Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานที่1-นายธนคม-วาจาฉลาด-เลขที่11

งานที่1-นายธนคม-วาจาฉลาด-เลขที่11

Published by Chompoo Patcharapa, 2020-11-10 14:52:46

Description: งานที่1-นายธนคม-วาจาฉลาด-เลขที่11

Search

Read the Text Version

ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (Digital intelligence) ความเป็นพลเมืองดิจิทลั (Digital Citizenship) เป็นพลเมืองที่มีความสามารถในการใช้อนิ เทอร์เนต็ ในการ บริหารจดั การ ควบคมุ กากบั ตน รู้ ผดิ รู้ถกู และรู้เท่าทนั เป็ นบรรทดั ฐานในการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั อย่าง เหมาะสม มีความ รับผดิ ชอบ เรียนรู้ท่ีจะใช้เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาด และปลอดภยั พลเมืองดจิ ทิ ลั จึงต้อง ตระหนกั ถงึ โอกาสและความเสย่ี งในโลกดิจทิ ลั เข้าใจถึงสทิ ธิและความรับผดิ ชอบในโลก ออนไลน์ ความเป็น พลเมืองดจิ ทิ ลั นบั เป็นมาตรฐานหน่ึงด้านทางเทคโนโลยีการศกึ ษาที่เสนอ โดยสมาคมเทคโนโลยีการศึกษา นานาชาติ (ISTE : International Society for Technology in Education) เพ่ือให้ผ้เู รียนสามารถแสดง ความเข้าใจประเด็นทางสงั คม วฒั นธรรม และความ เป็นมนษุ ย์ ที่เก่ียวข้องกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งมีจริยธรรมและตาม ครรลองกฎหมายให้ใช้ข้อมลู ขา่ วสารได้อย่างปลอดภยั ถกู กฎหมาย ซงึ่ มี ความสาคญั ในทกั ษะ แหง่ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทกั ษะสาคญั ท่ีจะทาให้เป็นพลเมืองดิจิทลั ท่ีสมบรู ณ์ ความ ฉลาดทางดิจิทลั เป็นผลจากศึกษาและพฒั นาของ DQ institute หนว่ ยงานที่เกดิ จากความ ร่วมมือกนั ของภาครฐั และเอกชนทว่ั โลกประสานงานร่วมกบั เวลิ ด์อีโคโนมิกฟอร่ัม (World Economic Forum) ที่มงุ่ มนั่ ให้เด็ก ๆ ทกุ ประเทศได้รับการศึกษาด้านทกั ษะพลเมืองดจิ ิทลั ท่ีมี คณุ ภาพและใช้ชีวติ บนโลก ออนไลน์อยา่ งปลอดภยั ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ความฉลาดทางดิจิทลั เป็นกรอบแนวคดิ ที่ ครอบคลมุ ของความสามารถทางเทคนิคความรู้ ความเข้าใจและความคิดทางสงั คมท่ีมีพืน้ ฐานอยใู่ นค่านิยมทาง ศีลธรรมท่ีชว่ ยให้บคุ คลที่จะ เผชิญกบั ความท้าทายทางดจิ ทิ ลั ความฉลาดทางดิจทิ ลั มีสามระดบั 8 ด้าน และ 24 สมรรถนะ ท่ีประกอบด้วย ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคตแิ ละค่านิยม โดยบทความนีจ้ ะกลา่ วถึงทกั ษะ 8 ด้านของ ความฉลาดดจิ ิทลั ในระดบั พลเมืองดิจทิ ลั ซงึ่ เป็นความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และ สอ่ื ในรูปแบบที่ ปลอดภยั รับผดิ ชอบ และมีจริยธรรม ดงั นี ้



การเป็นพลเมืองดิจิทลั น้นั มีทกั ษะสาคญั 8 ประการ ท่ีควรบ่มเพาะใหเ้ กิดข้ึนกบั พลเมือง ดิจิทลั ทกุ คนในศตวรรษท่ี 21 ดงั น้ี 1. ทกั ษะในการรักษาอตั ลกั ษณ์ทด่ี ขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) ตอ้ งมีความสามารถในการสร้างสมดลุ บริหารจดั การ รักษาอตั ลกั ษณ์ทดี่ ีของตนเองไว้ ใหไ้ ด้ ท้งั ในส่วนของโลกออนไลนแ์ ละโลกความจริง โดยตอนน้ีประเด็นเร่ืองการ สร้างอตั ลกั ษณ์ออนไลน์ถือเป็นปรากฏการณ์ใหม่ ทท่ี าใหบ้ ุคคลสามารถแสดงออกถึง ความเป็นตวั ตนต่อสังคมภายนอก โดยอาศยั ช่องทางการส่ือสารผา่ นเวบ็ ไซตเ์ ครือข่าย สังคมในการอธิบายรูปแบบใหม่ของการส่ือสารแบบมีปฏิสัมพนั ธ์ทางอินเทอร์เน็ต ซ่ึง เป็นการแสดงออกเก่ียวกบั ตวั ตนผา่ นเวบ็ ไซตเ์ ครือข่ายสงั คมตา่ งๆ

2. ทกั ษะในการรักษาข้อมลู ส่วนตัว (Privacy Management) ดุลพินิจในการบริหารจดั การขอ้ มูลส่วนตวั โดยเฉพาะการแชร์ขอ้ มูลออนไลนเ์ พือ่ ป้ องกนั ความเป็นส่วนตวั ท้งั ของตนเองและผอู้ น่ื เป็นสิ่งสาคญั ทตี่ อ้ งประกอบอยใู่ น พลเมืองดิจิทลั ทกุ คน และพวกเขาจะตอ้ งมีความตระหนกั ในความเทา่ เทียมกนั ทางดิจิทลั เคารพในสิทธิของคนทุกคน รวมถึงตอ้ งมีวจิ ารณญาณในการรักษาความปลอดภยั ของ ขอ้ มลู ตนเองในสงั คมดิจิทลั รู้วา่ ขอ้ มูลใดควรเผยแพร่ ขอ้ มลู ใดไม่ควรเผยแพร่ และตอ้ ง จดั การความเสี่ยงของขอ้ มลู ของตนในสื่อสงั คมดิจิทลั ไดด้ ว้ ย

3. ทกั ษะในการคดิ วเิ คราะห์มวี จิ ารณญาณทดี่ ี (Critical Thinking) ความสามารถในการวิเคราะห์แยกแยะระหว่างขอ้ มูลท่ีถกู ตอ้ งและขอ้ มลู ท่ผี ดิ ขอ้ มลู ทีม่ ี เน้ือหาดีและขอ้ มลู ที่เขา้ ข่ายอนั ตราย รู้ว่าขอ้ มูลลกั ษณะใดที่ถูกส่งผา่ นมาทางออนไลน์ แลว้ ควรต้งั ขอ้ สงสัย หาคาตอบใหช้ ดั เจนก่อนเช่ือและนาไปแชร์ ดว้ ยเหตุน้ี พลเมือง ดิจิทลั จึงตอ้ งมีความรู้ความสามารถในการเขา้ ถึง ใช้ สร้างสรรค์ ประเมิน สังเคราะห์ และสื่อสารขอ้ มลู ข่าวสารผา่ นเคร่ืองมือดิจิทลั ซ่ึงจาเป็นตอ้ งมีความรู้ดา้ นเทคนิคเพอื่ ใช้ เคร่ืองมือดิจิทลั เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน แทบ็ เลต็ ไดอ้ ยา่ งเชี่ยวชาญ รวมถึงมี ทกั ษะในการรู้คิดข้นั สูง เช่น ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ ท่จี าเป็นต่อการเลือก จดั ประเภท วิเคราะห์ ตีความ และเขา้ ใจขอ้ มลู ข่าวสาร มีความรู้และทกั ษะใน สภาพแวดลอ้ มดิจิทลั การรู้ดิจิทลั โดยมุ่งใหเ้ ป็นผใู้ ชท้ ่ีดี เป็ นผเู้ ขา้ ใจบริบทท่ดี ี และเป็น ผสู้ ร้างเน้ือหาทางดิจิทลั ทีด่ ี ในสภาพแวดลอ้ มสงั คมดิจิทลั

4. ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) ทกั ษะในการบริหารเวลากบั การใชอ้ ปุ กรณ์ยคุ ดิจิทลั รวมไปถึงการควบคุมเพ่ือใหเ้ กิด สมดุลระหวา่ งโลกออนไลน์และโลกภายนอก นบั เป็ นอีกหน่ึงความสามารถท่ีบง่ บอกถึง ความเป็นพลเมืองดิจิทลั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี เพราะเป็นทรี่ ู้กนั อยแู่ ลว้ ว่าการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศทขี่ าดความเหมาะสมยอ่ มส่งผลเสียต่อสุขภาพโดยรวม ท้งั ความเครียดต่อ สุขภาพจิตและเป็นสาเหตุก่อใหเ้ กิดความเจบ็ ป่ วยทางกาย ซ่ึงนาไปสู่การสูญเสีย ทรัพยส์ ินเพื่อใชร้ ักษา และเสียสุขภาพในระยะยาวโดยรู้เทา่ ไม่ถึงการณ์

5. ทกั ษะในการรับมอื กบั การคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) จากขอ้ มลู ทางสถิติล่าสุด สถานการณ์ในเร่ือง Cyber bullying ในไทย มีค่าเฉลี่ยการกลน่ั แกลง้ บนโลกออนไลนใ์ นรูปแบบต่างๆ ท่ีสูงกวา่ ค่าเฉลี่ยโลกอยทู่ ี่ 47% และเกิดใน รูปแบบทีห่ ลากหลาย อาทิ การด่าทอกนั ดว้ ยขอ้ ความหยาบคาย การตดั ต่อภาพ สร้าง ขอ้ มูลเทจ็ รวมไปถึงการต้งั กลุม่ ออนไลน์กีดกนั เพอื่ นออกจากกลุ่ม ฯลฯ ดงั น้นั วา่ ท่ี พลเมืองดิจิทลั ทุกคน จึงควรมีความสามารถในการรับรู้และรับมือการคกุ คามข่มข่บู น โลกออนไลน์ไดอ้ ยา่ งชาญฉลาด เพอ่ื ป้ องกนั ตนเองและคนรอบขา้ งจากการคุกคามทาง โลกออนไลน์ใหไ้ ด้

6. ทกั ษะในการบริหารจดั การข้อมูลทผี่ ู้ใช้งานทงิ้ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) มีรายงานการศกึ ษาวจิ ยั ยนื ยนั วา่ คนรุ่น Baby Boomer คือ กลุ่ม Aging ท่เี กิดต้งั แต่ปี พ.ศ. 2487 – 2505 มกั จะใชง้ านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีของผอู้ ่ืน และ เปิ ดใชง้ าน WiFi สาธารณะ เสร็จแลว้ มกั จะละเลย ไมล่ บรหสั ผา่ นหรือประวตั ิการใชง้ าน ถึง 47% ซ่ึงเสี่ยงมากท่ีจะถูกผอู้ ื่นสวมสิทธิ ขโมยตวั ตนบนโลกออนไลน์ และเขา้ ถึง ขอ้ มูลส่วนบุคคลไดอ้ ยา่ งง่ายดาย ดงั น้นั ความเป็นพลเมืองดิจิทลั จึงตอ้ งมีทกั ษะ ความสามารถที่จะเขา้ ใจธรรมชาติของการใชช้ ีวติ ในโลกดิจิทลั วา่ จะหลงเหลือร่องรอย ขอ้ มูลทงิ้ ไวเ้ สมอ รวมไปถึงตอ้ งเขา้ ใจผลลพั ธ์ทอ่ี าจเกิดข้ึน เพ่อื การดแู ลส่ิงเหลา่ น้ีอยา่ งมี ความรับผดิ ชอบ 7. ทกั ษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) ความสามารถในการป้ องกนั ขอ้ มลู ดว้ ยการสร้างระบบความปลอดภยั ท่เี ขม้ แขง็ และ ป้ องกนั การโจรกรรมขอ้ มูลไม่ใหเ้ กิดข้ึนได้ ถา้ ตอ้ งทาธุรกรรมกบั ธนาคารหรือซ้ือสินคา้ ออนไลน์ เช่น ซ้ือเส้ือผา้ ชุดเดรส เป็ นตน้ ควรเปล่ียนรหสั บอ่ ยๆ และควรหลีกเลี่ยงการ ใชค้ อมพวิ เตอร์สาธารณะ และหากสงสัยว่าขอ้ มลู ถูกนาไปใชห้ รือสูญหาย ควรรีบแจง้ ความและแจง้ หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งทนั ที

