ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ณุ นายแพทยป์ ระเวศ วะสี ราชบัณฑติ กิตติมศักด์ิ ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 1
ทมริศรทคาวงธิอี น๑า๒คตปปรระะกเาทรศไทยหลังโควิด โดย ศาสตราจารย์ นายแพทยป์ ระเวศ วะสี พมิ พค์ รงั้ ท่ ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑,๐๐๐ เลม่ พิมพ์ครั้งท่ี ๒ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒,๐๐๐ เล่ม สงวนลขิ สิทธต์ิ าม พ.ร.บ.ลิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรมของสำ�นักหอสมุดแหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ประเวศ วะสี. ทศิ ทางอนาคตประเทศไทยหลงั โควิด : มรรควธิ ี 12 ประการ. พิมพ์คร้งั ท่ี 2.--กรงุ เทพฯ : มลู นิธิสาธารณสขุ แห่งชาติ, 2564. 72 หนา้ . 1. การบรหิ ารการพฒั นา. 2. โควิค-19 (โรค) I. ชอ่ื เรื่อง. 352.37 ISBN 978-616-8178-11-9 ประสานงาน/พิสจู นอ์ กั ษร แก้ว วิฑูรยเ์ ธยี ร, นิฤมล ลมิ ปิโชติพงษ์ ศลิ ปกรรม อดิศร จินดาอนนั ต์ยศ, สุธาทพิ ย์ รกั พืช จดั พมิ พโ์ ดย มูลนธิ ิสาธารณสุขแหง่ ชาติ (มสช.) ๑๑๖๘ ซอยพหลโยธิน ๒๒ ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตจุ ักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๕๑๑ ๕๘๕๕ โทรสาร ๐ ๒๙๓๙ ๒๑๒๒ www.thainhf.org ออกแบบ/ด�ำ เนินงาน ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี บริษัท สำ�นักพิมพ์หมอชาวบา้ น จำ�กดั ๓๖/๖ ซอยประดิพทั ธ์ ๑๐ ถนนประดิพัทธ์ แขวงพญาไท เขตพญาไท กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๗๘ ๕๕๓๓ โทรสาร ๐ ๒๒๗๑ ๑๘๐๖ www.thaihealthbook.com 2
ประเทศไทยและโลก วกิ ฤตอยู่แล้วกอ่ นโควิดมา แต่กป็ รับเปลีย่ นไม่ได้ วกิ ฤตคือโอกาส วิกฤตโควิด สง่ ผลสะเทอื นถว้ นหนา้ ท่วั โลกในทุกมติ ิ รวมทัง้ ฝ่ายท่ีไดเ้ ปรยี บดว้ ย เปน็ การกระตุกจติ ส�ำนึกมนุษย์ จำ� นวนมากท่สี ดุ ให้ตื่นร้ขู นึ้ มาพร้อมๆ กนั อาจใชค้ ำ� ว่า “Covid-Co-Awakening” หรือ “โควิด-จิตต่นื รรู้ ว่ มกัน” ก็ได้ ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 3
สาร ๖ บพุ บท โอกาสดีทสี่ ุดในประวตั ิศาสตร์ ๙ มรรควิธีท่ี ๑ จัดเวทที ิศทางอนาคตประเทศไทยหลังโควิด กันอยา่ งหลากหลายมากๆ ๑๑ มรรควิธีที่ ๒ การเปลย่ี นใหญท่ ่ีสดุ คอื การเปลยี่ นทิฐหิ รอื การเหน็ ๑๕ มรรควิธีที่ ๓ วถิ คี ดิ ใหม่ - วถิ ีคิดทางสายกลาง ๑๙ มรรควิธีท่ี ๔ พลังพลเมอื งท่ีต่นื รู้และกัมมนั ตะ ๒๓ มรรควิธีที่ ๕ เปลี่ยนโครงสรา้ งของประเทศ จากโครงสรา้ งอำ� นาจเป็นโครงสร้างทางปัญญา 4 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
บั ญ มรรควิธีที่ ๖ ๓๑ สรา้ งพระเจดยี ์จากฐาน มรรควิธีที่ ๗ ๓๙ ระบบเศรษฐกิจใหม่ มรรควิธีท่ี ๘ ๕๑ ระบบการศกึ ษาใหม่ มรรควิธีท่ี ๙ ๕๓ ระบบการเมืองใหม่ มรรควิธีท่ี ๑๐ ๕๗ พลังทางศาสนา มรรควิธีที่ ๑๑ ระบบข้อมูลข่าวสารและการสอื่ สารทท่ี ำ� ใหร้ ูค้ วามจริงท่วั ถึง ๖๑ มรรควิธีท่ี ๑๒ ๖๕ สขุ ภาพคอื ท้งั หมด พจนะทา้ ยบท ๖๘ ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 5
บุพบท โอกาสดีท่ีสุดใน เราพูดกันมานานแลว้ วา่ “วกิ ฤตคือโอกาส” คราวนจ้ี ะไดเ้ หน็ จรงิ ประเทศไทยและโลกวกิ ฤตอยแู่ ลว้ กอ่ นโควดิ มา แตก่ ป็ รบั เปลยี่ นไมไ่ ด้ เพราะในวกิ ฤตนน้ั มฝี า่ ยท่ี ไดเ้ ปรยี บและเสยี เปรยี บ แตฝ่ า่ ยไดเ้ ปรยี บมกี ำ� ลงั มากกวา่ ทจี่ ะ ด�ำรงความไมถ่ ูกต้องไปเรอ่ื ยๆ วกิ ฤตโควดิ สง่ ผลสะเทอื นถว้ นหนา้ ทวั่ โลกในทกุ มติ ิ รวม ทงั้ ฝา่ ยทไ่ี ดเ้ ปรยี บดว้ ย เปน็ การกระตกุ จติ สำ� นกึ มนษุ ยจ์ ำ� นวน มากทีส่ ุดให้ตน่ื รูข้ ้ึนมาพร้อมๆ กัน อาจใช้คำ� ว่า “Covid-Co- Awakening” หรอื “โควิด-จิตตื่นรู้รว่ มกัน” กไ็ ด้ การท่คี นจำ� นวนมากต่นื ร้ขู ึ้นพร้อมๆ กนั เปน็ โอกาสที่ สังคมจะมีการปรับเปล่ียนครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของ มนุษยชาติ ฉะนั้น คนไทยต้องร่วมกันใช้โอกาสน้ีปรับเปล่ียน ประเทศไทยให้ดีที่สุดเท่าท่ีจะดีได้ ไม่ควรจะท�ำอะไรเล็กๆ น้อยๆ จ๊บิ ๆ จอ๊ ยๆ อนั จะเปน็ การเสียโอกาสและแกว้ กิ ฤตไม่ ไดจ้ รงิ ตอ้ งมีความฝนั ใหญป่ ระเทศไทย (Big Dream Thai- 6 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ประวัติศาสตร์ land) จินตนาการใหญ่ คดิ ใหญ่ และมมี รรควิธที จ่ี ะน�ำไปสู่ ความสำ� เร็จ อยา่ รงั เกยี จจนิ ตนาการ ความฝนั ยง่ิ ใหญย่ งิ่ มพี ลงั มาก อย่าเอาความรู้เปน็ ตัวตง้ั เพราะมีขอ้ จ�ำกัดวา่ อย่างนนั้ กท็ ำ� ไม่ ได้อย่างน้กี ท็ �ำไมไ่ ด้ แตจ่ ินตนาการไม่มขี ้อจ�ำกัดสามารถไปได้ สดุ ๆ เจา้ ชายสทิ ธตั ถะมจี นิ ตนาการวา่ มนษุ ยพ์ น้ ทกุ ขไ์ ด้ อนั เปน็ จนิ ตนาการทใี่ หญม่ าก แตไ่ มท่ รงมคี วามรู้ ดงั ทไ่ี ปทรงลอง ผิดลองถกู อยู่ถึง ๖ ปี จินตนาการใหญ่ท�ำให้เกิดฉันทะและวิริยะอย่างแรง กลา้ ที่จะหาความรมู้ าทำ� ใหส้ �ำเรจ็ ฉะนนั้ คนไทยทงั้ หมดควรมคี วามฝนั ใหญ่ (Big Dream Thailand) ถงึ ประเทศไทยท่ดี ที ส่ี ดุ เกดิ ฉันทะวิริยะอย่างแรง กลา้ ที่จะแสวงหามรรควิธีใหส้ ำ� เรจ็ ตามความฝัน ตอ่ ไปนีข้ อเสนอมรรควธิ ี ๑๒ ประการ บนเส้นทางสู่ ทศิ ทางอนาคตประเทศไทยหลังโควิด ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 7
8 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
จัดเวที ๑มรรควิธที ่ี อนาคตทิศทาง ประเทศไทย หลังโควิด กันอย่างหลากหลายมากๆ จินตนาการเพ่ือสร้าง และวิถีทาง วงการตา่ งๆ ควรจดั เวทที ศิ ทางอนาคตประเทศไทยหลงั โควดิ กนั อย่างหลากหลาย ให้มากๆ เตม็ ประเทศ เพื่อระดมจนิ ตนาการ วิธีคดิ วธิ ี การ ท่จี ะท�ำใหส้ ำ� เรจ็ เมอื่ ทำ� ใหม้ ากจะเกดิ จนิ ตนาการรว่ มของประเทศไทยทดี่ ที สี่ ดุ และ ปญั ญาร่วมของวิธกี ารทจ่ี ะท�ำให้สำ� เร็จ จินตนาการร่วมและปัญญาร่วมของคนท้ังชาติจะเป็นพลังขับ เคลอื่ นประเทศไทยไปสู่สง่ิ ที่ดที ีส่ ุด ภาพประเทศไทยที่ดีท่ีสุดในจินตนาการของแต่ละคนจะไม่ค่อย ต่างกนั มาก แตภ่ าษาที่ใช้บรรยายอาจมคี วามหลากหลาย เช่น ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 9
ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีทุกคนมีศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ มีความถูกตอ้ งเป็นธรรมและงดงาม หรอื เป็นประเทศท่มี กี ารอยู่รว่ มกันอยา่ งเป็นธรรม หรืออะไรอน่ื ๆ อีกกไ็ ด้ แตโ่ ดยสาระตอ้ งมีความเปน็ ธรรม ค�ำว่า เป็นธรรม หมายถึง ถูกต้องหรือตรงต่อความจริงของ ธรรมชาติ ความถกู ตอ้ ง หมายถงึ ถกู ตอ้ งในทกุ มติ ิ ทงั้ ความเหน็ ถกู ความคดิ ถกู สมั พนั ธภาพถกู เศรษฐกจิ ถกู การอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มถกู การเมอื งการ ปกครองถูก เปน็ ตน้ รวมว่า แผ่นดินต้องมีธรรมหรือความถูกต้อง ดังพระปฐมบรม- ราชโองการของพระเจา้ อยหู่ วั ร.๙ ที่ว่า “เราจะครองแผน่ ดนิ โดยธรรม เพอื่ ประโยชน์สุขแหง่ มหาชนชาวสยาม” แลว้ ก็ระดมความคดิ ลงในรายละเอียดตอ่ ไปว่า ความถกู ต้องเปน็ ธรรมทส่ี มบรู ณ์ประกอบด้วยอะไรบา้ ง และวธิ ีการทีจ่ ะเกดิ ทำ� การเผยแพรท่ ศิ ทางอนาคตประเทศไทยหลงั โควดิ ทไ่ี ดจ้ ากการ ระดมความคดิ ออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง จนเปน็ กระแสของประเทศไทย 10 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
การเปล่ียน ๒มรรควิธีท่ี ใหญ่ท่ีสุด คือกาเรปล่ียนทิฐิ หรือ การเห็น ทิฐิ แปลว่า เห็น หรือรับรู้ (perception) เพราะเห็นท�ำให้รู้ การ เห็นว่าอะไรเป็นอะไรท�ำให้คิดไปตามน้ัน และท�ำไปตามน้ัน การเห็นจึง กำ� หนดการคดิ และการทำ� ถา้ เหน็ ถกู ตามความเปน็ จรงิ เรยี กวา่ สมั มาทฐิ ิ ทำ� ใหค้ ดิ ถกู ทำ� ถกู ถา้ เห็นผิดไปจากความจรงิ เรียกวา่ มิจฉาทิฐิ ทำ� ใหค้ ิดผิด ทำ� ผิด ปัญหาของโลกอยู่ที่ตรงนี้ ชาวยโุ รปถงึ จะคน้ พบความรทู้ างวทิ ยาศาสตรท์ ที่ �ำใหม้ อี �ำนาจอนั มหัศจรรย์ และนำ� ไปสคู่ วามเจรญิ ต่างๆ อย่างเหลอื เชื่อ แต่ก็มกี ารเหน็ ผิด หรอื มจิ ฉาทฐิ เิ ปน็ เจา้ เรอื น อนั นำ� ไปสโู่ ลกทเี่ สยี สมดลุ อยา่ งรนุ แรงและวกิ ฤต ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 11
ท่วี า่ เหน็ ผิดนี้คอื เหน็ แบบแยกส่วน หรือเห็นแยกเป็นสว่ นๆ ในขณะทค่ี วามจรงิ ตามธรรมชาตนิ ้ัน สรรพสง่ิ เชอื่ มโยงไปสคู่ วาม เป็น องค์รวม (wholeness) เดยี วกัน เหมือนร่างกายของเราท่ีประกอบด้วยเซลล์และอวัยวะอย่าง มากมายหลากหลาย แตท่ ้งั หมดเชอ่ื มโยงเป็นองค์รวมเดียวกนั คอื ชวี ติ ความเปน็ องคร์ วม คอื ชวี ติ เกดิ คณุ สมบตั ใิ หมอ่ นั มหศั จรรยเ์ หนอื วัตถุ คือเซลล์และอวัยวะท่ีเป็นส่วนย่อย และเมื่อเซลล์ทุกเซลล์มีสำ� นึก แห่งองค์รวม องค์รวมก็เกิดบูรณภาพและดุลยภาพ มีความเป็นปกติสุข และยงั่ ยืน เซลลม์ ะเร็งเปน็ ตวั อยา่ งของการสญู ส�ำนึกแห่งองคร์ วม มนั ทำ� ตวั แบบแยกส่วนเป็นเอกเทศ ไม่ค�ำนึงถึงองค์รวม องค์รวมก็เสียสมดุล ไม่ ปกติสุข คือ ป่วยและไม่ย่งั ยืน โลกก็เหมือนกัน ท้ังหมดเชื่อมโยงเป็นองค์รวมหน่ึงเดียวกัน แต่ มนษุ ยเ์ พราะการรเู้ หน็ จำ� กดั หรอื ความไมร่ ู้ เหน็ แบบแยกสว่ น คดิ แบบแยก ส่วน และท�ำแบบแยกส่วน จึงน�ำไปสู่การเสียสมดุลของโลกอย่างรุนแรง และสภาวะโลกวกิ ฤต วิทยาศาสตร์เป็นความรู้ ไมใ่ ชป่ ญั ญาหรือการเหน็ ถูก โลกจะไม่มีวันหายวิกฤต ไม่ว่าจะพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเท่าใดๆ ตราบใดท่ีมนุษย์ยังไม่มีทิฐิท่ีถูกต้องเกี่ยวกับความจริง ตามธรรมชาติ การเข้าถึงธรรม (ชาติ) หรอื ความจรงิ ตามธรรมชาติอาจเรียกว่า การต่ืนรู้ (awakening) 12 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
คือต่ืนข้ึนมารู้ความจริง หรือการเกิดจิตส�ำนึกใหม่ (new con- sciousness) ซงึ่ เปน็ จติ สำ� นกึ ใหญห่ รอื จติ ใหญ่ เพราะธรรมชาตใิ หญโ่ ตไมม่ ี ทีส่ ิ้นสดุ หลดุ ออกจากสภาพจติ เล็กท่ีตดิ อยใู่ นความคบั แคบของส่วนเสี้ยว ต่างๆ จติ ทตี่ ดิ อยใู่ นทแี่ คบกเ็ หมอื นคนตดิ คกุ ทไ่ี มม่ อี สิ รภาพ ไมม่ ศี กั ยภาพ และมที กุ ขภาวะ แตเ่ มอื่ หลดุ ไปสคู่ วามจรงิ ตามธรรมชาติ ซงึ่ ใหญโ่ ตไมม่ ที ส่ี น้ิ สดุ จงึ เกดิ อสิ รภาพและความสขุ อนั ลกึ ลำ�้ ประสบความงามอนั ลน้ เหลอื ทกุ แหง่ หน และเกดิ ไมตรจี ติ อนั ไพศาลตอ่ เพอื่ นมนษุ ยแ์ ละสรรพสงิ่ การเหน็ ทีถ่ กู ตอ้ ง การเข้าถงึ องคร์ วมของธรรมชาติ หรือการตืน่ รู้ หรือการเกิดจติ สำ� นกึ กอ่ ใหเ้ กดิ ความสุขในเบือ้ งต้น และกอ่ ใหเ้ กิดการอยู่ ร่วมกนั อยา่ งสมดลุ ในท่ีสดุ เพราะฉะนน้ั การปรับเปลี่ยนทิฐิ หรอื การต่นื รู้ จงึ เป็นปจั จยั ทส่ี ง่ พลงั ทส่ี ดุ ท่จี ะน�ำไปสูย่ คุ ใหมข่ องมนษุ ยชาติ ขอใหช้ ว่ ยกนั ทำ� ความเขา้ ใจวา่ การตนื่ รเู้ กดิ ขน้ึ ดว้ ยวธิ ใี ดบา้ ง และ ชว่ ยกนั สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ขน้ึ มากๆ ไมเ่ ปน็ การยากอะไรถา้ รู้ เพราะมแี รงจงู ใจสงู มาก อนั ไดแ้ ก่ ความสขุ อนั ลกึ ลำ�้ ความงาม และไมตรจี ติ อนั ไพศาลทเี่ กดิ ขนึ้ นีก้ ็ตรงกับท่ีเรียกว่าเข้าถงึ ส่ิงสูงสุด คือ ความจรงิ ความดี ความ งาม ทงั้ ๓ อยดู่ ้วยกนั ความจริง คือ สง่ิ สงู สดุ มนุษยม์ ศี กั ยภาพในการเข้าถึงสิง่ สงู สุด “ความจรงิ มีชัยเหนือทกุ ส่งิ ” สตฺยเมว ชยเต (จารึกเสาพระเจา้ อโศกที่ปา่ อสิ ิปตนมฤคทายวัน)* * ศรศี ากยอโศกะ พระประวัตจิ อมจักรพรรดอิ โศกมหาราช ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 13
“โลกจะไม่มวี ันหายวกิ ฤต ไม่ว่าจะพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ แตลราะบเทใดคทโนมี่ โนลุษยยเี ท์ย่างั ใไดมๆ่มที ฐิ ทิ ีถ่ ูกต้อง ”เกยี่ วกบั ความจริงตามธรรมชาติ 14 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
๓มรรควธิ ที ี่ วิถีคิด ใหม่ วทิถาีคิดงสายกลาง วถิ คี ดิ เกา่ เกดิ จากการเหน็ ผดิ คอื เหน็ แบบแยกสว่ น ไมเ่ หน็ ทงั้ หมด หรอื เห็นองค์รวม เม่ือเห็นแบบแยกส่วนก็น�ำไปสู่วิถีคิดแบบแยกส่วน คือ คิดแบบ ตายตัว จึงแบง่ เปน็ ข้างเปน็ ขัว้ ทข่ี ัดแย้งหรอื เป็นปฏิปกั ษ์ (antagonistic) ท่จี ะต้องต่อสหู้ รือท�ำลาย ที่จริงมนุษย์ท่ัวไปก็คิดอย่างนี้ แต่ชาวยุโรปดูจะคิดแบบตายตัว แบง่ ขา้ งเป็นขัว้ รุนแรงมากกว่า ในประวตั ศิ าสตรข์ องยโุ รปเตม็ ไปดว้ ยสงคราม ความเชอื่ ทตี่ า่ งกนั กน็ ำ� ไปสกู่ ารห�้ำหั่น เขน่ ฆ่า สงคราม ได้ง่ายๆ เชน่ สงคราม ๓๐ ปี ระหวา่ ง คาทอลิกกบั โปรเตสแตนต์ ทฆี่ ่าคนในบางประเทศตายไปถึง ๑ ใน ๓ ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 15
ในขณะทใ่ี นอนิ เดียครั้งพุทธกาลมีลัทธคิ วามเชอ่ื ใหญ่ๆ อยู่ ๖ - ๗ ส�ำนัก ก็อยเู่ คียงขา้ งหรือปะปนกนั ไม่จบั อาวธุ เขน่ ฆ่ากนั เหมอื นในยุโรป เมอ่ื เกดิ ลทั ธคิ อมมวิ นสิ ตข์ นึ้ มาตอ่ ตา้ นลทั ธทิ นุ นยิ ม กเ็ กดิ การตอ่ สู้ หำ�้ หนั่ กนั ขนานใหญ่ เกดิ ทง้ั สงครามรอ้ นและสงครามเยน็ จนโลกทง้ั ใบเกอื บ ถกู ท�ำลาย สงครามโลก ๒ คร้ัง ก็เกิดขน้ึ ในยโุ รป เนอื่ งจากยโุ รปมอี ำ� นาจมาก กส็ ง่ ตอ่ วธิ คี ดิ แบบแบง่ ขา้ งแบง่ ขว้ั ออก ไปทว่ั โลก ใชใ้ นกจิ การทงั้ หลาย การพฒั นาตา่ งๆ ในโลกจงึ ทำ� แบบแยกสว่ น ไมว่ ่าจะเป็นเศรษฐกจิ การเมือง การศึกษา อยา่ งขยะทเี่ กดิ ขนึ้ จากการอตุ สาหกรรม กเ็ พราะทำ� แบบแยกสว่ น ในธรรมชาติไมม่ ีของเสียหรือขยะ เพราะมีการสง่ ต่อทำ� ประโยชนต์ อ่ ๆ กัน ไป เนอ่ื งจากสรรพสงิ่ ลว้ นเชอื่ มโยง การเนา่ เปอ่ื ยของสตั วห์ รอื คนกเ็ ปน็ ปยุ๋ ให้พืชตอ่ ไป เป็นตน้ การวา่ งงานกเ็ กดิ ขน้ึ เพราะการแยกสว่ น ในธรรมชาตไิ มม่ กี ารวา่ ง งาน เกษตรกรรมสมัยใหม่ก็ท�ำแบบแยกส่วน ซึ่งท�ำลายธรรมชาติและ ท�ำลายเกษตรกร แต่เกษตรธรรมชาติน้ันทุกอย่างสัมพันธ์กันเกิดความ สมดลุ การศึกษาก็ทำ� แบบแยกส่วน ไปเอาวิชาเป็นตัวตั้ง แยกออกจาก ความจริงของชีวิต ซึ่งสัมพันธ์อยู่กับสิ่งแวดล้อม ชุมชน การท�ำงาน วัฒนธรรม สุนทรยี ธรรม การดูแลรกั ษาสุขภาพ และการพัฒนาจติ ใจ การเมอื งกท็ ำ� แบบแยกสว่ น แบบเปน็ ขา้ งเปน็ ขวั้ ทบี่ ดั นมี้ กี ารแบง่ ขั้วแบบสดุ ๆ (political polarization) จนการบรหิ ารบา้ นเมืองตดิ ขัด เมื่อคนในประเทศต่างๆ ไปศึกษาในประเทศตะวันตก ซึ่งถือว่า ศวิ ไิ ลซ์ กไ็ ปรบั วธิ คี ดิ แบบแยกสว่ นของเขามาโดยอตั โนมตั ิ แลว้ กเ็ อามาภมู ิ 16 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
อกภมู ใิ จหรอื ทะนงกนั วา่ มคี วามคดิ เฉยี บแหลม โดยไมร่ ตู้ วั วา่ อยบู่ นวถิ คี ดิ แบบแยกส่วน อันนีม้ ีต้นตอมาจากการเหน็ ผิด มีส่วนสำ� คัญทำ� ให้เกิดการ เสียสมดุลในบ้านเมอื งของตน วถิ คี ดิ แบบทางสายกลาง คอื วถิ คี ดิ ตามความจรงิ ของธรรมชาติ ซงึ่ เป็นกระแสของความเป็นเหตุเป็นผลล้วนๆ ไม่มีอารมณ์หรืออคติเข้าไป เจือปน เป็นกระแสของความเปน็ เหตปุ ัจจยั ทเ่ี รยี กว่า อทิ ัปปัจจยตา อิทัปปัจจยตาเป็นทางสายปัญญาท่ีไม่แบ่งเป็นข้างเป็นขั้ว เน่ืองจากเป็นกระแสของเหตปุ จั จยั หรือกระแสของความเปน็ เหตุเป็นผล อยา่ งตอ่ เน่อื ง จึงไม่มจี ุดเร่ิมตน้ ไมม่ ีจุดส้ินสุด จึงไม่มีสภาวะสุดโตง่ (ex- tremes) ทัง้ ๒ ข้าง อนั เป็นท่ีมาของการเรียกว่า ทางสายกลาง และความท่ีเปน็ เหตุ เป็นปัจจัยต่อเนื่องกันไป จึงไม่มีส่วนใดแยกตัวเป็นเอกเทศโดยไม่สัมพันธ์ กบั สว่ นอื่น จึงไมม่ ีการแยกสว่ น อะไรที่เป็นขั้ว จะถูกขั้วตรงข้ามจับ ไม่สามารถทะลุทะลวงไปได้ ไกล ในขณะท่ีอะไรที่เป็นกลางจะทะลุทะลวงไปได้ไกลแสนไกล เพราะ ฉะนน้ั เพราะมนษุ ยค์ ดิ แบบแยกสว่ น แบง่ เปน็ ขา้ งเปน็ ขว้ั จงึ เขา้ ปะทะตอ่ สู้ ทำ� ลายซ่งึ กนั และกัน ท�ำใหไ้ มส่ ามารถพัฒนาก้าวขา้ มไปได้ การตอ่ สู้ระหวา่ งฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา ก็เป็นเรื่องนา่ สลดสงั เวชท่ี เกดิ จากการเห็นแบบแยกสว่ น ถา้ เหน็ องคร์ วม เชน่ คนทง้ั คนกต็ อ้ งมที งั้ แขนซา้ ยและแขนขวา ถา้ เครื่องบินท้ังล�ำก็ต้องมีท้ังปีกซ้ายและปีกขวาจึงจะบินได้ เพราะฉะน้ันถ้า เหน็ องคร์ วมหน่ึงเดียวกนั ก็ไม่มเี รือ่ งซา้ ยขวาจะต้องมาต่อส้กู ัน ท่ีคดิ เปน็ ปฏปิ ักษ์ตอ่ กนั เวลาน้กี ็เพราะเหน็ ผดิ ไม่เห็นองคร์ วม คิดแบบแยกส่วน ท�ำ แบบแยกสว่ น ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 17
ผู้ที่มีอารมณ์ชอบหรือชัง ก็จะน�ำไปสู่การคิดแบบแยกส่วน ขาด การเหน็ ความจรงิ ถงึ ฉลาดเกง่ กาจเพยี งใด กจ็ ะน�ำไปสคู่ วามผดิ พลาดเสมอ เพราะมิจฉาทิฐจิ ะนำ� ไปสูก่ ุศลนนั้ ไมม่ ี วิถีคิดแบบทางสายกลางนั้นถูกน�ำมาเผยแพร่โดยพระพุทธองค์ พระพทุ ธองคไ์ มไ่ ดเ้ ปน็ ผสู้ รา้ ง แตม่ อี ยแู่ ลว้ ตามธรรมชาตใิ นพระสตู ร อทิ ปั - ปจั จยตาสมปุ บาท มีพระบาลอี ันไพเราะความว่า “พระตถาคตท้ังหลาย จะบังเกิดขึน้ กต็ าม หรอื จะไม่บงั เกิดขน้ึ ก็ตาม ธรรมธาตยุ อ่ มตัง้ อยแู่ ลว้ น่นั เทยี ว” ธรรมธาตุ คือ ความจริงตามธรรมชาติ อันไดแ้ ก่ กระแสของเหตุ ปจั จัย ความเปน็ กระแสของเหตปุ ัจจยั เรียกวา่ อทิ ัปปัจจยตา ใครๆ กค็ น้ พบความจรงิ ตามธรรมชาตนิ ไี้ ด้ โดยจะรจู้ กั หรอื ไมร่ จู้ กั พระพุทธเจา้ ก็ตาม ทางสายกลางจึงมีความเป็นวิทยาศาสตร์อย่างย่ิง แต่เหนือกว่า เพราะต้องปราศจากอคตจิ ริงๆ จงึ จะเขา้ ถงึ ทางสายปญั ญาน้ีได้ ในประเทศไทยก็มีปัญญาชนชาวพุทธอยู่มาก ท้ังท่ีเป็นสงฆ์โดย เฉพาะในมหาวทิ ยาลัยสงฆ์ หรือเป็นฆราวาสก็มี ควรจะนำ� วธิ คี ิดแบบทาง สายกลางมาใช้ในกิจการและการพฒั นาทง้ั หลาย รวมท้งั การเมอื ง วิถีคิดแบบทางสายกลางหรือสายปัญญา จะเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ ท�ำให้ประเทศไทยทะลุอุปสรรคติดขัดใหญ่หลวง ไปสร้างสังคมท่ีมีความ ถกู ต้องเปน็ ธรรมและงดงามได้ 18 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
๔มรรควิธที ี่ พแพลลละเมักงือังมที่ตม่ืนันรูต้ ะ โดยท่ัวไปราษฎรที่ตกอยู่ใต้การปกครองด้วยอ�ำนาจ ไม่มีศักด์ิศรี ไมม่ ศี กั ยภาพ มฐี านะเปน็ ทาสบา้ ง เปน็ ไพรบ่ า้ ง ถกู เกณฑไ์ ปใชแ้ รงงานโดย มลู นายหรอื หลวง หรือถกู เกณฑ์ไปท�ำสงคราม มมี ายาคตติ า่ งๆ ในสงั คมไทยทท่ี �ำใหค้ นทง้ั หลายเปน็ ประดจุ ตดิ อยู่ ในคุกท่มี องไม่เหน็ (The invisible prison) ด้อยศักดิ์ศรี ดอ้ ยศกั ยภาพ ไม่มสี ่วนรว่ มในการปกครองบา้ นเมือง ในสภาพอยา่ งน้ี แมม้ ีประชาธปิ ไตยทเ่ี ป็นเพียงกลไกหรือรูปแบบ ประชาธิปไตยนนั้ กไ็ ม่อำ� นวยผลให้เศรษฐกจิ ดี การเมืองดี และศีลธรรมดี ในความเป็นจริง (มายาคติ คือความไม่จริง) คนทุกคนมีคุณค่า ศักด์ิศรีและศกั ยภาพของความเป็นมนษุ ยอ์ ยูใ่ นตัว ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 19
หากเกดิ สำ� นกึ ระลกึ รใู้ นคณุ คา่ และศกั ดศ์ิ รใี นความเปน็ มนษุ ยข์ อง ตนเองจะหลดุ ออกจากคกุ แหง่ มายาคตทิ กี่ กั ขงั เขาไว้ เปน็ อสิ ระ มคี วามสขุ อยา่ งลกึ ลำ้� และตระหนกั ถึงศกั ยภาพตัวเองทจี่ ะทำ� อะไรดีๆ เกิดเป็นพลเมืองท่ีตื่นรู้ท่ีสามารถรวมตัว ร่วมคิดร่วมท�ำ เพ่ือกิจ สาธารณะต่างๆ พลังพลเมืองท่ีตื่นรู้และรวมตัวร่วมคิดร่วมท�ำในกิจ สาธารณะอยา่ งหลากหลายเต็มประเทศ จะทำ� ให้ . . . โครงสรา้ งทางสงั คมเปลยี่ นจากสงั คมทางด่ิง (Vertical society) หรือสงั คมท่ีสมั พนั ธ์กนั ดว้ ยอำ� นาจ เปน็ สงั คมทางราบ (Horizontal Society) หรอื สงั คมที่สมั พนั ธ์กันด้วยความเสมอภาคและภราดรภาพ เปน็ ประชาสังคม (Civil society) ในสังคมทางดิง่ เศรษฐกจิ จะไม่ดี การเมืองจะไมด่ ี และศีลธรรม ไม่ดี แมม้ กี ารเคร่งศาสนาศีลธรรมกไ็ ม่ดี อยา่ งเช่นเมอื งไทยเปน็ เมืองพุทธ พทุ ธศาสนาก็เปน็ ของดี แต่ศลี ธรรมไม่ดี เพราะเป็นสงั คมทางดง่ิ ในสังคมทางด่ิง ความถูกต้องเป็นธรรมเกิดขึ้นไม่ได้ ฉะนั้นต้อง ท�ำความเข้าใจและส่งเสริมทุกวิถีทางให้เกิดพลังพลเมืองที่ต่ืนรู้และกัม- มันตะ ซึ่งจะเปน็ ปจั จัยใหเ้ ศรษฐกิจดี การเมอื งดี และศลี ธรรมดี หรือเกิด สงั คมที่มีความถูกตอ้ งเปน็ ธรรม ควรอา่ นการวจิ ัยของ Robert Putnam จากมหาวทิ ยาลัยฮาร์วาร์ด ในหนังสือของเขาชอ่ื “Making Democracy Work : Civic Traditions in Modern Italy” 20 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ในประเทศอิตาลีตอนเหนือกับตอนใต้ไม่เหมือนกัน ทั้งๆ ท่ีใช้ รัฐธรรมนญู ฉบบั เดียว ทางตอนเหนือแถวมิลานและโตรีโนเศรษฐกิจดี การเมืองดี และ ศลี ธรรมดี ทางตอนใต้ เช่น ซิซลิ ีและซารด์ ิเนีย น้ันตรงขา้ ม คำ� ว่ามาเฟยี ก็มา จากภาคใตข้ องอิตาลี ทบี่ างเมอื งก็เครง่ ศาสนาคาทอลกิ แต่ศีลธรรมก็ไมด่ ี ฉะนั้น รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยทางการเมืองอย่างเดียวไม่ พอท่จี ะท�ำใหเ้ กดิ สังคมทีม่ คี วามถูกต้องเป็นธรรม แต่ต้องการสังคมทางราบที่มีพลเมืองที่ต่ืนรู้และกัมมันตะมากๆ บ้านเมืองจงึ จะเปน็ ประชาธปิ ไตยอยา่ งแทจ้ รงิ มคี วามถูกตอ้ งเป็นธรรม ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 21
“หในาคกเุณกิดคส�ำ่านแึกลระะศลกึ กั รู้ดิ์ศรี ในความเป็นมนษุ ย์ของตนเอง ”จแะหห่งมลาุดยอาอคกตจิทาก่ีกคักกุ ขังเขาไว้ 22 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
เปลี่ยน ๕มรรควธิ ที ี่ โครงสร้างของประเทศ จากโครงสร้าง อ�ำนาจ ปัญญาเป็นโครงสร้างทาง อปุ สรรคสำ� คญั ทสี่ ดุ ทที่ ำ� ใหป้ ระเทศไทยเจรญิ กา้ วหนา้ อยา่ งแทจ้ รงิ หรอื เกดิ สังคมทถ่ี กู ต้องเปน็ ธรรม คอื โครงสร้างอำ� นาจ อยา่ งนอ้ ยตง้ั แตก่ รงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ ตน้ มา สงั คมไทยมวี ฒั นธรรมเชงิ อำ� นาจ คอื คดิ เชงิ อำ� นาจ มสี มั พนั ธภาพเชงิ อำ� นาจ และมรี ะบบการบรหิ าร บา้ นเมอื งเปน็ โครงสรา้ งอ�ำนาจ โครงสร้างอ�ำนาจท�ำให้เกิดความบีบค้ัน หรือความขัดแย้ง หรือ ทกุ ขภาวะ มกี ารเรยี นรนู้ อ้ ย และมพี ฤตกิ รรมเบยี่ งเบนทางลบนานาประการ ย่ิงสังคมปัจจุบันเป็นสังคมซับซ้อนและมีปัญหายากสุดๆ การใช้ อำ� นาจยิ่งไมไ่ ด้ผล ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 23
ในสภาพเช่นนี้ไม่มรี ฐั บาลใดๆ จะแกป้ ัญหาได้ บ้านเมอื งจึงสะสม ปญั หามากขึ้นเรอ่ื ยๆ จนวิกฤตกอ่ นโควิดมาแลว้ การเปล่ียนโครงสร้างของประเทศจากโครงสร้างอ�ำนาจ เป็น โครงสรา้ งทางปัญญา จึงจ�ำเปน็ ตอ่ การขบั เคลอ่ื นประเทศไทยไปสู่อนาคต ใหม่ทม่ี ีความถกู ตอ้ งเปน็ ธรรม ปญั หาโครงสรา้ งอ�ำนาจเปน็ ปญั หาใหญท่ ส่ี ดุ และยากทสี่ ดุ เพราะ ระบบอำ� นาจน้ันเบด็ เสรจ็ และมีพลงั รอบด้าน เชน่ อ�ำนาจบังคับใชก้ ฎหมาย อำ� นาจตดิ อาวธุ อำ� นาจกำ� หนดการใชท้ รัพยากร อำ� นาจทางการส่ือสาร อ�ำนาจในการท�ำสงคราม อ�ำนาจทางวฒั นธรรม อ�ำนาจทรี่ ุนแรงเบด็ เสร็จขนาดน้ี ถึงมคี วามไม่ถูกตอ้ งไดม้ าก แต่ เปน็ อำ� นาจอนั มหมึ าในการท�ำลายการต่อตา้ น ในประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีผู้พยายามต่อต้านและท�ำลาย อำ� นาจรฐั เสมอมา ดว้ ยการวพิ ากษว์ จิ ารณบ์ า้ ง ชมุ นมุ ประทว้ งบา้ ง รวมตวั ลกุ ฮอื (uprising) เปน็ กบฏ พยายามลอบฆา่ เปลยี่ นราชวงศ์ เกอื บทงั้ หมด ไม่ประสบความส�ำเร็จแต่ถูกปราบปรามลง หรือเพียงเปลี่ยนตัวหรือกลุ่ม ผูใ้ ชอ้ �ำนาจ แตไ่ ม่ได้เปลย่ี นโครงสร้างอำ� นาจ แมป้ ลายราชวงศช์ งิ (ประเทศจนี ) ซง่ึ เกอื บจะเปน็ รฐั ลม้ เหลวแลว้ 24 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ยงั สามารถปราบกบฏครัง้ ใหญท่ ่สี ุดที่เรยี กวา่ กบฏไทผ้ ิง มีคนตายถึง ๒๐ ลา้ นคน ท้ังนี้เพราะอำ� นาจรัฐเปน็ ระบบ ไมไ่ ด้มแี ตต่ ัวทรราช บนถนนประวัติศาสตร์เร่ียราดด้วยกระดูกของนักอุดมคติที่ต่อสู้ เพื่อความเป็นธรรม เช่น เช เกวารา ขวัญใจนกั ปฏิวัติ หรอื จติ ร ภมู ิศักด์ิ เทียนผู้สอ่ งธรรมที่ตายในราวปา่ นายปรดี ี พนมยงค์ กเ็ ปน็ คนรุน่ ใหม่ทมี่ ี อดุ มคติอนั แรงกล้า อายแุ ค่ ๓๐ ปเี ศษ เมื่อคดิ เปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็นสามัญชนท่ีฉลาดและสามารถที่สุดคนหนึ่ง ที่ข้ึนไปด�ำรงต�ำแหน่งผู้ สำ� เรจ็ ราชการแทนพระองคแ์ ละนายกรฐั มนตรี แตอ่ �ำนาจของคณะราษฎร อยู่ไดแ้ ค่ ๑๕ ปี กถ็ ูกโครงสรา้ งอำ� นาจเก่าซงึ่ มีพลังมากกว่าเอาคืนไป ดังนี้ ฉะนั้น คนรุ่นใหม่ในปัจจุบันท่ีต้องการเปล่ียนแปลงโครงสร้าง อำ� นาจ เพอื่ ให้เกิดความเป็นธรรม ต้องคิดและศึกษาใหด้ ๆี การคิดต่อสู้ หรือท�ำลายอ�ำนาจรัฐ หรือเพียงเปล่ียนผู้ถืออ�ำนาจ รฐั ยากและอนั ตราย การเปลยี่ นโครงสรา้ งอำ� นาจ เปน็ โครงสรา้ งทางปญั ญา ซง่ึ กลา่ ว ถึงในมรรควิธนี ้ี เปน็ คนละอย่างกนั ถา้ เขา้ ใจทำ� ได้ง่ายกวา่ สันติ ให้ผลลึก และถาวร การจะสร้างโครงสร้างทางปัญญาต้องท�ำความเข้าใจโครงสร้าง และการท�ำหน้าทข่ี องสมอง สมองมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์สมอง (neurone) ประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ ลา้ นตวั แตล่ ะตัวเชื่อมโยงกับตัวอ่ืนๆ อีกหลายหม่ืนตวั เกิดเปน็ เครือขา่ ย เซลล์สมอง (neuronal networks) ซ่ึงเป็นโครงสร้างท่ีวิจิตรที่สุดใน จักรวาล สามารถเรยี นรใู้ ห้บรรลุอะไรกไ็ ด้ ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 25
เซลลส์ มองทำ� หนา้ ทต่ี า่ งจากเซลลอ์ น่ื ๆ ของรา่ งกาย คอื ทำ� หนา้ ที่ proceed ข้อมลู เซลลส์ มองทำ� หนา้ ทรี่ บั รขู้ อ้ มลู จากทง้ั ภายในทกุ สว่ นของรา่ งกาย และจากภายนอกท่ีผ่านเข้ามาทางตาหูจมูกล้ินกาย ท�ำให้รู้ความจริงหรือ สถานการณ์ความเปน็ จริง จากการรู้ความจริงท�ำให้สมองประสานงานให้อวัยวะต่างๆ ท�ำ งานประสานกันไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ทั้งเวลาหลบั และตน่ื เช่น เมือ่ ใดหวั ใจจะ ตอ้ งเต้นเรว็ หรือช้าอย่างไร จึงจะสอดคล้องกบั สถานการณช์ ั่วขณะน้นั ๆ สมองท่ีมสี มรรถนะทางปญั ญาสูงยังสามารถตรวจสอบ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ให้เป็นการรู้ความจริงท่ีลึกขึ้นรอบด้านมากข้ึน เพ่ือ ประกอบการตัดสินใจ การประเมนิ ความเปน็ จริงแล้วทำ� การตดั สินใจถูกต้องเปน็ ปัญญา สงู สดุ เพราะการตัดสนิ ใจผดิ อาจนำ� ไปส่ผู ลเสยี รา้ ยแรงหรือถงึ สน้ิ ชีวิต สตั วห์ รอื คน ถา้ สมองออ่ นแอหรอื ปญั ญาออ่ น ไมส่ ามารถดำ� รงชวี ติ ไดด้ หี รืออยู่รอดได้ องคก์ รใดๆ หรอื ประเทศ ถา้ มปี ญั ญาออ่ น กจ็ ะประสบปญั หาตา่ งๆ จนวกิ ฤต วกิ ฤตแลว้ วิกฤตอกี ประเทศไทยเต็มไปด้วยโครงสร้างอ�ำนาจ แต่มองแทบไม่เห็น โครงสรา้ งทางสมองที่ท�ำหน้าทที่ างปญั ญา จงึ ไม่แปลกทวี่ กิ ฤตแล้ววิกฤตอีก และออกจากวกิ ฤตไม่ได้ โครงสรา้ งสมองของสงั คม ควรประกอบดว้ ยกลมุ่ คนทที่ ำ� หนา้ ที่ ประดจุ กลมุ่ เซลลส์ มอง คอื รบั รขู้ อ้ มลู แลว้ วเิ คราะห์ สงั เคราะหข์ อ้ มลู ให้ 26 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
เปน็ ความรเู้ พอ่ื การใชง้ าน (working knowledge) จนเปน็ การประสานงาน ของสว่ นตา่ งๆ หรอื ประกอบการตดั สนิ ใจกต็ าม อาจเรยี กวา่ “เรยี นรู้ สรา้ งความรู้ ใชค้ วามรู้ จดั การความร”ู้ เพอ่ื ความเปน็ ไปอยา่ งถกู ตอ้ งของระบบ หรอื ขององคก์ ร หรอื ของประเทศ ควรมีกลุ่มเซลล์สมองเพอื่ สังคมอยา่ งหลากหลายจำ� นวนมาก ท�ำ หนา้ ทที่ างปญั ญาในทกุ จดุ ของการพฒั นา และเชอื่ มโยงกนั เปน็ เครอื ขา่ ย เปน็ เครอื ขา่ ยกลมุ่ เซลลส์ มองเพอ่ื สงั คม คลา้ ยเครอื ขา่ ยเซลลส์ มอง (neuronal networks) อนั เปน็ โครงสรา้ งทางสมองของมนษุ ย์ เมื่อเป็นอย่างน้ันประเทศก็จะมีโครงสร้างทางสมองเต็มประเทศ เขา้ มาแทนทโ่ี ครงสรา้ งอ�ำนาจ ลองนึกเปรียบเทียบประเทศที่มีแต่โครงสร้างอ�ำนาจ ที่ไม่มี โครงสร้างสมอง กับประเทศที่มโี ครงสรา้ งสมอง ประเทศที่มีแต่โครงสร้างอ�ำนาจ เน้นการใช้อ�ำนาจส่ังการและ ควบคุม ใชก้ ำ� ลงั คนจำ� นวนมากควบคมุ การปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ โดยไม่ “เรยี นรู้ สรา้ งความรู้ ใชค้ วามรู้ และจดั การความร”ู้ กเ็ รยี ก ว่าโดยขาดปัญญา แลว้ จะเกิดความถูกตอ้ งและงอกงามไดอ้ ย่างไร ปญั ญาทำ� ใหเ้ กิดความงอกงาม อ�ำนาจลดทอนปัญญาและความงอกงาม คนไทยในทุกภาคส่วน ควรท�ำความเข้าใจแล้วก่อตัวกันเป็นกลุ่ม เซลลส์ มอง เพือ่ ท�ำหน้าทที่ างปัญญาในทุกจดุ ของการพฒั นา ต้ังแต่การปฏบิ ัตขิ นาดเล็กขึ้นมาถึงระดบั นโยบาย ท่เี รยี กว่า การ ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 27
พัฒนานโยบาย คือ บางกลุ่มเซลลส์ มองท่มี ีความสามารถสงู ท�ำหน้าทีเ่ ป็น กลุ่มเซลลส์ มองพัฒนานโยบายสาธารณะ ประเทศก็จะเต็มไปด้วยปญั ญา ในทกุ จดุ และระดับ การท�ำหน้าที่ทางปัญญาเป็นเร่ืองร่ืนรมย์และมีความสุข เพราะ ปญั ญาทำ� ให้เกิดความแจม่ แจง้ ความแจ้งท�ำให้เกิดความสุข ตรงข้ามกับสัมพันธภาพเชิงอ�ำนาจ ซ่งึ กอ่ ให้เกิดความบีบค้ัน ทกุ ขภาวะ ความขัดแย้ง และความรุนแรง ฉะนั้นจงึ กลา่ วแต่ตน้ วา่ การสรา้ งโครงสรา้ งทางปญั ญา ถ้าเขา้ ใจ เป็นเรื่องไม่ยาก สันติ ให้ผลลึก และถาวร และเน่ืองจากไม่ได้ท�ำผิด กฎหมาย จึงไม่มีใครมาปราบปราม ตรงข้ามคนที่มีอ�ำนาจกลับได้รับ ประโยชนจ์ ากกลมุ่ งานทางปญั ญา เขาจะชนื่ ชอบทที่ ำ� ใหง้ านของเขาไดผ้ ล หันมาสนบั สนุน และเกิดพฤติกรรมใหมใ่ นการใช้ความรู้ เห็นไดจ้ ากวกิ ฤตโควดิ ฝา่ ยมีอ�ำนาจทางการเมอื งไมม่ ีความรู้ ท�ำ อะไรไมถ่ ูก ซึ่งอนั ตรายมาก แตเ่ ม่อื มีกลุม่ เซลลส์ มองทางแพทย์ ซึ่งใชข้ ้อมูลความร้เู ข้ามาชว่ ย ฝ่ายมอี ำ� นาจก็ได้ประโยชน์และเห็นคุณคา่ ของกลุ่มเซลล์สมอง ฉะนนั้ ขอใหช้ ว่ ยกนั ทำ� ความเขา้ ใจ และปฏบิ ตั ใิ หม้ ากในการกอ่ ตวั เป็นกลุ่มเซลล์สมองเพ่ือสังคม ท�ำหน้าท่ีสร้างปัญญาในทุกจุดของการ พัฒนา ประเทศไทยจะเปลย่ี นแปลงโดยสนิ้ เชงิ จากโครงสรา้ งอำ� นาจเปน็ โครงสรา้ งทางปญั ญา มสี มรรถนะทางปญั ญาสูงทจี่ ะพัฒนาบ้านเมืองไปสู่ ความถกู ตอ้ งเปน็ ธรรม โดยสันติ เปน็ สนั ตวิ รบทโดยแท้ 28 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ควรสงั เกตว่า กลุ่มเซลล์สมองท่ที �ำหน้าที่ “เรยี นรู้ สรา้ งความรู้ ใช้ความรู้ จัดการความรู้ ให้เกิดประโยชน์ตามความมุ่งหมาย” นั้น ทำ� การจัดการ (management) เนื่องจากการจัดการมีการใช้ความรู้ สร้างความรู้ ณ ทุกองค์ ประกอบของระบบ* จงึ มอี �ำนาจใหเ้ กดิ ความสำ� เรจ็ มาก จนมีค�ำกล่าวว่า “การจัดการท�ำให้ส่ิงที่เป็นไปไม่ได้เป็นไปได้” (Management makes the impossible possible) การจดั การจงึ เปน็ ปญั ญาอกี ชนดิ หนง่ึ ทอ่ี าจเรยี กวา่ “อทิ ธปิ ญั ญา” หรือปญั ญาท่ีท�ำใหเ้ กดิ ความสำ� เรจ็ (อิทธิ = สำ� เร็จ) แต่ภูมิปัญญาในการจัดการเกือบจะขาดไปจากสังคมไทยโดยส้ิน เชงิ เพราะระบบการศึกษาทเ่ี น้นการท่องวชิ าเป็นวิชาๆ การท่องวชิ าไม่ท�ำให้จัดการประเทศเปน็ เมือ่ ประเทศเต็มไปดว้ ย คนจดั การไมเ่ ป็น ส่ิงท่คี วรเปน็ ไปได้กลับเปน็ ไปไมไ่ ด้ (makes the pos- sible impossible) ระบบการศกึ ษาซง่ึ ควรเปน็ สมองของประเทศกลบั ไมเ่ ปน็ เพราะ ไมเ่ ขา้ ใจโครงสรา้ งและการทำ� หนา้ ทข่ี องสมอง การทอ่ งวชิ าหรอื แมแ้ ตก่ าร วิจัยแบบแยกส่วนจากการปฏิบัตแิ ละการตดั สินใจกไ็ มใ่ ช่สมอง ควรทบทวนการท�ำหน้าท่ีของสมองทีก่ ลา่ วขา้ งต้น ซ่งึ โดยสรุป ● รับรู้ความจริงทัง้ ภายในและภายนอกตวั ● ใช้การรู้ความจริงประสานการปฏิบัติของส่วนต่างๆ ให้สอด- คลอ้ งกบั สถานการณ์ความเปน็ จริง * “การจดั การ คอื การใช้ความรู้สรา้ งความรู”้ Peter Drucker ปรมาจารยท์ างการจดั การ ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 29
● วเิ คราะห์ สงั เคราะหข์ อ้ มลู เปน็ ความรเู้ พอ่ื การใชง้ าน (working knowledge) หรอื ความรทู้ ตี่ รงตอ่ การใชง้ าน ทง้ั ในการปฏบิ ตั ิ และการตัดสินใจ ● ประเมินผลการปฏิบัติ เพ่ือมาปรับตัวให้ฉลาดขึ้น เรียนรู้ได้ดี ขน้ึ สรา้ งความรไู้ ด้ดขี ึ้น น�ำความรูไ้ ปใช้ในการปฏบิ ัตแิ ละการ ตดั สนิ ใจดขี ึน้ ทำ� ให้ชีวติ หรือการงาน หรือการพฒั นาประเทศ ดขี น้ึ เรอ่ื ยๆ นีค่ อื ผลของการมรี ะบบสมอง การท่องวิชาไม่สามารถเป็นสมองได้ ประเทศจึงเหมือนไมม่ ีสมอง มีแต่โครงสรา้ งอำ� นาจ แล้วก็ดน้ิ รน ทรุ นทรุ าย จกิ ตกี ันเหมือนไกอ่ ยใู่ นเขง่ ตกอยใู่ นทุกขภาวะเพราะอวิชชา อาจารยม์ หาวทิ ยาลยั เกอื บทงั้ หมดกข็ าดวธิ คี ดิ เชงิ ระบบและการ จดั การ ทำ� ใหม้ หาวทิ ยาลยั ไมส่ ามารถเปน็ หวั รถจกั รทางปญั ญาพาชาตอิ อก จากวิกฤตได้ ฉะน้ัน เนื่องจากการก่อตัวเป็นกลุ่มเซลล์สมองเพื่อสังคมและ เครอื ขา่ ยให้เต็มประเทศ เป็นการสร้างโครงสรา้ งทางสมองและสมรรถนะ ในการจดั การใหป้ ระเทศ ระบบการศกึ ษาและทกุ ภาคสว่ นของสงั คม ควรรว่ มสรา้ งกลมุ่ และ เครอื ขา่ ยเซลลส์ มองเพือ่ ประเทศ อนง่ึ ตอ้ งเขา้ ใจวา่ การบรหิ ารหรอื administration ทรี่ ะบบใชก้ บั การจัดการ (management) ไม่ใช่สง่ิ เดียวกนั การบรหิ ารนนั้ บรหิ ารกฎระเบยี บ การจดั การนน้ั บริหารความรแู้ ละปัญญาไปสูค่ วามสำ� เรจ็ 30 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
๖มรรควธิ ที ่ี พสรร้าะง เจดีย์ ฐานจาก เส้นทางวิกฤตของการพัฒนาประเทศไทยท่ีผ่านมาอีกอย่างหน่ึง คอื แนวทางการพฒั นาประดจุ พยายาม “สรา้ งพระเจดยี จ์ ากยอด” คือ ท�ำอะไรๆ ก็จะเอาแต่ข้างบน เช่น พัฒนาเศรษฐกิจข้างบนให้มันเติบโต มากๆ แลว้ มันจะได้ “กระเดน็ ลงขา้ งลา่ ง” (Trickle down) การศกึ ษากจ็ ะเอาแตข่ ้างบน ม่งุ ใหค้ นจบปรญิ ญามากๆ การเมืองก็จะเอาแต่ประชาธปิ ไตยระดบั ชาติ โดยทัง้ หมดทิง้ ฐาน หรือทำ� ลายฐานใหอ้ ่อนแอ เม่ือไม่มฐี านรองรับโครงสรา้ งขา้ งบนก็พังลงๆ พระเจดียส์ ร้างจากยอดไมไ่ ด้ ต้องสรา้ งจากฐาน ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 31
โครงสรา้ งทกุ ชนดิ ฐานตอ้ งกวา้ งและแขง็ แรง จงึ จะรองรบั ทงั้ หมด ให้มัน่ คง ฐานของประเทศ คือ ชุมชนทอ้ งถน่ิ อนั กวา้ งใหญไ่ พศาล สงั คมข้างบนกบั สงั คมขา้ งล่างไมเ่ หมือนกัน สังคมขา้ งล่างเปน็ ภาคท่ีเป็นจรงิ (real sector) ในขณะทีส่ งั คม ขา้ งบนเป็นภาคทมี่ มี ายาคตอิ ยูม่ าก สังคมข้างล่าง คือชุมชนท้องถิ่น คือวิถีชีวิตร่วมกันของกลุ่มชนที่ สัมพันธ์อยู่กับธรรมชาติแวดล้อม ท่ีต้องพยายามรักษาสมดุล ทั้งระหว่าง คนกับคน และระหวา่ งคนกับส่ิงแวดล้อม ในวิถีชีวิตร่วมกัน ซ่ึงเรียกว่าวัฒนธรรมชุมชนนี้ มีองค์ประกอบ ทงั้ หมดของการท่ที ำ� ใหก้ ารอยรู่ ่วมกนั มคี วามสมดลุ เพราะความสมดุลคอื ปกติสขุ และความยงั่ ยืน องค์ประกอบของสิ่งทเ่ี รยี กว่า “วัฒนธรรม” นั้น จึงมตี ้ังแตค่ วาม เชื่อร่วมกัน คุณค่าร่วมกัน การท�ำมาหากินหรือการผลิต ภาษา ขนบ- ธรรมเนียม จารีตประเพณี การอนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อยา่ งเปน็ ธรรม การดแู ลรกั ษาสขุ ภาพ การพฒั นาจติ ใจ การไกลเ่ กลย่ี ความ ขัดแยง้ ดว้ ยสนั ตวิ ธิ ี เป็นต้น ค�ำว่า “วัฒนธรรม” ไม่ได้หมายถึง ศิลปวัตถุหรือการร้องร�ำท�ำ เพลงเทา่ นน้ั แตห่ มายถงึ วถิ ชี วี ติ รว่ มกนั อนั สอดคลอ้ งกบั สงิ่ แวดลอ้ มหนงึ่ ๆ ดงั กล่าว ชมุ ชนหรอื วฒั นธรรมชมุ ชนจงึ เปน็ ระบบการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสมดลุ ฉะนน้ั จงึ เปน็ ทอ่ี ยขู่ องศลี ธรรมและมคี วามยง่ั ยนื ดงั ทอี่ ยมู่ าไดถ้ งึ ๑๐,๐๐๐ ปี นั่นคือภาคที่เป็นจรงิ (real sector) 32 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ขณะทส่ี งั คมขา้ งบนกอ่ ตวั ขนึ้ จากผปู้ กครองคนขา้ งลา่ ง เรม่ิ ตน้ ผปู้ กครองกบั ผถู้ กู ปกครองกย็ งั เหมอื นๆ กนั คอื ยงั ทำ� การผลติ เหมอื นๆ กนั แตน่ านวนั เขา้ กห็ า่ งกนั ออกไป โดยชนชน้ั ปกครองไมไ่ ดท้ ำ� การผลติ อาศัยผลผลิตจากคนข้างล่าง แต่กลับมีมากกว่า เพราะมีอำ� นาจเรียกเอา แรงงานและผลผลติ จากคนขา้ งลา่ ง นคี้ อื มายาคตอิ ยา่ งหนง่ึ คอื ผไู้ มไ่ ดผ้ ลติ กลบั มมี ากกวา่ ผผู้ ลติ สงั คมขา้ งบนมวี วิ ฒั นาการไปอยา่ งรวดเรว็ ดว้ ยอำ� นาจ กฎหมาย รปู แบบ เงนิ มายาคติ และความฉอ้ ฉลตา่ งๆ การคา้ ขายทเี่ ชอื่ มโยงทว่ั โลก เทคโนโลยรี ะบบการเงนิ ทเ่ี งนิ สามารถ เคลอ่ื นไหวรอบโลกดว้ ยความเรว็ ของแสง ทำ� ใหส้ งั คมขา้ งบนกลายเปน็ ระบบ ซบั ซอ้ น (complexity system) ทมี่ ชี วี ติ ของมนั เองและมคี ณุ สมบตั ใิ หมท่ ไี่ ม่ เคยมมี ากอ่ น เชน่ ความโกลาหลพลกิ ผนั จะเกดิ ขนึ้ ไดง้ า่ ย รวดเรว็ และรนุ แรง จากเหตกุ ารณห์ รอื การกระทำ� เลก็ ๆ ในจดุ ใดจดุ หนง่ึ ในโลก แตผ่ ล กระทบมนั เดนิ ไปบนการตอ่ เชอ่ื มและขยายตวั ใหญโ่ ตขน้ึ ทเ่ี ขาเรยี กวา่ ปรากฏการณผ์ เี สอ้ื กระพอื ปกี (Butterfly effect) ทำ� ใหค้ นสว่ นใหญไ่ ดร้ บั ผลจากกรรมทต่ี นไมไ่ ดก้ อ่ และไมเ่ ขา้ ใจวา่ มนั เกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร บริษัทการค้าข้ามชาติขนาดใหญ่ผุดบังเกิดข้ึนเหมือนสัตว์สปีชีส์ (species) ใหม่ ที่โลกไมเ่ คยมมี าก่อนแต่มอี ำ� นาจมาก อ�ำนาจหลายอยา่ ง กเ็ หนือรัฐ คลา้ ยกฎแรงดงึ ดดู แหง่ มวลทางฟสิ กิ ส์ อะไรทมี่ มี วลมากยอ่ มมแี รง โนม้ ถ่วงดงึ วตั ถแุ ละพลังงานเข้ามาหาตวั ได้มาก ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 33
อำ� นาจรฐั และอำ� นาจเงนิ เปน็ อำ� นาจอนั มหมึ ายอ่ มดงึ ดดู ทรพั ยากร ต่างๆ เขา้ หาตวั ท�ำใหข้ าดความเปน็ ธรรม อำ� นาจของบรษิ ทั การคา้ เปน็ ทรี่ กู้ นั มานาน เชน่ บรษิ ทั East Asia- tic ใช้ก�ำลังเข้ายึดอินเดียและอินโดนีเซีย การแย่งชิงทางการค้าน�ำไปสู่ สงคราม เงินที่เคลื่อนไหวในโลกกว่า ๙๙ เปอร์เซ็นต์ ไม่มีเศรษฐกิจจริง รองรับ กลไกทางการเงนิ ท่ีซับซอ้ นดึงใหค้ นจำ� นวนมากเข้าไปทำ� งานเกี่ยว กับกลไกทางการเงินโดยไม่ได้สร้างสรรค์ แต่เป็นการหาช่องทางเอาชนะ หรอื เอาเปรียบกนั และโดยทีร่ ายได้จากทุนสูงกว่ารายได้จากการทำ� งาน เม่ือการพัฒนาท่ีเน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจด�ำเนินไปๆ ความ เหลื่อมล้�ำระหว่างคนมีมากกับคนไม่มีก็ยิ่งขยายกว้างขึ้นเร่ือยๆ จนกว้าง อยา่ งสุดๆ ในสหรัฐอเมริกาท่ีเรียกว่า ปรากฏการณ์ ๙๙ : ๑ (Joseph Stiglitz : The Price of Inequality) ทว่ี า่ การพัฒนาเปน็ ประโยชนต์ ่อคน ๑ เปอร์เซ็นต์เท่านั้น คนอีก ๙๙ เปอร์เซ็นต์ก็ไม่ได้ประโยชน์หรือเสีย ประโยชน์ ความเหลอ่ื มลำ�้ หรอื การขาดความเปน็ ธรรมทม่ี ากเกนิ กเ็ ชน่ เดยี ว กับการเสียสมดุลทั้งหลาย ท่ีน�ำไปสู่ความไม่ปกติ ความปั่นป่วนวุ่นวาย และรนุ แรงในทุกมติ ิ โดยสรุป เศรษฐกิจข้างบนเป็นเศรษฐกิจมายาคติ ท่ีมีการเอา เปรยี บฉอ้ ฉลมาก นำ� ไปสคู่ วามเหลอื่ มลำ้� และการขาดความเปน็ ธรรม ความ ขัดแย้ง และความรุนแรง 34 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ในขณะที่เศรษฐกิจข้างล่างเป็นเศรษฐกิจจริง เพื่อการอยู่ร่วมกัน อยา่ งสมดลุ ระหวา่ งคนกบั คน และคนกบั สงิ่ แวดลอ้ ม สงั คมขา้ งลา่ งจงึ เปน็ ทีอ่ ย่ขู องศลี ธรรม สังคมข้างบนประสบความล้มเหลวในการพัฒนาศีลธรรม ถึงแม้มี การสอนวิชาศีลธรรม ศีลธรรมก็ไม่เกิด เพราะศีลธรรมไม่ใช่วิชา แต่เป็น ระบบการอย่รู ว่ มกนั อยา่ งสมดุล ระหว่างคนกับคนและคนกบั สงิ่ แวดล้อม ดังทีเ่ หน็ ไดใ้ นระบบชุมชนทีอ่ าจเรยี กว่า ศลี ธรรมชุมชน ฉะน้ี เมอื่ ประเทศไทยพฒั นาแบบ “สรา้ งพระเจดยี จ์ ากยอด” โดย ทอดท้ิงหรือท�ำลายฐานให้อ่อนแอ จึงเป็นทิศทางที่ผิดพลาด อันนำ� มาสู่ สถานการณป์ ระเทศไทยปัจจุบนั ซงึ่ มีผูก้ ล่าววา่ มคี วามเหลื่อมล�ำ้ สูงเป็นที่ ๑ หรอื ท่ี ๓ ในโลก ตาม มาด้วยความไม่ปกติ ปั่นปว่ น วนุ่ วาย รุนแรง นานาประการ อย่างแก้ไขไม่ ได้ ไมม่ ีรัฐบาลใดจะแก้ได้ นอกจากประเทศไทยจะหนั มาสรา้ งพระเจดีย์ จากฐาน แตช่ นชนั้ นำ� ทง้ั หมด รวมทง้ั คนเกง่ คนดดี ว้ ย ไมเ่ ขา้ ใจสงั คมขา้ ง ลา่ งหรอื ความจรงิ ประเทศไทย เพราะระบบการศกึ ษาทเี่ อาวชิ าเปน็ ตวั ตงั้ ไมไ่ ดเ้ อาความเปน็ จรงิ ของประเทศเป็นฐาน เขาจงึ รจู้ กั การพฒั นาเฉพาะระบบขา้ งบน ซงึ่ ซบั ซอ้ นเปน็ มายาคติ และขาดความเปน็ ธรรม แก้ปัญหาของประเทศไมไ่ ด้ ถงึ บางทา่ นจะตัง้ ใจแก้ปัญหาฐานราก กไ็ ม่เข้าใจระบบบูรณาการ ของสังคมข้างลา่ ง ยังเอาวธิ ีการทางเศรษฐกจิ แบบแยกส่วนของข้างบนลง ไปใช้ ซึ่งไม่ได้ผล ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 35
ดังจะเห็นได้ว่าถึงรัฐบาลจะอัดฉีดงบประมาณมหาศาลเพื่อ ฐานราก ก็ท�ำผา่ นกลไกท่ที �ำใหเ้ กดิ ความเหลื่อมล้�ำซ่งึ ดดู กลับทรัพยากรท่ี ต้ังใจให้คนข้างล่างกลับมาสขู่ า้ งบน ฉะน้ัน ในการสรา้ งพระเจดยี ์จากฐาน จึงตอ้ งมีการสรา้ ง “ความ เขา้ ใจ เข้าถงึ และพัฒนา” ตามพระราชด�ำรสั ของพระเจ้าอยหู่ วั ร.๙ ซ่ึง ทรงชแ้ี นะการสร้างพระเจดีย์จากฐานดว้ ยวิธนี านา แมแ้ ตท่ รงทำ� นาและเลย้ี งววั ในบรเิ วณสวนจติ รลดาใกลๆ้ ทำ� เนยี บ รฐั บาลน้นั เอง แต่กระแสสร้างพระเจดีย์จากยอดไหลเชี่ยวกรากจนไม่เข้าใจ พระราชกศุ โลบายอนั ล�้ำยุคของพระองค์ หลังวิกฤตโควิด คนไทยควรจะกลับไปสนใจค�ำสอนของพระภมู -ิ พล หรือพระผูเ้ ป็นพลงั แผ่นดนิ ใหม้ าก เพราะทรงมีอจั ฉรยิ ภาพเหนอื แนว ความคิดการพฒั นาของฝร่ัง ควรมกี ระบวนการทป่ี ระชาชนชน้ั นำ� ขา้ งบนไปสมั ผสั วถิ ชี วี ติ ชมุ ชน ขณะน้ีมผี ้นู ำ� ชมุ ชนท้องถ่นิ ทีเ่ กง่ ๆ และดๆี หลายแสนคนแล้ว พรอ้ มทจี่ ะ เปน็ ไกด์น�ำชมความเขม้ แข็งของชุมชนท้องถนิ่ ด้วยมิตรไมตรี หลายองค์กรที่ท�ำงานกับชุมชนท้องถิ่นน่าจะอยู่ในฐานะที่จะจัด “ทัวร์ชมุ ชน” ท่ใี หท้ ั้งความสนกุ และความเขา้ ใจเขา้ ถึง ส�ำหรับนิสิตนักศกึ ษาในทุกมหาวทิ ยาลยั ทุกสาขา ควรมีหลักสตู ร “ชมุ ชนศกึ ษาภาคปฏบิ ตั ”ิ เปน็ หลกั สตู รแกน ทส่ี ง่ นกั ศกึ ษาไปใชช้ วี ติ และ ปฏิบัติงานในชุมชนเป็นเวลาอย่างน้อย ๓ เดือน เพ่ือสร้างคนรุ่นใหม่ท่ีรู้ ความจริงของประเทศไทย 36 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ควรสงั เกตวา่ ในวกิ ฤตโควดิ คราวน้ี การทป่ี ระเทศไทยสามารถหยดุ ย้งั การระบาดได้ค่อนขา้ งดจี นไดร้ ับการสกอรเ์ ป็นที่ ๑ ในโลก นอกเหนอื ไปจากสมรรถนะทางการแพทยแ์ ลว้ การทป่ี ระเทศไมพ่ งั ราบลงไปกเ็ พราะ มีสงั คมเข้มแข็งยันไว้ ถา้ มแี ตเ่ ศรษฐกจิ เขม้ แขง็ เวลาเศรษฐกจิ ลม้ จะลม้ ทง้ั หมด ดงั ทเี่ กดิ กับโลกขณะน้ี แต่สงั คมเขม้ แข็งจะเป็นภมู คิ มุ้ กนั ใหร้ ะดบั หนึง่ ภายใน ๔๐ - ๕๐ ปที ผ่ี า่ นมา คนไทยจ�ำนวนหนง่ึ ไดท้ ำ� งานสง่ เสรมิ สงั คมเขม้ แข็ง รวมทั้งพระราชวงศจ์ กั รดี ว้ ย ท�ำให้บัดนี้เรามีผู้นำ� ชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็งมากพอท่ีจะสร้างพระ- เจดยี จ์ ากฐาน โดยพฒั นาอยา่ งบรู ณาการ ใหฐ้ านของประเทศทง้ั ๘๐,๐๐๐ หมู่บ้าน ๘,๐๐๐ ต�ำบล ๘๐๐ อ�ำเภอ ใน ๗๖ จังหวัด แข็งแรงรองรับ ประเทศทั้งหมดให้ม่นั คง หนังสือชื่อ “แผนสงครามเบ็ดเสร็จเพื่อเอาชนะความยากจน และการขาดความเป็นธรรม” โดยผู้เขียน และบทความชื่อ “แผนและ ยทุ ธศาสตรส์ รา้ งแผ่นดินสุขภาวะ ใน ๘๐๐ อำ� เภอ ๘,๐๐๐ ต�ำบลทั่ว ประเทศ” โดยผู้เขียนเช่นเดียวกัน ได้ให้รายละเอียดและวิธีการว่าท�ำ อย่างไร โปรดศึกษาดไู ด้ เอกสารท้ัง ๒ ได้เสนอ การเปิดพ้ืนท่ีทางสังคมและพ้ืนท่ีทาง ปัญญาอย่างกว้างขวาง ที่คนไทยทุกคนในทุกภาคส่วนสามารถเข้าไปมี บทบาทในการพฒั นาประเทศ ในเรอ่ื งทตี่ นรกั และถนดั ได้อย่างมีความสขุ คนไทยทั้งมวลจะรว่ มสรา้ งพระเจดีย์แห่งการพัฒนาจากฐานขึน้ มาถึงยอด ให้เป็นพระเจดีย์ที่สวย สง่างาม ส่งประกายสีทอง งามระยับ จับตา พระเจดยี ์นนั้ คอื ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 37
“ปมศีระกั เทดศไิ์ศทรยเแี ปห็นง่ ปครวะาเมทเปศท็น่ทีมนกุ คุษนย์ มีความถูกตอ้ งเปน็ ธรรม และงดงาม ” 38 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
๗มรรควิธที ่ี เรศะบรษบ ฐกใิจหม่ ระบบเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน แม้จะคิดและพัฒนาโดยนัก เศรษฐศาสตร์ท่ีเก่งระดับโลก และหลายคนได้รับรางวัลโนเบล อันท�ำให้ คนเช่ือกันไปทัง้ โลก แต่ผลของมนั โดยเฉพาะในช่วง ๓๐ ปีทผี่ า่ นมา พิสูจนใ์ หเ้ ห็นวา่ มี ปญั หาทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความเหลอ่ื มล้�ำสดุ ๆ แบบทเี่ รยี กกนั วา่ ปรากฏการณ์ ๙๙ : ๑ คอื คน ๑ เปอรเ์ ซ็นต์ เทา่ นั้นที่ไดร้ บั ประโยชน์ แตอ่ ีก ๙๙ เปอร์เซน็ ต์ ไมไ่ ดร้ บั ประโยชนห์ รือเสียประโยชน์ ความเหลื่อมล้�ำหรือความไม่เป็นธรรมขณะนี้มีผลตามมาอย่าง มหาศาล เป็นวิกฤตการณ์ปัจจุบันหรือวิกฤตการณ์โลก ที่ไม่สามารถก้าว ข้ามได้ด้วยระบบเศรษฐกิจแบบเดิม ตามคำ� พูดท่ีว่า “คุณไม่สามารถแก้ ปัญหาไดด้ ้วยวธิ ีการทีก่ อ่ ให้เกดิ ปัญหานัน้ ” ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 39
๑. ระบบเศรษฐกจิ ทผี่ ดิ เกิดจากฐานความคิดทผ่ี ดิ ฐานการคดิ ทผี่ ดิ คอื การคดิ แบบกลไกและแยกสว่ น ไมใ่ ชก่ าร คดิ แบบองคร์ วม องค์รวมคือ โลกท้งั โลกเป็นองค์รวมเดยี วกนั เมื่อเป็นองค์รวมเดียวกัน แล้วคิดว่าระบบเศรษฐกิจคือการ แข่งขันเสรจี ะได้หรือ เหมือนร่างกายท้ังหมดเป็นหนึ่งเดียวกัน จะปล่อยให้ส่วนใด ส่วนหน่งึ ขาดเลือดไปเล้ียงไม่ได้ เพราะจะกระทบองค์รวมทงั้ หมด เพราะฉะนนั้ ระบบเศรษฐกจิ จงึ เปน็ เสมอื นระบบสบู ฉดี โลหติ ไปหลอ่ เลีย้ งร่างกายอย่างท่วั ถงึ เป็นธรรม (ถกู ต้อง) ไม่ใชท่ นุ นยิ มเสรีอย่างที่คดิ แบบกลไกและแยกสว่ น การคิดและทำ� แบบแยกสว่ นจะน�ำไปสูส่ ภาวะวิกฤตเสมอ ๒. เมอื่ มีการเห็นอยา่ งถูกตอ้ ง วา่ ระบบเศรษฐกจิ คืออะไร กส็ ามารถออกแบบ (design) ได้ ทิฐิ แปลวา่ การเห็น การเหน็ อยา่ งถูกต้องเรียกวา่ สมั มาทฐิ ิ ถา้ ตรงขา้ มก็เป็นมจิ ฉาทฐิ ิ สมั มาทฐิ ิกำ� หนดสามารถพัฒนา มจิ ฉาทฐิ ิก�ำหนดมจิ ฉาพฒั นา 40 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
เมื่อเราเห็นว่าประเทศทั้งหมดเป็นองค์รวมหนึ่งเดียวกัน และ ระบบเศรษฐกจิ เปน็ เสมอื นระบบสบู ฉดี โลหติ ไปหลอ่ เลย้ี งทกุ สว่ นของ ร่างกายอยา่ งทว่ั ถงึ ทันกาล จะใหส้ ่วนใดสว่ นหน่งึ ขาดเลือดไมไ่ ด้ เราก็สามารถออกแบบระบบเศรษฐกิจกระบวนทัศน์ใหม่ได้ เปน็ ระบบเศรษฐกจิ สมั มาพฒั นา ทก่ี อ่ ใหเ้ กิดความร่มเยน็ เปน็ สขุ ๓. การมสี มั มาชีพเตม็ พืน้ ท่ี เปน็ วัตถปุ ระสงคข์ องระบบเศรษฐกจิ ใหม่ ไม่ใชจ่ ดี พี ี จดี พี เี ปน็ เพยี งเครอื่ งวดั อยา่ งหนง่ึ แตไ่ มใ่ ชว่ ตั ถปุ ระสงค์ เพราะ จดี พี สี ูงไม่ไดห้ มายถึงความทว่ั ถงึ เปน็ ธรรม การมีสัมมาชีพเต็มพื้นท่ี หมายถึงท่ัวถึงเป็นธรรม จึงเป็น วตั ถปุ ระสงคข์ องระบบสัมมนาเศรษฐกิจ สมั มาชพี หมายถงึ อาชพี ทไี่ มเ่ บยี ดเบยี นตนเอง ไมเ่ บยี ดเบยี น ผู้อ่ืน ไมเ่ บยี ดเบยี นส่ิงแวดล้อม และมรี ายจ่ายนอ้ ยกวา่ รายได้ (เบยี ดเบยี นตนเอง หมายถงึ เปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพของตนเอง และสุขภาวะของครอบครัว) สัมมาชีพ จึงเป็นดัชนีร่วม ท่ีรวมเร่ืองเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม และศีลธรรม เข้ามาด้วยกนั จึงเปน็ เครื่องชวี้ ดั ท่ีดีมาก เม่ือมีสัมมาชีพเต็มพ้ืนท่ี จึงทำ� ให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขและ ศีลธรรมดี เร่ืองนี้เคยเกดิ ขน้ึ ทตี่ �ำบลยกกระบตั ร อำ� เภอบา้ นแพ้ว จังหวัด ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 41
สมทุ รสาคร เมอื่ ๕๐ ปีก่อน และมกี ารพูดถงึ ในพระสูตรทช่ี ่ือวา่ กฏ ทันตสูตร ท่ีบรรยายภาพสังคมที่มีสัมมาชีพเต็มพ้ืนที่ไว้อย่างวิจิตร ความวา่ “โภคทรัพยจ์ ะเกิดขึ้นในทอ้ งพระคลงั = เศรษฐกจิ ดี ราษฎรจะไมต่ ้องปดิ ประตูเรือนอยู่ = ศลี ธรรมดี จะยังบตุ รให้ฟ้อนอยู่บนอก” = ครอบครัวอบอนุ่ น่ันคือภาพของความร่มเย็นเป็นสุข ที่จะเกิดข้ึนจากการมี สมั มาชพี เต็มพื้นท่ี เพราะฉะนัน้ การมสี มั มาชพี เตม็ พื้นทจี่ ึงเปน็ วัตถุประสงคข์ อง ระบบเศรษฐกจิ ใหม่ ไม่ใช่จีดีพี จะตอ้ งออกแบบระบบเศรษฐกจิ ทเ่ี กดิ ผลตามวตั ถปุ ระสงคน์ ้ี ท่ี ไมใ่ ชก่ ารแข่งขันเสรีอยา่ งระบบเศรษฐกจิ เก่า ๔. ระบบเศรษฐกิจหลายเสน้ ทาง (Multiple pathways) อะไรที่มีเส้นทางเดียว ถ้าเส้นทางน้ันตัน จะล�ำบาก มากเกิด การจนตรอก เพราะไม่มีทางไป ระบบเศรษฐกิจแบบปัจจุบันเป็นระบบเส้นทางเดียว เวลามัน ตกต่�ำแตล่ ะคร้งั มคี นฆ่าตวั ตายกนั มาก เพราะจนตรอก ประเทศไทย ก็มี ดังที่พ่อแม่ลูกพากันตายท้ังครอบครัว เด็กๆ ไม่มีโอกาสมีชีวิต ตอ่ ไปท้งั ๆ ทไ่ี มม่ ีความผิดอะไรเลย แต่เป็นความผิดของระบบเศรษฐกิจท่ีโหดร้ายต่อชีวิต เพราะ ไมไ่ ดเ้ อาชีวิตของคนทง้ั หมดเปน็ ตัวต้ัง 42 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ระบบร่างกายซ่ึงเป็นระบบท่ีดีที่สุดในโลก ไม่มีวันใช้เส้นทาง เดยี ว เพราะถา้ อดุ ตนั มนั จะตาย อยา่ งระบบสบู ฉดี โลหติ ไปหลอ่ เลย้ี ง รา่ งกายทกุ สว่ น ทกุ สว่ นของรา่ งกายจะตอ้ งมหี ลอดโลหติ หลายเสน้ ทางมาหล่อเล้ยี ง ถ้าเส้นทางหนึ่งตัน เลือดยังมาหล่อเล้ียงได้โดยเส้นทางอ่ืน เพราะจะปลอ่ ยใหส้ ว่ นใดสว่ นหนงึ่ ขาดเลอื ดไมไ่ ด้ เพราะทกุ สว่ นลว้ น เป็นสว่ นหนึง่ ขององคร์ วมเดยี วกัน ฉะนั้น ระบบเศรษฐกจิ ใหม่ซึง่ เปน็ เศรษฐกจิ องคร์ วม จะต้องมี หลายเสน้ ทาง เพอื่ รบั ประกนั วา่ ทกุ สว่ นของสงั คมมเี ลอื ดไปหลอ่ เลยี้ ง ทว่ั ถงึ ทนั กาล ๕. ระบบเศรษฐกิจ ๓ เส้นทาง ทบ่ี รู ณาการกัน ในที่นี้จะเสนอระบบเศรษฐกิจ ๓ เส้นทางท่ีบูรณาการกนั บูรณาการกันเพอ่ื สร้างสมั มาชีพเต็มพนื้ ท่ี ทกุ หมบู่ ้าน ทกุ ต�ำบล และทกุ ในเมอื ง ๑ ๒ เศรษฐกจิ เศรษฐกิจ ภูมิคมุ้ กัน สงั คมทท่ี ัว่ ถึง เปน็ ธรรม แบบยูนุส ๓ เศรษฐกจิ มหภาค แบบบูรณาการ ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 43
ระบบเศรษฐกจิ องค์ ๓ ประกอบด้วย (๑) ระบบเศรษฐกิจภูมิคุ้มกัน (บนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของ ร.๙) (๒) ระบบเศรษฐกจิ สังคมท่ีท่วั ถงึ เปน็ ธรรมแบบยนู สุ (๓) ระบบเศรษฐกิจมหภาคที่มีจติ สำ� นกึ องคร์ วม ทงั้ ๓ เปรยี บเสมอื นหว่ ง ๓ หว่ ง ท่คี ล้องกนั ตามรูป และ ขยายความดงั ต่อไปนี้ (๑) ระบบเศรษฐกจิ ภูมิคุ้มกัน ภูมิคุ้มกัน หมายถึง ไม่ว่าจะเกิดเภทภัยใดๆ จาก ภายในหรือภายนอกก็ตาม ประชาชนส่วนใหญ่หรือ ทัง้ หมดจะมีภูมิคุ้มกันจากเภทภยั น้นั ๆ โดย “มบี า้ นอยู่ มอี าหารกนิ อยา่ งพอเพยี ง มคี รอบครวั อบอนุ่ มีชุมชนเขม้ แขง็ ” = บอคช. บา้ น อาหาร ครอบครวั ชมุ ชน บอคช. เปน็ ความตอ้ งการพน้ื ฐาน ทที่ �ำใหเ้ กดิ ความ มน่ั คงในชวี ติ และความสุข ระบบเศรษฐกิจพ้ืนฐานต้องมีภูมิคุ้มกันท่ีอ�ำนวย บอคช. ใหป้ ระชาชนท้ังประเทศ ไม่วา่ โลกจะวกิ ฤตหรือ ผกผนั อย่างใดๆ ระบบอย่างน้ีจัดให้มีขึ้นได้ โดยให้ทุกชุมชนมีท่ีดิน อย่างพอเพียงท่ีสมาชิกทุกครอบครัวจะมีบ้านอยู่ และ ชุมชนสามารถผลิตอาหารได้เหลือกิน โดยผลิตเพ่ือทุก 44 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ครอบครวั ในชมุ ชนบรโิ ภคอยา่ งพอเพยี ง เหลอื ขายจะทำ� อะไรอื่นๆ เพ่ิมเติมก็ได้ แต่ครอบครัวต้องได้อยู่ด้วยกัน อยา่ งอบอนุ่ และชุมชนเขม้ แขง็ นจ้ี ะตรงกบั เกษตรทฤษฎใี หม่ และปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงของ ร.๙ ซึ่งต้องท�ำให้เป็นนโยบายท่ีท�ำให้เกิด จริงทวั่ ประเทศ ระบบเศรษฐกิจนี้อาจเรียกว่า “ระบบเศรษฐกิจ ชุมชนบนฐานการเกษตรพลังบวก Farm-based Community Economy Plus” พลงั บวก หมายถงึ ทำ� อะไรอน่ื ๆ เพมิ่ เตมิ ไดเ้ ตม็ ทบ่ี น ฐานทม่ี ีภูมคิ ุ้มกัน ถึงจะสุ่มเสีย่ งไปบา้ งกไ็ ม่เป็นไร เพราะ มีภมู คิ ุ้มกนั เปน็ ฐาน ระบบเศรษฐกิจภูมิคุ้มกันจะท�ำให้ประชาชนท้ัง ประเทศเข้มแข็ง เปน็ ปจั จยั เออ้ื ให้เศรษฐกจิ มหภาคแขง็ แรง (๒) ระบบเศรษฐกิจสังคมทท่ี ว่ั ถึงเปน็ ธรรม แบบยูนุส โมฮัมหมัด ยูนุส นักเศรษฐศาสตร์ชาวบังกลาเทศ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลด้านสันติภาพ ได้บุกเบิกต้ัง Grameen Bank หรือธนาคารเพื่อคนจน เขาค้นพบจากประสบการณ์จากการท�ำงานกับ คนจนมาหลายสิบปวี ่า คนเล็กคนน้อย คนยากคนจน มี ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 45
ศักยภาพท่ีจะสร้างงาน ถ้าได้รับการสนับสนุนด้านทุน เทคโนโลยแี ละการจดั การ เขาท�ำงานในหลายประเทศ และมีชาวบ้านท่ีได้รับ ประโยชน์หลายร้อยล้านคน จนเขาม่ันใจว่า “โลกสาม ศูนย์” เป็นส่งิ ท่เี ป็นไปได้ คอื ๐ ความยากจนเป็นศูนย์ ๐ การว่างงานเปน็ ศูนย์ ๐ การปล่อยมลพษิ เป็นศนู ย์ (ดหู นงั สอื ชอื่ “โลกสามศนู ย”์ ของเขา แปลและจดั พมิ พโ์ ดย สำ� นกั พิมพ์มตชิ น) การว่างงานเป็นศูนย์ เพราะประชาชนเป็นผู้สร้าง งานเอง โดยเปน็ ผู้ประกอบการเอง ไม่ใช่รอคอยให้มีใคร มาจ้างงาน เมื่อไม่มีใครจ้างจึง “ว่าง” มันเป็นระบบ เศรษฐกิจที่ผิด ประชาชนทุกคนสามารถเป็นผู้สร้างงาน เองจึงไม่มีการว่าง ระบบน้ีจึงเรียกว่า ระบบเศรษฐกิจ สังคมที่มีความทั่วถึงเป็นธรรม เพราะสังคมเป็นผู้สร้าง เศรษฐกิจเสียเองจึงทว่ั ถึงเปน็ ธรรม ยูนุสเชื่อว่า โลกสามศูนย์จะเป็นอารยธรรมใหม่ ที่ เขา้ มาแทนทอี่ ารยธรรมเกา่ อนั ขาดความเปน็ ธรรม ขอเรยี ก ระบบเศรษฐกิจนี้ว่า “ระบบเศรษฐกิจสังคมท่ีท่ัวถึงเป็น ธรรมแบบยนู สุ ” ระบบเศรษฐกิจมหภาคแบบบูรณาการยังจ�ำเป็น ตอ้ งมอี ยู่ แตไ่ มใ่ ชเ่ ปน็ แบบแยกสว่ นแบบเกา่ แตเ่ ปน็ แบบ บรู ณาการสอู่ งคร์ วม โดยสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ระบบเศรษฐ- กจิ แบบ ๑ และแบบ ๒ 46 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ในขณะเดยี วกนั ระบบเศรษฐกจิ ๑ และ ๒ กเ็ กอื้ กลู ๓ ท้งั ๓ จงึ คลอ้ งกนั อยู่เพราะอยใู่ นองค์รวมเดยี วกัน รัฐบาลสามารถท�ำได้โดยต้ัง “กองทัพเศรษฐกิจ ใหม่” โดยจ้างบัณฑิตตกงานท้ังหมด โดยให้ศึกษาวิธี การของยนู สุ อยา่ งเขม้ ขน้ และกระจายกนั ออกปฏบิ ตั กิ าร กับประชาชนคนเล็กคนน้อย คนยากคนจน ช่วยให้เขา รวมตวั รว่ มคดิ รว่ มท�ำหรอื รว่ มเรยี นรู้ เพอื่ เปน็ ผปู้ ระกอบ การ โดยดงึ แหลง่ เงนิ กู้ เทคโนโลยี และการจัดการ เข้า มาสนับสนนุ ระบบเศรษฐกจิ สงั คมทที่ วั่ ถงึ เปน็ ธรรมน้ี ถา้ ทำ� อยา่ ง ได้ผลเต็มประเทศ จะสร้างสัมมาชีพเต็มพ้ืนท่ี ความ ยากจนเปน็ ศนู ย์ การวา่ งงานเปน็ ศนู ย์ การปลอ่ ยมลภาวะ เปน็ ศนู ย์ อยา่ งยูนสุ ว่า และเป็นการสร้างอารยธรรมใหม่ ทเี ดียว (๓) ระบบเศรษฐกจิ มหภาคท่มี จี ิตสำ� นกึ องค์รวม ระบบเศรษฐกจิ มหภาคมพี ลงั มหาศาลประกอบดว้ ย ทุนขนาดใหญ่ ทัง้ ทีเ่ ป็นเงนิ เทคโนโลยี นวตั กรรม การ จัดการ และก�ำลงั คนทมี่ คี วามสามารถสูง เปรียบเสมอื น เครอื่ งจกั รขนาดใหญ่ จำ� เปน็ สำ� หรบั การทำ� เรอื่ งใหญๆ่ ที่ จุลภาคหรือรัฐท�ำไมไ่ ด้ ในยคุ หลงั โควดิ -๑๙ ตอ้ งเปลย่ี นการคดิ เชงิ กลไกและ แยกสว่ นมาเป็นคดิ แบบองคร์ วม ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 47
ระบบเศรษฐกิจมหภาคจิตส�ำนึกองค์รวมจะเป็น เสมอื นหลอดเลอื ดใหญ่ ส่วนระบบเศรษฐกิจภูมิคุ้มกันและระบบเศรษฐกิจ สังคมท่ีเน้นความท่ัวถึงเป็นธรรม เปรียบเสมือนระบบ เส้นเลือดฝอยทีก่ ระจายไปทกุ ซอกทกุ มมุ ของร่างกาย เม่ือหลอดเลือดใหญ่ไปเชื่อมกับหลอดเลือดฝอย ก็ จะมีท้ังแรงส่งและความทวั่ ถงึ เปน็ ธรรม ระบบเศรษฐกิจมหภาคที่ไปเชื่อมโยงกับระบบ เศรษฐกิจจุลภาคอีก ๒ ระบบอยา่ งเกือ้ กูล จะชว่ ยทำ� ให้ ระบบย่อยแข็งแรงและท่ัวถึงมากขึ้น และระบบย่อยซ่ึง เป็นเศรษฐกิจรากฐาน เมื่อรากฐานแข็งแรงย่อมรองรับ ให้ระบบเศรษฐกิจมหภาคขา้ งบนมั่นคง ระบบเศรษฐกจิ องค์ ๓ ทีบ่ รู ณาการกัน เป็นระบบ เศรษฐกิจกระบวนทัศนใ์ หม่ยคุ หลังโควดิ -๑๙ เป็นระบบ เศรษฐกิจองคร์ วม เมื่อมีความเป็นองค์รวมจะมีคุณสมบัติใหม่อัน มหศั จรรยต์ า่ งๆ เหมอื นความเปน็ คน ซงึ่ เปน็ องคร์ วมของ เซลล์และอวัยวะต่างๆ ของร่างกายมีคุณสมบัติอัน มหัศจรรยเ์ หนือส่วนยอ่ ยท่ีมาประกอบกนั เปน็ คน ๖. ระบบเศรษฐกิจใหม่ จะทำ� ให้บา้ นเมืองลงตวั ที่บ้านเมืองไม่ลงตัวเพราะคิดแบบแยกส่วน และท�ำแบบแยก สว่ น 48 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ระบบเศรษฐกจิ กระบวนทศั นใ์ หม่ เกดิ จากการคดิ แบบองคร์ วม ว่าประเทศไทยทงั้ หมดรวมเปน็ หนึ่งเดยี วกนั จิตส�ำนึกแห่งองค์รวมจะปรับเปล่ียนพฤติกรรมของบุคคล องค์กร และสถาบันต่างๆ ให้คิดถึงประเทศไทยในฐานะองค์รวม เดียวกัน ซึ่งจะน�ำไปสู่การพัฒนาอย่างบูรณาการ ที่มีการพัฒนาท้ัง ๘ เรอ่ื ง เชือ่ มโยงอยใู่ นกันและกนั คือ เศรษฐกิจ (๑) – จิตใจ (๒) – สงั คม (๓) – สง่ิ แวดลอ้ ม (๔) – วฒั นธรรม (๕) – สขุ ภาพ (๖) – การศกึ ษา (๗) – ประชาธิปไตย (๘) – ไมแ่ ยกกันเปน็ เร่ืองโดดๆ ไม่เกย่ี วขอ้ งกัน อยา่ งเชน่ การศึกษา เป็นการท่องวิชาเท่าน้ันไม่เก่ียวข้องกับอีก ๗ เรื่อง อันท�ำให้ ประเทศไทยอ่อนแอ การศึกษาควรจะบูรณาการอย่ใู นอกี ๗ เรื่อง ประดจุ มรรค ๘ ทเี่ รม่ิ ดว้ ยสมั มาทฐิ ิ และลงทา้ ยดว้ ยสมั มาสมาธิ มรรคทัง้ ๘ ไมไ่ ดแ้ ยกกนั แต่อยูใ่ นกันและกัน ทางพระท่านเรยี กว่า มรรคสมงั คี การพัฒนาท้งั ๘ หรือมรรค ๘ แหง่ การพัฒนา กต็ ้องเชื่อมโยง อยใู่ นกันและกัน หรือเป็นมรรคสมังคีเหมอื นกัน การคดิ และทำ� อยา่ งบรู ณาการจะทำ� ใหบ้ า้ นเมอื งลงตวั เรมิ่ จาก ระบบเศรษฐกจิ กระบวนทศั นใ์ หม่ เปน็ template (แมแ่ บบ) ใหก้ าร พฒั นาอ่ืนๆ เขา้ มาเกาะเกย่ี วและเช่ือมโยงกัน ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 49
“จติ สำ� นึกแห่งองค์รวม จะปรับเปลยี่ นพฤติกรรม ใขหอ้คงบดิ ถคุ งึคปลรอะเงทคศ์กไรทแยลในะฐสาถนาะบอนั ตงา่ คงๆร์ วมเดยี วกัน ”ซึ่งจะน�ำไปสู่การพัฒนาอย่างบูรณาการ 50 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
Search