Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัจนกรรมการตำหนิในกลุ่มตัวอย่างนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วัจนกรรมการตำหนิในกลุ่มตัวอย่างนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Published by chutikan84, 2018-08-27 05:20:45

Description: nichapa-khr-all (1)

Keywords: วัจนกรรม,การตำหนิ

Search

Read the Text Version

38ตัวอยา งที่ 16จากสถานการณท่ี 10 ในขอความที่ 375“ไมร จู ักระวงั เลย น่เี ปน ของทแ่ี มซื้อใหพว่ี นั เกดิ นะ” (ผพู ูดกลา วตาํ หนนิ อ งสาวของตนที่ทํานาฬิกาตกทาํ ใหห นา ปด นาฬกิ าแตก)จากตวั อยา งท่ี 16 ผูพูดกลาวหาผูฟงอยางตรงไปตรงมาโดยการใชประโยคบอกเลา วาผูฟงไมมีความระมัดระวังจนทําของของตนเสียหาย ในกลวิธีนี้ผูพูดมักจะใชประโยคบอกเลาที่เปนการกลาวหาผูกระทําอยางตรงไปตรงมาและมีความชดั เจน ซึง่ ผวู ิจัยเหน็ วา ในกลวิธผี ฟู งสามารถทราบไดอยา งชัดเจนวา ผพู ดู กาํ ลงั รสู กึ อยา งไรกับสิ่งที่ผฟู ง ไดกระทาํ ผดิ ลงไป อีกทั้งในกลวธิ นี จี้ ะเห็นไดว าผพู ดู มีการคาํ นึงถงึ เรอ่ื งการคุกคามหนาและทาํ ใหผูอ่ืนเสยี หนานอ ยกวา ในกลวิธที ่ี 3.1 ท้ังน้อี าจขน้ึ อยกู บั ปจ จัยท่ีเกดิ ขึน้ ในสถานการณนัน้ ๆ เชน ความสนิทสนมของผพู ูดและผฟู งกลวิธยี อ ยที่ 3.3 การกลา วเตอื น ในกลวิธีนีเ้ ปน กลวธิ ที ่ีผูพูดคาดหวังถึงความเปนไปไดท ่ีจะใหมีบทลงโทษเพื่อเปน การตักเตือนผกู ระทําผิด สังเกตไดจ ากผูพูดจะกลาวในเชิงตักเตอื นซ่ึงผพู ดู คาดหวงั วาจะทาํ ใหผฟู งรสู กึ สาํ นึกในความผิดท่ีเกดิ ขน้ึ โดยมีขอสงั เกตวาผูพ ดู จะใชถ อ ยคํา เชน “ถา...” ในการสรางเงื่อนไข ดังตวั อยางตอ ไปน้ีตวั อยา งท่ี 17จากสถานการณที่ 5 ในขอความที่ 185“อม้ั ทาํ ดนิ สอเราหายเหรอ ถาทําหายอีกคราวหนาเราไมใหยืมแลวนะ” (ผูพ ูดกลา วตําหนผิ ฟู ง ที่ยมืดนิ สอของตนไปแลว ทาํ หาย) จากตวั อยางที่ 17 ผูพดู ไดกลาวเตือนผฟู งวา หากมีเหตกุ ารณแบบเดมิ อีกผูพูดจะไมใหผ ูฟงยืมดินสอของตนเองอีกตอ ไปตัวอยา งท่ี 18จากสถานการณท ่ี 12 ในขอ ความท่ี 441“คณุ แอน ผมจะใหโ อกาสคุณแกตวั คราวน้ีผมเห็นวา เปน คร้ังแรก ถาคราวหนาคุณยังมาชาอีก ผมจะลงทณั ฑบนเอาไว” (ผูพูดกลาวตําหนิเลขาของตนที่มาประชุมชาจนทําใหลูกครั้งตองเสียเวลาคอย) ในขอ ความที่ขดี เสน ใตน ีผ้ ูพดู ไดกลา วเตือนผูฟ ง วา หากมีเหตกุ ารณแบบเดิมอกี ผูฟ ง จะตอ งไดรบั โทษในสิ่งทต่ี นไดท ําลงไป

39ตวั อยางที่ 19จากสถานการณที่ 12 ในขอ ความที่ 458“ทําไมคุณไมรักษาเวลาเลย คุณทําแบบนี้บริษัทเราเสียหายนะครับ คราวหนาอยาใหอ ยาใหเกิดเรือ่ งแบบนข้ี ึ้นอกี นะครบั ” (ผูพูดกลาวตําหนิเลขาของตนที่มาประชุมชาจนทําใหลูกครั้งตองเสียเวลาคอย)ในขอ ความท่ีขดี เสนใตนี้ผูพ ูดไดก ลา วเตือนผฟู ง ในเชิงขมขู วาอยา ใหเกดิ เหตกุ ารณแบบเดิมอีกในคราวตอ ไปในกลวธิ นี ี้ การกลาวเตือนของผูพ ดู ผพู ดู มักจะใชการสรา งเงอื่ นไขโดยมกั ปรากฏคําวา “ถา...”และอาจเปน การพดู ในเชิงขม ขูผ ฟู ง อกี ทั้งในกลวธิ ีนผ้ี พู ูดคาดหวังวา ผฟู งจะรสู กึ ละอายแกใจและไมกลากระทําความผิดอีก4. การกลา วตําหนิผูกระทําผดิกลวธิ ียอ ยท่ี 4.1 การกลา วตําหนผิ ูกระทาํ ความผิดท่ีมกี ารตกแตง ถอ ยคาํ โดยการใหค าํ แนะนาํ หรอื เสนอทางเลือก ในกลวิธีน้ีผพู ดู จะกลาวแสดงออกถึงสิง่ ทต่ี นไมเ หน็ ดวยในการกระทํานน้ั ๆ และคาดหวงั วาผูถกู กลา วหาจะแสดงความรบั ผิดชอบตอ การกระทาํ ทีเ่ กดิ ขนึ้ โดยผูกลา วตาํ หนิมักจะพดู ตําหนใิ นกลวธิ ีนี้โดยการพดู ใหค าํ แนะนาํ เพอื่ เปนการเสนอทางเลือกใหแ กผฟู ง อกี ทงั้ ผพู ดู มกั จะใชคําวา “ควรจะ”“นา จะ” โดยท่ีผูพูดไมไดกลาวชเี้ ฉพาะเจาะจงไปที่พฤตกิ รรมหรอื ทตี่ วั ผกู ระทําผิด อีกท้งั ผวู จิ ัยต้งัขอ สงั เกตวา ในกลวธิ ีท่ี 4 น้ีการตาํ หนิในลกั ษณะน้มี ักเกดิ ข้นึ ในสถานการณที่เกดิ จากการละเมดิ กฎขอบังคับหรือมารยาททางสังคม ดังตัวอยางตอไปนี้ตัวอยา งที่ 20จากสถานการณท ี่2 ในขอความท่ี 57“บอยไปสบู ทอี่ น่ื ไดไ หม มนั เหมน็ รบกวนคนอน่ื ” (ผูพ ดู กลา วตาํ หนิเพ่อื นของตนทสี่ บู บหุ ร่ใี นกลุมเพ่ือนท่นี ง่ั คยุ กันอยู โดยการเสนอทางเลอื ก) ในขอความทข่ี ดี เสน ใตนี้ผพู ดู ไดกลาวตาํ หนผิ ฟู งโดยการเสนอทางเลือกโดยใชประโยคคําถามในการลดความรุนแรงของสถานการณแทนที่จะใชประโยคคําสั่งตวั อยา งท่ี 21จากสถานการณท ี่4 ในขอ ความที่ 142“เออ พวกคุณ ชวยเงียบเสยี งลงหนอ ยนมี่ นั หอ งสมุดนะคะไวอา นหนงั สือนะ ถาจะคุยเสียงดังควรจะไปคุยขางนอกดีกวา รบกวนพวกเราอา นหนงั สอื อะ ” (ผพู ดู กลา วตาํ หนกิ ลมุ นกั ศกึ ษาท่คี ุยกันเสยี งดงั ใน

40หอ งสมดุ โดยการเสนอทางเลอื ก) ในขอความทขี่ ดี เสนใตน ้ีผพู ูดไดก ลา วตําหนิผูฟง โดยการกลาวแนะนาํ วา หากผฟู ง ยังตองการจะคุยกนั ก็ใหอ อกไปคยุ กนั ขา งนอก โดยปรากฏคําวา “ควรจะ” ทแ่ี สดงถึงการแนะนําผูฟงแทนที่การใชประโยคคําสั่งเพื่อเปนการลดความรุนแรงของสถานการณตวั อยางที่ 22จากสถานการณท่ี9 ในขอความท่ี 327“วิกก้ี ต่นื ไดแ ลว เชา แลว คราวหลงั หดั ตน่ื เองซะบา งนะโตปา นนแ้ี ลว ” (ผูพ ดู กลาวตําหนิลูกของตนท่ีนอนตน่ื สาย โดยพดู ในเชงิ ใหค าํ แนะนาํ ) ในขอ ความท่ีขดี เสนใตน ี้ผูพดู ไดกลาวตาํ หนิผฟู ง โดยการกลาวแนะนําเชิงพูดสั่งสอน เพื่อลดความรุนแรงของสถานการณ วา ในครั้งตอ ไปนัน้ ผฟู ง ควรจะหัดตนื่นอนเองไดแลวเพราะวา ผฟู ง โตแลวควรมคี วามรับผดิ ชอบตอ ตนเองจากตัวอยาง ถึงแมว ากลวิธที ่ี 4 กลวธิ กี ารกลาวตาํ หนจิ ะเปนกลวิธีท่มี คี วามรนุ แรงมากที่สุด แตผูพ ูดก็ยงั เลือกทจี่ ะใชถ อยคําเพื่อลดความรนุ แรงของสถานการณและเพอื่ หลกี เลี่ยงการคกุ คามหนา ทงั้ของผพู ูดและผฟู ง ซง่ึ จากผลการวิจัยพบวาผพู ูดมกั จะใชป ระโยคบอกเลา ในการพดู เพอ่ื เสนอแนะหรอืใหคาํ แนะนําตอ ผฟู งกลวิธยี อ ยท่ี 4.2 การกลา วตําหนิผูกระทําความผดิ โดยการกลา วตําหนิพฤติกรรมหรือตาํ หนทิ ่ตี วั บคุ คลของผกู ระทําผดิในกลวธิ นี ี้จะสงั เกตไดจากการทผี่ พู ดู กลา วตาํ หนิไปทพ่ี ฤติกรรม หรือตาํ หนไิ ปทตี่ วั บคุ คลของของผฟู ง เชน การตําหนิท่พี ฤติกรรมของผูฟง วา เปนการกระทาํ ท่ขี าดความรบั ผิดชอบตอ สังคม ซึง่ สวนใหญจะพบในสถานการณที่เกิดจากการละเมิดกฎขอบังคับหรือมารยาททางสังคม เชนเดียวกับกลวิธีที่4.1 แตจะแตกตางกันตรงท่ีความรสู ึกของผพู ูดทีจ่ ะมองไปถึงพฤตกิ รรมของผูกระทาํ ผดิ วา ไมเหมาะสมและกลาวตาํ หนิไปที่พฤตกิ รรมของผฟู ง แทนท่ีจะกลาวเสนอทางเลอื กหรอื ใหค าํ แนะนําเชน เดยี วกบั ในกลวธิ ที ี่ 4.1 หรือหากเปนในกรณีที่ตําหนไิ ปท่ตี วั บุคคลของผูกระทําความผดิ ผูพูดจะกลาวอยา งชัดเจนถึงการกระทําผิดในตัวบุคคล เชน การกลาวหาวาบุคคลนั้น ๆ ไมมีความรับผิดชอบในฐานะที่เปนสมาชิกในสังคม และในกลวธิ นี ีอ้ าจพบถอยทีไ่ มสุภาพ หรอื คําดารวมอยูดว ย เชน “ไอเ ลว” “ไอบา ”หรอื “ไอเ วร” ดงั ตวั อยางตอไปน้ีตวั อยา งที่ 23จากสถานการณท ่ี4 ในขอความท่ี 155“ขอโทษที น่ีหอ งสมดุ สงเสยี งดงั รบกวนสมาธิคนอ่ืนอยางนี้เคาเรียกไมม มี ารยาท” ผูพดู กลาวตาํ หนิกลมุ นกั ศกึ ษาทีค่ ยุ กันเสยี งดังในหองสมดุ โดยระบุถึงพฤตกิ รรม) ในขอ ความทขี่ ดี เสน ใตน ้ีผูพดู ได

41กลา วตําหนผิ ูฟง โดยการกลา วตําหนิถงึ พฤตกิ รรมของผูฟ ง วาสงเสยี งรบกวนผูอ่ืนและมีพฤตกิ รรมทไี่ รมารยาทซึ่งแสดงออกถึงการไมรูจักรับผิดชอบตอสังคมสวนรวมตวั อยางท่ี 24จากสถานการณท ี่ 4 ในขอ ความที่ 157“นีค่ ุณ สมบตั ิผดู ีมีไหมไมมีมารยาท” ” ผูพ ูดกลา วตําหนิกลุมนักศึกษาทีค่ ุยกนั เสยี งดังในหองสมดุ โดยระบถุ งึ พฤตกิ รรม) ในขอความท่ีขดี เสนใตนผ้ี ูพดู ไดกลา วตาํ หนิผูฟง โดยการกลาวตําหนิถงึ พฤตกิ รรมของผูฟง วาไมมีมารยาทขาดสมบัติผูดี จากตวั อยางในกลวธิ นี ี้ ผูพดู จะกลาวตาํ หนิผูฟงโดยการกลา วถงึ พฤติกรรมทไ่ี มเ หมาะสมและไมมีความรับผิดชอบในเหตุการณที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเกิดจากความประมาทเลินเลอของตัวผ ูกระทาํ แลวสงผลตอตัวผูพูดโดยตรงหรือพฤติกรรมนั้นเปนพฤติกรรมที่ขาดมารยาททางสังคมและขาดความรับผิดชอบตอ สงั คมสว นรวมตวั อยา งที่ 25จากสถานการณท ่ี 2 ในขอ ความที่ 76“เฮย บอย ไปสบู ไกล ๆ ไป กูยังเรียนไมจบเลย ยังไมอยากตายเรว็ ไปเสย่ี งตายคนเดยี วเหอะไอบ อยบา ”(ผพู ดู กลาวตําหนิเพอื่ นของตนที่สบู บุหรใ่ี นกลมุ เพื่อนทีน่ งั่ คยุ กันอยู) โดยการระบุไปท่ตี ัวผฟู งวา เปนคนไมดีและเปนคนที่ไมมีความรับผิดชอบตอสังคมสูบบุหรี่ในที่สาธารณะทําใหคนอื่นรําคาญใจและตําหนิโดยการพูดในเชิงไลโดยใชคําพูดที่คอนขางรุนแรงและมีคําตอทายวาเปนคนบาเปนคนไมดี คือ“ใหไปเสีย่ งตายคนเดียวเหอะไอบ า”แทนทจ่ี ะกลา ว “ไปสูบทีอ่ นื่ ”เพราะทําใหคนอื่นรําคาญใจตวั อยา งที่ 26จากสถานการณท่ี 12 ในขอ ความที่ 468“คุณแอนครบั คุณไมมีความรับผิดชอบเลย ถา มีเหตฉุ ุกเฉินคณุ นาจะบอกผมกอ นผมจะไมวาคุณเลย” (ผูพูดกลาวตําหนิเลขาของตน) โดยระบุไปทตี่ ัวผูฟง วา เปน คนท่ไี มม คี วามรบั ผดิ ชอบทําใหเ กดิ ความเสยี หายตอ สว นรวมกลาวโดยสรุป คือ การแสดงวัจนกรรมการตําหนิของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรสามารถจําแนกได4 กลวธิ ใี หญ 8 กลวิธียอย ดังแผนภูมทิ ่ี 1

42แผนภมู ทิ ี่ 1 กลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ การแสดงวัจนกรรมการตําหนิ การไมก ลา ว การกลา ว การกลา วหา การกลา วตาํ หนิ ตาํ หนอิ อกมา แสดงออกถงึ ผกู ระทาํ ผดิ ผูก ระทําผิดอยา งชัดแจง หรอื ความราํ คาญใจ บอกเปน นัย หรือไมเ ห็นดว ย -การกลา วหาอยา ง - การกลา วตาํ หนิ - การแสดงความ ไมตรงไปตรงมา ทีม่ กี ารตกแตง ราํ คาญใจหรอื ไม - การกลา วหาอยา ง ถอยคําโดยการให เหน็ ดว ย ตรงไปตรงมา คาํ แนะนาํ หรือ - การกลา วถงึ - การกลา วเตือน เสนอทางเลือก ผลลัพธทต่ี ามมา - การกลา ว ตาํ หนพิ ฤติกรรม หรอื ตวั บคุ คลของ ผก ระทําผดิ

43ตารางท่ี 1 กลวิธีแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิและลักษณะสาํ คญั ทีพ่ บ กลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิ กลวธิ ยี อ ย ลกั ษณะสาํ คญั ทพ่ี บ1. การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัด ไมพ บกลวธิ ียอ ยแจง หรอื บอกเปนนยั - ผูพดู ไมไดกลาวทีแ่ สดงออกในเชงิ 2.1 การแสดงความรําคาญใจหรือไม ตําหนติ เี ตียนผกู ระทาํ ผิด2. การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญ เหน็ ดว ย - ผพู ดู มกั เล่ียงทีจ่ ะกลาวถึงสิ่งทีผ่ ูฟงใจหรอื ไมเ หน็ ดวย กระทําผดิ ลงไป 2.3 การกลา วถงึ ผลลพั ธท ่ีตามมา - อาจทาํ ใหผฟู ง ไมร ตู ัววา ตนกระทาํ ผดิ3. การกลาวหาผูกระทําผิด 3.1 การกลาวหาอยา งไมต รงไปตรงมา - ผูพ ูดมกั ใชถ อยคาํ ท่แี สดงถงึ อาการ4. การกลาวตาํ หนผิ กู ระทําผดิ 3.2 การกลาวหาอยางตรงไปตรงมา เบือ่ หนาย ราํ คาญใจ 3.3 การกลาวเตือน - มักพบคาํ วา “เซง็ ” “เบอ่ื ” หรอื “ไม 4.1 การกลาวตําหนิที่มีการตกแตง นาเลย” ถอยคาํ เพ่อื ลดความรุนแรงของ สถานการณ - ผพู ดู ใชถอ ยคําท่เี ปนการเชอ่ื มถึง ผลลัพธที่ตามมาจากการกระทําผิด 4.2 การกลาวตําหนิพฤติกรรมหรอื ตาํ หนิที่ตัวบุคคลของผกู ระทาํ ผดิ - ผพู ดู มักจะใชป ระโยคคําถามหรือพูด โดยการใหข อมลู บางสวน - มักพบคําวา “รบกวน” “ชว ย” หรอื พดู ในเชงิ ขอรอ ง - ผูพดู พูดกลาวหาผูฟงวากระทาํ ความผิดน้นั อยา งตรงไปตรงมา - ผูพ ดู กลาวในเชงิ ตักเตอื นพูดถงึ บทลงโทษในการกระทาํ ความผิดน้นั - ผูพูดมกั จะพดู ในเชงิ ใหค าํ แนะนาํ หรือเสนอทางเลือก - มกั พบคําวา “ควรจะ” “นา จะ” มักพบในสถานการณท ่ีเกี่ยวของกับ ขอ บงั คบั หรอื มารยาททางสังคม - ผพู ดู มกั จะพูดตําหนิโดยเนนที่ พฤติกรรมหรือทตี่ วั บุคลของผกู ระทาํ ผดิ - มักพบในสถานการณที่เกยี่ วขอ งกับ ขอ บังคบั หรือมารยาททางสังคม

44 4.1.2 ความถ่ใี นการปรากฏของกลวธิ แี สดงวัจนกรรมการตําหนิ หลังจากการวิเคราะหก ลวธิ แี สดงวัจนกรรมการตําหนิแลว ในขนั้ ตอนตอ ไปผูวจิ ัยไดแจงนบัอตั ราการใชก ลวิธแี สดงวจั นกรรมการตําหนิ โดยแจงนบั ทุกครัง้ ที่พบการใชก ลวธิ ี ถงึ แมวา ในขอ ความนน้ั ๆ จะพบการใชกลวธิ มี ากกวา 1 ครงั้ กต็ าม ซง่ึ ผลจากการแจงนบั วจั นกรรมการตาํ หนิท้งั สน้ิ 460ขอความ ผูวิจัยพบอัตราการปรากฏการใชกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิ 4 กลวิธี รวม 637 กลวิธีตารางท่ี 2 ความถี่ในการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิ ความถี่ในการปรากฏ กลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิ จาํ นวนคร้ังท่ี จาํ นวน ปรากฏ เปอรเ ซนตท ่ีกลวธิ ที ี่ 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง หรือบอกเปน นยั ปรากฏ 15 2.35กลวธิ ที ี่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไม 140 21.97เหน็ ดว ยกลวิธีท่ี 3 การกลา วหาผกู ระทําผิด 305 47.89กลวธิ ที ี่ 4 การกลา วตําหนิผกู ระทาํ ผิด 177 27.79รวม 637 100

45แผนภมู ิท่ี 2 เปอรเซ็นตการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิกลวธิ ีที่ 1 การไมกลา วตาํ หนิออกมาอยางชัดแจง หรือบอกเปน นัยกลวธิ ีที่ 2 การกลาวแสดงออกถงึ ความรําคาญใจหรือไมเหน็ ดว ยกลวธิ ที ่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ีท่ี 4 การกลา วตาํ หนิผกู ระทําผดิจากตารางและแผนภูมิทกี่ ลาวมาแลวจะเห็นไดว า กลวธิ ีแสดงวจั นกรรมการตําหนทิ ี่นิยมใชม ากท่สี ดุคอื การกลาวหาผกู ระทาํ ผดิ คิดเปน 47.89% รองลงมาคอื กลวิธีการกลาวตําหนิ คดิ เปน 27.79% และกลวิธีการแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 21.97% สว นกลวธิ กี ารไมก ลา วตาํ หนิออกมาอยา งชดั แจงหรือบอกเปน นยั เปน ลาํ ดบั สุดทา ย คดิ เปน 2.35% นอกจากนใ้ี นแตล ะกลวธิ ยี กเวน กลวธิ ีการบอกเปนนัยกลวิธที ่ี 1 นนั้ สามารถจาํ แนกเปน กลวธิ ยี อ ย ๆ ไดอีก ดงั นน้ั ผวู ิจัยจึงไดแ ยกแยะกลวธิ ียอยทอ่ี ยูในกลวิธีแตล ะกลวธิ ี ดังตอไปน้ีกลวธิ ที ี่ 2 การกลา วแสดงออกถงึ ความไมพ อใจหรอื ไมเ หน็ ดว ยในกลวธิ นี พ้ี บจาํ นวนการปรากฏจากการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนทิ ง้ั สน้ิ 637 ครัง้ พบกลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความมาพอใจหรือไมเห็นดวย 140 ครั้ง เปนกลวิธีการแสดงความรําคาญใจ 108ครั้ง และกลวธิ ีการกลาวถึงผลลัพธทีต่ ามมา 32 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 3 แผนภมู ทิ ่ี 3ดงั ตอไปน้ี

46ตารางท่ี 3 แสดงความถี่การปรากฏของกลวิธีท่ี 2 การกลาวแสดงออกถึงความไมพอใจ ความถี่ในการปรากฏ หรอื ไมเ หน็ ดว ย จํานวนครั้งที่ปรากฏ จํานวนเปอรเ ซนตท ป่ี รากฏกลวิธียอยที่ 2.1 การแสดงความรําคาญใจ 108 77.14กลวธิ ยี อ ยที่ 2.2 การกลา วถึงผลลพั ธท ี่ตามมา 32 22.86รวม 140 100แผนภูมิท่ี 3 แสดงความถี่การปรากฏของกลวิธที ่ี 2 80 70 60 50 40 30 20 10 0 กลวิธยี อ ยที่ 2.1กลวธิ ยี อยที่ 2.2กลวิธียอยท่ี 2.1 การแสดงความราํ คาญใจกลวิธยี อ ยที่ 2.2 การกลางถึงผลลพั ธท ี่จะตามมา จากตารางจะเห็นไดวา กลวธิ ยี อยที่ 2.1 การแสดงความรําคาญใจ มีผูนิยมเลอื กใชม ากกวา กลวธิ ีที่ 2.2 คือกลวธิ ีการกลา วถงึ ผลลัพธทีต่ ามมาคอื 77.14 % และ 22.86 % ตามลาํ ดบั

47กลวิธีที่ 3 การกลาวหาผูกระทําผิด ในกลวธิ นี พ้ี บจาํ นวนการปรากฏจากการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนทิ ง้ั สน้ิ 637 ครง้ั พบกลวธิ ีการกลา วหาผูกระทาํ ผดิ รวมท้ังหมด 305 ครั้ง เปนกลวิธีการกลาวหาอยางไมตรงไปตรงมา 199 ครง้ักลวิธีการกลาวหาอยางตรงไปตรงมา 76 คร้ัง และกลวิธกี ารกลาวเตอื น 30 ครงั้ ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 4แผนภูมิที่ 4 ดังตอ ไปนี้ตารางท่ี 4 แสดงความถี่การปรากฏของกลวิธีที่ 3การกลา วหาผูกระทาํ ผิด ความถี่ในการปรากฏ จํานวนครั้งที่ปรากฏ จาํ นวนเปอรเ ซนตทป่ี รากฏกลวธิ ยี อ ยท่ี 3.1 การกลาวหาอยางไมตรงไปตรงมา 199 65.25กลวิธียอยที่ 3.2 การกลาวหาอยางตรงไปตรงมา 75 24.6กลวิวิธยี อยท่ี 3.3 การกลา วเตอื น 30 9.84รวม 305 100

48แผนภูมิท่ี 4 แสดงความถี่การปรากฏของกลวิธีท่ี 3 70 60 50 40 30 20 10 0 กลวธิ ยี อ ยที่ 3.1 กลวิธียอ ยท่ี3.2กลวิธยี อ ยที่ 3.3กลวิธียอยที่ 3.1 การกลาวหาอยางไมตรงไปตรงมากลวธิ ียอ ยที่ 3.2 การกลา วหาอยา งตรงไปตรงมากลวิธียอ ยที่ 3.3 การกลาวเตือนจากตารางกลวธิ ยี อ ยที่ 3.1กลวิธีการกลาวหาอยางไมตรงไปตรงมา มผี ูนิยมเลือกใชมากทีส่ ุดถึง 65.24 %สวนกลวิธีที3่ .2 คือกลวิธีการกลาวหาอยางตรงไปตรงมามีผูนิยมใชรองลงมาคือ 24.6 % และกลวิธีการกลาวเตอื นเปน กลวธิ ีท่มี ีผนู ิยมใชน อยทส่ี ดุ 9.84 % นอกจากน้ีผูวจิ ัยยังพบวากลวิธยี อ ยท่ี 3.1 นน้ั เปนกลวธิ กี ารแสดงวัจนกรรมการตาํ หนทิ ีม่ ีผูนยิ มเลือกใชมากท่สี ุดในทุก ๆ กรณีกลา วคอื ทัง้ ในสถานการณท่ีผูพูดมสี ถานภาพเทา กันกับผฟู ง ตํา่ กวา และสูงกวาผฟู งและในกลวธิ ีนผ้ี พู ดู มกั พดู โดยการใชประโยคคําถามหรือใชกลวิธีที่ทําใหประโยคมีความสุภาพประกอบในการพูดกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวิธีที่ 4 การกลา วตาํ หนิผกู ระทําผดิ ในกลวธิ นี พ้ี บจาํ นวนการปรากฏจากการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนทิ ง้ั สน้ิ 637 คร้งั พบกลวธิ ีการกลาวตําหนิกระทําผิดรวมทั้งหมด 177 คร้งั เปนกลวธิ กี ารกลา วตําหนิทม่ี ีการตกแตง ถอ ยคําเพ่อื ลดความรุนแรงของสถานการณ 146 คร้งั กลวิธกี ารกลาวตําหนทิ ีพ่ ฤติกรรมของผูกระทําผดิ 27 ครั้ง และกลวธิ ีการกลา วตาํ หนิทต่ี ัวผกู ระทําผิด 4 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 5 แผนภูมิท่ี 5ดงั ตอ ไปนี้

49ตารางท่ี 5 แสดงความถี่การปรากฏของกลวธิ ีท่ี 4 การกลาวตําหนผิ กู ระทาํ ผดิ ความถี่ในการปรากฏ จํานวนคร้ังท่ี จาํ นวนเปอรเ ซนตท ่ีกลวิธียอ ยที่ 4.1 การกลาวตําหนทิ ่มี ีการตกแตง ถอยคําโดยการใหค าํ แนะนาํ หรอื เสนอทางเลอื ก ปรากฏ ปรากฏ 146 82.5กลวธิ ียอ ยที่ 4.2 การกลาวตาํ หนิพฤติกรรมหรอื ท่ตี ัวบุคคล 31 17.5ของผูกระทาํ ผิด 177 100 รวมแผนภมู ิที่ 5 แสดงความถี่การปรากฏของกลวิธีที่ 4 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 กลวิธียอ ยท่ี 4.1 กลวธิ ียอยที่4.2กลวธิ ยี อยท่ี 4.1 การกลา วตาํ หนิท่มี กี ารตกแตง ถอยคาํ โดยการใหคาํ แนะนาํ หรอื เสนอทางเลอื กกลวธิ ยี อยที่ 4.2 การกลาวตําหนทิ พี่ ฤตกิ รรมหรอื ตวั บคุ คลของผูก ระทําผิด จากตารางกลวิธียอ ยท่ี 4.1กลวธิ กี ารตาํ หนทิ ม่ี กี ารตกแตง ถอยคําเพื่อลดความรุนแรงของสถานการณ มีผูนิยมเลือกใชม ากที่สดุ ถงึ 82.5 % สวนกลวธิ ีที4่ .2 คอื กลวธิ ีการกลา วตําหนพิ ฤตกิ รรมหรอื ท่ตี ัวบุคคลของผูกระทําผดิ มีผูน ิยมใชร องลงมาคือ 17.5% จากผลการวจิ ยั ที่พบนั้นกลวธิ ีการตําหนิ

50ที่มีการตกแตง ถอยคําโดยการใหคําแนะนําหรือเสนอทางเลือก มผี ูน ิยมใชม ากที่สุดอาจเปนเพราะผพู ดูไมต อ งการกลาวตําหนผิ ฟู ง ทีพ่ ฤติกรรมหรือกลาวตาํ หนทิ ต่ี ัวบุคคลของผูกระทาํ ผดิ โดยตรงเพราะผูพูดไมตองการคุกคามหนาของผูฟงมากนักถงึ แมว าพฤติกรรมน้นั ๆ จะเปนพฤติกรรมทม่ี คี วามผดิ ก็ตามผูพดู จงึ นิยมเลือกใชกลวธิ ที ี่ 4.1 มากที่สดุ4.2 ความถ่ใี นการปรากฏของกลวธิ แี สดงวัจนกรรมการตาํ หนิตามสถานภาพของผพู ูดและผฟู ง4.2.1 ความถ่ใี นการปรากฏของกลวธิ แี สดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณท่ีผพู ดู กบั ผฟู ง มีสถานภาพเทากันจากการวิเคราะหพบวาจํานวนการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณที่ผพู ดู กบั ผฟู ง มสี ถานภาพเทากนั น้นั พบการปรากฏของกลวธิ ีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิทง้ั หมด 211ครง้ั เปนกลวิธกี ารไมก ลา วตาํ หนอิ อกมาอยา งชดั แจง หรอื บอกเปนนัยนอ ยทสี่ ุด 8 คร้งั กลวธิ กี ารกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 43 คร้ัง กลวธิ กี ารกลา วตําหนผิ กู ระทาํ ผิด 47 ครัง้ และกลวิธกี ารกลา วหาผูกระทําผดิ มากท่สี ดุ 113 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 6 แผนภมู ิที่ 6ดังตอ ไปนี้ตารางท่ี 6 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณท่ีผพู ูดกบัผูฟง มีสถานภาพเทา กันกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ความถี่ในการปรากฏ ท่ผี ูพ ูดกบั ผฟู งมีสถานภาพเทากัน จํานวนครั้งที่ จาํ นวนเปอรเ ซนตท ่ี ปรากฏ ปรากฏกลวธิ ที ่ี 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจงหรือบอกเปน นยั 8 3.79กลวธิ ีท่ี 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็น 43 20.38ดว ยกลวธิ ที ี่ 3 การกลาวหาผูกระทาํ ผิด 113 53.55กลวธิ ที ่ี 4 การกลาวตาํ หนิผกู ระทําผดิ 47 22.28รวม 211 100

51แผนภมู ิท่ี 6 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิในสถานการณทผี่ ูพ ดู กับ ผูฟง มีสถานภาพเทากัน 60 50 40 30 20 10 0 กลวธิ ีที่ 1 กลวธิ ีที่ 2 กลวธิ ที ี่ 3 กลวธิ ที ี่ 4กลวธิ ที ่ี 1 การไมกลา วตาํ หนิออกมาอยางชดั แจงหรือบอกเปน นัยกลวิธที ่ี 2 การกลา วแสดงออกถงึ ความราํ คาญใจหรอื ไมเห็นดวยกลวิธที ่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวิธีที่ 4 การกลาวตาํ หนผิ กู ระทําผิด จากตารางและแผนภมู ทิ ่ี 6 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตําหนใิ นสถานการณท ีผ่ ูพูดกับผูฟงมสี ถานภาพเทากันทนี่ ยิ มใชมากท่ีสุด คือ การกลา วหาผูก ระทาํ ผดิคดิ เปน 53.55% รองลงมาคอื กลวธิ กี ารกลา วกลาวตาํ หนิผูก ระทาํ ผิดและกลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวยคิดเปน 21.81% และ 20.38% ตามลําดับ สวนกลวิธีการไมก ลา วตาํ หนิออกมาอยา งชดั แจง หรอื บอกเปน นัยเปน กลวธิ ที ีม่ ผี นู ิยมใชน อยท่ีสุด 3.79% นอกจากผูว จิ ยั จะวิเคราะหก ารปรากฏของกลวธิ แี สดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณท ี่ผพู ูดกบั ผูฟงมสี ถานภาพเทากันแลว ผวู ิจัยยงั ไดค ํานึงถึงปจจยั เรือ่ งระยะหา งทางสังคม ความสนิทสนมคุนเคยระหวา งผูพดู และผฟู ง มาใชว ิเคราะหก ารเลอื กใชกลวธิ กี ารแสดงการตาํ หนิในครั้งนี้ดว ยซง่ึ ผวู จิ ยัไดจ าํ แนกเปน สถานการณท ่ีผพู ดู และผฟู งมีความสนทิ สนมกันและไมม คี วามสนทิ สนมกัน ดังมีรายละเอียดดงั ตอ ไปนี้

52 4.2.1.1 ความถ่ีในการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณท่ีผูพดู กบัผฟู งมีสถานภาพเทากันและมีความสนทิ สนมกัน จากการวิเคราะหผูวิจัยพบรายละเอียดการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณท ่ผี พู ดู กับผฟู ง มสี ถานภาพเทากนั และมีความสนิทสนมกนั รวมทงั้ หมด 110 คร้ัง เปน กลวธิ ีการไมกลา วตาํ หนอิ อกมาอยางชดั แจง หรือบอกเปน นัยนอ ยที่สดุ 2 ครั้ง กลวธิ กี ารกลา วแสดงออกถงึความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 24 คร้งั กลวธิ กี ารกลาวตําหนผิ ูก ระทําผดิ 34 ครงั้ และกลวิธีการกลาวหาผกู ระทําผดิ มากท่สี ุด 50 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 7 แผนภมู ทิ ี่ 7ดงั ตอไปนี้ตารางท่ี 7 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวิธีการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิในสถานการณท ่ผี พู ูดกบั ผูฟงมีสถานภาพเทากันและมีความสนิทสนมกันกลวธิ กี ารแสดงวัจนกรรมการตําหนใิ นสถานการณท ผ่ี ูพูดกับ ความถี่ในการปรากฏผูฟงมีสถานภาพเทากันและมีความสนิทสนมกัน จํานวนครั้งท่ี จาํ นวนเปอรเ ซนตกลวธิ ีท่ี 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจงหรือ ปรากฏ ที่ปรากฏบอกเปน นยั 2 1.82กลวิธีท่ี 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 24 21.81กลวธิ ที ่ี 3 การกลาวหาผูกระทําผิด 50 45.46กลวธิ ที ่ี 4 การกลา วตําหนิผกู ระทาํ ผิด 34 30.91รวม 110 100

53แผนภูมิที่ 7 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณท ่ีผพู ดู กับ ผูฟงมีสถานภาพเทากันและมีความสนิทสนมกัน 50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0 กลวิธที ่ี 1 กลวิธที ี่ 2 กลวธิ ที ่ี 3 กลวิธที ่ี 4กลวธิ ที ี่ 1 การไมก ลา วตําหนิออกมาอยา งชดั แจงหรอื บอกเปน นัยกลวธิ ีท่ี 2 การกลา วแสดงออกถงึ ความรําคาญใจหรอื ไมเห็นดวยกลวธิ ีที่ 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ีท่ี 4 การกลา วตาํ หนิผูกระทาํ ผดิ จากตารางและแผนภมู ทิ ี่ 7 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิในสถานการณท ี่ผพู ดู กับผูฟ ง มสี ถานภาพเทากันและมีความสนิทสนมกนั ทน่ี ิยมใชมากท่ีสุด คือการกลาวหาผูกระทาํ ผดิ คิดเปน 45.46% รองลงมาคือกลวธิ ีการกลาวกลาวตําหนผิ กู ระทาํ ผดิ และกลวธิ ีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวยคิดเปน 30.91% และ 21.81% ตามลําดับ สว นกลวิธกี ารไมก ลา วตําหนอิ อกมาอยางชดั แจง หรือบอกเปน นยั เปน กลวธิ ที ี่มผี ูนิยมใชนอ ยที่สดุ 1.82% 4.2.1.2 ความถ่ใี นการปรากฏของกลวธิ ีแสดงวัจนกรรมการตาํ หนิในสถานการณทีผ่ พู ดู กับผฟู ง มีสถานภาพเทากนั และไมมีความสนิทสนมกัน จากการวิเคราะหผูวิจัยพบรายละเอียดการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณท ีผ่ พู ูดกับผฟู ง มสี ถานภาพเทา กนั และไมม คี วามสนิทสนมกนั รวมทัง้ หมด 101 คร้งั เปนกลวิธีการไมกลา วตําหนอิ อกมาอยา งชัดแจง หรอื บอกเปน นยั นอ ยทสี่ ุด 6 ครัง้ กลวิธีการกลา วแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 19 ครง้ั กลวธิ กี ารกลา วตาํ หนผิ กู ระทําผดิ 13 คร้งั

54และกลวิธกี ารกลาวหาผกู ระทําผิดมากทสี่ ุด 63 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 8 แผนภูมทิ ่ี 8ดังตอไปน้ีตารางท่ี 8 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ท่ผี ูพดู กบั ผฟู ง มีสถานภาพเทากันและไมม ีความสนทิ สนมกนักลวิธกี ารแสดงวจั นกรรมการตําหนใิ นสถานการณทผ่ี ูพ ูดกบั ความถี่ในการปรากฏผูฟงมีสถานภาพเทากันและไมมีความสนิทสนมกัน จํานวนครง้ั ท่ี จาํ นวนเปอรเ ซนตกลวิธที ่ี 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจงหรือบอกเปน ปรากฏ ที่ปรากฏนยั 6 5.94กลวิธที ี่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 19 18.81กลวิธีท่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิ 63 62.37กลวธิ ที ี่ 4 การกลาวตําหนผิ ูกระทําผิด 13 12.88รวม 101 100

55แผนภูมทิ ี่ 8 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ที่ผูพูดกับผูฟง มสี ถานภาพเทา กันและไมม คี วามสนิทสนมกัน 70 60 50 40 30 20 10 0 กลวิธีที่ 1 กลวธิ ที ่ี 2 กลวิธที ่ี 3 กลวิธที ่ี 4กลวิธที ่ี 1 การไมกลา วตาํ หนอิ อกมาอยางชัดแจงหรือบอกเปนนยักลวธิ ที ี่ 2 การกลา วแสดงออกถึงความราํ คาญใจหรือไมเหน็ ดว ยกลวิธที ่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ีท่ี 4 การกลา วตาํ หนิผูกระทาํ ผิด จากตารางและแผนภมู ิที่ 7 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณทีผ่ ูพดู กับผฟู งมีสถานภาพเทากนั และไมมีความสนทิ สนมกันท่ีนยิ มใชมากทีส่ ุดคือ การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิ คิดเปน 62.37% รองลงมาคือกลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเ หน็ ดว ยและกลวธิ ีการกลา วตําหนผิ กู ระทําผิดคดิ เปน 18.81% และ 12.88% ตามลําดบั สวนกลวิธกี ารไมกลา วตําหนิออกมาอยางชัดแจง หรือบอกเปนนยั เปนกลวธิ ีท่มี ีผนู ยิ มใชน อ ยท่ีสดุ 5.94% 4.2.2 ความถใี่ นการปรากฏของกลวธิ แี สดงวจั นกรรมการตาํ หนิในสถานการณทผ่ี พู ดู มีสถานภาพตํ่ากวา กบั ผฟู ง จากการวิเคราะหพบวาจํานวนการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณที่ผูพดู มีสถานภาพตา่ํ กวากบั ผูฟงนนั้ พบการปรากฏของกลวธิ ีการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนทิ ง้ั หมด 185คร้ัง เปน กลวิธีการไมกลาวตาํ หนิออกมาอยา งชัดแจง หรอื บอกเปน นยั นอ ยทส่ี ดุ 3 ครง้ั กลวธิ ีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 38 ครง้ั กลวิธีการกลา วตาํ หนิผกู ระทาํ ผดิ 35 คร้งั

56และกลวิธกี ารกลา วหาผูกระทําผดิ มากท่ีสดุ 109 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 9 แผนภมู ิท่ี 9ดงั ตอไปนี้ตารางท่ี 9 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ที่ผูพดู มีสถานภาพต่ํากวา กับผฟู งกลวิธีการแสดงวจั นกรรมการตําหนิในสถานการณท่ีผพู ูดมี ความถี่ในการปรากฏสถานภาพต่ํากวา กบั ผูฟง จาํ นวนครั้งที่ จาํ นวนเปอรเ ซนตท ่ีกลวิธที ี่ 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจงหรือบอก ปรากฏ ปรากฏเปน นยั 3 1.63กลวธิ ีท่ี 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็น 38 20.55ดว ยกลวิธที ี่ 3 การกลา วหาผูก ระทําผดิ 109 58.91กลวธิ ที ่ี 4 การกลาวตาํ หนิผกู ระทาํ ผิด 35 18.91รวม 185 100

57แผนภมู ิที่ 9 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ทผี่ พู ูดมีสถานภาพต่ํากวากับผฟู ง 60 50 40 30 20 10 0 กลวธิ ีท่ี 1 กลวิธีที่ 2 กลวิธีท่ี 3 กลวธิ ีที่ 4กลวิธที ี่ 1 การไมกลา วตําหนิออกมาอยา งชดั แจงหรือบอกเปน นัยกลวธิ ที ี่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเ ห็นดวยกลวธิ ีท่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ีท่ี 4 การกลาวตาํ หนิผกู ระทําผิด จากตารางและแผนภูมทิ ี่ 9 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตําหนิในสถานการณทีผ่ พู ดู มสี ถานภาพต่ํากวากบั ผฟู งท่นี ิยมใชมากที่สดุ คอื การกลาวหาผกู ระทาํ ผดิคดิ เปน 58.91% รองลงมาคือกลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวยคิดเปน20.55% กลวิธีการกลา วตําหนผิ ูกระทาํ ผดิ 18.91% และกลวธิ ีไมก ลาวตาํ หนอิ อกมาอยางชัดแจง หรือบอกเปนนัยมีจํานวนการปรากฏ 1.63% ตามลําดับ 4.2.2.1 ความถ่ใี นการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณท ผ่ี ูพ ูดมีสถานภาพต่ํากวา ผูฟ ง และมคี วามสนทิ สนมกนั จากการวิเคราะหผูวิจัยพบรายละเอียดการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณทผี่ พู ูดมสี ถานภาพตํ่ากวาผฟู ง และมีความสนิทสนมกนั รวมท้ังหมด 101 คร้งั เปนกลวิธีการไมกลา วตําหนอิ อกมาอยางชดั แจง หรือบอกเปน นัยนอ ยทส่ี ุด 2 ครง้ั กลวธิ ีการกลา วตําหนิผูกระทําผดิ19 ครั้ง กลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 23 ครัง้ และกลวธิ กี ารกลา วหาผกู ระทาํ ผิดมากทีส่ ุด 57 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 10 แผนภมู ิที1่ 0 ดงั ตอไปนี้

58ตารางท่ี 10 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ทผ่ี ูพูดมีสถานภาพตาํ่ กวาผฟู ง และมคี วามสนทิ สนมกันกลวธิ ีการแสดงวัจนกรรมการตําหนใิ นสถานการณท ่ผี ูพูดมี ความถี่ในการปรากฏสถานภาพตา่ํ กวาผฟู งและมีความสนิทสนมกัน จํานวนครงั้ ท่ี จาํ นวนเปอรเ ซนตกลวธิ ีท่ี 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง ปรากฏ ที่ปรากฏหรอื บอกเปน นยั 2 1.99กลวธิ ีท่ี 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็น 23 22.77ดว ยกลวิธีที่ 3 การกลา วหาผูก ระทําผิด 57 56.43กลวิธีที่ 4 การกลาวตําหนผิ ูกระทาํ ผิด 19 18.81รวม 101 100

59แผนภมู ทิ ่ี 10 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ท่ีผูพูดมสี ถานภาพตาํ่ กวา ผฟู งและมีความสนทิ สนมกัน 60 50 40 30 20 10 0 กลวธิ ที ่ี 1 กลวธิ ที ่ี 2 กลวิธีที่ 3 กลวิธีท่ี 4กลวธิ ีท่ี 1 การไมก ลาวตาํ หนอิ อกมาอยางชัดแจง หรือบอกเปนนยักลวธิ ที ี่ 2 การกลา วแสดงออกถึงความรําคาญใจหรอื ไมเห็นดว ยกลวิธีที่ 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวิธีท่ี 4 การกลาวตาํ หนผิ กู ระทาํ ผดิ จากตารางและแผนภูมิท่ี 10 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิในสถานการณท่ีผพู ดู มสี ถานภาพตํา่ กวาผฟู ง และมคี วามสนิทสนมกนั ที่นิยมใชมากที่สุด คอื การกลาวหาผกู ระทําผดิ คิดเปน 56.43% รองลงมาคือกลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเหน็ ดว ยคดิ เปน 22.77% และกลวธิ กี ารกลาวตาํ หนิ คิดเปน 18.81%ตามลาํ สว นกลวิธกี ารไมกลา วตาํ หนิออกมาอยางชดั แจง หรอื บอกเปน นยั เปน กลวธิ ที ม่ี ีผนู ิยมใชน อ ยที่สุด 1.99% 4.2.2.2 ความถี่ในการปรากฏของกลวิธแี สดงวจั นกรรมการตําหนใิ นสถานการณที่ผูพูดมีสถานภาพตา่ํ กวาผูฟ งและไมม คี วามสนิทสนมกัน จากการวิเคราะหผูวิจัยพบรายละเอียดการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณทีผ่ ูพูดมสี ถานภาพต่าํ กวาผูฟงและไมม คี วามสนิทสนมกนั รวมท้ังหมด 85 คร้งั เปน กลวธิ ีการไมก ลาวตําหนิออกมาอยางชดั แจง หรือบอกเปนนัยนอ ยท่ีสดุ 2 ครงั้ กลวิธีการกลา วแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 15 ครั้ง กลวิธกี ารกลาวตําหนิผูกระทาํ ผดิ 16 คร้ัง และกลวธิ กี ารกลาวหาผูก ระทาํ ผิดมากทีส่ ดุ 52 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 11 แผนภมู ิท่ี 11ดังตอ ไปนี้

60ตารางท่ี 11 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ทผ่ี พู ดู มีสถานภาพต่ํากวาผูฟงและไมม ีความสนิทสนมกนักลวธิ ีการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณท่ผี พู ูดมี ความถี่ในการปรากฏสถานภาพตํา่ กวา ผูฟง และไมม คี วามสนิทสนมกัน จาํ นวนคร้ังท่ี จาํ นวนเปอรเ ซนตกลวธิ ที ่ี 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง ปรากฏ ที่ปรากฏหรอื บอกเปน นยั 2 2.36กลวธิ ีที่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 15 17.64กลวิธีท่ี 3 การกลา วหาผูกระทาํ ผดิ 52 61.18กลวธิ ที ่ี 4 การกลาวตําหนิผกู ระทาํ ผดิ 16 18.82รวม 85 100

61แผนภมู ิที่ 11 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ท่ผี พู ดู มสี ถานภาพตา่ํ กวา ผูฟง และไมมคี วามสนิทสนมกัน 70 60 50 40 30 20 10 0 กลวิธที ่ี 1 กลวิธที ่ี 2 กลวธิ ีที่ 3 กลวธิ ีท่ี 4กลวิธีท่ี 1 การไมก ลาวตําหนอิ อกมาอยา งชัดแจงหรอื บอกเปนนยักลวธิ ที ี่ 2 การกลา วแสดงออกถงึ ความราํ คาญใจหรอื ไมเ หน็ ดวยกลวิธีที่ 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ที ่ี 4 การกลา วตําหนิผกู ระทาํ ผิด จากตารางและแผนภูมิที่ 11 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิในสถานการณท ่ผี พู ูดมีสถานภาพตาํ่ กวา ผฟู งและมีความสนทิ สนมกันที่นยิ มใชมากที่สดุ คือ การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิ คดิ เปน 61.18% รองลงมาคือกลวธิ ีกลา วตําหนิผูกระทาํ ผิดและกลวธิ ีการกลา วแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวยคดิ เปน 17.64% และ 18.82% ตามลาํ ดบั สวนกลวิธีการไมกลา วตําหนิออกมาอยา งชัดแจง หรอื บอกเปน นยั เปน กลวธิ ที ่ีมผี ูน ยิ มใชน อ ยท่ีสดุ 2.36% 4.2.3 ความถใ่ี นการปรากฏของกลวิธแี สดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณทผี่ พู ูดมีสถานภาพสูงกวาผูฟง จากการวิเคราะหพบวาจํานวนการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณที่ผพู ดู มีสถานภาพสงู กวาผฟู งนน้ั พบการปรากฏของกลวิธกี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนทิ ง้ั หมด 240ครั้ง เปน กลวิธกี ารไมกลาวตาํ หนิออกมาอยา งชัดแจง หรือบอกเปนนยั นอยทส่ี ุด 3 ครัง้ กลวธิ กี ารกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 59 ครั้ง กลวธิ กี ารกลา วหาผูกระทาํ ผดิ 83 คร้งั

62และกลวิธกี ารกลาวตําหนิผูก ระทาํ ผิดมากทสี่ ุด 95 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 12 แผนภูมิที่ 12 ดังตอไปน้ีตารางท่ี 12 แสดงจํานวนการปรากฏของกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณ ทีผ่ ูพดู มสี ถานภาพสูงกวา ผฟู ง กลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ความถี่ในการปรากฏ ทผี่ พู ูดมีสถานภาพสูงกวาผฟู ง จํานวนครั้งที่ จาํ นวนเปอรเ ซนตท ่ีกลวธิ ีท่ี 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง ปรากฏ ปรากฏหรอื บอกเปน นยั 3 1.26กลวธิ ที ่ี 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจ 59 24.58หรอื ไมเ หน็ ดว ยกลวธิ ที ี่ 3 การกลา วหาผูกระทําผิด 83 34.58กลวธิ ที ี่ 4 การกลา วตาํ หนผิ ูก ระทําผดิ 95 39.58รวม 240 100

63แผนภมู ทิ ี่ 12 แสดงจํานวนการปรากฏของกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณ ทผ่ี พู ดู มีสถานภาพสงู กวาผฟู ง 40 35 30 25 20 15 10 5 0 กลวธิ ีท่ี 1 กลวธิ ที ี่ 2 กลวธิ ที ี่ 3 กลวิธีที่ 4กลวธิ ีที่ 1 การไมกลาวตําหนอิ อกมาอยางชัดแจงหรอื บอกเปนนัยกลวธิ ที ี่ 2 การกลา วแสดงออกถึงความรําคาญใจหรอื ไมเหน็ ดว ยกลวิธีท่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ีที่ 4 การกลาวตําหนผิ กู ระทาํ ผดิ จากตารางและแผนภูมทิ ี่ 12 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิในสถานการณทผี่ พู ูดมสี ถานภาพสงู กวา ผูฟง ทีน่ ยิ มใชม ากท่สี ดุ คอื การกลา วตําหนผิ ูกระทาํผดิ คิดเปน 39.58% รองลงมาคอื กลวธิ กี ารกลาวหาผกู ระทําผิด 34.58%และกลวธิ กี ารกลา วแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวยคิดเปน 24.58% สวนกลวิธีการกลา วตําหนิผูกระทาํ ผิดและกลวิธไี มกลาวตําหนอิ อกมาอยา งชัดแจง หรอื บอกเปน นัยมจี ํานวนการปรากฏนอยทสี่ ดุ คือ 1.26% 4.2.3.1 ความถ่ใี นการปรากฏของกลวิธแี สดงวัจนกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณท ่ีผพู ูดมีสถานภาพสงู กวา ผฟู ง และมคี วามสนิทสนมกนั จากการวิเคราะหผูวิจัยพบรายละเอียดการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณท ีผ่ ูพดู มีสถานภาพสงู กวา ผูฟ งและมีความสนิทสนมกันรวมทง้ั หมด 117 คร้งั เปน กลวธิ ีการไมกลาวตําหนอิ อกมาอยางชัดแจง หรอื บอกเปนนัยนอ ยท่ีสุด 1 ครง้ั กลวธิ ีการกลาวแสดงออกถึงความราํ คาญใจหรอื ไมเ หน็ ดว ย 30 ครง้ั กลวิธกี ารกลา วหาผูก ระทําผดิ 37 ครั้ง สวนกลวิธกี ารกลาวตาํ หนิผูกระผิดไดร ับความนิยมมากทสี่ ดุ 49 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 13แผนภูมทิ ี1่ 3 ดงั ตอ ไปน้ี

64ตารางท่ี 13 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ที่ผูพูดมสี ถานภาพสูงกวา ผฟู ง และมคี วามสนทิ สนมกันกลวธิ ีการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิในสถานการณที่ผูพ ดู มี ความถี่ในการปรากฏสถานภาพสูงกวาผูฟงและมีความสนิทสนมกัน จํานวนครงั้ ที่ จาํ นวนเปอรเ ซนตกลวธิ ีที่ 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง ปรากฏ ที่ปรากฏหรอื บอกเปน นัย 1 0.85กลวธิ ีท่ี 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็น 30 25.64ดว ยกลวธิ ีท่ี 3 การกลาวหาผกู ระทาํ ผิด 37 31.62กลวิธีท่ี 4 การกลา วตาํ หนผิ ูกระทําผิด 49 41.89รวม 117 100

65แผนภูมิที่ 13 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ที่ผพู ูดมีสถานภาพสงู กวา ผฟู ง และมีความสนิทสนมกัน 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0 กลวิธที ี่ 1 กลวธิ ที ี่ 2 กลวธิ ีที่ 3 กลวิธที ่ี 4กลวธิ ที ี่ 1 การไมกลา วตาํ หนอิ อกมาอยางชัดแจงหรอื บอกเปน นัยกลวธิ ีที่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความราํ คาญใจหรือไมเห็นดว ยกลวธิ ีที่ 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ที ี่ 4 การกลา วตําหนิผกู ระทาํ ผิด จากตารางและแผนภูมิที่ 10 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนิในสถานการณท่ีผูพดู มีสถานภาพสูงกวาผฟู ง และมคี วามสนิทสนมกนั ท่ีนยิ มใชมากทส่ี ดุ คือ การกลาวตําหนิผูก ระทาํ ผิด คดิ เปน 41.89% รองลงมาคอื กลวิธีการกลา วหาผูกระทําผิด คิดเปน 31.62%กลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวยคิดเปน 25.64% และกลวิธกี ารไมก ลาวตําหนอิ อกมาอยางชัดแจง หรือบอกเปนนยั เปนกลวิธที ม่ี ีผนู ิยมใชนอยทส่ี ดุ 0.85% 4.2.3.2 ความถใ่ี นการปรากฏของกลวิธีแสดงวจั นกรรมการตําหนใิ นสถานการณท ผี่ พู ูดมีสถานภาพสูงกวาผูฟงและไมมีความสนทิ สนมกนั จากการวิเคราะหผูวิจัยพบรายละเอียดการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณท่ีผพู ดู มีสถานภาพสูงกวาผฟู ง และไมม ีความสนิทสนมกันรวมทัง้ หมด 123 ครง้ั เปน กลวธิ ีการไมกลา วตําหนิออกมาอยางชดั แจง หรือบอกเปน นยั นอ ยทสี่ ุด 2 คร้ัง กลวธิ กี ารกลาวแสดงออกถงึความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 29 ครั้ง สวนกลวธิ ีการกลา วหาผกู ระทําผิดและกลวธิ กี ารกลาวตาํ หนิมีจํานวนการปรากฏเทากัน คือ 46 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 14แผนภมู ิท่ี 14 ดงั ตอไปนี้

66ตารางท่ี 14 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ที่ผูพ ดู มสี ถานภาพสงู กวาผฟู ง และไมม ีความสนิทสนมกนักลวธิ ีการแสดงวัจนกรรมการตําหนใิ นสถานการณท่ผี ูพูดมี ความถี่ในการปรากฏสถานภาพสูงกวาผูฟงและไมมีความสนิทสนมกัน จาํ นวนคร้ังท่ี จาํ นวนเปอรเ ซนตกลวธิ ที ี่ 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง ปรากฏ ที่ปรากฏหรอื บอกเปน นยั 2 1.62กลวธิ ีที่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย 29 23.58กลวิธีท่ี 3 การกลาวหาผกู ระทําผิด 46 37.4กลวธิ ที ่ี 4 การกลา วตําหนผิ กู ระทาํ ผดิ 46 37.4รวม 123 100

67แผนภูมิท่ี 14 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ ที่ผูพดู มสี ถานภาพสูงกวาผฟู งและไมม ีความสนิทสนมกนั 40 35 30 25 20 15 10 5 0 กลวิธที ่ี 1 กลวิธที ่ี 2 กลวิธีที่ 3 กลวธิ ีท่ี 4กลวธิ ีที่ 1 การไมก ลา วตาํ หนิออกมาอยา งชดั แจงหรอื บอกเปนนัยกลวธิ ีที่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเ ห็นดวยกลวิธที ี่ 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวิธีท่ี 4 การกลาวตาํ หนผิ กู ระทาํ ผิด จากตารางและแผนภมู ิที่ 11 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตําหนิในสถานการณท ผี่ พู ดู มสี ถานภาพสูงกวา ผฟู ง และไมมีความสนิทสนมกันทีน่ ยิ มใช คือ การกลาวหาผูก ระทาํ ผิดและการกลาวตําหนผิ กู ระทาํ ผดิ คิดเปน 37.4% เทา ๆ กัน รองลงมาคือกลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย คิดเปน 23.58% สวนกลวธิ กี ารไมก ลา วตําหนิออกมาอยา งชัดแจง หรือบอกเปน นยั เปนกลวิธีท่ีมผี นู ิยมใชน อยท่สี ดุ 1.62%

68แผนภมู ทิ ี่ 15 แสดงการเปรียบเทียบจํานวนการปรากฏของวัจนกรรมการตําหนิในสถานการณ ทผ่ี ูพูดและผฟู ง มีสถานภาพแตกตางกัน605040 กลวิธที ่ี1 กลวิธีที่230 กลวธิ ีท่ี3 กลวธิ ีที่420100 ต่าํ กวา สงู กวา เทากนักลวิธที ี่ 1 การไมก ลาวตาํ หนอิ อกมาอยางชดั แจง หรอื บอกเปน นยักลวธิ ีท่ี 2 การกลา วแสดงออกถึงความราํ คาญใจหรือไมเห็นดวยกลวธิ ที ี่ 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวิธีที่ 4 การกลาวตําหนิผูกระทาํ ผดิจากแผนภูมทิ ี่ 15 จะเหน็ ไดวาการเลอื กใชก ลวธิ กี ารไมกลาวตําหนอิ อกมาอยา งชดั แจง หรือบอกเปนนัยเปน กลวธิ ีการท่ถี กู เลือกใชน อ ยท่สี ุดเปน ลําดบั ท่ี 4 ในทุกกรณี สวนกลวิธีที่2 กลวธิ ีการกลา วแสดงออกถึงความราํ คาญใจหรอื ไมเหน็ ดว ย ถูกเลอื กใชเ ปน ลําดบั ท่ี 3 ในกรณีท่ีผพู ูดมสี ถานภาพเทากันและสงู กวา ผฟู ง และพบวา มขี อ แตกตา งกนั ในการเลือกใชก ลวิธีที่ 3 และ 4 ในสถานการณท่ีผูพ ดูมสี ถานภาพเทากนั กบั ผูฟงและสถานการณท ี่ผูพูดมีสถานภาพตํ่ากวาผูฟ ง นั้น กลวธิ ที ่ี 3 กลวิธีการกลาวหาผกู ระทําผิดจะเปน กลวธิ ีที่นิยมใชมากทส่ี ุด สว นในสถานการณทผ่ี พู ูดมีสถานภาพสงู กวาผฟู งนน้ั กลวธิ ที ่ี 3 กลบั ถกู เลือกใชเ ปน ลาํ ดับที่ 2 สวนกลวธิ กี ารกลา วตําหนผิ กู ระทาํ ผดิ ไดร ับความนยิ มเปนลาํ ดบั แรกในสถานการณทผี่ พู ูดมสี ถานภาพสงู กวา ผฟู ง และไดรบั ความนยิ มเปน ลาํ ดับที่ 3 ในสถานการณทีผ่ ูพูดและผฟู ง มสี ถานภาพเทา กนั และผพู ูดมสี ถานภาพตา่ํ กวาผูฟง

69แผนภูมิที่ 16 แสดงการเปรียบเทียบการใชกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิตามความสนิทสนม คุนเคยระหวางคูส นทนาในสถานการณทีผ่ พู ูดมสี ถานภาพเทา กนั กับผูฟ ง70 กลวิธที ่ี160 กลวิธที ่ี250 กลวธิ ีท่ี340 กลวิธีท่ี43020 ไมส นทิ สนม10 0 สนิทสนมกลวธิ ีท่ี 1 การไมกลา วตาํ หนิออกมาอยางชดั แจง หรอื บอกเปนนัยกลวิธีที่ 2 การกลา วแสดงออกถงึ ความรําคาญใจหรอื ไมเ หน็ ดว ยกลวธิ ที ี่ 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ีที่ 4 การกลาวตําหนผิ กู ระทําผิด จากแผนภมู ิที่ 16 ผวู จิ ยั พบขอ สงั เกต คือ การเลอื กใชก ลวธิ ีที่ 3 กลวิธกี ารกลา วหาผกู ระทาํ ผดิเปน กลวิธีทน่ี ยิ มใชมากท่สี ดุ ในท้งั 2 กรณีแตใ นสถานการณท ผี่ พู ดู และผูฟงไมม ีความสนทิ สนมกนั จะไดรบั ความนยิ มมากกวาในกรณีแรก และกลวธิ ที ่ี 4 กลวิธกี ารกลาวตําหนิผกู ระทําผิดในกรณีท่ผี ูพูดและผฟู ง ไมม คี วามสนิทสนมกันจะไดร บั ความนยิ มนอยกวากรณีทมี่ คี วามสนทิ สนมกัน และในกลวธิ ีท่ี 1แทบจะไมไดร ับความนยิ มเลยในกรณที ี่ผูพูดและผฟู งมคี วามสนิทสนมกนั ซงึ่ อาจเปน ไปไดวา ในกรณีทผี่ ูพ ูดและผฟู ง มีสถานภาพเทา กนั และมคี วามสนทิ สนมกนั น้ัน ผพู ูดอาจไมจําเปน ตองคํานึงถึงความสุภาพหรือหนาของผูฟงมากนัก

70แผนภมู ิที่ 17 เแสดงการเปรียบเทียบการใชกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิ ตามความสนิทสนมคุนเคยระหวางคูสนทนาในสถานการณท ่ีผพู ดู มีสถานภาพตํ่ากวาผฟู ง70 กลวธิ ที ี่160 กลวิธีที่250 กลวิธีที่340 กลวิธที ่ี43020 ไมสนิทสนม10 0 สนิทสนมกลวิธที ี่ 1 การไมกลาวตําหนอิ อกมาอยางชดั แจงหรือบอกเปนนยักลวิธีที่ 2 การกลา วแสดงออกถึงความราํ คาญใจหรอื ไมเห็นดวยกลวิธีท่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวิธที ่ี 4 การกลา วตาํ หนผิ ูกระทาํ ผิด จากแผนภมู ทิ ี่ 17 น้นั จะเหน็ ไดวา กลวธิ ที ่ี 3 กลวิธกี ารกลาวหาผกู ระทาํ ผดิ เปน กลวิธที น่ี ิยมใชมากทีส่ ดุ และผูว ิจัยพบขอสังเกตในกรณีน้ีวา ในกลวิธีท่ี 2 กลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความไมพอใจหรือไมเหน็ ดวยนน้ั กลบั ไดร บั ความนิยมมากกวา เมื่ออยูในสถานการณท ่ีผูพ ูดมีความสนิทสนมกันท้งั ๆทใ่ี นกลวิธีที่ 2 นี้เปน กลวธิ ที ่มี คี วามสุภาพมากกวา กลวิธีที่ 4 อาจเปนเพราะในกรณนี ้ผี ูพดู ถงึ แมจ ะมีความสนิทสนมกับผูฟงแตกย็ ังคํานึงวา ตนน้ันมีอาํ นาจหรอื สถานภาพตาํ่ กวา ผฟู งจะมีความเกรงใจผูฟงโดยไมกลาท่ีจะตาํ หนิหรือกลา วหา จงึ เลอื กกลา วเพียงแคแสดงออกถงึ ความไมพ อใจหรอื ไมเ หน็ ดว ยเทา น้นั

71แผนภมู ทิ ่ี 18 แสดงการเปรียบเทียบการใชกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิ ตามความสนทิ สนมคนุ เคยระหวา งคูส นทนาในสถานการณที่ผูพดู มีสถานภาพ สงู กวา ผูฟง45 กลวิธที ่ี140 กลวธิ ีที่235 กลวิธที ่ี330 กลวธิ ที ี่42520 ไมส นทิ สนม1510 5 0 สนทิ สนมกลวิธที ่ี 1 การไมก ลาวตําหนอิ อกมาอยา งชดั แจง หรือบอกเปนนัยกลวิธที ่ี 2 การกลา วแสดงออกถงึ ความรําคาญใจหรอื ไมเ ห็นดวยกลวธิ ที ่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ีที่ 4 การกลาวตาํ หนิผกู ระทาํ ผิด จากแผนภมู ิท่ี 18 พบวากลวิธีที่ 4 กลวิธกี ารกลา วตําหนิผูก ระทําผิดเปน กลวิธที ไี่ ดรบั ความนิยมมากทีส่ ุดในสถานการณที่ผพู ดู และผูฟ งมีความสนทิ สนมกัน แตจาํ นวนการปรากฏในสถานการณทผ่ี ูพดู และผูฟ ง ไมมคี วามสนทิ สนมกันนัน้ มจี ํานวนการปรากฏทเ่ี ทา กนั ระหวา ง กลวธิ ีท่ี 3และกลวิธที ่ี 4สวนในกลวธิ ีที่ 1ไดรับความนิยมในจาํ นวนที่ใกลเคียงกนั4.3 การปรากฏของกลวิธแี สดงวัจนกรรมการตาํ หนใิ นกลุมตัวอยางผูพดู เพศชายและเพศหญงิ ผูวิจัยไดวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางในการปรากฏของวัจนกรรมการตําหนิระหวางเพศหญงิ และเพศชาย มีรายละเอยี ดดงั น้ี 4.3.1 ความถใี่ นการปรากฏของกลวิธแี สดงวจั นกรรมการตําหนใิ นกลุมตัวอยางผพู ดู เพศชายจากการวิเคราะหผูวิจัยพบรายละเอียดการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในกลุมตัวอยางผูพ ดู เพศชายรวมท้งั หมด 302 คร้งั เปนกลวิธีการไมกลาวตาํ หนิออกมาอยา งชัดแจง หรอืบอกเปนนัยนอ ยทส่ี ุด 5 ครัง้ กลวิธกี ารกลาวแสดงออกถงึ ความรําคาญใจหรอื ไมเหน็ ดวย 56ครั้ง กลวิธี

72การกลา วหาผกู ระทําผดิ 141 ครง้ั และกลวธิ ีการกลา วตําหนิ 100 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางท่ี 16 แผนภูมิที่ 18 ดงั ตอไปนี้ตารางท่ี 15 แสดงจํานวนการปรากฏของกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิในกลุมตัวอยาง ผพู ูดเพศชาย กลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นกลมุ ความถี่ในการปรากฏ ตวั อยางผูพดู เพศชาย จาํ นวนคร้งั ท่ี จาํ นวนเปอรเ ซนตท ่ีกลวิธีที่ 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจงหรือ ปรากฏ ปรากฏบอกเปน นยั 5 1.66กลวิธที ี่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไม 56 18.54เหน็ ดว ยกลวธิ ที ี่ 3 การกลา วหาผูก ระทําผิด 141 46.68กลวิธีที่ 4 การกลา วตําหนิผูกระทําผิด 100 33.11รวม 302 100

73แผนภูมิที1่ 9 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นกลมุ ตวั อยา ง ผพู ูดเพศชาย 50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0 กลวิธที ี่ 1 กลวธิ ที ่ี 2 กลวิธที ี่ 3 กลวธิ ที ่ี 4กลวธิ ีที่ 1 การไมก ลา วตําหนอิ อกมาอยา งชัดแจงหรือบอกเปนนัยกลวธิ ีท่ี 2 การกลาวแสดงออกถงึ ความรําคาญใจหรือไมเ หน็ ดวยกลวิธีที่ 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ที ี่ 4 การกลา วตําหนิผูกระทําผิด จากตารางท่ี 15และแผนภมู ิที่ 19 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตําหนิในกลุมตวั อยา งผพู ูดเพศชาย คอื การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิ 46.68% รองลงมาเปนกลวิธีการกลา วตําหนผิ กู ระทาํ ผิด 33.11% สวนกลวิธีการกลา วแสดงออกถงึ ความราํ คาญใจหรือไมเ ห็นดวย เปนลําดับที่ 3 คดิ เปน 18.54% และกลวิธกี ารไมกลาวตาํ หนอิ อกมาอยา งชดั แจง หรอื บอกเปนนัยเปน กลวิธีทีม่ ีผูนยิ มใชนอ ยทีส่ ุด 1.66% 4.3.2ความถใ่ี นการปรากฏของกลวิธแี สดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นกลมุ ตัวอยางผูพูดเพศหญงิจากการวิเคราะหผูวิจัยพบรายละเอียดการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในกลมุ ตัวอยางผูพูดเพศหญงิ รวมท้งั หมด 336 คร้งั เปนกลวธิ กี ารไมกลา วตาํ หนอิ อกมาอยางชดั แจง หรือบอกเปน นยั นอ ยท่ีสดุ 11 ครั้ง กลวิธกี ารกลา วแสดงออกถงึ ความราํ คาญใจหรือไมเ ห็นดวย 84คร้งั กลวธิ ีการกลาวหาผกู ระทาํ ผดิ 164 คร้ัง และกลวิธีการกลา วตาํ หนิ 77 ครั้ง ดังปรากฏในรายละเอียดในตารางที่ 15 แผนภูมทิ ี่ 17 ดงั ตอ ไปนี้

74ตารางท่ี 16 แสดงจํานวนการปรากฏของกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิในกลุมตัวอยาง ผพู ูดเพศหญิง กลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นกลมุ ความถี่ในการปรากฏ ตัวอยา งผพู ูดเพศหญงิ จาํ นวนครง้ั ที่ จาํ นวนเปอรเ ซนตท ่ีกลวิธที ี่ 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง ปรากฏ ปรากฏหรอื บอกเปน นยั 11 3.28กลวิธีที่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจ 84 25หรอื ไมเ หน็ ดว ยกลวธิ ที ่ี 3 การกลา วหาผูกระทาํ ผิด 164 48.8กลวธิ ที ่ี 4 การกลาวตําหนผิ กู ระทาํ ผดิ 77 22.92รวม 336 100

75แผนภูมทิ ี่ 20 แสดงจาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นกลมุ ตวั อยา ง ผพู ดู เพศหญิง 50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0 กลวิธที ่ี 1 กลวธิ ที ่ี 2 กลวธิ ที ่ี 3 กลวธิ ที ่ี 4กลวธิ ีท่ี 1 การไมกลา วตําหนอิ อกมาอยา งชัดแจงหรือบอกเปน นัยกลวธิ ที ี่ 2 การกลา วแสดงออกถึงความราํ คาญใจหรือไมเห็นดวยกลวธิ ีท่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ที ่ี 4 การกลา วตําหนผิ กู ระทําผิด จากตารางท่ี 16และแผนภูมทิ ่ี 20 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตําหนใิ นกลุม ตวั อยา งผพู ูดเพศหญงิ คือ การกลา วหาผูก ระทําผิด 48.8% รองลงมาเปนกลวิธีการกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย คิดเปน 25% กลวิธีการกลาวตําหนผิ ูก ระทําผิดเปนลาํ ดบั ท3่ี คดิ เปน 22.92% สว นกลวิธกี ารไมก ลาวตําหนอิ อกมาอยางชดั แจง หรอื บอกเปน นัยเปนกลวธิ ีที่มีผนู ิยมใชน อ ยท่ีสุด 3.28%

76แผนภูมิท่ี 21 แสดงการเปรียบเทียบจํานวนการปรากฏของวัจนกรรมการตําหนิในกลุมตัวอยาง ผพู ูดเพศชายและเพศหญงิ 50 เพศหญิง 40 เพศชาย 30 20 10 0 กลวิธที ่ี 1 กลวิธีท่ี 2 กลวิธีท่ี 3 กลวธิ ที ่ี 4กลวธิ ที ี่ 1 การไมก ลา วตําหนิออกมาอยางชัดแจงหรือบอกเปน นัยกลวธิ ีท่ี 2 การกลาวแสดงออกถงึ ความราํ คาญใจหรอื ไมเห็นดวยกลวิธีท่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ที ่ี 4 การกลา วตาํ หนิผูกระทําผิด จากแผนภมู ทิ ี่ 21 กลวธิ ที ี่ 3 กลวธิ กี ารกลาวหาผกู ระทาํ ผดิ เปนกลวิธีทนี่ ิยมใชมากทส่ี ดุ เปนลาํ ดบั ท่ี 1 ทง้ั 2 กลมุ แตในกลวธิ ที ี่ 2 กลวิธกี ารกลาวแสดงออกถงึ ความรําคาญใจหรอื ไมเห็นดวย นั้นเพศหญงิ จะมีแนวโนมในการเลอื กใชกลวธิ ีท่ี 2 มากกวาเพศชาย สว นในกลวธิ ีท่ี 4 กลวธิ กี ารกลาวตําหนผิ ูกระทําผิด เพศชายมแี นวโนมในการเลือกใชก ลวิธที ี่ 4 สูงกวาเพศหญงิ และในกลวิธีท่ี 1 กลวิธีการไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง หรือบอกเปนนัย ไดรับความนิยมเปนลําดับสุดทายและมีจํานวนการปรากฏที่ใกลเคียงกันทั้ง 2 กลุม ซึ่งเปนไปตามแนวคิดของ Labov ทีก่ ลา ววา เพศหญิงมักจะใชภาษาที่คํานึงถึงความสุภาพมากกวาเพศชาย

774.4 การปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิในกลุมตวั อยา งผพู ูดเพศชายและเพศหญงิ ในสถานการณทผ่ี ูพ ูดและผฟู ง มีสถานภาพแตกตางกัน 4.4.1 แสดงการเปรียบเทยี บความถใี่ นการปรากฏของกลวิธแี สดงวจั นกรรมการตําหนิในสถานการณที่ผูพูดกบั ผฟู ง มสี ถานภาพเทา กันในกลุม ตัวอยางเพศชายและเพศหญิงตารางท่1ี 7 การเปรียบเทียบความถี่ในการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิ ในสถานการณท ่ผี ูพูดกบั ผฟู ง มีสถานภาพเทา กันในกลุมตัวอยา งเพศชายและเพศหญงิ ความถี่ในการปรากฏกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ เพศชาย เพศหญงิทีผ่ ูพดู กับผูฟง มสี ถานภาพเทากัน จาํ นวน เปอรเ ซน็ ต จาํ นวน เปอรเ ซน็ ตกลวธิ ที ี่ 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง ครง้ั ครั้งหรอื บอกเปน นยั 2 1.94 6 5.55กลวธิ ีที่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจ 18 16.51 26 24.08หรอื ไมเ หน็ ดว ยกลวิธีท่ี 3 การกลา วหาผูกระทําผิด 53 52.43 59 54.63กลวธิ ีที่ 4 การกลา วตาํ หนผิ กู ระทําผิด 30 29.12 17 15.74รวม 103 100 108 100

78แผนภูมิท่2ี 2 แสดงการเปรียบเทียบจํานวนการปรากฏของกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิ ในสถานการณท ี่ผพู ดู กบั ผูฟ ง มีสถานภาพเทากันในกลมุ ตวั อยา งเพศชายและเพศหญิง 60 เพศชาย 50 เพศหญิง 40 30 20 10 0 กลวธิ ีท่ี 1 กลวธิ ีท่ี 2 กลวธิ ีที่ 3 กลวธิ ที ี่ 4กลวธิ ีที่ 1 การไมก ลา วตําหนิออกมาอยางชดั แจง หรอื บอกเปนนยักลวธิ ีที่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเ หน็ ดวยกลวธิ ที ่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ที ่ี 4 การกลา วตาํ หนิผูกระทาํ ผิด จากตารางที่ 17และแผนภูมทิ ี่ 22 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณท ่ผี พู ดู กับผูฟงมสี ถานภาพเทากันในการเปรียบเทยี บกลมุ ตัวอยา งเพศชายและเพศหญงิ นน้ั พบวาในกลวธิ ีท่ีแสดงถงึ ความสภุ าพดังเชน ในกลวธิ ีที่ 1และกลวิธีที่ 2 นน้ั เพศหญงิ มีความนิยมใชก ลวธิ ีท่ี 1 กลวธิ ีที่ 2 และกลวธิ ที ี่ 3 มากกวาเพศชาย และกลวิธีที่สามารถเห็นความแตกตางในการเลือกใชกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตําหนิไดม ากทสี่ ุดกค็ ือกลวธิ ที ี่ 4 ซ่งึ เพศชายนน้ั เลือกใชกลวธิ นี ม้ี ากกวา เพศหญงิ และกลวิธีท่ี 4 นีย้ งั เปนกลวธิ ีท่ีมคี วามรนุ แรงในการกลาวตําหนมิ ากทส่ี ุดดว ย

79 4.4.2 แสดงการเปรยี บเทียบความถใ่ี นการปรากฏของกลวธิ แี สดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณที่ผูพดู มีสถานภาพตาํ่ กวาผฟู งในกลมุ ตัวอยา งเพศชายและเพศหญงิตารางท่1ี 8 แสดงการเปรียบเทียบความถี่ในการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิใน สถานการณที่ผูพ ดู มีสถานภาพตา่ํ กวา ผฟู งในกลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญิง ความถี่ในการปรากฏกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ เพศชาย เพศหญงิท่ผี ูพดู มสี ถานภาพตํ่ากวา ผูฟง จาํ นวน เปอรเ ซน็ ต จาํ นวน เปอรเ ซน็ ตกลวธิ ที ี่ 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง ครง้ั คร้งัหรอื บอกเปน นยั 2 2.36 2 1.98กลวธิ ที ี่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรอื ไมเ หน็ ดว ย 17 20 31 30.69กลวิธที ่ี 3 การกลา วหาผูกระทาํ ผิด 46 54.11 53 52.48กลวิธที ี่ 4 การกลาวตาํ หนิผกู ระทําผิด 20 23.53 15 14.85รวม 85 100 101 100

80แผนภมู ทิ ี่ 23 แสดงการเปรียบเทียบจํานวนการปรากฏของกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิใน สถานการณท่ีผูพ ูดมีสถานภาพต่าํ กวาผฟู ง ในกลุมตัวอยา งเพศชายและเพศหญิง 60 เพศชาย 50 เพศหญิง 40 30 20 10 0 กลวธิ ที ่ี 1 กลวิธที ี่ 2 กลวิธีที่ 3 กลวธิ ีท่ี 4กลวิธีท่ี 1 การไมก ลา วตําหนิออกมาอยา งชัดแจงหรือบอกเปนนัยกลวิธที ่ี 2 การกลาวแสดงออกถึงความราํ คาญใจหรอื ไมเ ห็นดว ยกลวธิ ที ี่ 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวธิ ีท่ี 4 การกลาวตําหนผิ กู ระทาํ ผิด จากตารางที่ 18และแผนภมู ทิ ี่ 23 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฎของกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณท ผี่ พู ดู มสี ถานภาพต่าํ กวาผูฟง ในการเปรียบเทียบกลุม ตัวอยางเพศชายและเพศหญิงนน้ั พบวา ในกลวธิ ีที่ 1 เพศชายและเพศหญิงมีการเลือกใชก ลวิธนี ีใ้ นจาํ นวนที่ใกลเ คียงกันสว นกลวธิ ีที่ 2 นนั้ เหน็ ไดชัดเจนวา เพศหญงิ เลือกใชกลวิธที ี่ 2 น้มี ากกวาเพศชาย สว นกลวธิ ีท่ี 3 น้นัมีความใกลเคียงกัน และที่เห็นไดชัดเจนถึงความแตกตางในการเลือกใชกลวิธีในการแสดงการตําหนิคือกลวิธีที่ 4 ซึง่ เพศชายนัน้ จะเลือกใชก ลวิธีที่ 4 มากกวาเพศหญิง

814.4.3 แสดงการเปรยี บเทียบความถใี่ นการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนใิ นสถานการณทผ่ี ูพดู มสี ถานภาพสูงกวาผฟู ง ในกลมุ ตวั อยา งเพศชายและเพศหญงิตารางท่ี 19 แสดงการเปรียบเทียบความถี่ในการปรากฏของกลวิธีแสดงวัจนกรรมการตําหนิใน สถานการณทีผ่ พู ูดมีสถานภาพสงู กวา ผูฟง ในกลุมตวั อยางเพศชายและเพศหญงิ ความถี่ในการปรากฏกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นสถานการณ เพศชาย เพศหญงิท่ีผูพ ูดมสี ถานภาพสงู กวาผฟู ง จาํ นวน เปอรเ ซน็ ต จาํ นวน เปอรเ ซน็ ตกลวิธีที่ 1 การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง คร้ัง ครงั้หรอื บอกเปน นยั 1 0.88 2 1.59กลวิธที ี่ 2 การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจ 35 30.7 43 34.13หรอื ไมเ หน็ ดว ยกลวิธีที่ 3 การกลาวหาผกู ระทาํ ผดิ 28 24.56 36 28.58กลวธิ ีท่ี 4 การกลา วตําหนิผูกระทําผดิ 50 43.86 45 35.7รวม 114 100 126 100

82แผนภูมทิ ่ี 24 แสดงการเปรียบเทียบจํานวนการปรากฏของกลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิใน สถานการณท ีผ่ พู ูดมสี ถานภาพสงู กวาผูฟ ง ในกลมุ ตวั อยา งเพศชายและเพศหญิง 45 เพศชาย 40 เพศหญิง 35 30 25 20 15 10 5 0 กลวธิ ีท่ี 1 กลวธิ ที ่ี 2 กลวธิ ีท่ี 3 กลวธิ ที ี่ 4กลวิธีท่ี 1 การไมกลาวตําหนอิ อกมาอยางชดั แจงหรือบอกเปนนยักลวิธที ่ี 2 การกลา วแสดงออกถงึ ความรําคาญใจหรอื ไมเ ห็นดวยกลวธิ ีท่ี 3 การกลา วหาผกู ระทาํ ผดิกลวิธีที่ 4 การกลาวตาํ หนิผกู ระทําผิด จากตารางที่ 20 และแผนภมู ทิ ี่ 24 จะเหน็ ไดว า จาํ นวนการปรากฏของกลวธิ กี ารแสดงวัจนกรรมการตําหนใิ นสถานการณท ผี่ พู ูดมีสถานภาพสูงกวา ผฟู งในการเปรยี บเทียบกลุมตวั อยา งเพศชายและเพศหญิงน้นั พบวาในกลวธิ ที ่ี 1 เพศชายและเพศหญิงมกี ารเลอื กใชกลวธิ นี ใี้ นจํานวนทใ่ี กลเ คยี งกัน สวนกลวิธที ี่ 2 นัน้ เหน็ ไดชดั เจนวาเพศหญิงเลือกใชก ลวธิ ีที่ 2 นีม้ ากกวา เพศชาย สวนกลวิธที ี่ 3 นนั้ก็เชนเดยี วกันกลา วคือเพศหญงิ เลอื กใชก ลวธิ ที ี่ 3มากกวาเพศชาย และที่เห็นไดชัดเจนถึงความแตกตางในการเลอื กใชกลวิธใี นการแสดงการตาํ หนคิ ือกลวิธที ่ี 4 ซ่งึ เพศชายนั้นจะเลอื กใชกลวธิ ที ่ี 4 มากกวาเพศหญงิ

83ขอ วจิ ารณ จากผลการวจิ ัยจากตารางและแผนภูมิท่ี 2 แสดงการแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นกลมุ ตวั อยา งนิสิตมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรน น้ั พบวา กลวิธแี สดงวจั นกรรมการตาํ หนิทน่ี ิยมใชมากที่สดุ คอืการกลาวหาผูกระทําผิดรองลงมาคือ กลวิธีการกลาวตําหนิ และกลวิธีการแสดงออกถึงความรําคาญใจหรอื ไมเห็นดวย สว นกลวธิ ีการไมกลาวตําหนอิ อกมาอยา งชดั แจง หรอื บอกเปน นัยเปนลําดับสุดทา ย ในความเหน็ ของผูวจิ ยั นั้นเหตุที่กลุม ตัวอยางเลอื กใชกลวธิ ีที่ 3 และ 4 ในจาํ นวนทม่ี ากกวา ในกลวธิ ที ่ี 1และ 2 นั้นอาจเปน เพราะวา กลวิธีท่ี 1 และ 2 น้ันเปนกลวิธที อ่ี าจทาํ ใหผูฟงไมเขาใจถงึ เจตนาของผูพูดไดอยางชัดเจนถึงแมวาจะเปนกลวิธีที่มีความรุนแรงนอยกวาและมีความสุภาพมากกวาก็ตาม อีกทั้งผูวิจัยยังพบวาถงึ แมว า ผพู ูดจะเลอื กใชกลวธิ ที ่ี 3 และ 4 มากกวากต็ ามแตใ นการเลอื กใชกลวธิ ียอ ยของท้ังในกลวธิ ที ่ี 3 และ 4 จากตารางและแผนภูมทิ ี่ 4 พบวา กลุม ตัวอยา งเลอื กใชก ลวิธยี อ ยท่ี 3.1 กลวิธีการกลาวหาผูกระทําผิดอยางไมตรงไปตรงมามากกวากลวิธียอยที่ 3.2 กลวธิ กี ารกลาวหาผกู ระทาํ ผดิ อยางตรงไปตรงมา และเปนไปในทางเดียวกัน ในการเลือกใชกลวิธี 4 กลุมตวั อยา งเลือกใชกลวธิ ีที่ 4.1กลวิธกี ารกลาวตาํ หนผิ ูกระทาํ ผิดแบบที่มกี ารตกแตงถอยคําเพือ่ ลดความรนุ แรงของสถานการณมากกวากลวิธยี อ ยท่ี 4.2 การกลาวตาํ หนทิ ่ีพฤตกิ รรมหรอื ทต่ี ัวบคุ คลของผกู ระทาํ ผดิ เหลือซง่ึ มคี วามตรงไปตรงมาและมีความรุนแรงมากกวา ซึ่งจากผลการวิจัยแสดงใหเห็นวาแมวาผูพูดจะตองการกลาวตําหนผิ ูฟงกต็ ามผูพดู จะเลือกกลวธิ ีทที่ ําใหผฟู งเสียหนา ใหนอยทส่ี ดุ และผพู ูดจะเลือกกลวิธที ่ีผูพ ดูสามารถบอกถึงความรูสึกนึกของตนออกไปใหผูฟงสามารถเขาใจไดดวยโดยที่ไมออมคอมจนผูฟงไมสามารถเขาใจไดหรือเขาใจไดไมชัดเจนสาํ หรับปจจยั ทเ่ี ก่ยี วของกับสถานภาพและระยะหา งทางสงั คมน้นั จากผลการวิจัยพบวา เมอ่ื ผูพูดมีสถานภาพสงู กวาผูฟง ผพู ดู จะเลือกใชก ลวิธีท่มี คี วามสุภาพนอยทสี่ ดุ ในจํานวนเปอรเซนตท ่ีสงูท่สี ดุ เมอ่ื อยใู นสถานการณท ่ผี ูพูดมีสถานภาพสงู กวา ผฟู ง ท้ังน้อี าจเปนเพราะในกลวธิ ีนีเ้ ปน กลวิธีทผี่ ูพ ูดสามารถพูดในสิ่งทตี่ นคิดไดโดยไมตอ งคํานงึ ถึงเรื่องหนาของผูฟ งและเร่อื งความสุภาพเทาใดนักเทา ใดนกั เพราะตนนั้นมอี าํ นาจหรอื สถานภาพสงู กวา ผฟู ง อีกทง้ั จากผลการวจิ ัยยงั พบขอ สงั เกตในอกี กรณีหน่งึ คอื ในสถานการณท่ีผูพูดและผฟู งมสี ถานภาพเทา กนั และตํ่ากวาผฟู งนัน้ กลวิธีที่ 3 เปน กลวธิ ีท่ีไดรับความนิยมมากที่สุดทั้ง 2 สถานการณที่ไดก ลา วไปขางตนซงึ่ สาํ หรับในกลวธิ ที ี่ 3 การกลา วหาผกู ระทําผิด นี้ตามแนวคดิ ของ Anna Trosbrog (1995) กลวิธีนเี้ ปน กลวธิ ีทมี่ คี วามรนุ แรงในลําดับที่ 3ซ่งึ จากผลการวิจัยพบวา เหตุที่กลมุ ตัวอยา งเลือกกลวิธนี ้มี ากที่สุดเพราะเปนกลวธิ ที ไี่ มออมคอ มและไมรนุ แรงจนเกินไปสามารถทําใหผูฟ ง เขาใจถงึ ความตอ งการของผูพดู ไดดีกวา ใน กลวธิ ที ี่ 1 และ กลวธิ ีท่ี2 ถึงแมวาจะเปนกลวิธีที่สามารถแสดงถึงระดับความสุภาพที่มากกวา แตก็เปนกลวิธีที่มีความออมคอม

84เกินไปจงึ เปน ผลทําใหก ลุม ตวั อยา งเลือกกลวธิ ที ่ี 3 มากที่สดุ ในสถานการณท ่ีผูพดู และผูฟงมีสถานภาพต่ํากวา และเทากนั กบั ผฟู ง อีกท้งั หากดจู ากผลรวมของการเลอื กใชกลวธิ ีในการแสดงวจั นกรรมการตําหนิในกลุมตัวอยางของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรแลวจะพบวากลวิธีที่ไดรับความนิยมมากท่สี ดุ ก็คอื กลวิธีท่ี 3 การกลาวหาผกู ระทําผดิ หากมองในอกี กรณีหนึง่ ก็อาจเปนไปไดวา กลุมตัวอยา งที่ผูวิจัยเลอื กเก็บขอ มูลนั้นอาจกลุมอายทุ ่อี ยใู นชวงของวยั รุน ตอนปลายที่มีอายุ 20-25 ป จึงมีความคิดที่มีความเปน ตวั ของตวั เองซงึ่ มวี ธิ กี ารพูดท่ไี มอ อ มคอ มจนเกนิ ไปในลกั ษณะของคนรนุ ใหม จึงเลือกใชกลวิธีท่ี 3 นี้เปนสว นใหญ หากผูวิจยั เกบ็ ขอมลู กลมุ ตวั อยางในชวงอายทุ ีแ่ ตกตางกันออกไป อาจพบขอมลู ท่แี ตกตา งออกไปจากนี้ และอาจไดข อมลู ทสี่ ามารถอธิบายไดว าปจ จยั ดานอายุนั้นมผี ลตอการเลือกใชกลวิธีนีก้ ารแสดงวจั นกรรมการตําหนใิ นกลมุ ชวงอายุตา ง ๆ กนั กเ็ ปนได สวนในเรอื่ งของความสนิทสนมคุน เคยระหวางคสู นทนานัน้ ผูว ิจัยเห็นวา ปจจัยในดานนต้ี อ งพจิ ารณารว มกันกับปจจยั อ่นื ๆดวย เชน ปจ จยั ดา นสถานภาพทางสงั คมท่ีแตกตา งกนั หรือแมแ ตเรื่องของนํ้าหนกั ความผิดซึง่ ผูวจิ ยัไมไ ดน ํามาวิเคราะหรวมดว ยในงานวจิ ยั ชิ้นน้ี จากผลการวิจัยพบวา ย่ิงผพู ูดมีความสนทิ สนมกบั ผฟู งและมสี ถานภาพสูงกวา ผูฟงผพู ูดน้ันมักจะคาํ นงึ ถงึ เรอื่ งความสภุ าพหรือเรอ่ื งหนา ของผพู ดู และผฟู งนอ ยกวา ในการแสดงวจั นกรรมตาํ หนจิ ากแผนภมู ทิ ่ี 18 เปอรเ ซ็นตข องการเลอื กในกลธิ ที ี่ 4 การกลา วตาํ หนิผูกระทาํ ผดิ ในสถานการณท่ผี ูพ ดู และผูฟ งมีความสนิทสนมกนั มจี ํานวนสงู เปนลาํ ดับท่ี 1ในทางตรงกันขา ม เมอื่ อยูในสถานการณทผี่ พู ดู มสี ถานภาพตาํ่ กวา ผฟู ง อกี ทัง้ ยงั มคี วามสนิทสนมกบั ผูฟง จากแผนภูมิที่ 17 กลวิธีที่ 3 การกลาวหาผกู ระทาํ ผิดเปนกลวิธที ี่ไดรับความนยิ มมากทีส่ ุดแตผ วู ิจยั พบขอ สังเกตวาในกรณนี ี้ในกลวิธีที่ 2 กลวธิ กี ารกลา วแสดงออกถงึ ความไมพ อใจหรอื ไมเ หน็ ดว ยนน้ั กลบั ไดร บั ความนิยมมากกวากลวิธีท่ี 4 อาจเปน เพราะในกรณนี ีผ้ พู ดู ถงึ แมจ ะมีความสนิทสนมกับผฟู งแตก ็ยงั คํานงึ วาตนนัน้ มอี ํานาจหรือสถานภาพต่าํ กวาผูฟ ง จะมคี วามเกรงใจผูฟงโดยไมก ลาทจี่ ะตําหนิหรือกลา วหา จึงเลอื กกลา วเพยี งแคแสดงออกถงึ ความไมพ อใจหรอื ไมเ หน็ ดว ยเทา นนั้ สาํ หรบั ปจ จัยในเร่ืองเพศ จากผลการวจิ ยั พบวา จากแผนภูมทิ ่ี 21 กลวิธีท่ี 3 กลวธิ กี ารกลา วหาผกู ระทําผดิ เปน กลวิธที นี่ ยิ มใชม ากทส่ี ุดเปน ลําดบั ที่ 1 ทงั้ 2 กลมุ แตใ นกลวิธที ่ี 2 กลวิธีการกลาวแสดงออกถงึ ความรําคาญใจหรือไมเ หน็ ดว ย นัน้ เพศหญิงจะมแี นวโนมในการเลอื กใชก ลวิธีท่ี 2มากกวา เพศชาย สว นในกลวธิ ีที่ 4 กลวิธีการกลาวตาํ หนิผกู ระทําผิด เพศชายมีแนวโนม ในการเลือกใชกลวิธีที่ 4 สูงกวาเพศหญิง และในกลวิธที ่ี 1 กลวธิ กี ารไมก ลาวตาํ หนิออกมาอยางชัดแจง หรือบอกเปนนัย ไดรับความนิยมเปนลําดับสุดทายและมีจํานวนการปรากฏที่ใกลเคียงกันทั้ง 2 กลุม ซ่งึ เปนไปตามแนวคดิ ของ William Labov (1966) ท่ีกลา ววา เพศหญิงมักจะใชภาษาที่คํานึงถึงความสุภาพมากกวาเพศชาย ซงึ่ จากแผนภูมทิ ่ี 21 นั้น จํานวนการปรากฏที่สามารถเห็นไดชัดเจนถึงความแตกตาง คือ การ

85เปรียบเทียบระหวางเพศชายและเพศหญิงในกลวิธีที่ 2 และ กลวธิ ีท่ี 4 ซ่งึ กลวธิ ที ่ี 2 เปนกลวธิ ที ่ีคํานงึ ถงึความสุภาพมากกวากลวิธีที่ 4 จงึ ปรากฏจํานวนในการเลือกใชกลวิธที ่ี 2 ในเพศหญิงสูงกวาเพศชายในทางตรงกันขามในกลวิธีที่ 4 เปนกลวธิ ีทีม่ กี ารคํานงึ ถึงความสุภาพนอ ยทสี่ ดุ ในจํานวนกลวธิ ีที่พบทง้ั หมด จึงปรากฏจํานวนในการเลือกใชกลวิธีที่ 4 ในเพศชายมีจํานวนสูงกวาเพศหญิง อีกทั้งจากกการเปรียบเทียบการเลือกใชกลวิธีในการแสดงวัจนกรรมการตําหนิในกลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญิงในสถานการณที่ผูพูดและผฟู ง มสี ถานภาพแตกตางกนั 3 ลกั ษณะ กลา วคอื ผพู ดู และผฟู ง มีสถานภาพเทากนั ผพู ูดมีสถานภาพตํ่ากวาผฟู ง ผพู ูดมสี ถานภาพสูงกวาผูฟ ง ผูวิจัยยังพบขอสงั เกตในรูปแบบเดียวกนั น้ใี นการเลอื กใชว จั นกรรมการตาํ หนใิ นกลวิธีที่ 2 และกลวิธที ่ี 4 น้เี ชน เดยี วกันในทั้ง 3 ลักษณะกลา วคอื กลวธิ ที ี่ 3 กลวิธีการกลา วหาผูกระทําผิดเปนกลวธิ ีทนี่ ิยมใชม ากทีส่ ุดเปนลาํ ดับท่ี 1 ทัง้ 2 กลมุแตใ นกลวิธที ่ี 2 กลวธิ กี ารกลา วแสดงออกถงึ ความราํ คาญใจหรอื ไมเ หน็ ดว ย นน้ั เพศหญงิ จะมแี นวโนมในการเลือกใชกลวิธีที่ 2 มากกวา เพศชาย สวนในกลวธิ ที ี่ 4 กลวธิ ีการกลาวตําหนผิ กู ระทาํ ผดิ เพศชายมีแนวโนม ในการเลอื กใชก ลวิธที ่ี 4 สูงกวา เพศหญิง

86 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจยั และขอเสนอแนะ5.1 สรปุ และอภปิ รายผลการวิจัย กลวิธีการแสดงวัจนกรรมการตําหนิของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรในงานวิจัยชิ้นพบวามี4 กลวธิ ใี หญ แบง เปน 8 กลวิธียอ ย กลา วคือ กลวธิ ีที่ 1. การไมกลาวตําหนิออกมาอยางชัดแจง หรือบอกเปนนัย กลวธิ ที ี่ 2. การกลาวแสดงออกถึงความรําคาญใจหรือไมเห็นดวย กลวธิ ยี อ ยที่ 2.1 การแสดงความรําคาญใจ กลวิธียอ ยที่ 2.2 การกลาวถึงผลลัพธที่จะตามมาจากการกระทําผิด กลวิธที ี่ 3. การกลาวหาผกู ระทาํ ผิด กลวิธยี อยท่ี 3.1 การกลาวหาผูกระทําผิดอยางไมตรงไปตรงมา กลวิธยี อยท่ี 3.2 การกลาวหาผูกระทําผิดอยางตรงไปตรงมา กลวิธยี อ ยที่ 3.3 การกลาวเตอื นผกู ระทําผดิ กลวิธที ี่ 4. การกลาวตาํ หนิผกู ระทาํ ผดิ กลวิธยี อ ยท่ี 4.1 การกลา วตําหนผิ ูกระทาํ ความผิดทม่ี กี ารตกแตง โดยการใหค าํ แนะนาํ หรอืเสนอทางเลอื ก กลวิธยี อยที่ 4.2 การกลา วตาํ หนผิ ูก ระทําความผดิ โดยกลาวตอวาพฤตกิ รรมและตัวบุคคลของผกู ระทําผดิ จากผลการวิจัยพบวา กลวิธีท่ี 3 เปนกลวธิ ที ่ไี ดรบั ความนยิ มมากทีส่ ดุ และกลวธิ ยี อยท่ี 3.1 เปนกลวธิ ียอยท่ีนยิ มใชม ากท่สี ดุ 199 ครั้งของจํานวนกลวิธีที่พบทั้งหมด 647 คร้ัง และกลวธิ ยี อยที่ 4.1 เปนกลวธิ ที ไ่ี ดรบั ความนิยมมากเปนลําดับท่ี 2 คอื 146 ครั้งของจํานวนกลวิธีที่พบทั้งหมด 6 47 ครั้ง จะเห็นไดวาแมว า ผูพูดจะไมไ ดเ ลือกใชก ลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนทิ ่มี ีความสุภาพมากกวาอยา งในกลวิธีท่ี 1 หรือกลวิธีท่ี 2 แตผ พู ดู ก็ยงั คงเลอื กใชกลวิธที ่ีทําใหผฟู ง รสู ึกเสยี หนา ใหนอยทส่ี ุดโดยการเลือกใชกลวิธีการกลาวหาผูกระทําผิดอยางไมตรงไปตรงมา โดยการใชประโยคคําถาม หรือพูดเพียงใหขอ มลู บางสว นแกผฟู ง ซ่ึงบางครัง้ อาจปรากฏถอ ยคาํ ทแี่ สดงถึงความสุภาพและใหเกียรตผิ ฟู ง เชน คําวา“กรุณา” หรือ “รบกวน” เปน การเกรน่ิ นําท้งั ๆ ทผี่ ฟู ง น้ันกระทําผิดหรือทาํ สง่ิ ที่ไมถ ูกตอง กระนนั้ ผูพดู ก็

87ยงั ตองใหเ กยี รติผูฟง ซง่ึ เปนการรกั ษาหนา ทง้ั ของตนเองและคสู นทนา หรือแมแตใ นกรณที ผี่ พู ดู เลอื กใชกลวธิ กี ารแสดงวจั นกรรมการตาํ หนใิ นกลวธิ ที ่ี 4 กลวธิ ีการกลา วตําหนผิ ูกระทําผิดก็ตามผูพ ูดยงั คงมีความตองการเลือกใชกลวิธีที่ 4.1 มากที่สุดในจํานวนการปรากฏของการเลือกใชกลวิธีที่ 4 คอื 146 ของจํานวนการปรากฏของกลวิธีที่ 4 ที่พบทั้งหมด 177 ครง้ั ซ่งึ กลวิธที ่ี 4.1 นถ้ี ือเปน กลวิธีท่ีมคี วามสภุ าพมากทีส่ ุดในจํานวนกลวธิ ียอ ยของกลวิธที ่ี4 ซงึ่ ในกลวิธีนี้เปน กลวิธที ผ่ี ูพูดกลาวตาํ หนผิ พู ดู ฟงโดยใชถอยคาํ ในเชงิ การแนะนํา และเสนอทางเลอื กอน่ื ใหแ กผูฟง โดยการหลกี เลีย่ งท่ีจะกลา วตาํ หนโิ ดยการช้ีความผดิ ไปท่ีพฤตกิ รรมหรอื ตัวผกู ระทาํ ผิด ซึ่งเปนตามหลกั การความสภุ าพเชิงลบ ( Negativepoliteness ) คือ การใชภ าษาเพือ่ ใหผูฟงรูสึกวาตนเองไมไดถ กู บงั คบั และไดร ับความเคารพจากผอู ื่นเชน การกลา วขอโทษ การกลา วเพ่อื เสนอทางเลอื ก เปนตน กลา วคอื คอื ผูพูดน้ันพยายามท่ีจะรักษาท้งัของตนเองและคูสนทนาเชนกัน การเลอื กใชกลวธิ ีการแสดงการตําหนขิ องสถานการณท ่ีผพู ูดและผูฟ ง มีสถานภาพแตกตางกนัจากแผนภมู ทิ ี่ 15 พบวา ในสถานการณท ่ผี ูพูดและผฟู ง มสี ถานภาพเทากัน และตํ่ากวา ผฟู ง นนั้ ผพู ูดจะเลือกใชกลวิธที ี่ 3 คอื กลวิธกี ารกลาวหาผกู ระทาํ ผดิ มากเปนลําดับที่ 1 และมักเลอื กใชก ลวธิ ยี อ ยที่ 3.1กลวธิ ีการกลาวหาผกู ระทําผิดอยางไมต รงไปตรงมามากกวา กลวิธยี อ ยท่ี 3.2 กลวิธีการกลาวหาผูก ระทาํผดิ อยา งตรงไปตรงมา สว นในสถานการณท่ผี พู ูดมีสถานภาพสงู กวา ผูฟง ผูพดู เลอื กใชก ลวธิ ที ี่ 4 มากเปน ลาํ ดบั ที่ 1 และเลอื กใชก ลวิธยี อ ยท่ี 4.1 มากกวา กลวธิ ยี อยที่ 4.2 เหลอื นอกจากน้กี ลวิธที ี่ 1 การไมกลา วตาํ หนิออกมาอยางชดั แจง หรือบอกเปนนยั เปน กลวธิ ที ่ไี ดรับความนิยมนอยที่สดุ ถึงแมวาจะเปนกลวิธที ่ีมีความสภุ าพมากทส่ี ุดกต็ ามอาจเปน เพราะในกลวธิ ีนีเ้ ปนกลวิธีทผ่ี พู ูดไมส มารถบอกถึงส่งิ ท่ีตนตอ งการจะสอื่ สารไดอยา งชัดเจนจึงไมไดรับความนิยม จากงานวจิ ยั จะเห็นไดว า ยิ่งผูพดู มีอํานาจหรือสถานภาพทางสังคมสูงกวาผฟู ง มากผพู ูดจะมีการคํานงึ ถงึ หนาของผฟู งนอยลง ในขณะทย่ี ิง่ ผูพูดมีอํานาจหรือสถานภาพทางสังคมตํ่ากวา ผฟู ง ผพู ดู ก็มีแนวโนม ท่ีจะคํานงึ ถึงหนาทงั้ ของตนเองและคูสนทนามากขึ้น สว นความสนทิ สนมคนุ เคยระหวา งผพู ดู และผูฟ งนั้นผวู ิจยั พบขอ สังเกตวาเมือ่ ผูฟง ยงิ่ มีความสนทิ สนมคนุ เคยกับผูฟ ง ผูพดู มกั จะใชก ลวธิ กี ารตําหนิท่ีมีความรนุ แรง มากกวา โดยที่ผพู ดู จะคาํ นึงถึงเรอ่ื งหนาระหวางผพู ดู และผฟู ง นอ ยกวาในสถานการณท่ีผูพูดและผฟู งไมมีความสนทิ สนมกันแตท้ังนีท้ ้ังนน้ั การท่ีผพู ดู จะเลือกใชก ลวธิ ีใดนน้ั ผพู ูดจะตอ งพจิ ารณาจากสถานภาพและความสนทิ สนมคนุ เคยระหวา งผูพดู และผฟู งอีกทง้ั ผูพ ดู จะตอ งพิจารณาความรนุ แรงของสถานการณทเี่ กิดขึน้ ณขณะนน้ั ควบคกู ันไปดวยจะพจิ ารณาถึงปจจัยอยางหน่ึงอยางใดเพียงอยา งเดียวนั้นไมเ พียงพอในการตัดสินวาปจจัยใดจะมีผลตอการแสดงวัจนกรรมการตําหนิของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร นอกจากน้เี ร่อื งปจ จัยดา นเพศทีม่ ผี ลตอ การแสดงวจั นกรรมการตําหนิของนสิ ติมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรนนั้ ผูวจิ ยั พบขอ สงั เกตวา เพศหญงิ เลือกใชกลวธิ กี ารตาํ หนทิ ่มี คี วามรุนแรง