8. ทกั ษะในการใช้เทคโนโลยอี ย่างมจี ริยธรรม (Digital Empathy) ความสามารถในการเห็นอกเห็นใจและสร้างความสมั พนั ธท์ ่ีดีกบั ผอู้ น่ื บนโลกออนไลน์ พลเมืองดิจิทลั ท่ดี ีจะตอ้ งรู้ถึงคุณค่าและจริยธรรมจากการใชเ้ ทคโนโลยี ตอ้ งตระหนกั ถึง ผลพวงทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม ทเ่ี กิดจากการใชอ้ นิ เทอร์เน็ต การ กดไลก์ กดแชร์ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ออนไลน์ รวมถึงรู้จกั สิทธิและความรับผดิ ชอบออนไลน์ อาทิ เสรีภาพในการพดู การเคารพทรัพยส์ ินทางปัญญาของผอู้ ่ืน และการปกป้ องตนเอง และชุมชนจากความเส่ียงออนไลน์ เช่น การกลนั่ แกลง้ ออนไลน์ ภาพลามกอนาจารเดก็ สแปม เป็นตน้ กล่าวโดยสรุป การจะเป็นพลเมืองดิจิทลั ท่ีดีน้นั ตอ้ งมีความฉลาดทางดิจิทลั ซ่ึงประกอบ ข้ึนดว้ ยชุดทกั ษะและความรู้ท้งั ในเชิงเทคโนโลยแี ละการคิดข้นั สูง หรือทีเ่ รียกวา่ “ความรู้ ดิจิทลั ” (Digital Literacy) เพ่อื ใหส้ ามารถใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มูลข่าวสารในโลกไซเบอร์ รู้วิธี ป้ องกนั ตนเองจากความเสี่ยงต่างๆ ในโลกออนไลน์ เขา้ ใจถึงสิทธิ ความรับผดิ ชอบ และ จริยธรรมทสี่ าคญั ในยคุ ดิจิทลั และใชป้ ระโยชน์จากอนิ เทอร์เนต็ ในการมีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม ทเี่ ก่ียวกบั ตนเอง ชุมชน ประเทศ และพลเมืองบนโลก ไดอ้ ยา่ ง สร้างสรรค์

ทมี่ า : บทความเรื่อง “พลเมืองดิจิทลั (Digital Citizenship)” โดย Phichitra Phetparee| เผยแพร่บน เวบ็ ไซต์ สสส. (วนั ท่ี 27 มีนาคม 2562) เอกสารวิชาการออนไลน์เรื่อง “คู่มือพลเมืองดิจิทลั ” โดย วรพจน์ วงศก์ ิจรุ่งเรือง เผยแพร่คร้ัง แรก: มิถุนายน 2561


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook