรรม และการพัฒนาอาชพี ให้มคี วามมั่นคง 4. สาระทักษะการดำเนินชีวิต เป็นสาระเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา และ ศลิ ปศึกษา 5. สาระการพัฒนาสังคม เป็นสาระเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง และการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม คมู่ ือการพฒั นาครูศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 48

โครงสร้างการเรยี น กศน.หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คู่มอื การพฒั นาครูศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 49

การลงทะเบียนเรยี น 1. ประถม สามารถลงทะเบียนภาคเรียนละไม่เกนิ 14 หนว่ ย ภาคเรียนสุดทา้ ยไม่เกนิ 17 หนว่ ย ปกตเิ รยี น 4 ภาคเรียน 2 ปี 2. มธั ยมศกึ ษาตอนต้น สามารถลงทะเบียนภาคเรยี นละไมเ่ กิน 17 หนว่ ย ภาคเรยี นสดุ ทา้ ยไมเ่ กนิ 20 หน่วย ปกตเิ รียน 4 ภาคเรียน 2 ปี 3. มธั ยมศึกษาตอนต้น สามารถลงทะเบียนภาคเรยี นละไม่เกนิ 23 หน่วย ภาคเรยี นสุดท้ายไมเ่ กนิ 26 หน่วย ปกตเิ รียน 4 ภาคเรยี น 2 ปี เกณฑก์ ารจบหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 1. ผ่านเกณฑ์การประเมินการเรยี นรูร้ ายวชิ าในแต่ละระดับการศึกษา ตามโครงสร้างหลักสตู ร 1.1. ระดับประถมศกึ ษา ไมน่ ้อยกวา่ 48 หนว่ ยกติ วชิ าบังคบั 36 หน่วยกติ วชิ าเลิอก 12 หน่วยกิต 1.2. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ไมน่ ้อยกวา่ 56 หน่วยกิต วิชาบังคบั 40 หน่วยกิต วชิ าเลิอก 16 หน่วยกิต 1.3. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายไมน่ ้อยกว่า 76 หนว่ ยกิต วิชาบงั คบั 44 หน่วยกติ วิชาเลือก32 หนว่ ยกติ 2. ผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ( กพช) ไม่น้อยกว่า 200 ชวั่ โมง 3. ผ่านการประเมินคุณธรรม ในระดบั พอใช้ขึ้นไป 4. เข้ารบั การประเมินคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ คู่มือการดำเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 http://203.159.251.144/pattana/download/g.1/28..pdf คมู่ อื การพฒั นาครูศนู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 50

การจดั การศึกษาหลักสูตรการรู้หนงั สอื ไทย พุทธศักราช 2557 คมู่ ือการพัฒนาครศู นู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 51

หลกั สูตรการรู้หนังสอื ไทย พุทธศกั ราช 2557 ความนำ การจดั การเรยี นรหู้ ลักสูตรการร้หู นังสือไทย พุทธศักราช 2557 สำหรบั ประชาชนชาวไทยทไ่ี มร่ หู้ นังสือ ผ้ลู ืม หนงั สือไทย และประชาชนท่ัวไปที่สนใจจะเรียนร้ภู าษาไทย สามารถจัดได้หลากหลายโดยสามารถเลอื กเนื้อหาทอ่ี ยู่ ในความสนใจหรือสภาพการดำเนนิ ชีวิตของกลุ่มเปา้ หมายมาใชใ้ นการจดั การเรยี นร้แู ละสอดคล้องกับหลกั สตู รที่ กำหนด เพ่ือใหบ้ คุ คลเหล่าน้นั มีความรู้และ ความเขา้ ใจและมีทกั ษะ สามารถนำประสบการณ์ท่ีไดจ้ ากการเรยี นรู้ไป ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างมีความสุข เพื่อให้การจัดการศึกษาเปน็ ไปตามหลักสูตร จุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรู้ท่ีสำนักงาน กศน.กำหนดไว้ สำนักงาน กศน.จึงได้กำหนดโครงสรา้ งของหลักสตู รการรู้หนังสือไทย พุทธศกั ราช 2557 ไว้ดังนี้ 1. ระดบั การศกึ ษา ระดับการรหู้ นังสือไทย 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ หลกั สตู รการร้หู นังสือไทย พุทธศกั ราช 2557 กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ที่เปน็ ข้อกำหนดคุณภาพของ ผู้เรยี น ดงั น้ี 2.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจและทักษะในการฟัง พูด อา่ น เขียน คำที่ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน ไม่นอ้ ยกว่า 800 คำ 2.2 สามารถใชพ้ ยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ ในภาษาไทย 2.3 สามารถใชก้ ารคำนวณเบ้อื งต้นในเร่อื งที่เกย่ี วขอ้ งกบั ชวี ติ ประจำวัน 3. ตวั ชี้วดั 3.1 ฟงั พูด อ่าน เขียน คำ ประโยคไดอ้ ย่างเข้าใจและสามารถนำไปใช้ในโอกาสต่าง ๆ 3.2 ปฏบิ ัติตนเปน็ ผ้มู มี ารยาทในการฟัง พดู อ่าน และเขยี น 3.3 อ่าน เขียน ตัวเลขไทย เลขอารบิก จำนวน และคำนวณการบวก ลบ คูณ หาร เบื้องต้นที่ใช้ใน ชีวิตประจำวัน 3.4 ใช้ภาษาไทยในชวี ิตประจำวันได้ถูกตอ้ ง 3.5 เล่าเรอ่ื ง และแสดงความร้สู กึ เก่ยี วกบั ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน 4. ขอบข่ายเนอื้ หา ขอบข่ายเน้ือหาประกอบด้วยการเรยี นร้คู ำหลกั ไมน่ ้อยกวา่ 800 คำ ซึง่ เป็นการเรียนรทู้ ่ีประกอบดว้ ย ทักษะการฟงั พดู อา่ น เขยี น การใชพ้ ยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และการคดิ คำนวณเบื้องต้น โดยบรู ณาการอยู่ใน สภาพการเรียนรู้ทสี่ อดคลอ้ งกับวถิ ีชวี ติ ของผู้เรียน ครอบครัว ชุมชน และสงั คม อยา่ งน้อย 12 สภาพ ดังนี้ สภาพท่ี 1 เมืองไทยของเรา โดยเนน้ การเรยี นรเู้ กีย่ วกบั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ สภาพที่ 2 ชีวิตของเรา โดยเน้นการเรียนรู้เกี่ยวกับร่างกายของเรา ครอบครัวและเครือญาติ อาหาร การออกกำลงั กาย และนันทนาการ สขุ อนามยั โรคภัยไขเ้ จบ็ และเร่ืองใกล้ตวั สภาพท่ี 3 ภยั ใกลต้ ัว โดยเน้นการเรยี นรู้เก่ียวกับการพนัน อนั ตราย และภยั ยาเสพติด สภาพที่ 4 การทำมาหากนิ โดยเน้นการเรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพ ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน เงินตรา เศรษฐกิจ และ การตลาดในชุมชน คู่มอื การพัฒนาครศู ูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 52

สภาพท่ี 5 ส่ิงแวดล้อมยงั่ ยืน โดยเนน้ การเรยี นรู้เก่ียวกับการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ดินและป่าไม้ แหล่งน้ำ ภัยธรรมชาติ มลพิษ และการอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดล้อม สภาพที่ 6 ชุมชนเข้มแข็ง โดยเน้นการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการรวมกลุ่ม กฎ ระเบียบของชุมชน จติ สาธารณะ ประชาธิปไตย การปกครองสว่ นท้องถ่นิ และการอยูร่ ว่ มกนั สภาพที่ 7 กฎหมายน่ารู้ โดยเน้นการเรียนรู้เกี่ยวกับกฎหมายครอบครัว และมรดก กฎหมายจราจร กฎหมายแรงงาน สภาพที่ 8 คณุ ธรรมนำสันติสขุ โดยเนน้ การเรียนรู้เกยี่ วกับความสุภาพ อ่อนน้อม ซอื่ สตั ย์ กตัญญู ขยัน ประหยดั สามัคคี มีนำ้ ใจ และมีวินยั สภาพท่ี 9 เปิดโลกเรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรเู้ กย่ี วกบั แหล่งเรยี นรู้ การคิดเปน็ กับการเรียนรู้ การแสวงหา ความรู้ และสถานท่ีทีส่ ำคญั ของชมุ ชน สภาพที่ 10 เทคโนโลยีใกล้ตัว โดยเน้นการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน และ เครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ เทคโนโลยกี ารใช้ปุ๋ย ยาฆา่ แมลง สารเคมี และสารพษิ สภาพที่ 11 พลงั งาน โดยเนน้ การเรยี นรเู้ กย่ี วกับพลังงาน การประหยัดพลงั งาน และการเลือกใชพ้ ลังงาน สภาพที่ 12 ท่องเท่ยี วทัว่ ไทย โดยเนน้ การเรยี นรู้เกี่ยวกับประเพณี วฒั นธรรม ข้อมูล และแหล่งทอ่ งเที่ยว เสน้ ทางการท่องเที่ยว การจัดการท่องเที่ยวและมัคคเุ ทศก์ สง่ เสรมิ อาชพี เพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว และสัญลักษณท์ คี่ วรรู้ 5. เวลาเรยี น ใช้เวลาเรยี นตลอดหลกั สูตรการรหู้ นังสอื ไทย พุทธศักราช 2557 ไม่นอ้ ยกว่า 200 ชว่ั โมง ขน้ั ตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจดั กระบวนการเรยี นรู้หลักสตู รการรหู้ นังสือไทย พุทธศักราช 2557 มงุ่ พฒั นาผู้เรียนให้มีความสามารถ ในการฟัง พดู อ่าน และเขยี น รวมทง้ั การคิดคำนวณเบื้องต้น ครูผสู้ อนตอ้ งเนน้ ย้ำ ซ้ำ ทวน เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นเกิดการ จดจำ เข้าใจ และควรมีการกระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนมีความพร้อมในการเรยี นรู้ทกุ ครงั้ โดยบรู ณาการกับสภาพ ความ ต้องการ และปัญหาของสังคมท่ีสอดคล้องกับวิถีการดำเนินชวี ิตของผูเ้ รยี น ดังนี้ 1. การเรียนรู้หลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 ผู้เรียนควรฝึกทักษะพื้นฐานทักษะภาษาไทย การแจกลูกสะกดคำ จำนวน15 ครั้ง เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแจกลูกสะกดคำ อ่าน เขียน รู้ ความหมายของคำ และมีความคุ้นเคยกบั ภาษาไทย เพ่ือเป็นการเตรียมความพรอ้ มในการเรียนร้แู ตล่ ะสภาพ 2. ออกแบบการจัดการเรยี นรู้ หลกั สตู รการรู้หนังสอื ไทย พุทธศกั ราช 2557 ทัง้ 12 สภาพ มคี ำหลกั เน้ือหา ประเด็นอภิปราย และแบบฝึกหัด เพื่อฝกึ ท้งั ทกั ษะภาษาไทยและการคิดคำนวณเบอื้ งต้นทส่ี อดคล้องกบั คำหลัก ท้ังนี้ โดยกำหนดใหผ้ ู้เรยี นทกุ คนต้องเรียนรู้ สภาพที่ 1 เมืองไทยของเรา ตามขอบขา่ ยเนื้อหาท่ีกำหนดและเลือกเรยี น เพมิ่ เติมอีก 11 สภาพ คร/ู ผู้สอนสามารถเลือกการจดั การเรยี นร้สู ภาพใดก่อนหลังได้ ตามเหตุการณ์ปจั จุบนั และ สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพน้ื ที่ วิถีชวี ิตชมุ ชน ใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการฟัง พดู อ่าน เขียน คำทใ่ี ช้ ในชีวิตประจำวนั ไมน่ ้อยกวา่ 800 คำ และการคิดคำนวณเบอื้ งต้น คูม่ อื การพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 53

สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ ใชส้ ่ือการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพของผู้เรียน ชมุ ชน และสังคม 1. สื่อการเรียนรู้ท่สี ำนักงาน กศน. พฒั นาข้ึน เปน็ ส่ือท่ปี ระกอบดว้ ย เนือ้ หา ประเด็นแบบฝึก ฯลฯ เพือ่ ให้ ผูเ้ รยี นได้ฝึกทักษะ และครู/ผู้สอนสามารถใชว้ ดั และประเมินผลระหวา่ งเรยี นได้ 2. สอื่ ท่สี ถานศึกษาพัฒนาขน้ึ - บตั รคำ ควรทำบัตรคำที่ผเู้ รยี นสามารถมองเหน็ ไดช้ ดั เจนและเป็นส่ิงจูงใจในการเรยี นรู้ - สื่อสิ่งพิมพ์ สามารถจัดหาเน้ือหาทเ่ี กิดขึ้นในขณะนนั้ คร/ู ผู้สอนสามารถนำมาใช้ในการเรียนรู้ โดยพจิ ารณาคำหลักท่สี อดคล้องกับเร่ืองนัน้ ๆ จากหนังสอื พิมพ์ นติ ยสาร วารสารต่าง ๆ - ส่อื ของจรงิ ทม่ี ีอยูใ่ นชุมชน เช่น ต้นไม้ เคร่อื งมอื เครือ่ งจกั ร อุปกรณ์การผลติ ทางการเกษตร - แหล่งเรยี นรู้ ในชุมชน คร/ู ผู้สอนสามารถนำมาใช้เปน็ สอื่ เรยี นรู้ในเร่ืองน้นั ๆ การวดั และประเมนิ ผล การวัดและประเมินผลเป็นการตรวจสอบความก้าวหน้า เน้นการพัฒนาผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ ซ่ึง สถานศกึ ษา คร/ู ผู้สอน ดำเนนิ การให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวช้ีวัดโดยแบ่งเปน็ 2 ลกั ษณะ ดงั นี้ 1. ประเมินพัฒนาการดา้ นการเรียนรูข้ องผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล 2. ประเมนิ ทกั ษะการฟัง พดู อ่าน และเขยี น ภาษาไทยตลอดจนการคดิ คำนวณเบื้องต้น เพอ่ื ให้การประเมนิ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตัวชว้ี ดั ครู/ผสู้ อนดำเนนิ การวัดและประเมนิ ผล ดำเนนิ การ ดงั นี้ ประเมินผลก่อนเรียน เพอื่ ให้ทราบความรู้พ้นื ฐานของผ้เู รียน วา่ สามารถ ฟงั พดู ได้ หรือพูด ฟัง อ่าน เขียน ในทักษะภาษาไทยไม่ได้ โดยการพูดคุยซักถาม ให้ทดลองอ่าน เขียนคำง่าย ๆ ที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน หรือทำ แบบประเมินก่อนเรยี นงา่ ย ๆ เพือ่ นำข้อมูลมาใช้วางแผนในการจดั การเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผเู้ รยี น ประเมินผลระหว่างเรยี น ระหวา่ งการจัดการเรียนรู้ ครู/ผู้สอน สามารถพจิ ารณาความสามารถในการ เรยี นรู้ในแต่ละสภาพ ซงึ่ สามารถประเมินไดโ้ ดยวิธีการต่าง ๆ เชน่ การสงั เกต การตอบคำถาม การพูดคยุ การตรวจ ผลงาน การทำแบบฝกึ หัดต่าง ๆ โดยให้มที ักษะในการเรยี นร้ภู าษาไทย และการคดิ คำนวณเบอ้ื งต้น ประเมินผลหลังเรียน เป็นการประเมินในภาพรวมทั้งหมด โดยครู/ผู้สอนอาจจะทดสอบหรือตรวจสอบ เอกสาร หลักฐาน เช่น สื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน แบบบันทึกต่าง ๆ ของครู/ผู้สอนหรือจัดทำแบบประเมินหลังเรียน เพ่ือพิจารณาวา่ ผ่านการเรียนรู้ไปแล้ว ไม่น้อยกวา่ 800 คำ การวัดและประเมินผลตามหลักสตู รการร้หู นังสือไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ เป็นการวัดและประเมินผล ทกั ษะในวิชาภาษาไทยและการคิดคำนวณเบ้อื งตน้ จงึ ควรวัดและประเมนิ ผล ดงั น้ี ประเมินผลก่อนเรียน เพื่อให้ทราบความรู้พื้นฐานของผู้เรียนว่าสามารถ พูด ฟัง ได้หรือ พูด ฟัง อ่าน เขียน ในทักษะภาษาไทยไม่ได้ โดยการพูดคุยซักถาม ให้ทดลองอ่าน เขียนคำง่าย ๆ ที่เกี่ยวข้องใน ชีวิตประจำวัน หรือทำแบบประเมินก่อนเรียนง่าย ๆ เพื่อนำข้อมูลมาใช้วางแผนในการจัดการเรียนรู้ให้ เหมาะสมกับผ้เู รียน ในการคดิ คำนวณเบ้อื งตน้ ให้บรู ณาการกับวชิ าเลขคณิต ประเมินผลระหว่างเรียน ระหว่างการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนสามารถพิจารณาความสามารถใน การเรียนรู้ในแต่ละสภาพ ซึ่งสามารถประเมินได้โดยวิธีต่าง ๆ เช่น การสังเกต การตอบคำถาม การ ค่มู ือการพัฒนาครูศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 54

พดู คยุ การตรวจผลงาน การทำแบบฝกึ หดั ตา่ ง ๆ โดยใหม้ ีทักษะในการเรียนรทู้ างภาษาไทย และการคิด คำนวณเบ้อื งต้น ประเมินผลหลังเรียน เป็นการประเมินในภาพรวมทั้งหมด โดยผู้สอนอาจจะทดสอบ และหรือ ตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน เช่น สื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน แบบบันทึกต่าง ๆ ของครู หรือจัดทำแบบ ประเมินหลงั เรียน เพื่อพิจารณาว่าผ่านการเรียนรูไ้ ปแลว้ อยา่ งนอ้ ย ๘๐๐ คำหรือไม่ การจบหลกั สูตร ผู้จบการศึกษาตามหลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ ต้องผ่านเกณฑ์การจบ หลกั สตู ร ดงั นี้ ๑. ผเู้ รียนตอ้ งเรยี นและผ่านการประเมินสภาพท่ี ๑ และมีความสามารถในการ ฟัง พดู อา่ นและ เขยี นตามคลังคำทีก่ ำหนดไมน่ อ้ ยกวา่ ๘๐๐ คำ ๒. ผู้เรยี นตอ้ งผ่านการประเมินตามเครื่องมือทสี่ ถานศกึ ษากำหนด เอกสารหลักฐานการศึกษา เอกสารหลักฐานการศึกษาให้เป็นไปตามที่ สำนักงาน กศน. กำหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้อง จัดทำหลักฐานการศึกษา ดงั น้ี ๑. ทะเบยี นผ้เู รียน ๒. แบบบันทึกผลการเรียนและการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ๓. แบบรายงานผูจ้ บหลักสูตร ๔. วฒุ บิ ัตรการรหู้ นงั สอื ไทย คูม่ อื การพฒั นาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 55

ตวั อย่างเอกสารหลักฐาน การจัดการศกึ ษาหลักสตู รการรหู้ นงั สอื ไทย พุทธศักราช 2557 คู่มอื การพัฒนาครูศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 56

แบบขออนุญาตจดั ตัง้ กลุ่มผ้เู รียน หลักสูตรการรหู้ นังสือไทย ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่สะเรียง ………………………………………………………………………………………………………………………………………… เขียนท่ี ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอแมส่ ะเรยี ง วันท.่ี ...........เดือน........................พ.ศ............... เรื่อง ขออนญุ าตจัดตั้งกล่มุ ผู้เรยี นหลกั สตู รการรู้หนังสือไทย เรยี น ผู้อำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอแมส่ ะเรียง ข้าพเจา้ ....................................................................................ตำแหนง่ .................................................... วุฒบิ ัตรทางการศึกษา...............................................................สังกัด ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่ สะเรยี ง สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน มคี วามประสงคข์ ออนุญาตจดั ตงั้ กลุ่ม ผเู้ รยี นหลักสตู รการรู้หนงั สอื ไทย  ชาวไทยภูเขา  ชาวไทยพน้ื ราบ  อ่ืน ๆ ระบ.ุ .......................................................... ซ่ึงมีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี 1. จดุ หมาย ให้ผเู้ รียนมีความรู้ ความสามารถ และทักษะการฟงั พูด อ่าน เขียนภาษาไทย และการคิดคำนวณเบ้ืองต้นในเร่อื ง ที่เกี่ยวขอ้ งกับชวี ิตประจำวัน และใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือในการสือ่ สารกับผอู้ น่ื ตลอดจนแสวงหาความรเู้ พอ่ื การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ 2. หมบู่ ้านทข่ี อจัดการเรยี นการสอนมปี ระชาชนทไี่ มร่ ู้หนงั สอื จำนวน................คน ลมื หนังสอื จำนวน.........................คน สถานทส่ี อน ...................................................... อำเภอ............................................ จงั หวดั ......................................... 3. ขออนญุ าตเปดิ สอนระหว่างวนั ที่ .......เดอื น................................................พ.ศ. ................. ถงึ วนั ท.่ี ...........เดอื น......................................พ.ศ....................ตั้งแตเ่ วลา............................... ถงึ เวลา.............................  ใชง้ บประมาณ กศน.  ไมใ่ ชง้ บประมาณ กศน. 4. จัดตั้งกลุ่มรุ่นที.่ ........................ ประจำปงี บประมาณ................................. 5. จำนวนผู้เรียน ชาย....................คน หญงิ ......................คน รวม....................คน 6. ข้อมูลครผู สู้ อน ช่อื -สกุล................................................................................................... อาย.ุ ..........................ปี อาชีพ..................รบั จ้าง....................... สญั ชาติ.....................ศาสนา.................................. จบการศกึ ษาในระดบั สูงสดุ ........................................... วิชาเอก (ถ้ามี)....................................................................... จากสถานศกึ ษา...................................................................................................... เม่อื ปี พ.ศ............................ ใบประกอบวชิ าชพี ครู/ใบอนุญาตการสอน  มี  ไม่มี ทอ่ี ยู่ปจั จุบัน  อยู่ในพน้ื ที่ท่ีจะเปดิ สอน  อย่หู ่างจากสถานทีเ่ ปิดสอน.............................กิโลเมตร 7. ประสบการอืน่ ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง เคยผ่านการอบรมดา้ นการศกึ ษา/อน่ื ๆท่เี กยี่ วขอ้ ง ในหลกั สตู ร................................................................................ จากหน่วยงาน.................................................... เมอ่ื วันท่ี.................เดอื น.....................................พ.ศ..................... เคยสอนการศกึ ษาผใู้ หญ่แบบเบด็ เสร็จ/ครช./ส่งเสริมการรหู้ นังสือ มากอ่ นหรอื ไม่  เคย  ไมเ่ คย คู่มอื การพัฒนาครูศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 57

ข้าพเจา้ ขอรับรองว่า ขา้ พเจา้ สามารถดำเนินการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนส่งเสรมิ การรหู้ นงั สอื ใหแ้ กผ่ ้เู รยี นได้ และจะปฏบิ ตั ติ าม แนวทางดำเนินงานตามที่ กศน.อำเภอกำหนด ขา้ พเจา้ ได้แนบรายชอ่ื ผ้เู รียนและแผนผงั สถานทีจ่ ดั ดำเนินการสอนพรอ้ มแลว้ จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดพิจารณาอนุญาต ขอแสดงความนับถอื (ลงชอื่ )................................................................. (......................................................................) ตำแหนง่ ............................................ ผู้ขออนญุ าตจัดตั้งกลุม่ ความเห็นของหวั หน้ากลมุ่ จดั การศึกษานอกระบบ ผลการพิจารณา(อนุญาต/ไม่อนญุ าต) พิจารณาแล้ว(เหน็ ควรอนุญาต/ไมอ่ นุญาตเพราะ) ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................. (ลงช่อื )................................................................ (ลงช่อื )............................................................... (....................................................................) (......................................................................) ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอแม่สะเรียง ค่มู อื การพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 58

รายชอื่ ผ้เู รยี นหลักสูตรการร้หู นงั สอื ไทย ช่ือครผู สู้ อน ............................................................................ สถานทส่ี อน ................................................ อำเภอ.................................. จังหวัด.................................. สภานภาพ ท่ี ช่อื – สกลุ เลข วัน/เดอื น/ปี อายุ สถานภาพ สญั ชาติ ศาสนา อาชีพ ทอ่ี ยู่ ระบุประเภท การรหู้ นงั สอื ไทย ประจำตวั เกิด (ป)ี กลุ่มเป้าหมาย (ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย / ) ประชาชน 1234 คำอธบิ าย 1. กลมุ่ เป้าหมายหมายถงึ เยาวชน ประชากรวยั แรงงาน ผู้สงู อายุ คนพิการ บคุ คลผูไ้ มม่ ีสถานะทางทะเบยี นราษฎร์ ชาวตา่ งชาติ ฯลฯ 2. สภาพการรหู้ นังสือ 1 หมายถึง ไม่รหู้ นังสือไทย, 2 หมายถงึ ฟงั ได้ แตพ่ ดู อ่าน เขียน ไมไ่ ด,้ 3 หมายถงึ ฟัง พดู ได้ แตอ่ ่าน เขยี น ไม่ได้, 4 หมายถึง ลืมหนงั สอื คู่มือการพฒั นาครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 59

แผนทแ่ี สดงสถานท่ีจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ชื่อครผู สู้ อน ................................................................... สถานทสี่ อน ........................................................ อำเภอ................................... จงั หวดั ...................................... คำช้ีแจง ใหเ้ ขยี นแผนผังแสดงสถานทจี่ ะเปิดทำการสอนลงในกรอบที่กำหนด โดยบอกเส้นทางและระยะทาง จากศูนย์กศน.อำเภอ จนถึงสถานที่เปิดทำการสอน คมู่ ือการพฒั นาครศู นู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 60

แบบบนั ทึกหลงั การสอน หลกั สตู รการรู้หนังสอื ไทย พุทธศักราช 2557 กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง จังหวดั แมฮ่ ่องสอน สถานทส่ี อน ........................................................ อำเภอ.............................. จงั หวดั ............................ คร้งั ท.่ี ..............วนั ท่ี...........เดอื น ................................................... พ.ศ.................... จำนวนผเู้ รียนท้ังหมด .......... คน เข้าเรียน...............คน ไม่เขา้ เรียน.................คน ผลการจดั การเรียนการสอน ..................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................. ปัญหา/อุปสรรค .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .......................................................ผสู้ อน (............................................................) วันท่ี.............เดอื น ...................................... พ.ศ........... คู่มอื การพัฒนาครูศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 61

บนั ทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอแม่สะเรียง ที่ ศธ ๐๒๑๐.๕๙๐๖/ วนั ที่.......... เดือน.......... พ.ศ ............... เรอื่ ง รายงานการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเพ่ือการรู้หนังสอื และขออนมุ ตั ิผลการเรียนการสอนเพอ่ื การร้หู นงั สอื เรยี น ผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอแมส่ ะเรียง ตามที่ได้ขออนุญาตให้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการรู้หนังสือโดยได้จัดสอนที่หมู่บ้านทุ่งแดง ตำบลแมเ่ หาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซ่ึงมีนางพุทธชาติ ผาติสถิตชยั เปน็ ผู้สอน และไดด้ ำเนินการมาเป็น ลำดับแลว้ นั้น บัดนี้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เสร็จสิ้นแล้ว จึงขอส่งรายงานจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม หลักสูตรการรู้หนังสือไทย พ.ศ.2557 (แบบ บ.02) และระเบียนบันทึกผลการเรียน(แบบ บ 01)มาเพื่อพิจารณาลงนาม อนมุ ตั ิผลการเรยี นในระเบียนบนั ทกึ ผลการเรียน (แบบ บ. 01) รายละเอียดดังสิ่งทีส่ ง่ มาดว้ ย จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ (นางพุทธชาติ ผาติสถติ ชยั ) ครผู ูส้ อน คู่มือการพัฒนาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 62

แบบ บ.02 ตัวอยา่ ง แบบรายงานการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนหลักสตู รการรหู้ นังสือไทย 1.ช่ือ-นามสกุล ผู้สอน นางพุทธชาติ ผาติสถิตชยั อายุ 46 ปี วฒุ ิทางการศึกษา ประกาศนียบตั รวิชาชีพครู 2.จำนวนนกั ศกึ ษา 11 คน ชาย 2 คน หญงิ 9 คน  ชาวไทยภูเขา  ชาวไทยพ้ืนราบ  อื่น ๆ ระบุ 3.ระยะเวลาที่สอน วันที่ 23 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 ถงึ วันท่ี 26 เดอื น มนี าคม พ.ศ.2564 4.สถานทส่ี อนหมู่บ้านทุ่งแดง หมู่ท่ี9 ตำบลแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จงั หวัดแม่ฮ่องสอน 5.ผลสำเรจ็ ของการสอน ( ) มผี ้สู อบผ่านการเรยี นการสอน จำนวน 9 คน ชาย 2 คน หญงิ 7 คน ( ) ไมผ่ า่ นการเรียนการสอน จำนวน 2 คน ชาย - คน หญงิ 2 คน 6. ด้านความรู้ / ทัศนคติ / พฤตกิ รรมของผูเ้ รียนเปน็ อย่างไร? .......................................................................................................................... ............................................. ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... 7. ปญั หา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................... .................................................................. ............................................................................................................................. ........................................... ลงชอ่ื ผ้รู ายงาน ( นางพทุ ธชาติ ผาตสิ ถติ ชยั ) ผู้สอน คูม่ ือการพัฒนาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 63

ตัวอย่าง แบบ บ.01 ระเบยี บบนั ทกึ ผลการเรียนส่งเสรมิ การรู้หนังสอื ไทย ชอื่ ผสู้ อน นางพุทธชาติ นามสกลุ ผาตสิ ถติ ชัย สถานท่สี อน ศศช.บ้านท่งุ แดง ชอื่ หมูบ่ า้ นทุ่งแดง ตงั้ อย่หู มบู่ ้านทุ่งแดง ตำบล แม่เหาะ อำเภอ แม่สะเรยี ง จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน เปดิ สอนตงั้ แต่ วนั ท่ี 23 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ถึงวนั ที่ 26 เดอื นมีนาคม พ.ศ. 2563 จำนวนผูเ้ รยี น 11คน ชาย 2 คน หญิง 9 คน จำนวนผเู้ ขา้ ทดสอบ 11 คน ชาย 2 คน หญงิ 9 คน ทดสอบผา่ น 9 คน ชาย 2 คน หญงิ 7 คน อนุมตั ิผลการเรยี นวนั ที่ เดอื น มีนาคม พ.ศ.2564 ลงชื่อ..................................................................................ผอู้ นมุ ัติ (นายนติ พิ งศ์ ธนภัทรศักดิก์ ุล) ผูอ้ ำนวยการ กศน.แม่สะเรียง คมู่ ือการพฒั นาครูศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 64

ตัวอย่าง ข้อมูลการเรยี นรู้ผู้เรียนหลักสูตรรหู้ นงั สือไทย ท่ี ช่อื - สกุล อายุ สถานภาพ เลขบตั รประชาชน ท่อี ยู่ปัจจุบนั (ปี) 1 นางลดาวัลย์ ปรีดาสุขถาวร 40 สมรส 3580400472813 31/8 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ 2 นางอุทยั ยงเมธากิตติคณุ 43 สมรส 3580400472520 31/1 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ 3 นางบงั อร เชียงกรงุ เก่า 38 สมรส 35804 99472 091 17/4 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ 4 นางกรองแกว้ เก้อื กุลนยิ มไทย 46 สมรส 3580400472597 26/5 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ 5 นางกนั ยา จอแฮ 45 สมรส 3580400472601 13/2 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ 6 นายวันชัย หยกรุง้ อนุรักษ์ 40 สมรส 3580400434750 13/7 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ 7 นางอแิ มะ เกอ้ื กลุ นิยมไทย 54 สมรส 3580400430 270 26/8 ต.แม่เหาะ 8 นางหนอ่ เอ บันเทิงธรรม 54 สมรส 3580500090807 13/5 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ 9 นางจันทรด์ ี ชนื่ ชัยชนะ 50 สมรส 58040071558 14/1 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ 10 นายณรงค์ บเุ จ 46 สมรส 3580400471787 17/1 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ 11 นางวมิ ล ปองพพิ ัฒนก์ ุล 43 สมรส 3580400472627 26/1 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ ลงชือ่ ผ้สู อน (นางพุทธชาติ ผาติสถติ ชยั ) คมู่ อื การพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 65

ตวั อย่าง ผลการประเมินเพอ่ื จบหลักสตู รการรู้หนงั สือไทย ผลการเรยี น สรปุ ผลการ หมายเหตุ ทดสอบ คะแนนระหวา่ งเรยี น เรียน ใหเ้ อาคะแนน จำนวน กอ่ น 60%ขนึ้ ไปผา่ น ระหว่างภาค เรียน ท่ี ช่วั โมง (50) คร้งั ท่ี คร้ังที่ รวม ทดสอบ รวม ตำ่ กว่า 60% เลขที่ เรยี นรวมกับ 200 1(20) 2(30) (50) หลงั ทง้ั สิ้น คิดเปน็ ไม่ผา่ น วุฒบิ ตั ร คะแนน ชั่วโมง เรยี น ทดสอบ (50) (100) ร้อย ผ่าน ไม่ผา่ น หลังเรียนแลว้ ละ% คดิ % 1 163 6 7 10 17 25 42 42 / 42 2 200 13 17 25 42 21 63 63 / 63 3 200 9 17 23 40 22 62 62 / 62 4 200 13 17 25 42 21 63 63 / 63 5 200 14 16 25 41 38 79 79 / 79 6 200 12 17 21 38 27 65 65 / 65 7 200 18 15 24 39 25 64 64 / 64 8 200 13 17 25 42 21 63 63 / 63 9 200 9 17 23 40 22 62 62 / 62 10 200 12 17 21 38 27 65 65 / 65 11 162 6 7 10 17 24 41 41 / 41 ลงชอ่ื .................................................................................ผ้ตู รวจสอบ (………………………………………………………………. ) ค่มู ือการพัฒนาครูศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 66

ตวั อยา่ ง แบบรายงานผลการเรยี นรผู้ ไู้ มร่ หู้ นังสือ หมบู่ า้ นที่จดั การเรียนการสอนบา้ นท่งุ แดง ตำบล แมเ่ หาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแมฮ่ ่องสอน ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอแม่สะเรยี ง จงั หวัดแม่ฮ่องสอน สถานภาพ ผลการประเมิน หมายเหตุ ที่ ช่ือ -สกุล เพศ อายุ โสด สมรส อาชีพ ทีอ่ ย่ปู จั จุบนั ผา่ น ไม่ผา่ น 1 นางลดาวัลย์ ปรดี าสขุ ถาวร หญิง 40 / เกษตรกร 31/8 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ / 2 นางอทุ ัย ยงเมธากิตตคิ ณุ หญิง 43 / เกษตรกร 31/1 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ / 3 นางบงั อร เชยี งกรุงเกา่ หญิง 38 / เกษตรกร 17/4 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ / 4 นางกรองแก้ว เกือ้ กลุ นยิ มไทย หญงิ 46 / เกษตรกร 26/5 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ / 5 นางกันยา จอแฮ หญงิ 45 / เกษตรกร 13/2 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ / 6 นายวนั ชัย หยกรุ้งอนุรกั ษ์ ชาย 40 / เกษตรกร 13/7 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ / 7 นางอิแมะ เก้อื กลุ นยิ มไทย ชาย 54 / เกษตรกร 26/8 ต.แม่เหาะ / 8 นางหน่อเอ บันเทงิ ธรรม ชาย 54 / เกษตรกร 13/5 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ / 9 นางจนั ทรด์ ี ชืน่ ชยั ชนะ ชาย 50 / เกษตรกร 14/1 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ 10 นายณรงค์ บุเจ ชาย 46 เกษตรกร 17/1 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ / 11 นางวมิ ล ปองพิพฒั น์กลุ หญิง 43 เกษตรกร 26/1 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ / ค่มู ือการพัฒนาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 67

ตวั อย่าง แบบรายงานผลการแกไ้ ขปญั หาคุณภาพชวี ิตของครวั เรือนในตัวช้วี ดั ทตี่ กเกณฑ์ จปฐ. ปี 2564 สำนกั งานกศน.จงั หวัดแม่ฮ่องสอน กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง หมวดที่ 3 การศึกษา ตัวชว้ี ัดท่ี 19 คนอายุ 15 – 59 ปี อ่าน – เขยี นภาษาไทย และคดิ เลขอย่างง่ายได้ ที่ ช่อื – สกลุ ศศช./กศน.ตำบล/อำเภอ ทอ่ี ยู่ จบหลกั สตู ร หมายเหตุ เม่อื วนั ท่ี 1. นางอทุ ัย ยงเมธากติ ติคุณ ศศช.บา้ นทงุ่ แดง 31/1 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ มนี าคม 2564 กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 2. นางบงั อร เชียงกรุงเก่า ศศช.บา้ นทุ่งแดง 17/4 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ กศน.อำเภอแม่สะเรยี ง 3. นางกรองแก้ว เก้ือกลุ นยิ มไทย ศศช.บ้านทงุ่ แดง 26/5 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 4. นางกันยา จอแฮ ศศช.บา้ นทุ่งแดง 13/2 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ กศน.อำเภอแม่สะเรยี ง 5. นายวนั ชัย หยกรุ้งอนรุ ักษ์ ศศช.บา้ นทุ่งแดง 13/7 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ 6. นางอแิ มะ เก้ือกุลนิยมไทย กศน.อำเภอแม่สะเรยี ง 26/8หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ ศศช.บ้านทงุ่ แดง กศน.อำเภอแม่สะเรยี ง 7 นางหนอ่ เอ บันเทิงธรรม ศศช.บา้ นท่งุ แดง 13/5 หมู่ 9 ต.แมเ่ หาะ 8 นางจันทร์ดี ช่นื ชัยชนะ กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 14/1 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ ศศช.บา้ นท่งุ แดง กศน.อำเภอแม่สะเรียง 9 นายณรงค์ บเุ จ ศศช.บ้านทุ่งแดง 17/1 หมู่ 9 ต.แม่เหาะ กศน.อำเภอแม่สะเรยี ง คู่มือการพฒั นาครูศูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 68

แผนการจัดการเรียนรหู้ ลกั สูตรการร้หู นงั สอื ไทย การจัดการเรยี นรู้ ตามหลกั สูตรการร้หู นงั สือไทย พุทธศักราช 2557 ทงั้ 12 สภาพ มีคำหลกั เนือ้ หา ประเดน็ อภปิ ราย และแบบฝึกหดั ซ่ึงให้มีการฝึกท้ังทกั ษะภาษาไทยและการคิดคำนวณเบือ้ งต้นทีส่ อดคล้องกับ คำหลัก ทัง้ นี้ สามารถเลอื กสภาพหรอื เร่ืองทีเ่ ปน็ เหตุการณ์ปจั จบุ ันใหส้ อดคล้องกบั บริบทของพ้นื ท่ีและวิถชี ีวิต ชมุ ชน เพอื่ กระต้นุ ให้เกิดความสนใจ รบั รู้ ตลอดจนง่ายต่อการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น เพ่ือให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ความ เข้าใจ ทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน คำทีใ่ ช้ในชีวิตประจำวนั ไม่น้อยกวา่ 800 คำ และการคิดคำนวณเบื้องต้น ทง้ั นี้ ผ้เู รยี นต้องผา่ นการเรียนร้ใู นสภาพท่ี 1 ตามขอบขา่ ยท่ีเนอ้ื หาที่กำหนด และเลือกเรียนเพ่ิมเติม อีก 11 สภาพ รวม 12 สภาพ และคำหลกั ไม่น้อยกวา่ 800 คำ โดยใชเ้ วลาเรียน จำนวน 200 ชวั่ โมง ดังนน้ั ครู/ ผสู้ อน ตอ้ งจดั การเรียนรโู้ ดยเฉลยี่ ช่ัวโมงละ 4 คำหลัก เป็นอย่างน้อย ซง่ึ คร/ู ผู้สอนต้องวางแผนการจัดการเรียนรู้ เดยี วกัน และทุกเร่ืองใหบ้ ูรณาการภาษาไทย และการคดิ คำนวณเบอ้ื งต้นใหเ้ หมาะสมกับเนื้อหานนั้ ๆ ดงั น้ี สภาพท่ี ช่ือสภาพ จำนวนคำหลกั (คำ) 1 เมืองไทยของเรา 20 2 ชวี ติ ของเรา 469 3 ภยั ใกลต้ ัว 23 4 การทำมาหากนิ 80 5 สง่ิ แวดลอ้ มยง่ั ยนื 51 6 ชมุ ชนเขม้ แข็ง 62 7 กฎหมายน่ารู้ 36 8 คณุ ธรรมนำสนั ตสิ ขุ 29 9 เปดิ โลกเรยี นรู้ 60 10 เทคโนโลยใี กลต้ วั 56 11 พลังงาน 22 12 ทอ่ งเท่ยี วทว่ั ไทย 80 800 ส่วนคำเสริมที่เกี่ยวข้องกับสภาพ เป็นคำที่มีความเชื่อมโยงกับสภาพการเรียนรู้ของหลักสูตรการรู้ หนังสอื ไทย พทุ ธศักราช 2557 ซงึ่ สถานศึกษาสามารถนำไปใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ ได้ตามความเหมาะสม คูม่ ือการพัฒนาครูศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 69

รายละเอียดคำหลักของสภาพการเรยี นรู้ หลักสูตรการร้หู นงั สือไทย พทุ ธศักราช 2557 สภาพท่ี 1 เมอื งไทยของเรา ประกอบดว้ ยคำหลัก จำนวน 20 คำ และคำเสรมิ ทีเ่ กย่ี วข้องกบั สภาพ จำนวน 13 คำ ที่ หวั เรือ่ ง คำหลกั จำนวน คำเสรมิ จำนวน 1 ชาติ 2 ศาสนา คำหลัก ทีเ่ กีย่ วข้องกบั สภาพ คำเสริม 3 พระมหากษตั รยิ ์ ชาติไทย ธงชาติ เพลงชาติ 5 ขวานทอง 2 แผนท่ี ประเทศไทย สุวรรณภูมิ ศาสนา พุทธ ครสิ ต์ อิสลาม 5 พระสังฆราช ศาลาวัด 5 เจ้าอาวาส โบสถ์ วหิ าร มสั ยิด พระเจ้าอยหู่ วั พระราชนิ ี 10 พระเจา้ แผน่ ดนิ 6 พระบรมโอรสาธริ าช ในหลวง แม่หลวง สมเด็จพระเทพ พระราชบิดา พระมหากษตั ริย์ พระราชนัดดา พระราชดำรัส พอ่ หลวง สมเด็จยา่ พระราชโอรส พระราชธิดา พระราชดำริ สภาพที่ 2 ชวี ิตของเรา ประกอบดว้ ยคำหลกั จำนวน 469 คำ และคำเสริมท่เี ก่ยี วข้องกับสภาพ จำนวน 151 คำ ที่ หวั เรอ่ื ง คำหลกั จำนวน คำเสริม จำนวน คำเสรมิ คำหลัก ทเ่ี กี่ยวข้องกับสภาพ 22 1 รา่ งกายของเรา 55 4 อวัยวะภายนอก แขน ขา เท้า มือ นิ้ว ท้อง ไหล่ 20 ขาอ่อน น่อง 5 หลัง เข่า เล็บ ตา หู ปาก หัว ผม หนา้ ตา หนา้ ท้อง 9 คิว้ ฟนั ลิ้น คอ จมกู 4 12 อวัยวะภายใน ไต ตับ ปอด หัวใจ ลำไส้ สมอง ไส้ 10 สูบ ฉีด ไหล เวยี น 7 ติ่ง หลอดลม มดลูก กระเพาะ ไขขอ้ อาหาร ลกั ษณะทางกาย อ้วน ผอม สูง เตี้ย หล่อ ผิวดำ ผิว 14 เจ็บ ปวด หอบ ขาว งาม สาว หน่มุ แก่ ร้อน อบอ่นุ หนาว เมื่อย หิว งว่ ง เย็น อ่อนเพลยี มนึ งง กริ ิยาทา่ ทาง ยืน นั่ง นอน หัวเราะ ยิ้ม เดิน ว่ิง 11 สภุ าพ ออ่ นน้อม กิน นงิ่ รอ้ งไห้ ดม่ื เกรยี้ วกราด ท้อแท้ 2 ครอบครวั / 37 เครอื ญาติ คำนำหน้านาม/ นาย นาง นางสาว เด็ก ผู้ใหญ่ 17 ยศ ตำแหนง่ ชอ่ื สรรพนาม/ ทารก ชาย หญิง คณุ ทา่ น นาม สกุล รวย จน คมู่ ือการพัฒนาครูศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 70

ที่ หัวเรอ่ื ง คำหลัก จำนวน คำเสริม จำนวน คำหลัก ท่เี กีย่ วข้องกับสภาพ คำเสรมิ วัย/สถานภาพ ฉัน เธอ โสด หย่า หม้าย (ม่าย) วยั รุ่น วัยชรา ครอบครัว/เครือ พ่อ แม่ พ่ี น้อง ปู่ ย่า ตา 20 บดิ า มาดา 5 ญาติ ยาย ลุง ป้า น้า อา ลูก หลาน เลือดเนอ้ื เช้ือไข เหลน เขย ทวด สะใภ้ พอ่ ตา ครอบครัว แมย่ าย ญาติมิตร 3 อาหาร 126 47 วตั ถุดบิ แป้ง ข้าว นม ปู ไข่ กุง้ เน้ือ 13 ปูมา้ ปทู ะเล ปูนา หมู 6 หมู เนื้อววั ปลา หอย กบ สับ ปกี ไก่ นอ่ งไก่ ปลาหมกึ ปลาแห้ง การปรงุ อาหาร แกง ผดั ตม้ ต๋นุ ป้ิง ยา่ ง 17 ขลุกขลิก จ้ิมจุ่ม ผดั ฉ่า 3 ทอด นง่ึ อบ ยำ หมกั ดอง ควั่ ลาบ หลน เคยี่ ว พลา่ ประเภทอาหาร อาหารคาว อาหารหวาน อาหาร 16 ขา้ วเกรยี บ ขนมจบี 6 พ้ืนบ้าน ขา้ วผัด ขนมปัง ผัดไทย ซาลาเปา น้ำยา ขา้ ว เกี๊ยว บะหม่ี ขนมจีน สม้ ตำ แช่ ราดหน้า ก๋วยเตย๋ี ว สังขยา ไก่ทอด ข้าวเหนยี ว ฝอยทอง ลอดช่อง เครอ่ื งปรุง กะปิ เกลือ พรกิ ไทย ซีอ๊ิว 13 น้ำมะขามเปยี ก 7 นำ้ ปลา นำ้ ตาล ผงชรู ส เครอ่ื งแกง นำ้ พริก นำ้ สม้ สายชู น้ำซุป ซีอิ๊วดำ น้ำปลาหวาน นำ้ บูดู ปลาร้า ผงกะหร่ี ผงพะโล้ นำ้ พริกเผา นำ้ จมิ้ พชื ผกั ผลไม้ มะระ ผักบุ้ง ผกั คะน้า ผกั กาด กะเพรา พรกิ กระเทียม แตงกวา ถว่ั ขงิ ข่า ตะไคร้ มะเขือ หน่อไม้ ตำลงึ มะนาว มะกรดู มะขาม มงั คุด แตงโม สม้ ฝรง่ั เงาะ ลำไย มะพร้าว มะมว่ ง มะละกอ กลว้ ย ส้มโอ สับปะรด ทุเรยี น ขนุน ภาชนะ/เครื่องใช้ จาน ชาม ชอ้ น สอ้ ม ตะเกียบ 24 ถว้ ยตวง หมอ้ แขก 14 ในครวั ตะหลิว ถ้วย แก้ว กระชอน หมอ้ ตนุ๋ ซง้ึ หวด ทัพพี เตา ครก สาก เขยี ง มีด กระต๊บิ มีแกะสลัก มี ฝาชี ป่ินโต หมอ้ กระทะ เจียน มดี คว้าน เตา หมอ้ หงุ ข้าว กะละมงั โอ่ง ขัน ไฟฟ้า เตาแกส๊ เตา กระป๋อง ถ่าน ตู้กับข้าว ลงั ถงึ คู่มือการพฒั นาครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 71

ที่ หัวเรอ่ื ง คำหลกั จำนวน คำเสรมิ จำนวน คำหลัก ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับสภาพ คำเสริม รสชาติ ขม จืด มนั เปรี้ยว เคม็ เผด็ 11 อมเปร้ียวอมหวาน 3 หวาน แซบ่ ฝาด อรอ่ ย กลม หวานมัน เข้มข้น กลอ่ ม 4 การออกกำลังกาย 30 15 และนนั ทนาการ การออกกำลัง ปงิ ปอง วงิ่ แข่ง โยคะ ตะกร้อ 14 กีฬาพื้นบ้าน กอลฟ์ 7 กาย/ กฬี า ยิงปนื ยิงธนู ปน่ั จกั รยาน แขง่ แชรบ์ อล ว่งิ ผลดั เรือ วอลเลยบ์ อล ว่ายน้ำ ฟตุ บอล วงิ่ เปยี้ ว เปตอง แบดมนิ ตนั เทนนสิ กฬี ามวย บาสเกตบอล นันทนาการ/ การแสดงพนื้ เมือง เกม ร้องเพลง 16 มโนราห์ หนังตะลุง 8 การละเล่น ภาพยนตร์ นิยาย นทิ าน ดหู นัง หนังใหญ่ เพลงฉ่อย ดนตรี รำวง โขน ลเิ ก ลำตดั เต้นกำรำเคียว เพลง หมอลำ วาดรปู หมากเกบ็ เกย่ี วข้าว เพลง หมากรกุ พวงมาลยั เพลงเรือ 5 สุขอนามยั 26 9 สขุ อนามยั สว่ น ลา้ งหนา้ แปรงฟนั อาบน้ำ สระ 14 ครีมบำรงุ ผวิ โลชนั่ 4 บุคคล ผม ตดั เลบ็ ลา้ งมือ ซักผ้า ครีมนวดผม ผงซักฟอก ผา้ เช็ดมือ ยาสฟี ัน นำ้ ยาบว้ นปาก แชมพสู ระผม สบู่ กระดาษชำระ สขุ อนามยั ขัด ถู ล้าง ปัด กวาด เช็ด 12 ชักโครก โถส้วม 5 บา้ นเรือน สกปรก สะอาด ถงั ขยะ ท่อ ถังพักขยะ ระบาย ฝนุ่ ไร เรยี บรอ้ ย 6 โรคภัยไขเ้ จบ็ 52 11 อาการ ปว่ ย ชา ไอ จาม หกั ปวด 25 คล่นื ไส้ พักผ่อน 3 บวม แผล เจบ็ เปน็ ลม ไข้ ปวดหวั อาเจยี น ทอ้ งเสีย ทอ้ งผกู คนั เหนื่อย อ่อนเพลีย ผด ผน่ื วิงเวียน ตัวร้อน ชกั จกุ หอบ เสียด โรค เอดส์ วัณโรค มะเร็ง 15 พยาธิใบไมใ้ นตบั 4 ไข้เลือดออก โรคฉห่ี นู นำ้ กัดเท้า ตาแดง ไหลตาย ความดนั ฝี โรคหัวใจ เบาหวาน มอื เทา้ ปาก ไขห้ วัด คางทูม ปวดหัว มาลาเรีย อหวิ าตกโรค คมู่ ือการพัฒนาครศู ูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 72

ที่ หัวเรือ่ ง คำหลัก จำนวน คำเสรมิ จำนวน ยา คำหลกั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับสภาพ คำเสรมิ ยาธาตุ ยาหอม ยาอม ยาแดง สมุนไพร ทงิ เจอร์ 7 เรื่องใกล้ตวั ยาถ่าย ยาดม ยาหม่อง 12 ไอโอดนี ยาสามญั 4 อารมณ์/ ยาระบาย ยาแก้ไอ ยาแกป้ วด ประจำบา้ น ยาแผน ความรูส้ กึ ยาลดไข้ ยาบำรงุ 143 ปัจจุบัน 35 การวางแผน 15 3 ครอบครัว รกั ชอบ เกลยี ด ดีใจ เสยี ใจ 5 เมตตา กรุณา 2 ท่อี ยู่ โกรธ กลวั สขุ ทกุ ข์ รอ้ น 11 ช่วยเหลือ 7 หนาว เบ่อื เหงา งอน สงสาร สี ถงุ ยางอนามัย วางแผนครอบครวั 13 เพศสมั พันธ์ 5 อปุ กรณ์ คุมกำเนิด ทำหมนั ตั้งครรภ์ 12 ประจำเดอื น 1 ท่อี ยู่ บา้ นเลขท่ี ตรอก ซอย ภาคตา่ ง ๆ จนี ลาว วนั เดอื น ปี ถนน แขวง เขต ตำบล อำเภอ 34 เขมร พมา่ 8 จงั หวัด ประเทศ กรุงเทพมหานคร สตั ว์ 22 บรุ ุษไปรษณยี ์ 4 สี ดำ ขาว แดง ชมพู ฟ้า คราม แสด เทา ข้ีม้า เขียว นำ้ เงนิ สม้ มว่ ง เหลอื ง หัวเปด็ เงิน ทอง ไม้บรรทดั ปากกา ดนิ สอ น้ำยาลบคำผิด ยางลบ สมุด หนังสอื ตะปู คอ้ น เลื่อย เหลก็ กรรไกร วันเกดิ ตลบั เมตร วนั นกั ขตั ฤกษ์ วัน อาทิตย์ จันทร์ องั คาร พธุ วันลอยกระทง พฤหสั บดี ศุกร์ เสาร์ วันปใี หม่ เดือน มกราคม กมุ ภาพันธ์ วนั เฉลมิ พระชนม์ มนี าคม เมษายน พฤษภาคม วนสงกรานต์ มถิ นุ ายน กรกฎาคม สิงหาคม วันพระ กนั ยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ปพี ทุ ธศักราช ธันวาคม ปี ชวด ฉลู ชาล เถาะ มะโรง คอก เลา้ สวนสัตว์ มะเส็ง มะเมยี มะแม วอก ปา่ เปดิ ระกา จอ กนุ ไก่ หมู หมา นก แมว เสอื ลงิ ม้า ชา้ ง แพะ ววั กระต่าย จระเข้ งู หา่ น กระทิง แรด หมี เป็ด ควาย กวาง เก้ง คู่มอื การพัฒนาครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 73

ที่ หัวเรอื่ ง คำหลกั จำนวน คำเสรมิ จำนวน เคร่อื งแตง่ กาย คำเสรมิ เสื้อ กางเกง กระโปรง ถงุ เทา้ คำหลัก ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั สภาพ ดอกไม้/ ต้นไม้ รองเท้า ผา้ ขาวม้า โสรง่ ผ้าถุง 5 ชุดช้ันใน ผ้าเชด็ หนา้ เขม็ กลัด 12 เข็มขดั มะลิ ชบา กุหลาบ บวั จำปี 19 ไม้ดอก ไมป้ ระดบั ไม้ คูน ยาง มะค่า ประดู่ กล้วยไม้ มงคล ไมเ้ ลื้อย ไม้ผล อัญชนั สกั ชิงชัน ไผ่ สน นนทรี เขม็ ลลี าวดี ขอ่ ย สภาพที่ 3 ภยั ใกลต้ ัว ประกอบด้วยคำหลัก จำนวน 23 คำ และคำเสริมท่เี ก่ียวข้องกบั สภาพ จำนวน 7 คำ ท่ี หวั เรอื่ ง คำหลัก จำนวน คำเสรมิ จำนวน คำเสรมิ คำหลัก ที่เก่ียวข้องกับสภาพ 4 1 การพนนั อันตราย ไพ่ หวย พนนั ชนไก่ ไฮโล ตดิ 10 วิวาท ทะเลาะ ท้าทาย 3 คุก หนส้ี นิ โต๊ะพนนั ส่วย กิน เสย่ี งโชค รวบ 2 ภยั จากส่ิงเสพติด ภยั สง่ิ เสพติดร้ายแรง โทษ เหล้า 13 ตดิ ยา ดมกาว ตบั แขง็ เบียร์ บุหรี่ สุรา ยาบา้ เฮโรอนี กาว กญั ชา ฝนิ่ สภาพท่ี 4 การทำมาหากนิ ประกอบด้วยคำหลกั จำนวน 80 คำ และคำเสริมที่เกี่ยวข้องกับสภาพ จำนวน 15 คำ ท่ี หวั เร่อื ง คำหลัก จำนวน คำเสริมทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั จำนวน คำหลัก สภาพ คำเสริม 1 อาชีพ ขา้ ราชการ ตำรวจ ทหาร ครู 21 พนักงานรักษาความ 3 หมอ พยาบาล ชาวนา ปลอดภยั พนกั งานขับรถ 5 ชาวสวน ชาวไร่ เกษตรกร พนกั งานทำความสะอาด ประมง เลีย้ งสัตว์ ค้าขาย รับจา้ ง พนกั งานเสริฟ ช่าง นักแสดง นักรอ้ ง นักดนตรี นกั การเมือง ทนายความ 2 ผลติ ภัณฑช์ ุมชน ย่าม กระเปา๋ หมวก กำไล 15 วิสาหกจิ ธรุ กจิ ชุมชน สร้อย แหวน ผา้ นุ่ง ผา้ ทอ ธุรกจิ ในครัวเรอื น ผ้าฝ้าย ผ้าไหม เสื่อ รม่ สงิ่ แวดล้อม ทรพั ยากร ไม้กวาด ไมแ้ กะสลกั สินคา้ คูม่ ือการพฒั นาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 74

ท่ี หวั เร่อื ง คำหลกั จำนวน คำเสรมิ ท่ีเกีย่ วข้องกบั จำนวน 3 เงินตรา คำหลกั สภาพ คำเสริม 4 เศรษฐกจิ ธนบัตร เหรยี ญ บาท เงนิ 5 เงนิ ทอน 1 5 การตลาดใน 3 ชุมชน สตางค์ 3 หนุ้ ปันผล จำนอง จำนำ 24 เศรษฐกิจลอยตวั บญั ชี ดอกเบ้ยี ทุน กยู้ มื เงนิ ออม เงนิ ฝาก หนี้สิน หนส้ี าธารณะ กำไร สะสม ค้ำประกนั ยากจน มรดก คา่ ใชจ้ า่ ย เศรษฐกจิ พอเพียง บัญชคี รัวเรอื น ทรพั ย์สิน ทรัพยส์ มบัติ พอประมาณ มีเหตผุ ล ภูมิคมุ้ กัน กองทนุ พัฒนา ซอื้ ขาย ราคา รายรบั 15 ราคาสด ราคาผอ่ น รายจา่ ย กลมุ่ สหกรณ์ อาชพี ราคามติ รภาพ ตลาด แลกเปล่ียน ผลิตภัณฑ์ ตอ่ รอง คนกลาง พ่อค้า แม่คา้ สภาพที่ 5 สิ่งแวดล้อมที่ย่ังยนื ประกอบดว้ ยคำหลกั จำนวน 51 คำ ที่ หวั เรื่อง คำหลัก จำนวน คำหลัก 1 ทรัพยากรธรรมชาติ ฤดู ฝน ดิน นำ้ หนิ ลม ถ้ำ สัตวป์ ่า ก๊าซ แรธ่ าตุ 11 ทรพั ยากรธรรมชาติ 11 2 ดินและปา่ ไม้ ปา่ ไม้ ตน้ น้ำ ชุม่ ชนื้ บุกรุก ปลูก หญ้าแฝก ดนิ รว่ น ดนิ เค็ม 13 ดนิ เปรี้ยว ดนิ เหนียว ดนิ ทราย 16 3 แหล่งนำ้ เขื่อน นำ้ บาดาล บงึ บอ่ อ่างเกบ็ น้ำ ฝาย หว้ ย หนอง คลอง ลำธาร แหล่งน้ำ ชลประทาน แกม้ ลิง 4 ภัยธรรมชาติ มลพษิ อนรุ กั ษ์ สง่ิ แวดล้อม มลพิษ โลกรอ้ น การเตือนภยั พายุ ดินถลม่ และการอนรุ ักษ์ น้ำป่า น้ำทว่ ม ควันไฟ ไฟป่า ฝนแล้ง แผน่ ดนิ ไหว แหง้ แล้ง ส่งิ แวดลอ้ ม ฝุ่นละออง ขยะ คมู่ อื การพฒั นาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 75

สภาพที่ 6 ชมุ ชนเข้มแข็ง ประกอบดว้ ยคำหลกั จำนวน 62 คำ ท่ี หัวเรอ่ื ง คำหลกั จำนวน คำหลัก 1 การรวมกลมุ่ เวทชี าวบ้าน ปัญหา กองทุน พัฒนา การรวมกลุม่ กล่มุ สตรี 10 บทบาท ออมทรัพย์ เยาวชน ประชาคม 14 21 2 กฎระเบียบชุมชนและ กฎ ระเบียบ ข้อตกลง ข้อบังคับ ฝ่าฝนื ลงโทษ ปรบั ประกาศ 21 จิตสาธารณะ แบง่ ปัน จิตสาธารณะ ช่วยเหลือ จติ อาสา อาสาสมัคร ดแู ล 3 ประชาธิปไตยและ การเมือง การปกครองสว่ นท้องถน่ิ กำนัน ผู้ใหญบ่ า้ น เทศบาล การปกครองส่วน เลือกต้ัง องค์การบรหิ ารส่วนตำบล (อบต.) องค์การบรหิ ารสว่ น ท้องถ่นิ จงั หวัด (อบจ.) รฐั สภา รัฐมนตรี รัฐบาล รฐั ธรรมนูญ นายกรฐั มนตรี คณะรัฐมนตรี สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร (ส.ส.) สมาชิกวฒุ ิสภา (ส.ว.) ประชาธปิ ไตย 4 การอยู่ร่วมกัน ความสงบ คุณธรรม จรยิ ธรรม น้ำใจ ไมตรี เอ้ือเฟื้อ เผอื่ แผ่ อภยั สทิ ธิ เสรีภาพ กตกิ า ประชมุ ประธาน สมาชิก กรรมการ เลขานุการ หนา้ ท่ี สามัคคี มวี ินัย เสียสละ ตรงตอ่ เวลา สภาพที่ 7 กฎหมายน่ารู้ ประกอบด้วยคำหลกั จำนวน 36 คำ ที่ หัวเรอ่ื ง คำหลกั จำนวน คำหลกั 1 กฎหมายครอบครวั บุตร พยาน ทายาท สินสอด แจง้ เกดิ แจง้ ตาย บตุ รบุญธรรม มรดก มรดก ทะเบียนบ้าน พนิ ยั กรรม สนิ สมรส สูติบตั ร มรณบตั ร บตั ร 15 ประชาชน ทะเบยี นสมรส 2 กฎหมายจราจร 13 ขับขี่ รถยนต์ จกั รยานยนต์ ประมาท สญั ญาณ ใบอนญุ าต กฎ 3 กฎหมายแรงงาน จราจร ประกันภยั อบุ ัติเหตุ ระมดั ระวงั ทะเบียนรถ หมวกนิรภยั 8 เข็มขดั นิรภัย แรงงาน ลูกจา้ ง นายจา้ ง สญั ญา เงนิ เดอื น สวสั ดกิ าร ค่าแรงข้ันต่ำ ประกนั สังคม คูม่ อื การพฒั นาครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 76

สภาพที่ 8 คุณธรรมนำสันติสขุ ประกอบด้วยคำหลัก จำนวน 29 คำ ท่ี หวั เร่ือง คำหลกั จำนวน คำหลัก 1 ความสุภาพ อ่อน ไหว้ กราบ สภุ าพ สวสั ดี ขอโทษ ขอบคุณ สจุ รติ อ่อนนอ้ ม 16 นอ้ ม/ ความซ่ือสตั ย์ กิริยา มารยาท บุญคุณ ตอบแทน ซือ่ สตั ย์ กตญั ญู ทดแทน 13 และความกตญั ญู ผู้มีพระคณุ 2 ความขยนั และ รับผดิ ชอบ สามัคคี วินยั ขยนั อดทน พยายาม ประหยดั อดออม ประหยดั / ความ หมั่นเพียร รว่ มมือ สว่ นรวม ปรองดอง มีน้ำใจ สามัคคี มีนำ้ ใจ มวี ินยั สภาพที่ 9 เปดิ โลกเรยี นรู้ ประกอบดว้ ยคำหลกั จำนวน 60 คำ ที่ หัวเรอื่ ง คำหลัก จำนวน คำหลัก 1 แหล่งเรยี นรู้ วทิ ยุ โทรทศั น์ หนังสอื พมิ พ์ หอ้ งสมดุ แหล่งเรยี นรู้ ป้ายประกาศ 13 กระดานข่าว อนิ เทอร์เนต็ ภุมปิ ญั ญา ปราชญ์ เสยี งตามสาย สวน 12 สัตว์ พิพิธภัณฑ์ 16 2 คดิ เป็นกบั การเรยี นรู้ คิดเปน็ วชิ าการ แยกแยะ รอบคอบ จัดกลุ่ม ข้อมลู ทางเลอื ก 19 ตดั สินใจ แก้ปัญหา ประเภท ชมุ ชน สังคม 3 การแสวงหาความรู้ สังเกต คน้ ควา้ สอบถาม แสวงหา ปฏบิ ตั ิเลยี นแบบ ลองผดิ ลองถูก ทศั นศึกษา ทดลอง สัมภาษณ์ ทฤษฎี อ่าน เขียน คิด ฟงั ดู ภาพยนตร์ 4 สถานทีส่ ำคญั ของ สถานตี ำรวจ ทว่ี า่ การอำเภอ ศาลากลางจงั หวดั มสั ยิด วดั บา้ น ชมุ ชน โรงเรยี น กศน.อำเภอ ธนาคาร โรงพยาบาลสขุ ภาพประจำตำบล ห้องสมุดประชาชน มหาวทิ ยาลัย วทิ ยาลัย ราชภฏั สถานท่รี าชการ แรงงานจังหวดั เกษตรจงั หวดั อุตสาหกรรมจงั หวัด สวนสาธารณะ คมู่ อื การพฒั นาครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 77

สภาพที่ 10 เทคโนโลยีใกลต้ ัว ประกอบด้วยคำหลกั จำนวน 56 คำ ที่ หัวเรื่อง คำหลัก จำนวน คำหลกั 1 เทคโนโลยที ่เี ก่ยี วขอ้ ง จานดาวเทียม สือ่ สาร คอมพิวเตอร์ โทรสาร โทรศัพท์ เครื่องคดิ เลข 19 กบั ชวี ิตประจำวนั / เทคโนโลยี พัดลม เครื่องใช้ เคร่ืองมือ ต้เู ย็น เตารดี เคร่ืองซักผา้ 22 เครอื ข่ายสังคม เครือ่ งอบผ้า เตาไฟฟ้า กระทะไฟฟ้า เคร่อื งเป่าผม เครื่องทำน้ำอนุ่ 15 ออนไลน์ เครื่องทำความเย็น 2 เทคโนโลยแี ละภมู ิ ไซ ยอ สุ่ม แห อวน เบด็ สวงิ โม่ จอบ ข้อง เคยี ว คันไถ เคร่ืองสขี า้ ว ปญั ญาชาวบ้าน คราด เสียม บงุ้ กี๋ กังหัน กระบุง โพงพาง กระติ๊บ ขนั โตก ตะกร้า 3 ปยุ๋ /ยาฆา่ แมลง/ ปุย๋ เคมี ป๋ยุ คอก ป๋ยุ หมัก ปุ๋ยชวี ภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ กากน้ำตาล แมลง สารเคม/ี สารพิษ แมง สารเคมี ตกค้าง ศตั รพู ชื สารดดู ซึม ปุย๋ เรง่ ดอก ป๋ยุ เรง่ ใบ นำ้ ส้ม ควันไม้ สภาพท่ี 11 พลงั งาน ประกอบดว้ ยคำหลกั จำนวน 22 คำ ท่ี หวั เรอ่ื ง คำหลัก จำนวน คำหลกั 1 พลงั งานและการ น้ำมันเช้อื เพลงิ ฟืน ถา่ น แกลบ พลังงาน ถา่ นหิน เชอ้ื เพลิง ก๊าซ เลอื กใชพ้ ลงั งาน ชวี ภาพ ไฟฟา้ แสงอาทิตย์ แกส๊ หุงต้ม แก๊สโซฮอล์ 12 2 การประหยดั และ หมนุ เวียน บำรุง รักษา ตรวจสอบ ชำรุด คุ้มคา่ ซ่อมแซม ทดแทน 10 อนุรกั ษ์พลังงาน ใชซ้ ำ้ พัฒนา สภาพที่ 12 ทอ่ งเที่ยวท่ัวไทย ประกอบด้วยคำหลัก จำนวน 80 คำ ที่ หวั เรอื่ ง คำหลัก จำนวน คำหลัก 1 ข้อมูลและแหล่ง ประชาสมั พนั ธ์ แผน่ พับ ใบปลวิ วารสาร เผยแพร่ โฆษณา ปราสาท 24 ท่องเที่ยว พระราชวัง ประวัตศิ าสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ แหล่งทอ่ งเท่ยี ว 13 เจดยี ์ ตลาดน้ำ ศนู ย์เรียนรู้ ศูนย์วัฒนธรรม ภเู ขา นำ้ ตก แม่นำ้ 14 อทุ ยานแหง่ ชาติ โครงการพระราชดำริ ดอย ทะเล หมู่เกาะ 2 เส้นทางการ เดนิ ทาง เรอื รถประจำทาง รถไฟ เครื่องบิน แผนท่ี ทิศ ภาค ใต้ ทอ่ งเที่ยว เหนอื ตะวันตก ตะวนั ออก ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 3 การจดั การการ ที่พกั เจ้าของ คนงาน ลูกค้า วัสดุ บรกิ าร จัดการขนสง่ ธรุ กจิ ทอ่ งเที่ยว/มคั คเุ ทศก์ ยดื หย่นุ เอาใจใส่ ความรู้ ตั๋ว มัคคเุ ทศก์ คูม่ อื การพัฒนาครศู ูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 78

ที่ หวั เร่ือง คำหลกั จำนวน คำหลกั 4 ส่งเสริมอาชพี เพอื่ เชา่ ถา่ ยรูป พืน้ เมอื ง นวดแผนไทย ของทร่ี ะลึก อาหารแปรรปู 6 การทอ่ งเทีย่ ว 10 5 วฒั นธรรม ประเพณี ภาษา ศิลปะ ประเพณี วฒั นธรรม สงกรานต์ ปีใหม่ ทำบญุ แต่งงาน บวช งานศพ 6 สัญลักษณ์ที่ควรรู้ สัญลกั ษณ์ ความหมาย โรงพยาบาล อย. หา้ มใชเ้ สยี ง อนั ตราย สัญญาณไฟขา้ งหนา้ ห้ามใช้โทรศัพท์ ห้องนำ้ (หญิง ชาย) ห้ามสูบบหุ รี่ คู่มือการพัฒนาครูศนู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 79

ท่ี หวั เรื่อง คำหลัก จำนวน หา้ มเดนิ ขา้ ม คำหลัก หา้ มจอด ขา้ มทางม้าลาย ห้ามท้งิ ขยะ ประหยดั ไฟ คู่มือการพัฒนาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 80

แบบฟอรม์ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาคเรยี น แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นร้รู ายภาคเรยี น หลกั สตู รการรหู้ นงั สือไทย พทุ ธศกั ราช 2557 โดย ………………………………………………. สอนต้งั แต่………………………………………………. (สอน ณ ……………….. อำเภอแม่สะเรยี ง จงั หวดั แม่ฮ่องสอน) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย อำเภอแมส่ ะเรยี ง จังหวัดแมฮ่ ่องสอน ผ้อู นุมตั ิแผน..................................................... (นายนิติพงศ์ ธนภทั รศักดกิ์ ลุ ) ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอแม่สะเรยี ง คมู่ ือการพัฒนาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 81

ตวั อย่าง แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้รายภาคเรียน หลกั สูตรการรู้หนงั สอื ไทยพุทธศักราช 2557 ชอื่ ผรู้ ับผิดชอบ ................................................................ กศน.ตำบล/ศรช./ศศช./กลุม่ ……………………………………………. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอแม่สะเรยี ง จัดกจิ กรรมเรียนรู้ วัน/ ครง้ั ตอนที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้การ สถานท่ี จำนวนช่ัวโมง หมายเหตุ เดือน/ปี ที่ ปรบั พ้ืนฐานทกั ษะภาษาไทยด้วยการ แจกลกู สะกดคำ 1 ปฐมนเิ ทศ,แบบทดสอบก่อนเรียน 3/3/4 ชม. รจู้ ักพยัญชนะไทย สระ และตัวเลขไทยและอารบกิ 2 ปรับพื้นฐานภาษาไทย 3 ชม. -ะ -า ก ข ง น ต 3 ปรบั พน้ื ฐานภาษาไทย 3 ชม. -ิ –ี ป ด บ ม อ 4 ปรบั พื้นฐานภาษาไทย 4 ชม. -ึ -ื ร ล ฝ –ั และตัวสะกด แม่ กก (ก/ ข/ค) 5 ปรบั พน้ื ฐานภาษาไทย 3 ชม. -ุ –ู ง ฆ ผ ฟ และ สามัญไมเ้ อก ( -่ ) 6 ปรบั พน้ื ฐานภาษาไทย 4 ชม. -เ-ะ เ- ท จ ฮ และวรรณยุกต์ –้ – ๆ และตวั สะกด แมก่ ง (ง) 7 ปรับพื้นฐานภาษาไทย 3 ชม. -แ-ะ –แ- ว ภ พ ย และตวั สะกดแม่ กน (น/ญ/ล/ร) 8 ปรบั พน้ื ฐานภาษาไทย 4 ชม. โ-ะ โ- ช ซ ห และอักษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ (ฎ ฏ) ผู้เสนอแผน .............................................................................. (………………………………………………….…………) ตำแหนง่ ………………………………………………………………. ค่มู ือการพฒั นาครศู ูนย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 82

คมู่ อื การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้กลุม่ เปา้ หมายผไู้ ม่รหู้ นังสอื http://www.lertchaimaster.com/doc/rbt-2557.pdf เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การจดั การศึกษาหลกั สตู รสง่ เสรมิ การรหู้ นงั สอื คู่มือการพฒั นาครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 83

การจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง ค่มู ือการพัฒนาครศู ูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 84

การจัดการศึกษาตอ่ เน่อื ง รปู แบบและวธิ ีกำรจดั กำรศึกษาต่อเนื่อง การจดั การศกึ ษาต่อเน่อื ง เป็นการจัดการเรียนรู้เพือ่ ให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนท่ัวไปทกุ กล่มุ วัยได้รบั การเรียนรทู้ ีส่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ ดา้ นการพฒั นาอาชีพ พฒั นาทักษะชวี ิต พัฒนาสังคมและชุมชน ตามหลกั ปรชั ญาคดิ เป็นและหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมกี รอบการจัดการศกึ ษาต่อเนื่อง ดงั น้ี วธิ ีและกำรจัดการศึกษาตอ่ เน่อื ง 4 รูปแบบ 1. รปู แบบกลุ่มสนใจ เปน็ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ให้กบั ผู้เรยี นที่มีการรวมกลุ่มหรือไม่รวมกลมุ่ ดังน้ี 1.1 จัดกิจกรรมตามความต้องการและความสนใจทีม่ ีการรวมกลุ่มกนั ของผเู้ รยี นตงั้ แต่ 6 คนข้ึนไป หลักสตู รไม่ เกิน 30 ชว่ั โมง 1.2 จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามภารกิจ เชน่ อำเภอเคล่ือนที่ จงั หวัดเคลอ่ื นท่ี ฯลฯ ผูเ้ รียนไมม่ ีการรวมกลมุ่ สนใจ สมัครเรยี น ณ สถานที่จดั กจิ กรรม หลกั สตู รไม่เกิน 5 ชั่วโมง 2. รูปแบบช้นั เรียนวิชาชีพ เป็นการจัดกิจกรรมการเรยี นร้หู ลักสตู รต้ังแต่ 31 ชวั่ โมง ขนึ้ ไป ผู้เรียนตั้งแต่ 11 คนข้ึนไป 3. รูปแบบกิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน เป็นการอบรม การศึกษาดงู านการจัดเวทปี ระชาคม หรือกิจกรรมอ่นื ๆ ท่ีมี ลกั ษณะเป็นการฝึกอบรม มีเนอื้ หาเก่ยี วกับกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ กจิ กรรมเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน การ ส่งเสรมิ การด าเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เพ่ือให้ ประชาชนไดร้ ับความรู้ มเี จตคติ และทักษะท่ีจำเปน็ สำหรับการดำรงชวี ิตในสังคมปัจจบุ ัน โดยมโี ครงการและ หลักสูตรที่มชี ่วงระยะเวลาจดั ที่แนน่ อน ผเู้ รียนกล่มุ ละ 15 คนข้ึนไป หลักสตู ร 1-3 วัน 4. รูปแบบการเรยี นร้รู ายบุคคล เปน็ การเรียนรู้ของผู้เรยี นบุคคลใดบุคคลหนึง่ ทตี่ ้องการจะเรยี นรู้ในหลักสตู ร การศึกษาต่อเนือ่ งในสถานศึกษาหรือภาคีเครือขา่ ย การจดั การศกึ ษาตอ่ เนือ่ งของสำนกั งาน กศน. มี 3 ลกั ษณะ 1. สถานศกึ ษาเป็นผู้จดั 2. สถานศกึ ษารว่ มจดั กับเครือข่าย 3. ภาคเี ครือขา่ ย เป็นผู้จัด โดยสถานศึกษาส่งเสริม สนบั สนนุ ให้เครือขา่ ยเป็นผ้จู ัด ทั้งนเี้ ครือข่ายและผู้เรียนต้องมีการท าข้อตกลงร่วมกันในการจัดการเรียนรู้ใหผ้ ู้เรยี นจบหลักสูตร การจัดการศกึ ษตอ่ เน่ืองของศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.) การจัดการศึกษาต่อเนื่องเป็นภารกิจของครู ศศช ที่ต้องดำเนินการ ตามบทบาทหน้าที่ เพื่อตอบสนอง ให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไปทุกกลุ่มวัยได้รับการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการ ด้านการพัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต พัฒนาสังคมและชุมชน ตามหลักปรัชญาคิดเป็นและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมี รูปแบบกิจกรรมเป็นการฝึกอบรมประชาชน การศึกษาดูงานการจัดเวทีประชาคม หรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่มีลักษณะ เป็นการฝึกอบรม มีเนื้อหาเกี่ยวกับกิจกรรมเพื่อพัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและ ชุมชน การส่งเสริมการดำเนินชวี ิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ มีเจตคติ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมปัจจุบัน โดยมีโครงการ และหลกั สตู รทม่ี ีชว่ งระยะเวลาจดั ทแี่ น่นอน ผเู้ รยี นกลมุ่ ละ 15 คนขน้ึ ไป คู่มือการพัฒนาครูศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 85

ตัวอย่างหลกั สูตรของการจัดการศกึ ษาตอ่ เนื่องใน ศศช. การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เป็นการจัดการเรียนรู้จากวิทยากรหรือผู้รู้ที่ ประกอบอาชีพโดยการฝึกปฏิบัติ ที่ ม่งุ เน้นให้ผูเ้ รยี นมคี วามร้เู จตคติ และมีทกั ษะในอาชพี ตาม วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร ประกอบดว้ ย ทกั ษะเกี่ยวกับ การปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พื้นฐาน การคิดแก้ปัญหา การสื่อสาร และความปลอดภัยในการ ประกอบอาชีพ รวมทัง้ การมี คณุ ลักษณะทส่ี ำคัญ ในการประกอบอาชีพ เช่น ความซ่ือสัตย์สุจริต ความคิดเชิงบวก ความมงุ่ มนั่ ใน การท างาน การท างานรว่ มกับผอู้ ืน่ การรกั ษาส่ิงแวดล้อมและการคำนึงประโยชนส์ ่วนรวมมากกว่า ส่วนตน เช่น หลักสูตรการทอผ้าลวดลายตกแต่ง หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย หลักสูตรช่างปู กระเบ้ือง หลักสูตรช่างไมพ้ ืน้ ฐาน หลกั สตู รอาหารและขนมไทย การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้ความสำคัญกับ การพัฒนาคนทุกช่วงวัย ให้มีความรู้ เจตคติ และทักษะที่จ าเป็นสำหรับการด ารงชวี ิตในสังคมปัจจบุ ัน สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ทเ่ี กิดขึน้ ในชีวิต ประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อม สำหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล ข่าวสารและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยเน้นการฝกึ ปฏิบัติให้ผู้เรียนเกิดทักษะชีวติ เช่น หลักสูตรการอบรม ให้ความรเู้ ร่อื งการปอ้ งกันโรคโควิด 19 หลักสตู รการอบรมให้ความรู้เร่ืองกฎจราจร การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน เปน็ การจัดการศึกษาทบี่ รู ณาการความรู้ และทกั ษะจากการศึกษาทผี่ ู้เรียนมี อยู่ หรอื ได้รับจากการเขา้ รว่ มกิจกรรมการศึกษาตา่ งๆ โดยมีรูปแบบการเรียนท่ีหลากหลาย ใหช้ มุ ชนเป็นฐานในการ พัฒนาการเรียนรู้ และทุนทางสังคมเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและประชาชนอยู่ร่วมกันอยา่ งมีความสุขตามวิถที าง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยตลอดจนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีมีการพัฒนาที่ยั่งยืน เช่นหลักสูตรการอบรม ใหค้ วามรูเ้ รอื่ งการจดั การขยะในชมุ ชน หลักสตู รการอบรมใหค้ วามรเู้ รื่องการป้องกนั ภยั พิบัติ การศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของหลัก ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่เก้า ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทาง การ ดำรงอยู่และการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับให้ด าเนินชีวิตไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา เศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจ าเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อ ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงท้ัง ภายนอกและภายใน ทัง้ นจี้ ะตอ้ งอาศัยความรอบรคู้ วามรอบคอบและความระมัดระวังในการนำวิชาการ ต่างๆ มา ใช้ในการวางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้อง เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติให้ มี สำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มี สติปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจาก โลกภายนอกได้ พร้อมทั้งสามารถนำแนวคิดตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชป้ ระกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม เช่นหลักสตู รการอบรมใหค้ วามรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ http://www.lertchaimaster.com/doc/manualEdContinue61.pdf คมู่ อื แนวทางการจัดการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2561 ค่มู ือการพฒั นาครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 86

การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย ค่มู อื การพฒั นาครศู ูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 87

การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย การศกึ ษาตามอัธยาศยั ไมใ่ ช่ของใหม่ แตเ่ ปน็ การศึกษาที่มมี า ต้งั แต่มนษุ ยเ์ กดิ ขนึ้ ในโลก มนุษยเ์ รียนรู้จาก ธรรมชาตเิ ชน่ ในสังคม เกษตรกรรมมนุษยเ์ รยี นรู้การหนภี ยั จากธรรมชาติและการหาอาหาร การทำสวนครัวจากพ่อ แม่ หรือสมาชิกในครอบครัว แต่ในสังคม อุตสาหกรรม มนุษย์เรียนรู้มากขึ้นจากการติดต่อค้าขาย การอ่านการ เขียน การฟังวิทยุ การดูโทรทศั น์ ในปจั จุบันสังคมมีการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอ้ ม ทำใหม้ นุษยต์ อ้ งมกี ารปรับตัว ใหส้ อดคลอ้ งกับการ เปลยี่ นแปลงทเ่ี กิดขนึ้ ทำใหต้ อ้ งแสวงหาความรู้ใหมๆ่ ตลอดเวลา การ ศึกษาตามอัธยาศัยจึง เข้ามามีบทบาทและมคี วามสำคัญตอ่ ชวี ติ มนุษย์ใน ยคุ โลกาภิวัตน์ ความหมายการศึกษาตามอัธยาศัย กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2544 : 33-38) ให้ความหมาย การศึกษาตามอัธยาศัยว่าเป็นการศึกษาที่เกิดขึ้นตามวิถีชีวิตที่ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากประสบการณ์ การทำงาน บุคคล ครอบครัว ส่ือมวลชน ชมุ ชน แหล่งความรู้ ต่างๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ ความบันเทิง และ การศึกษาตามอัธยาศัย เอกสารสาระหลักการและแนวคิด ประกอบการดำเนินงาน กศน. การพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยมีลักษณะที่สำคัญคือ ไม่มีหลักสูตร ไม่มีเวลา เรียนที่ แน่นอน ไม่จำกัดอายุ ไม่มีการลงทะเบียนไม่มีการสอบ ไม่มีการรับ ประกาศนียบัตร มีหรือไม่มีสถานศึกษาท่ี แน่นอน เรียนที่ไหนกไ็ ดส้ ามารถ เรยี นไดต้ ลอดเวลาและเกดิ ขึ้นในทกุ ชว่ งวัยตลอดชีวิต พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 ให้ความหมาย การศึกษาตามอัธยาศัยว่า เป็น การศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาสโดยการศึกษาจาก บุคคล ประสบการณส์ ังคม สภาพแวดล้อม สอื่ หรอื แหล่งความรู้อนื่ ๆ ปฐม นิคมานนท์ (2532 : 112) ใหค้ วามหมายว่า การศกึ ษาตาม อธั ยาศยั เป็นกระบวนการตลอดชวี ิต ซ่ึง บุคคลได้เสริมสร้าง เจตคติ ค่านิยม ทักษะ และความรู้ต่างๆ ในสภาพแวดล้อม เช่น การเรียนรู้ จากครอบครัว เพื่อนบ้าน จากการทำงาน การเล่น จากตลาด ร้านค้า ห้องสมุด ตลอดจนเรียนรู้จาก สื่อมวลชนต่างๆ ตัวอย่าง เช่น เด็กเรียนรู้ เกี่ยวกับภาษาและคำศัพท์ต่างๆ จากบ้าน เด็กหญิงเรียนรู้วิธีทำกับข้าว การเลี้ยงน้อง การจัด บ้านเรือน การอบรมสั่งสอน และการสังเกตจาก มารดา เด็กผู้ชายเรียนรู้ด้านอาชพี จากบิดา เรียนรู้การเฝ้าดแู ละ สงั เกต ธรรมชาตหิ รอื แม้แต่การค้นพบส่ิงต่างๆ โดยบังเอิญ หรือเรียนรโู้ ดย ไมไ่ ดต้ ง้ั ใจเป็นต้น ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์และคณะ (2544 : 33-34) ให้คำนิยมการศึกษา ตามอัธยาศัยว่า เป็นการจัด สภาพแวดล้อม สถานการณ์ ปัจจัยเกื้อหนุน สื่อ แหล่งความรู้และบุคคล เพื่อส่งเสริมให้บุคคลได้เรียนรู้ตามความ สนใจ ศกั ยภาพ ความพร้อม และโอกาส เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ท้งั ของ ตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสงั คม Shibuya Hideyoshi (1990 อ้างถึงใน อุดม เชยดีวงศ์, 2544 : 80) ให้ความหมายไว้ว่า การศึกษาตาม อธั ยาศัย คอื กระบวนการท่ีมนุษย์ ได้รับการถา่ ยทอด และส่ังสมความรู้ ทกั ษะ เจตคติความคิด จาก ประสบการณ์ ในชีวติ ประจำวนั และสง่ิ แวดลอ้ มตลอดชีวติ เปน็ การศกึ ษา ทไ่ี มม่ อี งคก์ ร ไมม่ ีระบบ ไม่มจี ุดมงุ่ หมาย ไม่ต้งั ใจ และ เรื่องที่ได้รับ การถ่ายทอดก็เป็นเรื่องทีเ่ กี่ยวกับ วิถีชีวิตในสังคม ตัวอย่างเช่น การเรียนรู้ ในครอบครัว ในที่ทำงาน สถานที่ท่องเที่ยว การเรียนรู้จากแบบอย่าง และทัศนคติในครอบครัวหรือเพื่อน การเรียนรู้จากการอ่านสิ่งพิมพ์ หนงั สอื พิมพ์ และจากการท่องเที่ยว ตลอดจนการเรียนร้โู ดยฟงั วิทยุ ดภู าพยนตรแ์ ละโทรทศั นเ์ ป็นตน้ คมู่ อื การพฒั นาครูศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 88

กลา่ วโดยสรปุ การศึกษาตามอัธยาศยั • เป็นการเรยี นรตู้ ามวถิ ชี วี ิต • เกิดขน้ึ ได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี และทุกชว่ งวยั ของชวี ติ • ผเู้ รียนเรียนร้ดู ้วยตนเองตามความสนใจ ศกั ยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศกึ ษาจากประสบการณ์ การทำงาน สภาพแวดลอ้ ม และ แหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆ • เปน็ การเรียนรเู้ พ่ือเพิ่มพูนความรู้เจตคติทักษะ ความบนั เทิง และการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป้าหมายของ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อตอบสนองความต้องการการเรียนรู้ตามความสนใจ ความ ถนัด และศักยภาพ ของแต่ละบุคคลให้สามารถศึกษาได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต รูปแบบการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย การจัดการ ศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไมม่ รี ปู แบบการศึกษา หรอื การ เรียนร้ทู ่ีตายตวั ไมม่ ีหลักสตู รเปน็ ตวั กำหนดกรอบกจิ กรรม หรอื ขอบข่าย เอกสารสาระหลักการและแนวคิดประกอบการดำเนินงาน สาระการเรียนรู้การเรียนรู้ขึ้นอยู่กับความ ต้องการ และแรงจูงใจใฝ่รู้ ของแต่ละบุคคล อย่างไรก็ดีเราสามารถจัดกิจกรรมเพื่อเสริมให้เกิดการเรียนรู้ตาม อัธยาศัยไดด้ ังนี้ 1. จัดกิจกรรมในแหลง่ การเรียนรูป้ ระเภทต่างๆ เช่นห้องสมดุ ประชาชน การเรียนรู้ดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ ออนไลน์ พิพธิ ภณั ฑ์ การจัด กจิ กรรมการเรยี นรจู้ ากภูมปิ ัญญาชาวบา้ น การจัดกลุม่ เสวนา หรือการ อภิปราย กจิ กรรมทางศาสนาและวัฒนธรรม กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน การเผยแพรข่ า่ วสารข้อมลู และ ความร้ตู ่างๆ ฯลฯ 2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ และพฒั นาการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั ได้แก่ สนบั สนุนส่ือแกห่ นว่ ยงานและแหลง่ ความรตู้ ่างๆ 3. สง่ เสริมให้หน่วยงานเครือข่ายจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น หอ้ งสมุดในสถานทร่ี าชการ สถาน ประกอบการ ฯลฯ 4. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การพฒั นากลมุ่ ต่างๆ ตามความต้องการ และความสนใจ เชน่ กลุ่มดนตรีกลุ่ม สงิ่ แวดลอ้ ม พฒั นาชุมชน ฯลฯ หลักการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั • จดั ให้สนองกลุ่มเปา้ หมาย ทุกเพศและวยั ตามความสนใจ และความต้องการ • จดั ให้สอดคล้องกับวถิ ชี ีวิต • จดั โดยวธิ ีหลากหลายโดยใช้สอื่ ต่างๆ • จดั ใหย้ ืดหย่นุ โดยไม่ยดึ รปู แบบใดๆ • จดั ใหท้ นั ตอ่ เหตุการณ์ • จัดไดท้ กุ กาลเทศะ • จดั บรรยากาศ สถานการณ์และสภาพแวดลอ้ มใหเ้ อื้อต่อ การเรียนรู้ตลอดชีวิต สรุป การศึกษาตามอัธยาศัยเน้นที่ผู้เรียนที่ต้องการเสาะแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง แต่องค์กรทาง การศึกษา และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องใน การจัดการศึกษาจะต้องจัดหาและเตรียมแหล่งเรียนรู้ไว้ให้พร้อม ให้มี กิจกรรมหลากหลายสำหรับให้บริการแก่ผู้ที่ด้องการแสวงหาความรู้ตาม อัธยาศัยอย่างครบถ้วน ทันต่อเหตุการณ์ และทันสมัยอยู่ตลอดเวลา โดย ความร่วมมือขององค์กรต่างๆ ในสังคมในรูปของภาคีเครือข่าย เพื่อสร้าง สังคม แห่งการเรียนรู้และการพัฒนาทยี่ ั่งยืน เอกสารสาระหลักการและแนวคดิ ประกอบการดำเนินงาน กศน. : คมั ภีร์ กศน. คมู่ ือการพฒั นาครศู ูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรยี ง 89

การจดั การศกึ ษาตามโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ หรอื โครงการอันเก่ยี วเน่อื งจากราชวงศ์ คูม่ อื การพฒั นาครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 90

แนวปฏิบัติที่ดี 6 ด้าน โครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ความหมายของแนวปฏิบตั ทิ ี่ดี แนวปฏิบัติที่ดี (best Practice) หมายถึงวิธีการปฏิบัติหรือขั้นตอนการปฏิบัติที่ทำให้องค์กรประสบ ความสำเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมายเป็นที่ยอมรับในวงวิชากรหรือวิชาชีพนั้นๆ มีหหลักฐานของ ความสำเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปวิธีการปฏิบัติหรือขั้นตอนการปฏิบัติ ตลอดจนความรู้และประสบการณ์ บนั ทึกเปน็ เอกสารเผยแพรใ่ หห้ น่วยงานภายใน หรอื ภายนอกสามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ สำนักงานกศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอนได้น้อมนำพระราชดำริ แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่5 พ.ศ. 2560–2569 การพัฒนาตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชด ำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2560–2569 ประกอบดว้ ย 8 เป้าหมายหลกั ดังนี้ เปา้ หมายหลกั ที่ 1 เสริมสร้างสุขภาพของเด็กตั้งแต่ในครรภ์มารดา เปา้ หมายหลกั ที่ 2 เพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษา เป้าหมายหลกั ที่ 3 เสริมสรา้ งศักยภาพของเดก็ และเยาวชนทางวิชาการและทางจรยิ ธรรม เปา้ หมายหลักที่ 4 เสรมิ สร้างศักยภาพของเดก็ และเยาวชนทางการงานอาชีพ เปา้ หมายหลักที่ 5 ปลกู ฝังจิตสำนกึ และพัฒนาศักยภาพของเดก็ และเยาวชนในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม เปา้ หมายหลักที่ 6 เสรมิ สรา้ งศักยภาพของเดก็ และเยาวชนในการอนรุ ักษ์และสบื ทอดวฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญา ของท้องถ่นิ และของชาตไิ ทย เป้าหมายหลกั ท่ี 7 ขยายการพฒั นาจากโรงเรยี นสู่ชมุ ชน เปา้ หมายหลักท่ี 8 พฒั นาสถานศกึ ษาเปน็ ศนู ยบ์ รกิ ารความรู้ และ สำนักงาน กศน.ได้นำเอาจุดประสงค์ทั้ง8 ข้อ มาจัดทำเป็นแนวทางการดำเนินงาน ศศช. โครงการ พัฒนาเดก็ และเยาวชนในถ่นิ ทรุ กันดาร ตามพระราชดำริสมเด็จ ซึง่ มี6ดา้ นคอื ด้านที่ ๑ โภชนาการและสขุ ภาพอนามัย ดา้ นท่ี ๒ การศึกษา ดา้ นท่ี ๓ การสง่ เสรมิ อาชีพ ดา้ นท่ี ๔ ทรพั ยกรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ดา้ นท่ี ๕ ดา้ นวฒั นธรรมภูมิปญั ญา ด้านที่ ๖ ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม คู่มือการพฒั นาครูศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 91

แบบการเขยี นผลงานวิชาการ “แนวปฏบิ ัติท่ีด”ี องคป์ ระกอบ มดี งั น้ี 1. ชอ่ื เรอ่ื ง - สอดคล้องกบั กิจกรรมโครงการพฒั นาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (กพด.) ตาม พระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ด้าน (ใหร้ ะบเุ พียงดา้ นเดยี วเทา่ นน้ั )............................................................ 1. บทคดั ย่อ หรือบทสรปุ 2. ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา 3. วัตถุประสงค์ 4. เป้าหมาย - เชิงปริมาณ - เชงิ คณุ ภาพ 5. กระบวนการดำเนนิ งาน 6. ผลการดำเนนิ งานและการเผยแพร่ 7. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 8. บรรณานุกรม 9. ภาคผนวก - เอกสารทเี่ ก่ียวข้อง - ภาพกิจกรรม ฯลฯ คู่มอื การพฒั นาครูศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แม่ฟา้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 92

คำแนะนำการเขียนผลงานวิชาการ “แนวปฏิบัตทิ ี่ดี” ท่ีสอดคล้องกับกิจกรรมโครงการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถ่ินทรุ กนั ดารตามพระราชดำริ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ผลงานวิชาการ “แนวปฏิบัติที่ดี” ผู้เสนอต้องทบทวนผลงานแล้วเขียนรายงานผลการปฏิบัติงานที่เป็น ผลงานเด่น ผลงานวิชาการเป็นผลงานทผ่ี ู้เขียนริเริ่มข้นึ เปน็ ผลงานทสี่ อดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ เปา้ หมายกิจกรรม โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี 1. ด้านโภชนาการและสขุ ภาพอนามยั 2. ด้านการศึกษา 3. ด้านอาชพี 4. ด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 5. ด้านการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ 6.ด้านคุณธรรม จริยธรรม ผลงานวิชาการ “แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี” มกี ารวางแผน การดำเนนิ การ การพัฒนาปรบั ปรุงมาอยา่ งต่อเนื่อง จนกระท่ัง ประสบความสำเร็จที่เป็นรูปธรรม มีแนวคิดและกระบวนการในการดำเนินงานอยู่บนหลักการทางวิชาการที่ สามารถอ้างอิงได้ ผลงานได้รับการยอมรับจากผู้ที่เกี่ยวข้อง หากมีการขยายผลไปสู่ชุมชนได้ยิ่งดี ซึ่ งเมื่ออ่าน ผลงานวิชาการท่เี สนอแล้ว หากนำไปปฏิบตั กิ จ็ ะสามารถประสบความสำเรจ็ ได้เช่นกัน คุณสมบัติของงานวิชาการ 1. มุ่งพัฒนาศักยภาพเด็กนักเรยี น 3 ดา้ นคอื ความรู้ ทกั ษะ และ เจตคติ 2. มขี นั้ ตอนการดำเนนิ งานท่ีชัดเจน สามารถนำไปเปน็ ตวั อยา่ งได้ 3. สอดคล้องกับสภาพปัญหา บรบิ ทท้องถ่นิ และกจิ กรรมโครงการ กพด. 4. มีผลงานเปน็ ที่ประจกั ษ์ องคป์ ระกอบของการเขียนผลงานวชิ าการ 1. ชอื่ เรื่อง บอกว่าเป็นกิจกรรมอะไร ทำกับใคร ที่ไหน ชื่อเรื่องควรสั้น กะทัดรัด ใช้คำไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หวือ หวา หรืออวดอ้างเกนิ เหตุ ได้ใจความ ตรงกบั วตั ถปุ ระสงค์และเน้ือหา เชน่ การทำบ่อแกส๊ ชีวภาพจากมลู สุกร ศูนย์ การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ า้ หลวง” บ้านสบผาหลวง อำเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่ - สอดคล้องกับกิจกรรมโครงการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถิ่นทรุ กนั ดาร (กพด.) ตาม พระราชดำริ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ดา้ น (ใหร้ ะบเุ พียงดา้ นเดยี วเทา่ น้นั )............................................................ 2. บทคดั ย่อ หรือบทสรปุ คมู่ ือการพัฒนาครูศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ”แมฟ่ ้าหลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 93

เปน็ การย่อเนื้อหาสำคัญ เอาเฉพาะท่ีจำเป็นเท่านนั้ ใช้ภาษารดั กุม เป็นประโยคสมบรู ณ์ อธิบาย เป็นรอ้ ยแก้ว ไม่แบง่ เปน็ ข้อ ๆ ไมเ่ กิน ๑ หนา้ ประกอบด้วย ทม่ี าของปญั หา วตั ถปุ ระสงค์ กระบวนการ ผลงาน ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ ไม่ต้องมโี ครงสร้างกำกับ 3. ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา สภาพที่เปน็ อยู่ เขียนอธบิ ายสภาพที่เป็นอยู่ของกลมุ่ เปา้ หมาย เช่น ที่ต้งั จำนวน ประชากร จำนวนหลังคาเรือน กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ ความยากลำบากในการเดินทาง การดำเนินชีวิต เป็นตน้ สภาพปัญหาและ ความต้องการ อธิบายถงึ สภาพปัญหาและความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายท่เี กี่ยวข้องกบั ผลงานวชิ าการที่เสนอ ความสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ เปา้ หมาย กจิ กรรมโครงการ กพด.ดา้ นใด สภาพท่ีพึงประสงค์ (อธิบายถึงเรอ่ื งท่ี ดี ทางท่ีควรเป็น หรอื ทางท่ีจะเกดิ ประโยชนส์ งู สุด ควรจะเปน็ อย่างไรในการแก้ไขสภาพปัญหาและความตอ้ งการที่ เกิดข้นึ ) แนวคดิ ในการปญั หาท่ใี ชค้ ร้ังน้ี (อธิบายถงึ หลักการ เหตผุ ล แนวคิด แนวทางในการแกป้ ัญหา และ ความคาดหวงั ของผลสำเรจ็ ที่จะเกดิ ข้ึน (โดยผู้เขียนจะต้องระบุแหลง่ เรยี นรู้ และอา้ งองิ เอกสารวชิ าการที่ไปศึกษา ค้นคว้าดว้ ย) 4. วตั ถปุ ระสงค์ ข้นึ ต้นด้วยคำว่าเพ่ือ...บอกถึงกระบวนการและผลทผ่ี ู้ดำเนินการตอ้ งใหเ้ กิดเป็นข้อๆ 5. เป้าหมาย - เชงิ ปริมาณ - เชิงคุณภาพ 6. กระบวนการดำเนินงาน อธิบายถึงลำดับขั้นตอนวิธีการดำเนินการ ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งประสบความสำเร็จที่เป็น รูปธรรมอย่างชัดเจน (วงจร PDCA) การอธิบายเนื้อหาในส่วนนี้ต้องพยายามเขียนอธิบายให้ผู้อ่านผลงานวิชาการ เล่มนแี้ ล้ว เห็นกระบวนการดำเนินงานท่ชี ัดเจน หากนำไปปฏิบตั ิกจ็ ะสามารถประสบความสำเรจ็ ได้ ควรนำรูปภาพ แผนผัง แผนภมู ิ มาใช้ประกอบการอธบิ ายดว้ ย 7. ผลการดำเนินงาน และการเผยแพร่ เป็นการอธิบายถึงสิ่งท่ีพบ โดยเสนอหลกั ฐานและข้อมูลอย่างเป็นระบบ ระเบยี บ อ่านเข้าใจง่าย ผลต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมายท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ ผลลัพธ์(Outcome) และอาจเป็นผลอนื่ ๆ ที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ เขียนบรรยายแสดงผลเป็นตัวเลข อาจใช้ตารางพร้อมคำอธิบายใต้ตาราง หากมีรูปภาพให้มีคำอธิบายประกอบด้วย โดยเลือกเฉพาะประเด็นที่สำคัญและเกี่ยวข้องกับผลงาน รวมทั้งการ อธบิ ายถึง เหตุผล วธิ กี าร และผลของการเผยแพร่ผลงานไปยังผ้อู น่ื 8. ปัญหาอปุ สรรค และข้อเสนอแนะ เป็นการอธบิ ายปญั หาและอุปสรรคที่สำคัญท้ังก่อน ระหว่างการดำเนินงาน ทจี่ ะเป็นประโยชน์ให้ ผู้อ่านได้เข้าใจและพึงตระหนักหากจะนำแนวปฏิบัติที่ดีนี้ไปใช้ ข้อเสนอแนะเป็นอภิปรายและให้การแนะนำของ ผู้เขียนเกี่ยวกับผลงานแนวทางปฏิบัติที่ดีของตนเอง ว่าสนองต่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร อย่างไร เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่เพียงใด เหมือนหรือแตกต่างจากผู้อื่นหรือไม่ เหตุใดจึง เป็นเช่นนั้น ควรแสดงข้อเด่นหรือข้อบกพร่องของงาน ข้อเสนอแนะสำหรับผู้ที่สนใจนำแนวปฏิบัติที่ดีไปใช้ และ คูม่ อื การพฒั นาครูศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา ”แมฟ่ า้ หลวง” กศน.อำเภอแมส่ ะเรียง 94


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook