Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore internet

internet

Published by ananma, 2020-06-10 03:13:16

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ internet

Search

Read the Text Version

อินเต อร์เน็ต (Internet)

อินเตอรเ น็ต คอื ระบบการเช่อื มตอคอมพวิ เตอรท ั่ว โลกเขา ดวยกันเปนเครือขายขนาดใหญ สามารถสง ขอมูลไปมาใหกันได เหมือนกนั กบั คนที่เราสามมารถโทรศพั ทหากนั ได ในปจจบุ นั คนท่ัวโลกใช บรกิ ารบนอินเตอรเน็ต เชน เวลิ ดไ วดเวบ็ อีเมล พาณชิ ยอิเลก็ ทรอนกิ ส ฯลฯ

โครงสรา งพ้นื ฐานของอนิ เตอรเน็ต ประกอบดว ยเครือขา ยระดับทอ งถ่นิ ระดบั ภมู ภิ าค ระดบั ชาตแิ ละ ระดบั นานาชาติ อนิ เตอรเน็ตเชื่อมโยงขอมูลจากเครอื ขา ยคอมพวิ เตอรห นงึ่ ไปยงั เครือ ขายอ่นื ดว ยความเรว็ และคุณภาพท่ีแตกตางกนั ข้นึ อยูกับการส่ือสาร และสอื่ ทีใ่ ชใน การเช่ือมโยงเครอื ขา ย เชน สายโทรศัพท สายวิทยุ อินเตอรเ น็ตเปนเครอื ขา ยสาธารณะ โดยมีหนวยงานของรัฐและเอกชนเปน ผู ดแู ลและจดั การจราจรขอมูลบนอินเตอรเน็ตในเครอื ขา ยท่รี บั ผดิ ชอบ

โครงสร้างพ้นื ฐานของอินเตอร์เน็ต

การเขา ถึงอินเตอรเ นต็ ผใู ชท เ่ี ปน คนทาํ งาน นกั เรียน หรือนกั ศกึ ษา มักจะเขา อินเตอรเน็ตผา นเครอื ขา ยของหนว ยงาน โรงเรียน หรือมหาวทิ ยาลัย ใชวธิ ีการเชื่อมตอ อนิ เตอรเน็ตโดย การเชื่อมตอผา นบรอดแบนดอ ินเตอรเ น็ต เคเบิลโมเดม็ ท่ีเชอื่ มตอ กับเครือขา ย เคเบลิ ทวี ี หรอื เช่อื มตอ อินเตอรเ นต็ แบบไรสาย เชน wifi เพ่ือใหผใู ชอุปกรณแ บบ พกพาสามารถเขาถงึ อินเตอรเนต็ ไดโ ดยสะดวก ❖ผูใหบรกิ ารอนิ เตอรเน็ตหรอื ไอเอสพี ใหบรกิ ารเชอ่ื มตอ เขาสอู ินเตอรเน็ตสาํ หรับผู ใช โดยอาจจะคดิ เปนรายเดือน

การเขา้ ถึงอินเตอร์เน็ต



การติดตอสอ่ื สารบนอินเตอรเน็ต คอมพิวเตอรที่ตดิ ตอสื่อสารระหวางกนั บนอินเตอรเ นต็ มคี ุณสมบัตแิ ตก ตางกนั เชน ประเภทคอมพิวเตอร ซพี ียู หรือระบบปฏิบัตกิ าร ซ่งึ การท่ีอินเต อรเ นต็ สามารถเชื่อมโยงคอมพิวเตอรท ีม่ คี วามแตกตา งกันใหสามารถทํางาน รวมกนั ได เนอื่ งจากใชโ พรโทคอลเดียวกันในการสื่อสารทีเ่ รยี กวา ทีซพี ี/ไอพี

การติดต่อส่ือสารบนอินเตอร์เน็ตโดยใชโ้ พรโทคอล ทีซีพ/ี ไอพี

การติดต่อส่ือสารทางอินเทอร์เน็ตโดยใชโ้ พรโทคอล ทีซีพี/ไอพี) • เลขท่ีอยไู่ อพี • เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมต่อกนั อยบู่ นอินเทอร์เน็ต จะมี หมายเลยอา้ งอิงในการติดต่อส่ือสารเรียกวา่ เลขท่ีอยไู่ อพหี รือไอ พแี อดเดรส (IP address) ซ่ึงจะตอ้ งไม่ซ้าํ กนั เลย โดยไอพีแอดเด รสประกอบดว้ ยเลข 4 ชุด ซ่ึงแยกกนั ดว้ ยเคร่ืองหมายจุด เช่น 202.29.77.155 ซ่ึงเป็นไอพแี อดเดรสของเวบ็ ไซตส์ ถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ( สสวท.)

รูปภาพแสดงเลขท่ีอยไู่ อพี

ใหน้ กั เรียนเขา้ ไปเวบ็ ท่ีมี IP 202.143.132.36 จงบอกวา่ คือเวบ็ ของหน่วยงานใด ?

ไอพี แอดเดรส รหสั ประจําเคร่อื งคอมพวิ เตอรแ ตล ะเคร่ือง ท่เี ชอ่ื มตอ กบั อินเทอรเ น็ต โดยมีลกั ษณะเปน กลุม ของตัวเลขฐานสิบจํานวน ชดุ ท่ถี กู แบงหรอื ค่นั ดว ยเคร่อื งหมายจุดสวนเลขภายในแตล ะกลมุ จะมี ตั้งแต เชน

ระบบช่ือโดเมน • เน่ืองจากเลขที่อยไู่ อพอี ยใู่ นรูปของชุดตวั เลขซ่ึงยากต่อการจดจาํ และอา้ งอิงระหวา่ งการใชง้ านดงั น้นั จึงกาํ หนดใหม้ ีระบบชื่อโด เมน ( Domain Name System: DNS ) ซ่ึงแปลงเลขที่อยไู่ อพใี ห้ เป็นช่ือโดเมนท่ีอยใู่ นรูปของช่ือยอ่ ภาษาองั กฤษหลายส่วนคนั่ ดว้ ยเครื่องหมายจุด เช่น www.ipst.ac.th ผใู้ ชส้ ามารถจดทะเบียน ช่ือโดเมนสาํ หรับคอมพิวเตอร์ของตนผา่ นผใู้ หบ้ ริการ จดทะเบียนช่ือโดเมนที่ไดร้ ับอนุญาต ตวั อยา่ งระบบช่ือโดเมน ดงั รูป

รูปภาพแสดงระบบช่ือโดเมน

• ส่วนประกอบสุดทา้ ยในชื่อโดเมนเรียกวา่ ช่ือโดเมนระดบั บนสุด ( top-level domain name) ใชส้ าํ หรับแยกกลุ่มของ ชื่อโดเมน ในกรณีที่ชื่อโดเมนระดบั บนสุดเป็นช่ือโดเมน สากล ชื่อดงั กล่าวเป็นส่วนท่ีบอกลกั ษณะขององคก์ รท่ีเป็น เจา้ ของช่ือโดเมน ในกรณีที่เป็นช่ือโดเมนระดบั ประเทศ ชื่อดงั กล่าวใชบ้ อกช่ือประเทศท่ีโดเมนน้นั ต้งั อยู่ ตวั อยา่ ง ชื่อโดเมนระดบั บนสุด แสดงดงั ตารางที่ 5.1

ตารางที่ 5.1 ตวั อยา่ งชื่อโดเมนระดบั บนสุด โดเมนระดบั บนสุด ลกั ษณะขององคก์ ร .edu การศึกษา .com การพาณิชย์ .gov รัฐบาล .mil การทหาร .net .org การบริหารเครือข่าย .th ไม่หวงั ผลกาํ ไร ในประเทศไทย

ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งโดเมนที่มีระดบั บนสุดดงั ต่อไป น้ี มาอยา่ งละ 3 เวบ็ .com .th .net

เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ (World Wide Web) หรือเรียกส้นั ๆ วา่ เวบ็ เป็นการ ใหบ้ ริการขอ้ มูลแบบไฮเปอร์เทก็ ซ์ (hypertext) ท่ีประกอบไปดว้ ยเอกสารจาํ นวนมาก ที่มีการเช่ือมโยงกนั ซ่ึงเป็นแหล่งของขอ้ มูลขนาดใหญ่ที่ผใู้ ชอ้ ินเทอร์เน็ต สามารถเขา้ ถึงผา่ นโพรโทคอลท่ี เรียกวา่ เอชทีทีพี (hypertext Transfer Protocol: HTTP) ด นอกจากน้ีเวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ คอนซอร์เทียม ไดน้ ิยามคาํ วา่ เวบ็ คือ จกั รวาลของสารสนเทศที่สามารถเขา้ ถึงไดผ้ า่ นเครือข่ายและทาํ ให้ เกิดองคค์ วามรู้แก่มนุษยชาติ

คาํ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ ท่ีควรทราบ เช่น • เวบ็ เพจ (Web page) เป็นหนา้ เอกสารที่เขียนข้ึนในรูปแบบภาษาเอช ทีเอม็ แอล (Hypertext Language : HTML ) ซ่ึงสามารถเชื่อมโยงไป ยงั เอกสารหนา้ อื่นได้ โดยเรียกดูผา่ นเวบ็ เบราวเ์ ซอร์ • เวบ็ ไซต์ (Web site) เป็นกลุ่มของเวบ็ เพจที่มีความเก่ียวขอ้ งกนั และ อยภู่ ายใตช้ ื่อโดเมนเดียวกนั • เวบ็ เซิร์ฟเวอร์ (Web server) เป็นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ีใหบ้ ริการเวบ็ เพจ เม่ือผใู้ ชร้ ้องขอเวบ็ เพจผา่ นเวบ็ เบราวเ์ ซอร์ โดยใชย้ อู าร์แอล (Uniform Resource Locator : URL) ระบุตาํ แหน่งของเวบ็ เพจ เวบ็ เซิร์ฟเวอร์จะส่งเวบ็ เพจที่คน้ หาไดก้ ลบั ไปแสดงผลผา่ นเวบ็ เบราวเ์ ซอร์ของผใู้ ช้

การเรียกดูเวบ็ เวบ็ เบราวเ์ ซอร์ (Web browser) เป็นโปรแกรมใชส้ าํ หรับแสดงเวบ็ เพจ และสามารถเช่ืองโยงไปยงั ส่วน อ่ืนในเวบ็ เพจเดียวกนั หรือเวบ็ เพจอ่ืนผา่ นการเช่ือมโยงหลายมิติ หรือไฮเปอ ร์ลิงค์ (Hyperlink) เรียกส้นั ๆ วา่ ลิงค์ (link) เวบ็ เบราวเ์ ซอร์ช่วยเพมิ่ ความน่า สนใจในการใชง้ านอินเทอร์เน็ต นอกเหนือไปจากการสื่อสารหรือแลกเปล่ียน ไฟลร์ ะหวา่ งเครือข่าย ตวั อยา่ งเวบ็ เบราวเ์ ซอร์ เช่น Mozilla Firefox, Microsoft Internet Explorer, Apple Safari, และ Opera

ท่ีอยเู่ วบ็ ในการอา้ งอิงตาํ แหน่งของหล่งขอ้ มลู บนอินเทอร์เน็ตท่ีผใู้ ชร้ ้องขอ เช่น เวบ็ เพจ สามารถทาํ ไดโ้ ดยการระบุยอู าร์แอล (Uniform Resource Located: URL) ซ่ึงมีรูปแบบดงั น้ี • โพรโทคอล ใชส้ าํ หรับระบุมาตรฐานที่ใชใ้ นการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลผา่ นเวบ็ เช่น เอชทีทีพีและเอฟทีพี (File Transfer Protocol: FTP) ในกรณีของเอชที ทีพี ส่วนใหญ่แลว้ ผใู้ ชส้ ามารถจะละส่วนของโพรโทคอลน้ีได้ เน่ืองจากถา้ ไม่ระบุโพรโทคอล เวบ็ เบราวเ์ ซอร์จะเขา้ ใจวา่ ผใู้ ชม้ ีความประสงคจ์ ะใชฌ้ พรโทคอล เอชทีทีพีเพอื่ เขา้ ถึงเวบ็ เพจ • ช่ือโดเมน ใชส้ าํ หรับระบุชื่อโดเมนของเวบ็ เซิร์ฟเวอร์ของผใู้ หบ้ ริการ ขอ้ มูล เช่น ชื่อโดเมน www.ipst.ac.th • เสน้ ทางเขา้ ถึงไฟล์ (path) ใชส้ าํ หรับระบุตาํ แหน่งของไฟลจ์ ากเวบ็ เซิร์ฟเวอร์

• ช่ือขอ้ มูล ช่ือไฟลท์ ี่ร้องขอ เช่น ไฟลไ์ ฮเปอร์เทก็ ซ์ ไฟลร์ ูปภาพ ไฟเสียง ในกรณีที่ยอู าร์แอลระบุเฉพาะช่ือโดเมนโดยไม่ไดร้ ะบุเสน้ ทาง เขา้ ถึงไฟล์ และ/หรือช่ือไฟล์ มีความหมายวา่ ใหเ้ ขา้ ถึงหนา้ หลกั หรือโฮ มเพจ (home page) ของเวบ็ เซิร์ฟเวอร์น้นั ซ่ึงโดยทว่ั ไปเป็นการเขา้ ถึงช่ือ ไฟลท์ ี่กาํ หนดไว้ เช่น index.html, main.phpและ default.asp

การคน้ หาผา่ นเวบ็ โปรแกรมคน้ หา หรือเสิร์ชเอนจิน (search engines) ใชส้ าํ หรับคน้ หาเวบ็ เพจท่ีตอ้ งการ โดยระบุคาํ หลกั หรือคาํ สาํ คญั (keyword) เพ่ือนาํ ไปคน้ หา ฐานขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ซ่ึงรวบรวมเวบ็ เพจต่างๆ ผลลพั ธ์ที่ไดจ้ ะเป็นายการ เวบ็ เพจท่ีประกอบดว้ ยคาํ หลกั ที่ระบุ ช่วยใหเ้ ราสามารถเขา้ ถึงขอ้ มลู ทุก ประเภท หลากหลายรูปแบบ เพ่ือการศึกษาหรือเพอื่ ความบนั เทิงไดอ้ ยา่ ง รวดเร็วโปรแกรมคน้ หาสามารถใหบ้ ริการคน้ หาขอ้ มูลตามประเภท หรือ แหล่งของขอ้ มูล เช่น คน้ หาเฉพาะขอ้ มูลที่เป็นภาพ วดี ิทศั น์ เสียง ข่าว แผนท่ี หรือบลอ็ ก โปรแกรมคน้ หาแต่ละโปรแกรมอาจใชว้ ธิ ีที่แตกต่างกนั ในการจดั อนั ดบั ความเก่ียวขอ้ งของเวบ็ เพจกบั คาํ หลกั ท่ีระบุ โดยเวบ็ เพจท่ี มีความเก่ียวขอ้ งกบั คาํ หลกั มากท่ีสุดจะอยใู่ นอนั ดบั บนสุด ตวั อยา่ ง โปรแกรมคน้ หา เช่น Ask, AltaVista, Bing, Excite, Google และ Yahoo

ตวั ดาํ เนินการในการคน้ หา เพ่อื ใหก้ ารคน้ หาขอ้ มูลดว้ ยโปรแกรมคน้ หาเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ผใู้ ชส้ ามารถใชต้ วั ดาํ เนินการในการคน้ หา (search engine operators) ประกอบกบั คาํ หลกั จะช่วยใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ ในการคน้ หาที่ดียงิ่ ข้ึน ตวั อยา่ งตวั ดาํ เนินการในการคน้ หา

เวบ็ 1.0 เวบ็ 2.0 และเวบ็ 3.0 • เวบ็ 1.0 (Web 1.0) เป็นเวบ็ ในยคุ แรกเริ่มที่มีลกั ษณะใหข้ อ้ มูลแบบทาง เดียว ผใู้ ชท้ ว่ั ไปเขา้ ถึงเวบ็ เพจในฐานะผบู้ ริโภคขอ้ มูลและสารสนเทศตาม ท่ีผสู้ ร้างไดใ้ หร้ ายละเอียดไวเ้ พียงอยา่ งเดียว ไม่ค่อยมีการปรับปรุงขอ้ มลู ใหท้ นั สมยั และมีรูปแบบการใชง้ านไม่หลากหลาย • เวบ็ 2.0 มีการสร้างเครือข่ายทางสงั คมผา่ นเวบ็ ไซต์ มีการพฒั นาความ ร่วมมือแบบออนไลน์ มีการแบ่งปันขอ้ มลู และแลกเปล่ียนความคิดเห็น ระหวา่ งผใู้ ชผ้ า่ นอินเทอร์เน็ต รวมถึงมีการใชง้ านอินเทอร์เน็ตผา่ น โทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาเพิม่ มากข้ึน

• เวบ็ 3.0 วา่ เป็นการสร้างเวบ็ เพจท่ี สามารถใหค้ อมพิวเตอร์นาํ ไปใช้ ประมวลผลไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ เดียวกนั ทาํ ใหก้ ารคน้ หาขอ้ มลู ง่ายข้ึน และการจดั การความรู้(knowledge management) เป็นจริงมากข้ึน ต่าง จากเวบ็ เพจในปัจจุบนั ท่ีคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถประมวลผล หรือคน้ หา ขอ้ มูลมาตอบคาํ ถามไดต้ รงๆ ตอ้ ง สร้างซอฟตแ์ วร์เฉพาะกิจไปจดั การ

บริการตาง ๆ บนอนิ เตอรเนต็ อภิมหาเครือขา ยอินเตอรเ น็ต คอื เครอื ขา ยของเครอื ขา ยที่มีการเช่ือมโยงกันไปท่วั โลก ในแตละเครอื ขา ยก็จะมเี ครอ่ื งคอมพวิ เตอรท ี่ทํา หนา ทเี่ ปน ผูใ หบ รกิ าร ซ่ึงอาจเรยี กวาเปน เซิรฟ เวอร (Server) หรือ โฮสต (Host) เช่ือมตอ อยูเ ปนจํานวนมาก ระบบคอมพวิ เตอรเหลานจี้ ะ ใหบ ริการตางๆ แลวแตลักษณะและจุดประสงคท ่ี เจา ของเครือขายนน้ั หรือเจา ของระบบ คอมพิวเตอรน ั้นตงั้ ข้ึน ในอดีตมักมเี ฉพาะบริการ เร่อื งขอ มูลขา วสารและโปรแกรมท่ีใชใ นแวดวง การศึกษาวิจยั เปน หลัก แตใ นปจจบุ ันก็ไดขยาย เขาสเู รอื่ งของการคา และธรุ กจิ แทบจะทุกดาน บริการตา งๆ บนอนิ เตอรเ นต็ อาจแบง ไดเปน 2 กลมุ ใหญๆ ดังนี้ 1. บริการดานการส่อื สาร

1.บรกิ ารดานการสื่อสาร เปน บรกิ ารทช่ี ว ยใหผ ใู ชส ามารถติดตอรบั สง ขอมูล แลกเปล่ียนกนั ไดใ นรปู แบบอเิ ล็กทรอนิกสซ ึง่ จะมคี วาม รวดเร็วกวา การติดตอ ดว ยวธิ กี ารแบบธรรมดาและมีคา ใชจ า ยคอ นขา งถกู กวามาก 1.1 ไปรษณยี อ เิ ล็กทรอนกิ ส (E-mail) ไปรษณยี อ เิ ลก็ ทรอนิกส E-mail เปน บริการในระบบ เครอื ขายคอมพวิ เตอรที่สาํ คัญที่มีผนู ยิ มใชบริการกัน มากท่ีสดุ สามารถสงตัวอักษร ขอ ความ แฟม ขอมูล ภาพ เสยี ง ผานระบบเครอื ขายคอมพิวเตอรไปยงั ผรู บั อาจจะ เปนคนเดียว หรือกลมุ คนโดยทัง้ ทีผ่ ูสงและผูรับเปน ผใู ช ท่อี ยใู นระบบเครอื ขายคอมพวิ เตอรเดียวกัน ชว ยให สามารถติดตอ สือ่ สารระหวา งกันไดทั่วโลก มีความ สะดวก รวดเรว็ และสามารถสื่อสารถงึ กนั ไดต ลอดเวลา โดยไมต อ งคาํ นึงถงึ วาผรู บั จะอยทู ไ่ี หน จะใชเคร่ือง คอมพวิ เตอรอยูหรือไม เพราะไปรษณียอิเล็กทรอนกิ สจะ เก็บขอความเหลานนั้ ไว เมอื่ ผรู ับเขาสูระบบเครือขาย ก็ จะเห็นขอความนัน้ รออยูแลว ความสะดวกเหลานที้ ําให นักวชิ าการสามารถแลกเปลีย่ นขอ มูลขาวสารถึงกันและ กัน นักศกึ ษาสามารถปรกึ ษา หรือฝก ฝนทกั ษะกบั

1.2 ไปรษณียอ เิ ล็กทรอนิกสเปน สอื่ ประเภทหนง่ึ ที่ เหมาะสมในการเรียนรู และชวยขจดั ปญหาในเรอื่ งของ เวลาและระยะทาง ผเู รยี นจะรูส ึกอสิ ระและกลา แสดงออกมากกวาปกติ ตลอดจนสามารถเขา ถึงผูเรยี น เปนรายบุคคลไดเปน อยา งดใี นยุคสารสนเทศดงั เชน ปจจบุ ัน ระบบการสือ่ สารท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพจะมีบทบาท สําคญั ในการพัฒนาสงั คมใหเขา ถึงขอ มูลขาวสารได อยางรวดเร็ว ไปรษณยี อ เิ ลก็ ทรอนิกสเปนรูปแบบการ ส่อื สารทีท่ นั สมัยรปู แบบหนึ่งทม่ี คี วามสําคัญ คอื 1.2.1 ทําใหก ารใหการติดตอ สื่อสารทวั่ โลกเปนไป อยางรวดเร็วทันที ระยะทางไมเปนอปุ สรรค สําหรบั ไปรษณยี อ เิ ลก็ ทรอนิกส ในทุกแหง ทัว่ โลกที่มีเครอื ขา ย คอมพวิ เตอรเ ชอ่ื มตอ ถงึ กนั ไดไ ปรษณียอ เิ ล็กทรอนกิ สก ็ สามารถเขาไปสถานทีเ่ หลานนั้ ไดทกุ ที่ ทําใหผคู นทว่ั โลกตดิ ตอ ถึงกันไดท นั ที ผรู ับสามารถจะรับขา วสารจาก ไปรษณยี อ เิ ล็กทรอนกิ สไดแทบจะทนั ทีท่ผี สู งจดหมาย สง ขอมลู ผา นทางคอมพิวเตอรเ สรจ็ สิ้นไปรษณีย อเิ ล็กทรอนิกสสามารถสงจดหมายถงึ ผูร บั ท่ีตองการได ทกุ เวลา แมผรู บั จะไมไดอยูที่ หนา จอ คอมพิวเตอร

1.2.2. ไปรษณยี อเิ ล็กทรอนกิ สส ามารถสง จดหมายถงึ ผูรับหลายๆ คนไดในเวลาเดยี วกัน โดยไมต อ งเสยี เวลาสงใหท ีละคน กรณนี ี้จะใช กับจดหมายทเ่ี ปนขอความเดยี วกนั เชน หนังสือเวยี นแจงขาวใหส มาชิกในกลุมทราบ หรือเปน การนดั หมายระหวา งสมาชิกในกลุม เปนตนการสง จดหมายทางไปรษณีย อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ชวยประหยดั เวลาในการเดินทาง ไปสงจดหมายถึงตไู ปรษณีย หรือทีท่ าํ การ ไปรษณีย ประหยัดคา ใชจายในการสง เน่ืองจากไมต องคํานงึ ถงึ ปรมิ าณน้ําหนกั และ ระยะทาง ของจดหมายเหมอื นกบั ไปรษณยี  ธรรมดา ไปรษณียอิเลก็ ทรอนกิ สน้ัน ผูรบั จดหมายสามารถเรยี กอา นจดหมายไดทุกเวลา ตามสะดวก โปรแกรมของ ไปรษณยี  อเิ ล็กทรอนิกสจ ะแสดงใหท ราบวา ในตจู ดหมาย ของผูร บั มจี ดหมายก่ฉี บับ มจี ดหมายท่ีอา นแลว

1.3. สนทนาแบบออนไลน (Chat) ผูใชบ รกิ ารสามารถคยุ โตต อบกับผูใช คนอ่นื ๆ ในอนิ เตอรเ นต็ ไดในเวลาเดียวกนั (โดย การพมิ พเขา ไปทางคยี บ อรด ) เสมือนกบั การคุย กันแตผานเคร่ืองคอมพวิ เตอรข องทงั้ สองที่ ซงึ่ ก็ สนุกและรวดเรว็ ดี บรกิ ารสนทนาแบบออนไลนน ้ี เรียกวา Talk เนื่องจากใชโปรแกรมที่ช่ือวา Talk ติดตอกนั หรือจะคยุ กนั เปนกลมุ หลายๆ คนใน ลักษณะของการ Chat (ช่ือเต็มๆ วา Internet Relay Chat หรอื IRC ก็ได) ซึง่ ในปจจุบันก็ได พฒั นาไปถงึ ขนั้ ท่สี ามารถใชภาพสามมติ ิ ภาพ เคลอื่ นไหวหรือการต นู ตา งๆ แทนตัวคนที่ สนทนา กันไดแลว และยงั สามารถคยุ กันดว ยเสยี งใน แบบเดยี วกบั โทรศพั ท ตลอดจนแลกเปลีย่ น ขอมลู บนจอภาพหรือในเคร่ืองของผูสนทนา แตล ะฝายไดอกี ดวยโดย การทํางาน แบบนี้ก็จะ อาศัยโปรโตคอลชว ยในการติดตออกี โปรโตคอ

- มเี ครื่อง Server ซึง่ จะเรยี กวาเปน IRC server ก็ไดซ่งึ server นีก้ จ็ ะหมายถึงฮารด แวร+ ซอฟแวรโดยทฮ่ี ารด แวรคือ คอมพิวเตอรท ี่ จาํ เปน จะตองมที รัพยากรระบบคอนขางสงู และ จะตอ งมมี ากกวา 1 เครอื่ งเพื่อรองรับ User หลายคน - เครือ่ งของเราจะทาํ หนา ทเ่ี ปน เคร่อื ง Client ซึง่ กค็ ือคอมพวิ เตอรท่ีเช่อื มตอเขา กบั อิน เทอรเน็ตไดแ บบธรรมดา โดยทไ่ี มต อ งการ ทรพั ยากรมากนัก และก็ตอ งมโี ปรแกรมสําหรับ เชอื่ มตอ เขา Irc server ได การสนทนาผานเครือขา ยออนไลนทไ่ี ดรบั ความ นิยมในปจ จุบันมีหลายโปรแกรมเชน โปรแกรม Pirch, ICQ, Windows Messenger (MSN),

- \"กระดานขา ว\" หรือบเู ลตินบอรด บนเครอื ขายอนิ เตอรเ น็ต มีการใหบริการ ในลักษณะของกระดานขาวหรอื บูเลตินบอรด (คลา ยๆ กบั ระบบ Bulletin Board System หรอื BBS) โดยแบง ออกเปนกลุมยอยๆ จํานวนหลาย พันกลุม เรียกวา เปน กลมุ ขา ว หรอื Newsgroup ทกุ ๆ วันจะมีผูสง ขาวสารกันผา นระบบดังกลา ว โดยแบงแยกออกตามกลุมทส่ี นใจ เชน กลมุ ผู สนใจ ศลิ ปะ กลุมผสู นใจ เพลงร็อค กลุม วัฒนธรรมยโุ รป ฯลฯ นอกจากนีก้ ม็ กี ลุมทีส่ นใจในเร่อื งของประเทศ ตางๆ เชน กลุม Thai Group เปนตน การอา นขา ว จากกลุมขาวตางๆ ใน Usenet (User Network) หรอื Newsgroup น้ันนบั เปนชองทางหนึง่ ในการ ตดิ ตอแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ กบั ผใู ชอนิ เต อรเ นต็ คนอ่ืนๆ ในระดบั โลก ซึ่งมกั จะใชภ าษา องั กฤษเปน หลักในการสอ่ื สารกนั ซึ่งใน Usenet น้ี

- บริการเขาระบบระยะไกล Telnet ในกรณที ผ่ี ูใชต อ งการใชง านเครอื่ ง คอมพิวเตอรเ ครอ่ื งอืน่ ซ่งึ ตงั้ อยไู กลออกไป ก็ สามารถใชบริการ Telnet เพ่อื เขาใชง านเครื่อง ดังกลา วไดเหมอื นกบั เราไปน่งั ทห่ี นาเคร่อื งนน้ั เอง โดยจาํ ลองคอมพวิ เตอรของเราใหเ ปน เสมือนจอภาพบนเคร่อื งคอมพิวเตอรน ้ันได โปรแกรม Telnet นับไดว าเปน คําส่ัง พนื้ ฐานทีม่ ีประโยชนมากสําหรับ การใชง านอิน เตอรเ น็ตในแบบตวั อกั ษร (Text mode) หนาท่ี ของโปรแกรม Telnet น้นั จะชว ยใหผ ูใชส ามารถ ทาํ การ Login เขาไปยังเคร่อื งคอมพวิ เตอรต า งๆ ทต่ี อเช่ือมอยใู นเครือขายได และใชบรกิ าร สําเนาไฟล รบั สง อีเมลไ ด

2. บริการดานขอมลู ตาง ๆ ทําใหผ ใู ชสามารุคน หาขอมลู ตา ง ๆท่ีตงการได อยา งรวดเร็ว และประหวัดคา ใชจ า ย ซงึ่ บรกิ ารตาง ๆ ทมี่ ีบนระบบเครอื ขายอินเตอรเ น็ต เชน 2.1 Archie อารซ ี เปนระบบการคนหาขอมลู หรือแฟม ขอมูลทเี่ ปน บริการสําหรบั ผูใชท ีท่ ราบชอื่ แฟมขอมลู ตา ง ๆ ทาํ หนาทีเ่ สมอื นเปน บรรณารกั ษท่มี ีรายช่ือของหนังสอื ทงั้ หมด เมอ่ื ผใู ชทราบแฟมขอ มูลทต่ี องการ กท็ าํ การ โอนถา ยแฟม ขอ มูลโดยใช FTP 2.2. WAIS WAIS เปน บรกิ ารคาหาขอมลู โดยการคน หา ขอมลู จากเนื้อหาของขอมูลแทนการคนหาตามชื่อของ แฟมขอมูล ซึ่งชวยในการคน หาขอ มูลจากฐานขอ มูล แบบกระจาย 2.3. Gopher โกเฟอร เปนโปรแกรมท่ชี ว ยในการคน หา ขอ มูลโดยผานระบบเมนูตามลําดับช้นั ฐานขอ มลู ของ ระบบโกเฟอรจะกระจายกนั อยทู วั่ โลก และมกี ารเชือ่ ม

2.4. Veronica เวโรนกิ า เปนระบบท่ชี ว ยการคน หา ขอมูลดวยคําทีต่ องการ (Keyword) เปน บริการ ทใี่ ชงานรวมกบั โกเฟอร เพื่อชว ยในการคน หา ขอมูลโดยไมต อ งผานเมนูตามลาํ ดบั ชนั้ ทาํ ให สามารถคน หารขอมลู ไดร วดเร็วข้ึน 2.5. Mailing List เปน บริการรายชอ่ื เมล เปนระบบฐาน ขอมลู ท่ีเก็บทอี่ ยขู องจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส ของกลมุ ผใู ชท ่สี นในในเรือ่ งเดียวกัน 2.6. WWW (World&nâsp; Wide Web) เวิลดไ วดเ วบ็ เปนบรกิ ารคนหาและแสดงขอมลู ทใี่ ชห ลักการ ของ HTTP (Hypertext Transfer Protocol) ผูใชส ามารถคนหาขอ มูลไดจากเคร่อื งใหบ รกิ าร ที่ เรยี กวา Web Server โดยอาศัย ซอฟตแวรบ ราวเซอร

โปรแกรมที่ไม่พงึ ประสงค์ โปรแกรมลกั ษณะน้ีเรียกวา่ มลั แวร์(malware) เป็นโปรแกรมท่ีถกู สร้างข้ึนมาเพอื่ ทาํ ลาย หรือ รบกวน ระบบคอมพิวเตอร์

ไวรัส ( virus ) • เป็นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ท่ีเขียนข้ึนเพ่ือนทาํ ลายระบบ คอมพิวเตอร์ใหเ้ สียหาย โดยจะทาํ การแนบโปรแกรม แปลกปลอมเขา้ ไปกบั โปรแกรมอื่น แลว้ แพร่กระจาไปยงั เคร่ือง คอมพิวเตอร์อ่ืนๆ ได้ โดยผา่ นสื่อบนั ทึกขอ้ มูล เช่น แฟลชไดรฟ์

เวริ ์ม ( worm ) • หรือหนอนคอมพวิ เตอร์ เป็นโปรแกรมแปลกปลอมที่สามารถคดั ลอกตวั เองแลว้ ส่งไปยงั เครื่องคอมพิวเตอร์อ่ืนๆ ไดท้ นั ที โดยอาศยั การเจาะผา่ น ช่องโหวข่ องเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ หรือ อินเทอร์เน็ตที่ไม่มีการป้ องกนั ท่ีดี พอ โดยจะเขา้ ไปกีดขวางการทาํ งานของระบบปฏิบตั ิการของเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ใหช้ า้ ลง หรือ หยดุ ทาํ งาน

มา้ โทรจนั ( trojan horse ) • เป็นโปรแกรมแปลกปลอมที่ผา่ นเขา้ สู่ระบบโดยการแอบแฝงตวั เอง วา่ เป็นโปรแกรมอ่ืน เช่น การหลอกใหผ้ ใู้ ชด้ าวนโ์ หลดโปรแกรมฟรี เมื่อ ผใู้ ชง้ านดาวนโ์ หลด อาจจะมีไวรัสซ่ึงติดมาดว้ ย

สปายแวร์ ( spyware ) • เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาใหค้ อยติดตาม บนั ทึกขอ้ มูลส่วนบุคคล รายงานขอ้ มลู การใชง้ านของผใู้ ชแ้ ต่ละคนบนอินเทอร์เน็ต หรือ เปล่ียน การต้งั ค่าโปรแกรมเบราวเ์ ซอร์ใหม่ ซ่ึง ทาํ ใหป้ ระสิทธิภาพใหก้ ารทาํ งาน ของระบบคอมพวิ เตอร์ชา้ ลง เช่น คียล์ อ๊ คเกอร์ ( key-logger)

แอดแวร์ ( adware ) • เป็นโปรแกรมแอบแฝงที่เมื่อโปรแกรมไดร้ ับการดาวนโ์ หลดหรือมีการ ติดต้งั ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแลว้ จะแสดงหนา้ ต่าง ป๊ อปอพั ท่ีมี การโฆษณาสินคา้ ออกมาเป็นระยะๆ โดยอตั โนมตั ิ

สแปม ( spam ) • เป็นการใชร้ ะบบส่งอีเมลในการส่งขอ้ ความที่ไม่พงึ ประสงคใ์ หก้ บั ผใู้ ช้ ผา่ นระบบอีเมลท่ีเรียกวา่ เมลขยะ ( junk mail ) นอกจากน้ีอาจมีการส่ง ผา่ นส่ืออื่น เช่น โทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ เกมออนไลน์ ซ่ึงส่งผลใหเ้ กิดการ รบกวนการใชส้ ่ือสารเหล่าน้นั

ผลกระทบจากการใชง้ านอินเทอร์เน็ต ปัญหาสุขภาพและความสมั พนั ธ์ทางสงั คม ผใู้ ชง้ านอินเทอร์เน็ตติดต่อกนั เป็นเวลานานมากเกินไปอาจก่อใหเ้ กิดปัญหาโรค ติดต่ออินเทอร์เน็ตซ่ึงเป็นอาการทางจิตประเภทหน่ึง มีอาการท่ีตอ้ งสงสยั เช่น มีค วามตอ้ งการใชอ้ ินเทอร์เน็ตต่อเน่ือง เป็นเวลานานมากข้ึนเร่ือยๆ รู้สึกหงุดหงิด หดหู่ กระวนกระวายเมื่อใชอ้ ินเทอร์เน็ตนอ้ ยลงหรือหยดุ ใชค้ ิดวา่ เมื่อไดใ้ ชอ้ ิน เทอร์เน็ตแลว้ จะทาํ ใหร้ ู้สึกดีข้ึน แต่โดยความเป็นจริงแลว้ การใชอ้ ินเทอร์เน็ตเป็น เวลานานก่อใหเ้ กิดผลเสียต่อ ร่างกาย

ปัญหาอาชญากรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ • เจาะระบบรักษาความปลอดภยั ใหส้ ามารถเขา้ ถึงระบบคอมพิวเตอร์ เพอ่ื กระทาํ การ ใดๆกบั ระบบคอมพวิ เตอร์ ซอฟแวร์ หรือขอ้ มูลในทางท่ีมิชอบต่างๆ อาจทาํ ใหเ้ กิด ความเสียหายในเชิงธุรกิจ การบิดเบือนขอ้ เทจ็ จริง ขโมยขอ้ มลู ส่วนบุคคล โดยการใช้ ช่องทางการสื่อสารหรืออินเทอร์เน็ต เช่น การแชท การโทรศพั ท์ ในการไดม้ าซ่ึงขอ้ มูล ส่วนตวั ของบุคคล โดยการปลอมแปลงเป็นผดู้ ูแลระบบ หรือผดู้ ูแลขอ้ มลู เป็นบุคคล ใกลช้ ิด หรือสร้างสถานการณ์ฉุกเฉินท่ีเสมือนจริง เพอ่ื หลอกล่อใหเ้ หยอื่ เกิดความไว้ วางใจ หรือหลงเชื่อ และเปิ ดเผยขอ้ มลู ส่วนตวั โดนรู้เท่าไม่ถึงการณ์

ปัญหาล่อลวงทางสงั คม • จากการที่ผใู้ ชง้ านอินเทอร์เน็ตบางคน สร้างตวั ตนข้ึนมาใหม่ในการ ติดต่อสนทนากบั ผอู้ ่ืน โดยใหข้ อ้ มูลที่เป็นเทจ็ เช่น เพศ อายุ ภาพถ่าย เพอื่ ล่อลวงใหค้ ู่สนทนาสนใจตวั ตนใหม่ และนดั พบเพ่ือกระทาํ อนั ตรายต่างๆ จนเกิดปัญหาร้ายแรงต่อทรัพยส์ ินหรือต่อตนเอง

จบการนาํ เสนอ.... ขอขอบพระคุณท่ีพิจารณา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook