ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง สาระภมู ิศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และ แนวการจดั กิจกรรมการเรยี นรู สาํ นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรแู กนกลาง สาระภูมิศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และ แนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู สํานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระภูมศิ าสตร (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ สาระการเรียนรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู พิมพค รั้งท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๖๐ จํานวนพมิ พ ๓๕,๐๐๐ เลม ISBN 978-616-395-937-9 จดั พมิ พแ ละเผยแพร สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พมิ พที่ โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กดั ๗๙ ถนนงามวงศว าน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออสวุ รรณ ผูพมิ พผ โู ฆษณา
คํานาํ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดด าํ เนนิ การจดั ทาํ มาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ชว้ี ดั กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตรแ ละวทิ ยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานไดดําเนินการจัดทํา สาระภูมิศาสตร ในกลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พรอ มทง้ั จดั ทาํ สาระการเรยี นรแู กนกลาง ของกลุมสาระการเรียนรูและสาระดังกลาวในแตละระดับชั้น เพื่อใหเขตพ้ืนที่การศึกษา หนวยงาน ระดับทองถ่ิน และสถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไดนําไปใชเปนกรอบและทิศทาง ในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา และจดั การเรียนการสอน โดยจดั ทาํ เปน ๓ เลม ดังนี้ ๑. ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู กนกลาง กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๒. ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู กนกลาง กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๓. ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระภมู ศิ าสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ขอขอบคณุ ผทู ม่ี สี ว นรว มจากทกุ หนว ยงาน และทกุ ภาคสว นท่เี กย่ี วขอ ง ท้งั ในและนอกกระทรวงศึกษาธิการ ซึง่ ชวยในการจัดทาํ เอกสารดงั กลา ว ใหม คี วามสมบรู ณแ ละเหมาะสมสาํ หรบั การจดั การเรยี นการสอนในแตล ะระดบั ชน้ั สามารถพฒั นาผเู รยี น ใหมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กาํ หนด (นายการณุ สกุลประดิษฐ) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
สารบัญ หนา คาํ นํา ๑ ความเปน มาของการปรบั สาระภมู ิศาสตร ๒ เปาหมายของการเรยี นสาระภมู ศิ าสตร ๔ การรูเรอ่ื งภมู ศิ าสตร (geo-literacy) ๖ มาตรฐานการเรยี นรู ๖ คณุ ภาพผเู รยี น ๘ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง และการรูเรื่องภมู ศิ าสตร (geo-literacy) ๒๗ แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู ๕๖ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการรูเร่ืองภูมศิ าสตร ๕๙ ตัวอยา งแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู ๘๕ เอกสารอางองิ ๘๖ อภธิ านศพั ท ๙๓ คณะผจู ดั ทาํ
สาระภมู ิศาสตร ความเปน มาของการปรบั สาระภูมศิ าสตร กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป ระกาศใชห ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ใหเ ปน หลกั สตู ร แกนกลางของประเทศ เมอ่ื วนั ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน โดยสาํ นกั วชิ าการและ มาตรฐานการศึกษา ไดดําเนินการติดตามผลการนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติอยางตอเนื่องในหลายรูปแบบ ทั้งการ ประชุมรับฟงความคิดเห็น การนิเทศติดตามผลการใชหลักสูตรของโรงเรียน การรับฟงความคิดเห็นผานเว็บไซต ของสํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา รายงานผลการวิจัยของหนวยงานและองคกรท่ีเก่ียวของกับหลักสูตร และการใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ผลจากการศึกษา พบวา ปญหาสวนใหญ เกดิ จากการนาํ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ สูการปฏบิ ัติในสถานศึกษา และในหอ งเรียน อยางไรก็ตาม ในดานของเน้ือหาสาระในกลุมสาระการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางฯ พบวา มาตรฐานการเรียนรูและ ตวั ชว้ี ดั ซงึ่ เปน เปา หมายการพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี น ยงั ไมเ พยี งพอตอ การรองรบั สถานการณโ ลกทเี่ ปลยี่ นแปลงอยา งรวดเรว็ โดยเฉพาะอยางย่ิงการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซ่ึงเปนหัวใจของการวางรากฐานขีดความสามารถ ในการแขง ขนั ของประเทศ การพฒั นาศกั ยภาพคน การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรทู สี่ อดคลอ งกบั การเรยี นรู ในศตวรรษท่ี ๒๑ ใหส ามารถพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม กาวทนั และทดั เทยี มนานาชาติ นอกจากน้ี การศกึ ษาขอ มลู ทศิ ทางและกรอบยทุ ธศาสตรข องแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ซ่ึงเกิดขึ้นในชวงเวลาของการปฏิรูปประเทศ และสถานการณโลกท่ีเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว และเชื่อมโยงใกลช ดิ กนั มากข้นึ โดยจัดทาํ บนพื้นฐานของกรอบยทุ ธศาสตรชาติ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ซ่งึ เปน แผนหลักของการพัฒนาประเทศ และเปาหมายของการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) แผนการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ รวมทง้ั การปรบั โครงสรา งประเทศไปสปู ระเทศไทย ๔.๐ ซง่ึ ยทุ ธศาสตรช าติ ที่จะใชเปนกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ ๒๐ ปตอจากนี้ ประกอบดวย ๖ ยุทธศาสตร ไดแก (๑) ยุทธศาสตร ดานความมั่นคง (๒) ยุทธศาสตรดานการสรางความสามารถในการแขงขัน (๓) ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสราง ศกั ยภาพคน (๔) ยทุ ธศาสตรด า นการสรา งโอกาสความเสมอภาคและเทา เทยี มกนั ทางสงั คม (๕) ยทุ ธศาสตรด า นการสรา ง การเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ที่เปนมิตรกับสงิ่ แวดลอม และ (๖) ยุทธศาสตรดานการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ เพ่ือมุงสูวิสัยทัศนและทิศทางการพัฒนาประเทศ “ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กระทรวงศึกษาธิการโดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงไดพิจารณาปรับปรุงหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในสวนของมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระเทคโนโลยี และสาระภูมิศาสตร ใหสอดคลองกับแผนดังกลาว เพ่ือการสรางความสามารถในการแขงขัน การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน รองรับการเปลี่ยนแปลง โดยปรับปรุง มาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวช้วี ดั ใหมีความชัดเจน และมคี วามเปนสากลยงิ่ ขน้ึ 1ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรแู กนกลาง สาระภูมศิ าสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู กลุม สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาระภูมิศาสตร เปนศาสตรท่ีเก่ียวของท้ังวิทยาศาสตร และสังคมศาสตร สามารถบูรณาการกับศาสตรอื่นๆ ได เชน ประวตั ิศาสตร เศรษฐศาสตร วทิ ยาศาสตร และคณติ ศาสตร รวมทั้งไดพ จิ ารณาเหน็ วา ปจ จบุ นั ประเทศไทย และ พนื้ ทตี่ า งๆ ของโลกเกดิ ภาวะวกิ ฤตดา นกายภาพ ดา นสงิ่ แวดลอ ม และมผี ลกระทบอยา งรนุ แรงมากขน้ึ เรอ่ื ยๆ นอกจากนน้ั กระแสโลกาภิวัตน ความทันสมัยของวิทยาการและเครื่องมือทางภูมิศาสตร ท่ีเปนเทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร มีมากขึ้น ตลอดจนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพ่ือการสรางความย่ังยืน ซ่ึงการเรียนรูเพียง สาระสาํ คญั ของสาระภมู ศิ าสตรไ มเ พยี งพอตอ การเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ อยา งรวดเรว็ และบางครงั้ เกดิ ขน้ึ โดยคาดการณไ มไ ด ผูเรียนจึงตองมีทักษะ กระบวนการ และความสามารถทางภูมิศาสตร เพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรูประกอบกัน ดังน้ัน จึงจําเปนที่จะตองมีการทบทวนและปรับปรุงสาระภูมิศาสตร ในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ข้นึ การพัฒนาสาระภูมิศาสตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ น้ียังคงยึดหลักการพัฒนาการเรียนรูตามธรรมชาติ ของกลุมสาระและพัฒนาการในการเรียนรูของผูเรียน โดยกําหนดมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่สอดคลองกับระดับ ความรคู วามสามารถของผเู รยี น กลา วคอื ระดบั ประถมศกึ ษาผเู รยี นจะไดเ รยี นรจู ากสงิ่ ใกลต วั ไปไกลตวั ระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนตนผูเรียนจะไดเรียนรูเก่ียวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปตางๆ ท่ีสงผลตอกิจกรรมของมนุษย อันจะนําไปสู การพฒั นาทย่ี งั่ ยนื และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายผเู รยี นจะไดเ รยี นรเู กยี่ วกบั สาระภมู ศิ าสตร ทม่ี คี วามลมุ ลกึ และทนั สมยั ตอการเปลี่ยนแปลงของโลก เปาหมายของการเรยี นสาระภูมิศาสตร สาระภูมิศาสตรชวยใหผูเรียนเขาใจลักษณะทางกายภาพของโลก ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม ท่ีกอใหเกิดการสรางสรรควิถีการดําเนินชีวิต เพ่ือใหรูเทาทัน ปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดลอม ตลอดจน สามารถใชทักษะ กระบวนการ ความสามารถทางภูมิศาสตร และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรในการจัดการทรัพยากรและ สง่ิ แวดลอมตามสาเหตแุ ละปจ จัย อนั จะนําไปสกู ารปรบั ใชในการดําเนนิ ชีวติ ดังนั้น เพ่ือใหการเรียนรูสาระภูมิศาสตรบรรลุผลตามเปาหมายท่ีกําหนดไว จึงไดกําหนดทิศทางสําหรับ ครผู สู อน เพอื่ ใชเ ปน แนวทางการจดั การเรยี นรทู ส่ี ง ผลใหผ เู รยี น มคี วามรู ความเขา ใจ ความสามารถ และทกั ษะกระบวนการ ทางภมู ศิ าสตร ทสี่ ะทอ นสมรรถนะสาํ คญั และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข องผเู รยี นใหส อดคลอ งกบั จดุ มงุ หมายของหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ทม่ี งุ พฒั นาใหเ ปน คนดี มปี ญ ญา มคี วามสขุ มศี กั ยภาพในการศกึ ษาตอ และการประกอบอาชีพ จึงไดกําหนดแนวทางการจัดการเรียนรู ซึ่งประกอบดวย (๑) ความรูความเขาใจทางภูมิศาสตร (๒) ความสามารถทางภูมศิ าสตร (๓) กระบวนการทางภูมิศาสตร (๔) ทกั ษะทางภูมิศาสตร จากเปา หมายของการเรยี น สาระภูมศิ าสตรทกี่ ลาวมาขางตนสามารถสรุปเปน แผนภาพได ดงั น้ี 2ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระภูมิศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
แผนภาพท่ี ๑ เปาหมายของการเรยี นสาระภูมิศาสตร เอกสารฉบับนี้ นอกจากเปนกรอบและเปาหมายการพัฒนาผูเรียนแลว ยังเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู สาํ หรบั ครู ตามการรเู รอื่ งภมู ศิ าสตร (geo-literacy) เพอื่ ใหผ เู รยี นมคี วามรู ความเขา ใจไดอ ยา งถกู ตอ งและชดั เจน สามารถ คดิ อยา งเปนระบบ ยดื หยนุ ไดตามสภาพความเปน จรงิ และนําความรไู ปใชในการดําเนนิ ชวี ติ ตามเปาหมายทก่ี ําหนดไว 3ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระภูมศิ าสตร (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู กลุมสาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
การรูเร่ืองภูมิศาสตร (geo-literacy) การรเู รื่องภมู ศิ าสตร เปนความรพู ้นื ฐานของผูเ รยี นในคริสตศตวรรษที่ ๒๑ ในการแสวงหาความรู และตอบคําถาม ที่เก่ียวของกับทําเลท่ีต้ังหรือความสัมพันธของส่ิงตางๆ บนพื้นผิวโลก การพัฒนาใหผูเรียนสามารถดํารงตนอยูในวิถีของ การเปน พลเมืองโลกทด่ี ี ตลอดจนเขาใจการเปลย่ี นแปลงของสงิ่ แวดลอมไดอ ยางถูกตองน้ัน จาํ เปน อยา งยิง่ ท่จี ะตอ งทําให ผูเรียนตระหนักในการรูเรื่องภูมิศาสตร โดยจะสอดแทรกการรูเรื่องภูมิศาสตรในระหวางการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การรูเร่ืองภูมิศาสตรเปนลักษณะที่แสดงความสามารถในการใชความเขาใจเชิงภูมิศาสตร (ability to use geographic understanding) และการใหเ หตผุ ลทางภมู ศิ าสตร (geographic reasoning) เพอ่ื การตดั สนิ ใจเชงิ ภมู ศิ าสตร อยางเปนระบบ (systematic geographic decision) ในการแกไขปญหาและวางแผนในอนาคต (problem solving and future planning) โดยอาศัยองคประกอบที่สําคัญ ๓ ประการ คือ ความสามารถทางภูมิศาสตร กระบวนการ ทางภมู ิศาสตร และทกั ษะทางภูมิศาสตร ดังตารางตอไปนี้ ความสามารถทางภูมศิ าสตร กระบวนการทางภูมิศาสตร ทักษะทางภมู ศิ าสตร ความเขาใจระบบธรรมชาติ การตง้ั คาํ ถามเชงิ ภูมิศาสตร การสงั เกต และมนษุ ย การรวบรวมขอ มูล การแปลความขอมลู ทางภมู ิศาสตร การใหเ หตผุ ลทางภูมิศาสตร การจัดการขอ มลู การใชเ ทคนคิ และเคร่อื งมือ การตดั สินใจอยา งเปน ระบบ การวเิ คราะหขอ มลู ทางภมู ิศาสตร การสรปุ เพอ่ื ตอบคําถาม การคดิ เชงิ พน้ื ท่ี การคดิ แบบองครวม การใชเทคโนโลยี การใชส ถติ ิพ้นื ฐาน ตารางที่ ๑ การรเู รื่องภมู ศิ าสตร ความสามารถทางภมู ิศาสตร การรเู รอื่ งภมู ศิ าสตรจ าํ เปน ตอ งอาศยั ความสามารถในการใหเ หตผุ ลเกย่ี วกบั สงิ่ ตา งๆ บนโลกจากองคป ระกอบ ทส่ี าํ คญั ๓ ประการ ไดแก ๑) ความเขา ใจระบบธรรมชาตแิ ละมนษุ ย ความเขา ใจระบบธรรมชาตแิ ละมนษุ ย ผา นปฏสิ มั พนั ธ (interaction) เปน การเขา ใจความเปน ไปของโลก ผานปฏิสัมพันธของระบบธรรมชาติและระบบมนุษย โดยในระบบธรรมชาติจะเปนเรื่องที่เก่ียวของกับการเขาใจระบบ ของโลก สิง่ แวดลอ ม และนเิ วศวิทยา ทีเ่ นนหนา ท่ีและปฏสิ มั พนั ธระหวา งกนั นอกจากนี้ ในระบบมนษุ ยจะเปนการเขาใจ การประกอบกจิ กรรมตางๆ ของมนุษยบนพนื้ ผวิ โลก เชน การต้ังถนิ่ ฐาน ลกั ษณะทางวฒั นธรรม กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ที่กอใหเ กิดการเคลื่อนยายของคน ขอ มลู และขาวสาร ๒) การใหเหตุผลทางภมู ศิ าสตร การใหเหตุผลทางภูมิศาสตรผานการเชื่อมโยงระหวางกัน (interconnection) เปนการเขาใจการเกิด ปรากฏการณในแตละสถานที่จากการมีปฏิสัมพันธของระบบกายภาพและระบบมนุษย ดังน้ัน นอกจากความเช่ือมโยง ระหวา งกนั ของทง้ั สองระบบแลว การรแู ละเขา ใจความเปน มา สภาพทางภมู ศิ าสตร และสภาพทางสงั คม เปน ปจ จยั สาํ คญั ทสี่ ามารถสง ผลใหเกิดปรากฏการณทีแ่ ตกตางกนั ในแตล ะสถานทีไ่ ด 4ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระภมู ศิ าสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู กลุม สาระการเรยี นรูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๓) การตัดสินใจอยา งเปนระบบ การตดั สนิ ใจอยา งเปน ระบบตามนยั (implication) เปน ความสามารถขนั้ สงู ทเี่ กดิ จากการบรู ณาการความรู เร่ืองการมีปฏิสัมพันธ และการเช่ือมโยงระหวางกันของสิ่งตางๆ มาใชประกอบการตัดสินใจอยางเปนระบบ ในการแกไขปญ หาและวางแผนในอนาคตไดอ ยางเหมาะสม กระบวนการทางภูมิศาสตร ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภูมิศาสตรใหผูเรียนเกิดการคิดอยางเปนระบบ เขาใจและมีความรู อยางถูกตองชัดเจน ผูสอนอาจจะใชวิธีการสอนแบบแกปญหา (problem solving method) หรือวิธีการสอนแบบ สบื เสาะหาความรู (inquiry method) เปน ตวั กระตุน ผูเรียน โดยผานกระบวนการจัดกจิ กรรมทีส่ าํ คัญ ๕ ข้ันตอน ไดแก ๑) การตงั้ คําถามเชิงภมู ิศาสตร เปน การระบปุ ระเด็นตา งๆ ทผ่ี ูศึกษานาํ มาพิจารณาประกอบการหาคาํ ตอบ เพือ่ ใหบรรลุจุดมงุ หมายของการศกึ ษา โดยจะตอ งอยใู นรูปแบบประโยคคําถาม ท่กี ระชับ ชัดเจน และตรงประเดน็ เชน “ปจจัยอะไรบางที่มีอทิ ธพิ ลตอ การเปลีย่ นแปลงลักษณะของแมน้าํ ” ๒) การรวบรวมขอมูล เปนขั้นตอนสําคัญข้ันตอนหนึ่งของกระบวนการทางภูมิศาสตรท่ีรวบรวมขอเท็จจริง และขอมูลที่เปนประโยชนและคาดวาจะนําไปใชประกอบการศึกษา การรวบรวมขอมูลจะตองอาศัยความรูและเทคนิค ตางๆ เชน ประเภทของขอ มลู การออกแบบแบบบันทกึ ขอ มลู การตรวจสอบความถูกตองของขอ มูล วิธกี ารแจงนบั ขอมูล การออกแบบสอบถาม และการบนั ทึกการสังเกต เปน ตน ๓) การจดั การขอ มลู เปน การจดั ระเบยี บขอ มลู ทไี่ ดจ ากการรวบรวมขอ มลู เพอ่ื ประกอบการศกึ ษา นอกจากน้ี ยงั เปนการตรวจสอบความครบถวนและความถูกตอ ง เพ่อื ความสะดวกในการวิเคราะหขอมลู ๔) การวิเคราะหและแปลผลขอมูล เปนหัวใจของกระบวนการทางภูมิศาสตร เมื่อขอมูลผานกระบวนการ จดั การแลว กจ็ ะงา ยตอ การอธบิ าย วิเคราะห และแปลผลขอ มูลดงั กลาว ดว ยสถิติข้นั พนื้ ฐาน ๕) การสรปุ เพอ่ื ตอบคาํ ถาม เปน การสรปุ เนอื้ หาใหต รงคาํ ถามของการศกึ ษาตามทรี่ ะบไุ วใ นขนั้ ตน นอกจากนี้ ผูศึกษาตองวิจารณผลลัพธที่ไดเพื่อตอบวัตถุประสงคของการศึกษา โดยผูศึกษาจะตองรายงานผล ที่ไดในแตละ กระบวนการอยา งละเอยี ด ถกู ตอ ง และชดั เจน ตามวธิ กี ารวเิ คราะหข อ มลู ทไี่ ดก าํ หนดไว ซง่ึ อาจจะตอ งอา งองิ กรอบแนวคดิ และทฤษฎีตางๆ ดวย ทักษะทางภมู ิศาสตร ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือใหผูเรียนมีการรูเรื่องภูมิศาสตรน้ัน ผูสอนจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตอง พัฒนาทักษะของผูเรียนที่เกี่ยวของกับมุมมองทางภูมิศาสตร โดยสามารถจัดกิจกรรมตางๆ ดวยการสอดแทรก ทกั ษะที่สาํ คญั ดงั ตอไปน้ี ๑) การสังเกต (observation) เปนการนําผูเรียนไปสังเกตการณส่ิงแวดลอมทั้งท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และมนุษยสรา งขน้ึ เชน การสงั เกตความแตกตา งของส่ิงแวดลอ มระหวางบานกับโรงเรยี น ๒) การแปลความขอ มูลทางภูมศิ าสตร (interpretation of geographic data) เปน การแปลความหมาย ขอมูลของสง่ิ ทปี่ รากฏอยูบนพ้นื โลก ท่ีอางอิงดวยตําแหนง ที่อาจจะปรากฏอยูใ นรปู ของแผนภมู ิ แผนภาพ กราฟ ตาราง รูปถา ย แผนที่ ภาพจากดาวเทียม และภมู สิ ารสนเทศ ๓) การใชเทคนิคและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร (using geographic technique and equipment) เปน การใชว ธิ กี าร เชน การชกั ตวั อยา ง (sampling) การวาดภาพรา งในภาคสนาม การใชร ปู ถา ย แผนท่ี และเครอ่ื งมอื ตา งๆ ในการรวบรวมขอ มลู ทางภมู ิศาสตร 5ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระภูมิศาสตร (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๔) การคิดเชิงพื้นท่ี (spatial thinking) เปนการคิดที่ใชความรูทางภูมิศาสตรในการระบุ วิเคราะห และ ทาํ ความเขา ใจประเดน็ เกย่ี วกบั ทต่ี ง้ั ทศิ ทาง มาตราสว น แบบรปู พนื้ ท่ี และแนวโนม ของความสมั พนั ธร ะหวา งปรากฏการณ ทางภมู ศิ าสตรกบั เวลา ๕) การคิดแบบองครวม (holistic thinking) เปนการมองภาพรวมของระบบตางๆ ทางภูมิศาสตร ที่ผาน การวเิ คราะหแ ละสงั เคราะหค วามสมั พันธข องสรรพสิ่ง ทงั้ ท่ีเกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาตแิ ละส่งิ ที่มนษุ ยสรางข้นึ ๖) การใชเ ทคโนโลยี (using technology) เปน การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการสบื คน ขอ มลู ทางภมู ศิ าสตร ผา นอนิ เทอรเ นต็ เชน การใชอ นิ เทอรเ นต็ ในการสบื คน ขอ มลู ตา งๆ การใช Google Earth การใชโ ทรศพั ทเ คลอื่ นที่ ประกอบ การเรียนการสอน ๗) การใชส ถติ พิ น้ื ฐาน (using basic statistics) เปน การใชสถติ ิอยางงาย เชน คา เฉล่ียเลขคณิต คา มธั ยฐาน และคา ฐานนิยม ในการวิเคราะหข อ มลู การเขาใจลักษณะการกระจาย (dispersion) และความสมั พันธ (correlation) ของขอมลู ทางภมู ิศาสตร และการวิเคราะหแ บบรปู ของขอ มลู เชงิ พน้ื ที่ (analysis of spatial pattern) ทั้งนี้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเนนการรูเร่ืองภูมิศาสตรใหผูเรียน จําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองคํานึง ถึงความเหมาะสมตอระดับการเรียนรูในแตละชวงช้ัน การจัดกิจกรรมภาคสนาม (fieldwork) จะเปนการสงเสริมการรู เรื่องภูมิศาสตรไดเปนอยางดี เน่ืองจากกิจกรรมดังกลาวเปนการบูรณาการความรูทางภูมิศาสตรในประเด็นตางๆ ผาน กระบวนการและการใชท กั ษะทางภมู ศิ าสตร ในการตอบและแกไ ขประเดน็ และ/หรอื ปญ หาทผ่ี สู อนไดต ง้ั ขนึ้ ดว ยการลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ในพนื้ ทหี่ นงึ่ ๆ การปรับปรุงหลักสูตรในคร้ังน้ี จึงไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรู คุณภาพผูเรียน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู แกนกลาง และการรูเรื่องภมู ิศาสตร ตัวอยา งแผนการจดั การเรียนรู อภิธานศพั ท เพ่อื ใหเกดิ การเรยี นรูภ ูมิศาสตรอ ยางมี ประสิทธิภาพ โดยกําหนดประเดน็ สาํ คัญๆ ดังนี้ มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน ส ๕.๑ เขาใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธของสรรพส่ิงซ่ึงมีผลตอกัน ใชแผนที่และ มาตรฐาน ส ๕.๒ เครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห และสรุปขอมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร ตลอดจนใชภมู สิ ารสนเทศอยา งมปี ระสิทธภิ าพ เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพท่ีกอใหเกิดการสรางสรรควิถี การดําเนินชีวิต มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดลอมเพื่อการพัฒนา ท่ยี ่งั ยืน คณุ ภาพผเู รียน จบช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ มีความรูเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของสิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวและชุมชน และสามารถปรับตัวเทาทัน การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ และมีสวนรว มในการจดั การทรพั ยากรและสิ่งแวดลอมใกลต ัว 6ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระภมู ิศาสตร (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู กลุมสาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
จบชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ มีความรูเก่ียวกับลักษณะทางกายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัด ภาคและประเทศไทย สามารถเตรียมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพกับภัยพิบัติตางๆ ในประเทศไทย และหาแนวทางในการจัดการทรพั ยากรและสิ่งแวดลอม จบชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ ๓ มีความรูเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาคตางๆ ของโลก ความรวมมือดานทรัพยากรและสิ่งแวดลอ มระหวางประเทศ เพ่ือเตรยี มรับมอื ภยั พบิ ัติและการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดลอมอยางยงั่ ยืน จบชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ ๖ มีความรูเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ปญหาทางกายภาพและภัยพิบัติ ซ่ึงไดรับอิทธิพลจากปจจัย ทางภมู ศิ าสตร ปฏสิ มั พนั ธร ะหวา งสง่ิ แวดลอ มทางกายภาพกบั การสรา งสรรคว ถิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ติ ความรว มมอื ดา นทรพั ยากร และสิ่งแวดลอมในประเทศและระหวางประเทศ เพื่อเตรียมรับมือการเปลี่ยนแปลงของโลก และการจัดการทรัพยากร และส่งิ แวดลอมเพ่อื การพฒั นาอยางยั่งยนื 7ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรูแ กนกลาง สาระภมู ศิ าสตร (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู กลุมสาระการเรยี นรูส ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง และการรูเ ร่อื งภูมิศาสตร (geo-literacy) สาระท่ี ๕ ภูมิศาสตร มาตรฐาน ส ๕.๑ เขาใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธของสรรพส่ิงซึ่งมีผลตอกัน ใชแผนที่และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห และ สรปุ ขอมูลตามกระบวนการทางภมู ศิ าสตร ตลอดจนใชภ ูมิสารสนเทศอยางมีประสทิ ธภิ าพ ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรูแกนกลาง ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ ป.๑ ๑. จาํ แนกสง่ิ แวดลอมรอบตวั ทเ่ี กดิ ข้นึ เอง สง่ิ แวดลอมทเี่ กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ ความเขา ใจระบบ กระบวนการ สังเกต 8กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และท่ีมนษุ ยส รา งขึน้ ท่ีบา นและท่โี รงเรยี น ธรรมชาติและมนุษย ตามธรรมชาติและทีม่ นุษยสรางขึ้น - ๒. ระบคุ วามสมั พนั ธของตําแหนง ระยะ ทศิ ความสมั พันธข องตาํ แหนง ระยะ ทิศ - - สงั เกต ของสง่ิ ตา งๆ ของส่ิงตา งๆ รอบตวั เชน ทอ่ี ยอู าศยั บานของ เพอื่ นบา น ถนน ตน ไม ทงุ นา ไร สวน ทรี่ าบ สาระภูมศิ าสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ภูเขา แหลง น้ํา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู ทิศหลกั (เหนอื ตะวันออก ใต ตะวันตก) และทตี่ ัง้ ของสิง่ ตางๆ รอบตัว ๓. ใชแผนผงั แสดงตาํ แหนงของสงิ่ ตา งๆ แผนผังแสดงตําแหนงของสิง่ ตางๆ ๑. ความเขา ใจระบบ - ๑. การสังเกต ในหองเรียน ในหอ งเรยี น ธรรมชาตแิ ละมนุษย ๒. การแปลความขอมลู ทางภูมศิ าสตร ๒. การใหเ หตผุ ล ๓. การใชเทคนิคและ ทางภูมศิ าสตร เครื่องมือทางภมู ิศาสตร ๔. สังเกตและบอกการเปล่ียนแปลง การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวนั - - ๑. การสงั เกต ของสภาพอากาศในรอบวนั เชน กลางวัน กลางคืน ความรอ นของอากาศ ๒. การแปลความขอมลู ฝน-เมฆ-ลม ทางภมู ิศาสตร
ชนั้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ ป.๒ ๑. ระบสุ ิง่ แวดลอมทางธรรมชาตแิ ละท่ีมนุษย สงิ่ แวดลอ มทางธรรมชาติกบั ทม่ี นุษย ความเขา ใจระบบ กระบวนการ ๑. การสงั เกต สรา งข้ึน ซ่ึงปรากฏระหวา งบา นกับโรงเรยี น ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย ๒. การแปลความขอมลู สรางข้นึ ซงึ่ ปรากฏระหวางบา นกับโรงเรียน - ทางภมู ิศาสตร ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรูแกนกลาง ๒. ระบตุ ําแหนง และลกั ษณะทางกายภาพ ตําแหนงและลักษณะทางกายภาพของ - - ๑. การสังเกต 9กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของสงิ่ ตา งๆ ทีป่ รากฏในแผนผัง แผนท่ี สง่ิ ตา งๆ ทปี่ รากฏในแผนท่ี แผนผงั รปู ถา ย ๒. การแปลความขอมลู รปู ถา ย และลูกโลก และลูกโลก เชน ภูเขา ทร่ี าบ แมนา้ํ ตน ไม ทางภมู ิศาสตร ทะเล ๓. การใชเทคนคิ และ เครื่องมือทางภูมิศาสตร สาระภูมศิ าสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. สงั เกตและแสดงความสมั พนั ธร ะหวางโลก ความสัมพนั ธระหวางโลก ดวงอาทติ ยและ ๑. ความเขา ใจระบบ - ๑. การสังเกต ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู ดวงอาทติ ยและดวงจันทร ที่ทําใหเ กิด ดวงจันทร ท่ที าํ ใหเกดิ ปรากฏการณ เชน ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย ๒. การแปลความขอ มลู ปรากฏการณ ขางขนึ้ ขางแรม ฤดกู าลตา งๆ ทางภมู ิศาสตร ๒. การใหเ หตผุ ล ๓. การใชเ ทคนคิ และ ทางภมู ศิ าสตร เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร ป.๓ ๑. สํารวจขอ มูลทางภูมศิ าสตรใ นโรงเรยี นและ ขอ มูลทางภมู ศิ าสตรในชมุ ชน ความเขาใจระบบ ๑. การตั้งคาํ ถาม ๑. การสังเกต ชมุ ชนโดยใชแผนผงั แผนที่ และรปู ถา ย แผนท่ี แผนผัง และรปู ถาย ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย เชิงภูมิศาสตร ๒. การแปลความขอ มลู เพื่อแสดงความสมั พันธข องตาํ แหนง ระยะ ความสมั พนั ธของตาํ แหนง ระยะ ทศิ ทาง ๑. ความเขาใจระบบ ๒. การรวบรวมขอมลู ทางภมู ิศาสตร ทศิ ทาง ๓. การจัดการขอ มลู ๓. การใชเ ทคนคิ และ ธรรมชาติและมนษุ ย ๔. การวิเคราะหข อมูล เครือ่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร ๒. การใหเ หตุผล ๕. การสรุปเพ่ือตอบคําถาม ๒. วาดแผนผงั เพื่อแสดงตาํ แหนงทีต่ ง้ั ของสถานที่ ๑. การสังเกต สําคัญในบริเวณโรงเรียนและชมุ ชน ตําแหนงทีต่ ง้ั ของสถานท่สี าํ คัญในบรเิ วณ ทางภมู ศิ าสตร ๒. การแปลความขอ มลู โรงเรียนและชุมชน เชน สถานท่ีราชการ ทางภมู ศิ าสตร ตลาด โรงพยาบาล ไปรษณีย ๓. การใชเ ทคนคิ และ เครอื่ งมอื ทางภูมิศาสตร
ชั้น ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ ป.๔ ๑. สืบคน และอธิบายขอ มลู ลักษณะทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพของจงั หวดั ตนเอง ๑. ความเขา ใจระบบ กระบวนการ ในจงั หวัดของตนดวยแผนทแ่ี ละรปู ถาย ธรรมชาติและมนษุ ย ๑. การต้งั คาํ ถามเชงิ ๑. การสงั เกต ๒. การใหเหตุผล ภมู ศิ าสตร ๒. การแปลความขอมูล ๒. ระบุแหลงทรัพยากรและสถานทีส่ ําคญั ๒. การรวบรวมขอ มูล ทางภมู ศิ าสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ในจังหวัดของตนดว ยแผนท่ีและรูปถา ย ทางภูมิศาสตร ๓. การจัดการขอ มูล ๓. การใชเทคนิคและ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔. การวเิ คราะหขอมูล เครื่องมือทางภูมิศาสตร ๓. อธบิ ายลกั ษณะทางกายภาพที่สง ผลตอ แหลง ๕. การสรปุ เพ่อื ตอบคําถาม ทรัพยากรและสถานทสี่ าํ คญั ในจงั หวัด แหลงทรพั ยากรและสถานท่ีสําคญั ในจังหวัด ๑. การสงั เกต ของตน - ๒. การแปลความขอมูล ป.๕ ๑. สืบคนและอธิบายขอมลู ลกั ษณะทางกายภาพ ทางภมู ศิ าสตร ในภูมภิ าคของตนดวยแผนท่ีและรูปถา ย ๓. การใชเทคนคิ และ เครอ่ื งมอื ทางภมู ิศาสตร สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ลกั ษณะทางกายภาพทีส่ งผลตอ ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การสังเกต 10 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู แหลงทรพั ยากรและสถานทีส่ าํ คญั ในจงั หวัด ธรรมชาตแิ ละมนุษย ๒. การแปลความขอ มลู ๒. การใหเหตผุ ล ทางภูมศิ าสตร ทางภูมศิ าสตร ๓. การใชเทคนคิ และ เครื่องมอื ทางภูมศิ าสตร ลักษณะทางกายภาพในภูมภิ าคของตน ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การต้ังคาํ ถาม ๑. การสังเกต ธรรมชาติและมนุษย ๒. การแปลความขอ มลู เชิงภูมิศาสตร ทางภูมิศาสตร ๒. การใหเหตผุ ล ๒. การรวบรวมขอ มลู ทางภมู ิศาสตร ๓. การจัดการขอ มูล ๓. การใชเทคนิคและ เครอื่ งมอื ทางภูมศิ าสตร ๔. การวิเคราะหขอ มลู ๕. การสรปุ เพื่อตอบคาํ ถาม ๔. การใชเทคโนโลยี
ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ ป.๕ ๒. อธิบายลกั ษณะทางกายภาพท่ีสง ผลตอ ลักษณะทางกายภาพทีส่ งผลตอ ๑. ความเขา ใจระบบ กระบวนการ ๑. การสงั เกต แหลง ทรัพยากรและสถานท่ีสาํ คัญ ๒. การแปลความขอ มลู แหลงทรพั ยากรและสถานทีส่ ําคัญในภมู ภิ าค ในภูมิภาคของตน ธรรมชาติและมนุษย - ของตน ๒. การใหเหตุผล ทางภมู ิศาสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ๓. การใชเทคนคิ และ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.๖ ๑. สืบคนและอธิบายขอมลู ลักษณะทางกายภาพ ทางภมู ิศาสตร ของประเทศไทย ดวยแผนที่ เคร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตร รูปถายทางอากาศ และภาพจากดาวเทยี ม เคร่อื งมอื ทางภมู ศิ าสตร (แผนท่ี ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การต้ังคาํ ถาม ๔. การใชเทคโนโลยี รปู ถา ยทางอากาศ ภาพจากดาวเทยี ม) ธรรมชาติและมนุษย เชิงภูมิศาสตร ๑. การสังเกต ๒. อธิบายความสมั พนั ธร ะหวางลกั ษณะ ทีแ่ สดงลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย ๒. การใหเหตผุ ล ๒. การรวบรวมขอมูล ๒. การแปลความขอมูล ทางกายภาพกบั ภัยพบิ ตั ิในประเทศไทย ทางภูมิศาสตร ๓. การจัดการขอ มูล สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) เพือ่ เตรยี มพรอมรับมอื ภยั พบิ ัติ ๔. การวิเคราะหข อมูล ทางภูมิศาสตร ๕. การสรปุ เพือ่ ตอบ ๓. การใชเ ทคนคิ และ 11 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู คําถาม ความสัมพันธระหวา งลักษณะทางกายภาพ ๑. ความเขา ใจระบบ เครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร กับภยั พิบัตขิ องประเทศไทย เชน อทุ กภยั ธรรมชาติและมนุษย ๔. การใชเ ทคโนโลยี แผนดินไหว วาตภัย สึนามิ ภัยแลง ดนิ ถลม ๒. การใหเหตุผล ๑. การสงั เกต และโคลนถลม ทางภมู ศิ าสตร ๒. การแปลความขอ มูล การเตรยี มพรอ มรบั มอื ภยั พิบตั ิ ๓. การตัดสินใจอยางเปน ระบบ ทางภูมศิ าสตร ๓. การใชเทคนคิ และ เคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร ๔. การใชเทคโนโลยี
ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ ม.๑ ๑. วิเคราะหล ักษณะทางกายภาพของทวีปเอเชยี กระบวนการ ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย โดยใช ทีต่ ้ัง ขนาด และอาณาเขตของทวปี เอเชีย การใหเ หตผุ ล ๑. การต้ังคําถาม ๑. การสงั เกต เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตรสืบคน ขอ มูล ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนีย ทางภมู ศิ าสตร เชงิ ภูมศิ าสตร ๒. การแปลความขอมูล การใชเคร่อื งมือทางภูมศิ าสตร เชน แผนที่ ๒. การรวบรวมขอมูล ทางภูมิศาสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง รปู ถายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียมในการ ๓. การจัดการขอมูล ๓. การคดิ เชงิ พื้นที่ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สืบคน ลักษณะทางกายภาพของทวีปเอเชีย ๔. การวิเคราะหขอ มูล ๔. การคดิ แบบองครวม ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี ๕. การสรุปเพ่อื ตอบคําถาม ๕. การใชเทคโนโลยี ๒. อธบิ ายพิกัดภมู ศิ าสตร (ละติจดู และลองจจิ ดู ) พิกัดภูมิศาสตร (ละตจิ ดู และลองจจิ ดู ) ๑. ความเขาใจระบบ - ๑. การสังเกต เสนแบงเวลา และเปรียบเทยี บวนั เวลา เสนแบงเวลา ธรรมชาติและมนุษย ๒. การแปลความขอ มูล ของโลก การเปรียบเทียบวนั เวลาของโลก ทางภมู ศิ าสตร ๒. การใหเหตผุ ล ๓. การใชเทคนคิ และ สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทางภูมิศาสตร เครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร ๔. การคิดแบบองคร วม 12 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๕. การใชเ ทคโนโลยี ๓. วิเคราะหสาเหตุการเกดิ ภยั พิบัติ สาเหตุการเกดิ ภยั พบิ ตั ิและผลกระทบใน ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การตง้ั คําถาม ๑. การแปลความขอมูล และผลกระทบในทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนีย ธรรมชาติและมนุษย เชิงภมู ศิ าสตร ทางภมู ิศาสตร และโอเชยี เนยี ๒. การใหเ หตผุ ล ๒. การรวบรวมขอ มูล ๒. การคดิ เชิงพืน้ ท่ี ทางภมู ิศาสตร ๓. การจัดการขอมลู ๓. การตัดสนิ ใจอยางเปน ๔. การวิเคราะหขอมูล ระบบ ๕. การสรุปเพื่อตอบคาํ ถาม
ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ ม.๒ ๑. วิเคราะหล กั ษณะทางกายภาพของทวีปยโุ รป กระบวนการ ๑. การสงั เกต ท่ีตง้ั ขนาด และอาณาเขตของทวีปยุโรป การใหเ หตุผล ๒. การแปลความขอ มลู และทวปี แอฟรกิ า โดยใชเ ครื่องมือ และทวปี แอฟรกิ า ทางภูมศิ าสตร ๑. การตัง้ คําถาม ทางภมู ศิ าสตรส บื คนขอมูล การใชเคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร เชน แผนท่ี เชิงภูมศิ าสตร ทางภูมศิ าสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง รปู ถายทางอากาศ ภาพจากดาวเทยี มในการ ๓. การคิดเชงิ พ้ืนที่ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒. อธบิ ายมาตราสว น ทศิ และสญั ลกั ษณ สืบคน ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรป ๒. การรวบรวมขอมลู ๔. การคิดแบบองครวม และทวปี แอฟริกา ๓. การจัดการขอ มูล ๕. การใชเทคโนโลยี ๓. วิเคราะหส าเหตกุ ารเกิดภัยพบิ ตั ิและ ๔. การวเิ คราะหข อ มูล ผลกระทบในทวีปยโุ รป และทวีปแอฟริกา ๕. การสรปุ เพอ่ื ตอบ คาํ ถาม การแปลความหมาย มาตราสว น ทิศ และ ๑. ความเขา ใจระบบ - ๑. การสงั เกต สัญลักษณในแผนที่ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย ๒. การแปลความขอ มลู ทางภูมิศาสตร สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. การใหเหตผุ ล ๓. การใชเ ทคนิคและ ทางภูมศิ าสตร เครือ่ งมือทางภมู ศิ าสตร 13 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๔. การใชเ ทคโนโลยี สาเหตุการเกิดภัยพบิ ตั ิและผลกระทบ ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การตั้งคําถาม ๑. การแปลความขอ มลู ในทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า ธรรมชาติและมนษุ ย เชิงภูมศิ าสตร ทางภูมศิ าสตร ๒. การใหเ หตผุ ล ๒. การรวบรวมขอ มูล ๒. การคิดเชิงพื้นที่ ทางภมู ศิ าสตร ๓. การจัดการขอมลู ๔. การวิเคราะหข อ มลู ๓. การตดั สนิ ใจอยา งเปน ๕. การสรปุ เพ่อื ตอบ ระบบ คาํ ถาม
ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ ม.๓ ๑. วเิ คราะหลักษณะทางกายภาพของ กระบวนการ ทวปี อเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต ทีต่ ง้ั ขนาด และอาณาเขตของทวปี อเมรกิ าเหนือ การใหเหตุผล ๑. การต้ังคาํ ถามเชงิ ๑. การสังเกต โดยเลอื กใชแผนทเี่ ฉพาะเรอื่ งและเคร่อื งมือ และทวีปอเมริกาใต ทางภูมศิ าสตร ภมู ิศาสตร ๒. การแปลความขอมูล ทางภูมิศาสตรสืบคนขอ มูล การเลือกใชแ ผนท่เี ฉพาะเรอ่ื งและ ๒. การรวบรวมขอมลู ทางภมู ิศาสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ๒. วเิ คราะหส าเหตุการเกิดภัยพิบัตแิ ละ เครอื่ งมือทางภูมศิ าสตรส บื คนขอมูล ๓. การจัดการขอ มูล ๓. การคดิ เชิงพ้นื ที่ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ผลกระทบในทวปี อเมริกาเหนอื และ ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมรกิ าเหนอื ๔. การวเิ คราะหข อมูล ๔. การคิดแบบองครวม ทวีปอเมริกาใต และทวปี อเมรกิ าใต ๕. การสรุปเพ่ือตอบคําถาม ๕. การใชเทคโนโลยี ม.๔-๖ ๑. วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สาเหตุการเกิดภยั พบิ ัตแิ ละผลกระทบ ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การตง้ั คําถามเชงิ ๑. การแปลความหมาย ในประเทศไทยและภมู ิภาคตางๆ ของโลก ในทวีปอเมริกาเหนอื และทวีปอเมริกาใต ธรรมชาติและมนุษย ภมู ิศาสตร ขอ มลู ทางภูมิศาสตร ซ่งึ ไดรบั อิทธิพลจากปจ จยั ทางภูมศิ าสตร ๒. การรวบรวมขอมลู ๒. การคิดเชงิ พ้นื ท่ี ๒. การใหเ หตผุ ล ๓. การจัดการขอมูล สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทางภูมศิ าสตร ๔. การวิเคราะหข อ มลู ๕. การสรุปเพ่ือตอบคาํ ถาม 14 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๓. การตัดสินใจ อยางเปน ระบบ การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ๑. การใหเหตผุ ล ๑. การตง้ั คําถาม ๑. การแปลความหมาย (ประกอบดวย ๑. ธรณภี าค ๒. บรรยากาศภาค ทางภมู ิศาสตร เชงิ ภมู ิศาสตร ขอ มลู ทางภมู ศิ าสตร ๓. อทุ กภาค ๔. ชีวภาค) ของพน้ื ที่ใน ๒. การตัดสนิ ใจ ๒. การรวบรวมขอ มลู ๒. การคดิ เชิงพ้ืนท่ี ประเทศไทยและภมู ิภาคตา งๆ ของโลก อยา งเปน ระบบ ๓. การจดั การขอมลู ซึ่งไดร บั อทิ ธพิ ลจากปจ จัยทางภมู ิศาสตร ๔. การวเิ คราะหขอมูล การเปล่ียนแปลงทางกายภาพทสี่ งผล ๕. การสรปุ เพือ่ ตอบคําถาม ตอ ภมู ปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศ และ ทรพั ยากรธรรมชาติ
ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ ม.๔-๖ ๒. วิเคราะหล กั ษณะทางกายภาพซ่งึ ทาํ ใหเกิด กระบวนการ ๑. การแปลความหมาย ปญหาทางกายภาพและภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ ๑. ความเขาใจระบบ ปญหาและภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ ในประเทศและภมู ภิ าคตา งๆ ของโลก ธรรมชาตแิ ละมนุษย ๑. การต้งั คําถาม ขอ มลู ทางภูมิศาสตร ในประเทศไทยและภูมภิ าคตางๆ ของโลก ๒. การใหเ หตุผล เชงิ ภมู ิศาสตร ๒. การคิดเชงิ พ้นื ท่ี ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ทางภูมิศาสตร ๓. การใชส ถิตพิ ื้นฐาน กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓. ใชแผนท่แี ละเครื่องมือทางภูมิศาสตร ๓. การตัดสินใจ ๒. การรวบรวมขอ มูล ในการคน หา วเิ คราะห และสรปุ ขอ มูล อยา งเปน ระบบ ๓. การจัดการขอ มูล ๑. การสงั เกต ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร ๔. การวเิ คราะหข อ มลู ๒. การแปลความขอมลู และนําภูมสิ ารสนเทศมาใชประโยชน ๕. การสรปุ เพอ่ื ตอบ ในชีวิตประจําวนั ทางภมู ศิ าสตร คําถาม ๓. การใชเ ทคนิคและ สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) แผนท่ีและองคประกอบ ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การตั้งคาํ ถาม เครื่องมือทางภมู ิศาสตร การอานแผนทเ่ี ฉพาะเร่ือง ธรรมชาติและมนษุ ย เชงิ ภูมิศาสตร ๔. การคดิ เชิงพ้ืนที่ 15 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู การแปลความหมายรูปถายทางอากาศ ๕. การใชเ ทคโนโลยี และภาพจากดาวเทียม ๒. การใหเ หตผุ ล ๒. การรวบรวมขอ มูล ๖. การใชส ถิติพ้ืนฐาน การนําภูมิสารสนเทศไปใช ทางภมู ิศาสตร ๓. การจัดการขอมูล ในชีวติ ประจําวนั ๔. การวิเคราะหขอ มูล ๓. การตัดสินใจ ๕. การสรุปเพ่อื ตอบ อยางเปนระบบ คาํ ถาม
สาระท่ี ๕ ภมู ศิ าสตร มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา ใจปฏสิ มั พนั ธร ะหวา งมนษุ ยก บั สง่ิ แวดลอ มทางกายภาพทก่ี อ ใหเ กดิ การสรา งสรรคว ถิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ติ มจี ติ สาํ นกึ และมสี ว นรว มในการจดั การทรพั ยากร และส่งิ แวดลอ มเพื่อการพฒั นาทยี่ ่ังยืน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.๑ ๑. บอกสิ่งแวดลอ มทเ่ี กิดตามธรรมชาติท่สี งผล กระบวนการ ๑. การสังเกต สงิ่ แวดลอมทางกายภาพท่ีมีผลตอความเปน ๑. ความเขาใจระบบ ๒. การแปลความขอมูล ตอความเปนอยูของมนุษย อยขู องมนษุ ย เชน ภมู อิ ากาศมีผลตอ ลักษณะ ธรรมชาตแิ ละมนุษย - ทางภูมศิ าสตร ทีอ่ ยูอ าศยั และเครือ่ งแตง กาย ๒. การใหเหตุผล ทางภูมิศาสตร สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. สังเกตและเปรยี บเทียบการเปลย่ี นแปลงของ การเปล่ยี นแปลงของสง่ิ แวดลอ มทอ่ี ยรู อบตวั ๑. ความเขา ใจระบบ - ๑. การสังเกต ส่ิงแวดลอ มเพ่ือการปฏิบตั ติ นอยา งเหมาะสม อทิ ธิพลของสง่ิ แวดลอ มทสี่ งผลตอการปฏิบัติ ธรรมชาติและมนุษย ๒. การแปลความขอมลู 16 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ตนอยา งเหมาะสม ทางภูมศิ าสตร ๒. การใหเ หตุผล ทางภูมศิ าสตร ๓. มีสว นรวมในการดแู ลส่ิงแวดลอมท่ีบา นและ การปฏิบตั ติ นในการรกั ษาส่ิงแวดลอม ๑. ความเขา ใจระบบ - ๑. การสังเกต หองเรียน ในบานและหองเรียน ธรรมชาตแิ ละมนุษย ๒. การแปลความขอ มูล ทางภูมศิ าสตร ๒. การใหเ หตุผล ทางภูมิศาสตร ๓. การตัดสนิ ใจอยางเปน ระบบ ป.๒ ๑. อธิบายความสําคัญของสง่ิ แวดลอ ม ความสาํ คัญของส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติและ ๑. ความเขา ใจระบบ - ๑. การสงั เกต ทางธรรมชาติและทมี่ นษุ ยสรา งข้ึน สง่ิ แวดลอ มที่มนษุ ยส รางขน้ึ ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย ๒. การแปลความขอมลู ทางภมู ศิ าสตร ๒. การใหเหตุผล ทางภมู ิศาสตร
ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ ป.๒ ๒. จําแนกและใชท รพั ยากรธรรมชาติ ทใ่ี ชแ ลว กระบวนการ ๑. การสงั เกต ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ ๑. ความเขา ใจระบบ ๒. การแปลความขอ มลู ไมห มดไป ท่ีใชแ ลวหมดไป และสรางทดแทน - ใชแลว ไมห มดไป เชน อากาศ แสงอาทิตย ธรรมชาติและมนุษย - ขนึ้ ใหมไ ดอ ยางคุมคา ทางภมู ิศาสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง - ใชแลว หมดไป เชน แร ถานหิน นาํ้ มัน ๒. การใหเ หตผุ ล กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓. อธบิ ายความสมั พนั ธร ะหวา งฤดกู าล กาซธรรมชาติ ทางภมู ิศาสตร กบั การดําเนินชีวติ ของมนุษย - สรางทดแทนขนึ้ ใหมได เชน น้าํ ดนิ ปาไม สตั วปา ๔. มสี ว นรวมในการจดั การส่ิงแวดลอม การใชทรัพยากรธรรมชาตอิ ยางคุมคา ในโรงเรียน ความสัมพันธระหวางฤดูกาลกับการดาํ เนินชีวิต ๑. ความเขาใจระบบ - ๑. การสงั เกต ป.๓ ๑. เปรยี บเทยี บการเปล่ยี นแปลงส่งิ แวดลอม ของมนุษย ธรรมชาติและมนุษย ๒. การแปลความขอมลู ของชมุ ชนในอดตี กับปจ จุบัน ๒. การใหเ หตผุ ล ทางภูมิศาสตร สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทางภมู ศิ าสตร 17 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงส่งิ แวดลอ ม ๑. ความเขาใจระบบ - ๑. การสังเกต ท่มี ตี อโรงเรยี น ธรรมชาติและมนษุ ย ๒. การแปลความขอ มูล การรกั ษาและฟน ฟูส่ิงแวดลอมในโรงเรยี น ทางภูมศิ าสตร ๒. การใหเหตผุ ล ทางภมู ิศาสตร ๓. การตดั สินใจอยา งเปน ระบบ ส่ิงแวดลอ มของชุมชนในอดตี กบั ปจ จุบนั ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การต้ังคําถาม ๑. การสังเกต - ส่งิ แวดลอ มทางธรรมชาติ ธรรมชาติและมนษุ ย เชิงภมู ศิ าสตร ๒. การแปลความขอมูล - ส่งิ แวดลอมที่มนุษยส รางขน้ึ ๒. การรวบรวมขอมูล ทางภูมิศาสตร ๒. การใหเหตุผล ๓. การจัดการขอ มูล ทางภูมศิ าสตร ๔. การวเิ คราะหข อ มลู ๕. การสรุปเพื่อตอบคาํ ถาม
ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ ป.๓ ๒. อธิบายการใชป ระโยชนจ ากสง่ิ แวดลอม กระบวนการ และทรพั ยากรธรรมชาติในการสนอง การใชป ระโยชนจากสง่ิ แวดลอมในการดําเนิน ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การตั้งคาํ ถาม ๑. การสงั เกต ความตอ งการพื้นฐานของมนุษย และ ชีวติ ของมนษุ ย เชน การคมนาคม บา นเรอื น ธรรมชาตแิ ละมนุษย เชงิ ภมู ิศาสตร ๒. การแปลความขอมูล การประกอบอาชพี และการประกอบอาชีพในชุมชน ๒. การใหเ หตุผล ๒. การรวบรวมขอมูล ทางภมู ศิ าสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ๓. อธิบายสาเหตุท่ที ําใหเ กดิ มลพษิ โดยมนุษย การประกอบอาชีพทีเ่ ปน ผลมาจาก ทางภูมศิ าสตร ๓. การจัดการขอ มูล กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สิ่งแวดลอมทางธรรมชาตใิ นชุมชน ๔. อธิบายความแตกตา งของลกั ษณะเมอื งและ ๔. การวิเคราะหข อมูล ชนบท ๕. การสรปุ เพือ่ ตอบคําถาม ความหมายและประเภทของมลพิษ ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การสังเกต ๕. อธบิ ายความสัมพนั ธร ะหวางลักษณะ โดยมนษุ ย ธรรมชาติและมนษุ ย ๒. การแปลความขอมูล ทางกายภาพกับการดําเนินชีวติ ของคน สาเหตขุ องการเกิดมลพิษทเ่ี กดิ จาก ทางภมู ศิ าสตร ในชมุ ชน การกระทําของมนษุ ย ๒. การใหเหตุผล ทางภูมิศาสตร ๖. มีสวนรว มในการจัดการสิ่งแวดลอ มในชุมชน สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ลักษณะของเมืองและชนบท เชน สิง่ ปลกู สราง ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การสังเกต การใชท่ดี นิ การประกอบอาชีพ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย ๒. การแปลความขอมูล 18 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๒. การใหเ หตุผล ทางภมู ศิ าสตร ทางภูมิศาสตร ภมู ิประเทศ และภูมอิ ากาศที่มผี ลตอ ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การสังเกต การดาํ เนนิ ชวี ิตของคนในชุมชน ธรรมชาติและมนุษย ๒. การแปลความขอ มูล ๒. การใหเหตผุ ล ทางภมู ศิ าสตร ทางภูมศิ าสตร ผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงสิ่งแวดลอม ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การสังเกต ทม่ี ตี อชุมชน ธรรมชาติและมนุษย ๒. การแปลความขอมูล การจัดการสงิ่ แวดลอ มในชมุ ชน ๒. การใหเหตผุ ล ทางภูมศิ าสตร ทางภูมศิ าสตร ๓. การตัดสินใจอยางเปน ระบบ
ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ ๑. ความเขา ใจระบบ กระบวนการ ป.๔ ๑. วเิ คราะหสิ่งแวดลอ มทางกายภาพท่สี ง ผลตอ สง่ิ แวดลอมทางกายภาพที่สง ผลตอ ธรรมชาตแิ ละมนุษย ๑. การตงั้ คําถาม ๑. การสังเกต การดาํ เนนิ ชวี ิตของคนในจังหวัด การดําเนนิ ชวี ติ ของคนในจงั หวัด ๒. การใหเหตุผล เชิงภมู ิศาสตร ๒. การแปลความขอ มูล ๒. การรวบรวมขอ มลู ทางภมู ศิ าสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ทางภูมศิ าสตร ๓. การจัดการขอมลู ๓. การใชเทคนิคและ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔. การวเิ คราะหขอ มูล เคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร ๑. ความเขา ใจระบบ ๕. การสรปุ เพ่ือตอบคาํ ถาม ๒. อธิบายการเปล่ียนแปลงส่งิ แวดลอมในจงั หวดั การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอ มในจงั หวดั ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย ๑. การสงั เกต และผลท่เี กดิ จากการเปลย่ี นแปลง และผลท่ีเกดิ จากการเปลี่ยนแปลง เชน ๒. การแปลความขอมูล การต้งั ถน่ิ ฐาน การยายถ่ิน ๒. การใหเหตผุ ล ทางภูมิศาสตร ทางภมู ิศาสตร ๓. การใชเ ทคนคิ และ เครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. นาํ เสนอแนวทางการจัดการส่งิ แวดลอม การจดั การสิ่งแวดลอมในจงั หวดั ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การสงั เกต 19 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ในจังหวัด ธรรมชาตแิ ละมนุษย ๒. การแปลความขอ มลู ๒. การใหเหตผุ ล ทางภูมศิ าสตร ทางภูมิศาสตร ๓. การตดั สนิ ใจอยางเปน ระบบ ป.๕ ๑. วเิ คราะหส ิ่งแวดลอมทางกายภาพทม่ี อี ิทธพิ ล สิ่งแวดลอมทางกายภาพทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การต้ังคาํ ถาม ๑. การสงั เกต ตอลกั ษณะการตง้ั ถน่ิ ฐานและการยา ยถนิ่ ลักษณะการตั้งถนิ่ ฐานและการยายถิน่ ธรรมชาติและมนษุ ย เชิงภมู ศิ าสตร ๒. การแปลความขอ มูล ของประชากรในภมู ภิ าคของตน ของประชากรในภมู ภิ าคของตน ๒. การรวบรวมขอมูล ทางภูมศิ าสตร ๒. การใหเ หตุผล ๓. การจดั การขอ มลู ๓. การใชเ ทคนคิ และ ทางภมู ศิ าสตร ๔. การวิเคราะหขอ มูล เครือ่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร ๕. การสรปุ เพ่อื ตอบคาํ ถาม
ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ ป.๕ ๒. วเิ คราะหอิทธพิ ลของสง่ิ แวดลอมทาง กระบวนการ ธรรมชาตทิ ีก่ อ ใหเ กิดวถิ ีการดาํ เนนิ ชวี ิต อิทธพิ ลของสงิ่ แวดลอมทางธรรมชาติทก่ี อ ให ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การต้ังคําถาม ๑. การสังเกต ในภมู ิภาคของตน เกดิ วถิ กี ารดาํ เนินชีวิตในภมู ิภาคของตน ธรรมชาติและมนุษย เชงิ ภมู ิศาสตร ๒. การแปลความขอมลู ๒. การรวบรวมขอมลู ทางภูมิศาสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ๓. นําเสนอตัวอยางทสี่ ะทอ นใหเ ห็นผล ๒. การใหเหตุผล ๓. การจดั การขอมลู ๓. การใชเ ทคนิคและ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จากการรกั ษาและทาํ ลายสงิ่ แวดลอม และ ทางภมู ศิ าสตร ๔. การวเิ คราะหข อ มูล เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร เสนอแนวทางในการจัดการส่ิงแวดลอม ในภมู ิภาคของตน ผลจากการรกั ษาและการทําลายสิง่ แวดลอม ๑. ความเขาใจระบบ ๕. การสรุปเพอื่ ตอบคาํ ถาม ๑. การสังเกต ในภมู ิภาคของตน ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย แนวทางการจัดการสิง่ แวดลอมในภูมิภาค ๒. การแปลความขอมูล ของตน ๒. การใหเหตผุ ล ทางภมู ิศาสตร ทางภูมศิ าสตร ๓. การใชเ ทคนคิ และ เครือ่ งมือทางภมู ศิ าสตร สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. การตัดสินใจ ๔. การใชเ ทคโนโลยี อยางเปนระบบ 20 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ป.๖ ๑. วิเคราะหปฏสิ มั พนั ธระหวา งสงิ่ แวดลอม สิ่งแวดลอมทางกายภาพกับลกั ษณะกิจกรรม ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การต้งั คําถาม ๑. การสงั เกต ทางกายภาพกบั ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม (ประชากร เศรษฐกิจ ธรรมชาตแิ ละมนุษย เชงิ ภูมศิ าสตร ๒. การแปลความขอมลู และสงั คมในประเทศไทย สงั คม และวฒั นธรรม) ในประเทศไทย ๒. การใหเ หตุผล ๒. การรวบรวมขอ มูล ทางภมู ศิ าสตร ปฏสิ มั พนั ธร ะหวางมนษุ ยก ับสง่ิ แวดลอม ทางภมู ิศาสตร ๓. การจดั การขอมลู ๓. การใชเทคนคิ และ ๔. การวเิ คราะหขอมลู เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร ๕. การสรปุ เพื่อตอบคาํ ถาม ๔. การคดิ เชิงพ้ืนท่ี ๒. วิเคราะหก ารเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของ การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของประเทศไทย ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การสงั เกต ประเทศไทยในอดตี กบั ปจ จุบนั และผลท่ีเกดิ ผลจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ธรรมชาติและมนุษย ๒. การแปลความขอ มลู ขน้ึ จากการเปลยี่ นแปลง ที่มตี อกิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสังคม ๒. การใหเ หตุผล (ประชากร เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม) ทางภมู ศิ าสตร ทางภมู ศิ าสตร ของประเทศไทยในอดีตกับปจ จบุ ัน ๓. การใชเทคนิคและ เครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตร ๔. การคดิ เชงิ พื้นที่
ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ ป.๖ ๓. นําเสนอตัวอยางทีส่ ะทอนใหเห็นผล ผลจากการรกั ษาและทําลายทรัพยากร ๑. ความเขา ใจระบบ กระบวนการ ๑. การสงั เกต และสิ่งแวดลอ มในประเทศไทย ๒. การแปลความขอ มลู จากการรักษาและทาํ ลายทรัพยากร แนวทางในการจดั การทรพั ยากรและ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย - และสิ่งแวดลอ ม และเสนอแนวทาง สิง่ แวดลอ มทยี่ ั่งยืนโดยมีจิตสาํ นึกรูคุณคา ๒. การใหเ หตผุ ล ทางภูมศิ าสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ในการจัดการทย่ี ่งั ยืนในประเทศไทย ๓. การใชเ ทคนคิ และ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทางภมู ศิ าสตร ม.๑ ๑. สาํ รวจและระบทุ ําเลทต่ี ง้ั ของกจิ กรรม ๓. การตัดสินใจอยางเปน เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร ทางเศรษฐกิจและสงั คมในทวีปเอเชีย ๔. การคดิ แบบองครวม ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย ระบบ ๕. การคดิ เชิงพืน้ ท่ี ๖. การใชเทคโนโลยี ๒. วเิ คราะหปจจัยทางกายภาพและปจ จยั ทางสงั คมท่ีสงผลตอทาํ เลที่ต้ังของกิจกรรม ทาํ เลทต่ี ั้งของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสงั คม ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การต้ังคาํ ถาม ๑. การสังเกต ทางเศรษฐกิจและสงั คมในทวปี เอเชีย เชน พนื้ ทเ่ี พาะปลกู และเลีย้ งสตั ว แหลงประมง ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย เชงิ ภมู ิศาสตร ๒. การแปลความขอ มูล สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย การกระจายของภาษาและศาสนา ๒. การใหเ หตผุ ล ในทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย ทางภมู ศิ าสตร ๒. การรวบรวมขอมลู ทางภูมิศาสตร 21 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๓. การจดั การขอ มลู ๓. การใชเ ทคนคิ และ ปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางสังคม ๑. ความเขาใจระบบ ๔. การวเิ คราะหข อ มลู ท่สี ง ผลตอ การเปลย่ี นแปลงโครงสรา งทาง ธรรมชาติและมนษุ ย ๕. การสรปุ เพื่อตอบ เครื่องมือทางภมู ิศาสตร ประชากร สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ สงั คมและ ๔. การใชเทคโนโลยี วฒั นธรรมในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ๒. การใหเ หตุผล คาํ ถาม ๑. การสังเกต และโอเชยี เนยี ทางภมู ิศาสตร ๒. การแปลความขอ มูล ๓. การตัดสนิ ใจอยางเปน ทางภูมศิ าสตร ระบบ ๓. การใชเ ทคนิคและ เครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตร ๓. การคิดแบบองคร วม ๔. การคิดเชิงพื้นที่
ช้นั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ กระบวนการ ม.๑ ๓. สบื คน อภิปรายประเดน็ ปญ หาจาก ประเดน็ ปญ หาจากปฏสิ ัมพนั ธระหวา ง ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การตัง้ คาํ ถามเชงิ ๑. การสงั เกต ปฏสิ ัมพนั ธร ะหวา งสิ่งแวดลอ มทางกายภาพ สิ่งแวดลอ มทางกายภาพกับมนุษย ธรรมชาติและมนษุ ย ภมู ศิ าสตร ๒. การแปลความขอมูล กับมนษุ ยทเ่ี กดิ ข้นึ ในทวีปเอเชยี ทเ่ี กิดขึน้ ในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ๒. การใหเหตุผล ๒. การรวบรวมขอมลู ทางภูมิศาสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี และโอเชยี เนยี ทางภมู ศิ าสตร ๓. การจัดการขอมลู ๓. การใชเทคนคิ และ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓. การตดั สนิ ใจอยา งเปน ๔. การวเิ คราะหขอมลู เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร ระบบ ๕. การสรุปเพอ่ื ตอบคาํ ถาม ๔. การคิดแบบองคร วม ๕. การคิดเชิงพืน้ ท่ี ๖. การใชเ ทคโนโลยี ๔. วเิ คราะหแ นวทางการจดั การภยั พบิ ัตแิ ละ แนวทางการจดั การภัยพบิ ตั ิและการจัดการ ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การแปลความขอมูล การจัดการทรัพยากรและส่งิ แวดลอม การจดั การทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ ม ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย ทางภูมศิ าสตร สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ในทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ในทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี ๒. การใหเ หตุผล ทย่ี ั่งยนื ท่ยี ั่งยืน ทางภมู ิศาสตร ๒. การคิดแบบองครวม 22 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๓. การตัดสินใจอยา งเปน ๓. การคดิ เชิงพ้นื ท่ี ระบบ ๔. การใชเ ทคโนโลยี ๕. การใชส ถิติพน้ื ฐาน ม.๒ ๑. สํารวจและระบทุ ําเลทต่ี งั้ ของกจิ กรรม ทําเลท่ตี ั้งของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และสังคม ๑. ความเขาใจระบบ - ๑. การสังเกต ทางเศรษฐกจิ และสังคมในทวีปยโุ รป และ เชน พนื้ ทเี่ พาะปลูก และเลย้ี งสัตว แหลงประมง ธรรมชาติและมนุษย ๒. การแปลความขอมูล ทวปี แอฟรกิ า การกระจายของภาษาและศาสนา ๒. การใหเหตผุ ล ทางภูมศิ าสตร ในทวปี ยโุ รป และทวีปแอฟริกา ทางภูมศิ าสตร ๓. การใชเ ทคนคิ และ เคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร ๔. การใชเทคโนโลยี
ชนั้ ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ ม.๒ ๒. วิเคราะหป จ จัยทางกายภาพและปจจยั กระบวนการ ๑. การสงั เกต ๒. การแปลความขอ มูล ทางสังคมทส่ี งผลตอ ทําเลที่ตง้ั ของกจิ กรรม ปจ จัยทางกายภาพและปจจยั ทางสงั คม ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การตงั้ คําถาม ทางเศรษฐกจิ และสังคมในทวีปยโุ รป ท่สี งผลตอ การเปลี่ยนแปลงโครงสรา ง ธรรมชาติและมนษุ ย เชิงภมู ิศาสตร ทางภมู ศิ าสตร และทวีปแอฟรกิ า ทางประชากร สงิ่ แวดลอม เศรษฐกจิ สงั คม ๒. การใหเหตุผล ๒. การรวบรวมขอ มลู ๓. การใชเ ทคนคิ และ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ๓. สบื คน อภปิ รายประเดน็ ปญหาจากปฏสิ ัมพนั ธ และวฒั นธรรมในทวปี ยุโรป และทวีปแอฟรกิ า ทางภูมศิ าสตร ๓. การจัดการขอมูล กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระหวา งสง่ิ แวดลอ มทางกายภาพกับมนษุ ย ๓. การตัดสนิ ใจอยา งเปน ๔. การวเิ คราะหข อมลู เคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร ท่ีเกิดขึ้นในทวปี ยุโรป และทวปี แอฟรกิ า ระบบ ๕. การสรุปเพ่อื ตอบ ๔. การคดิ เชงิ พน้ื ท่ี คาํ ถาม ๕. การคดิ แบบองครวม ๔. วเิ คราะหแนวทางการจัดการภยั พิบัติและ ๑. การสังเกต การจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดลอม ประเด็นปญหาจากปฏสิ มั พันธร ะหวาง ๑. ความเขา ใจระบบ - ๒. การแปลความขอ มูล ในทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกาทีย่ ง่ั ยนื ส่ิงแวดลอ มทางกายภาพกบั มนุษยท ีเ่ กดิ ขนึ้ ธรรมชาตแิ ละมนุษย สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ในทวีปยุโรป และทวีปแอฟรกิ า ทางภมู ิศาสตร ๒. การใหเหตุผล ๓. การใชเ ทคนคิ และ 23 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ทางภูมศิ าสตร เครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร ๓. การตดั สินใจอยา งเปน ๔. การคิดเชิงพนื้ ที่ ระบบ ๕. การคดิ แบบองคร วม ๖. การใชเทคโนโลยี แนวทางการจดั การภัยพบิ ัตแิ ละการจัดการ ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การตงั้ คําถาม ๑. การแปลความขอ มลู ทรัพยากรและสิง่ แวดลอมในทวปี ยุโรป ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย เชิงภมู ศิ าสตร และทวปี แอฟริกาท่ียัง่ ยืน ๒. การใหเหตผุ ล ๒. การรวบรวมขอมลู ทางภูมิศาสตร ทางภูมศิ าสตร ๓. การจัดการขอ มูล ๒. การคิดเชิงพ้นื ท่ี ๓. การตัดสนิ ใจอยา งเปน ๔. การวเิ คราะหขอมลู ๓. การคิดแบบองครวม ระบบ ๕. การสรุปเพื่อตอบ ๔. การใชเ ทคโนโลยี คําถาม ๕. การใชสถิติพืน้ ฐาน
ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ ม.๓ ๑. สํารวจและระบทุ าํ เลที่ต้งั ของกิจกรรม กระบวนการ ๑. การสงั เกต ทาํ เลทีต่ ั้งของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ๑. ความเขา ใจระบบ ๒. การแปลความขอ มูล ทางเศรษฐกิจและสังคมในทวปี อเมรกิ าเหนอื เชน พืน้ ที่เพาะปลกู และเลย้ี งสัตว แหลงประมง ธรรมชาตแิ ละมนุษย - และทวีปอเมรกิ าใต ทางภมู ิศาสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง การกระจายของภาษาและศาสนา ๒. การใหเ หตผุ ล ๓. การใชเ ทคนคิ และ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ในทวีปอเมรกิ าเหนือ และทวีปอเมริกาใต ทางภมู ิศาสตร เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร ๔. การใชเทคโนโลยี ๒. วิเคราะหป จ จยั ทางกายภาพและปจจัยทาง ปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางสงั คม ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การตัง้ คาํ ถาม ๑. การสังเกต สังคมท่ีสง ผลตอทําเลที่ต้ังของกจิ กรรม ทีส่ ง ผลตอการเปลย่ี นแปลงโครงสรา ง ธรรมชาติและมนุษย เชิงภมู ิศาสตร ๒. การแปลความขอ มลู ทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปอเมรกิ าเหนอื ทางประชากร ส่งิ แวดลอ ม เศรษฐกิจ สงั คม ๒. การรวบรวมขอ มูล ทางภมู ศิ าสตร และทวปี อเมริกาใต และวัฒนธรรมในทวีปอเมรกิ าเหนือ ๒. การใหเ หตผุ ล ๓. การจัดการขอมูล ๓. การใชเ ทคนคิ และ สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และทวีปอเมริกาใต ทางภูมิศาสตร ๔. การวิเคราะหข อมูล เคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตร ๕. การสรปุ เพอ่ื ตอบคาํ ถาม ๔. การคิดเชิงพื้นที่ 24 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๓. การตัดสินใจอยา งเปน ๕. การคิดแบบองคร วม ระบบ ๓. สืบคน อภิปรายประเด็นปญ หาจากปฏสิ ัมพันธ ประเดน็ ปญ หาจากปฏสิ มั พนั ธร ะหวาง ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การตั้งคําถาม ๑. การสงั เกต ระหวา งส่ิงแวดลอ มทางกายภาพกบั มนุษย สง่ิ แวดลอมทางกายภาพกับมนุษยท่ีเกิดขนึ้ ธรรมชาติและมนษุ ย เชิงภูมิศาสตร ๒. การแปลความขอมลู ท่เี กดิ ขน้ึ ในทวีปอเมริกาเหนือ ในทวปี อเมรกิ าเหนอื และทวีปอเมรกิ าใต ๒. การรวบรวมขอ มูล ทางภมู ิศาสตร และทวีปอเมริกาใต ๒. การใหเ หตผุ ล ๓. การจดั การขอ มลู ๓. การใชเทคนคิ และ ทางภมู ิศาสตร ๔. การวิเคราะหข อ มลู เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร ๕. การสรปุ เพอื่ ตอบคาํ ถาม ๔. การคดิ เชงิ พนื้ ที่ ๓. การตดั สินใจอยางเปน ๕. การคิดแบบองคร วม ระบบ ๖. การใชเ ทคโนโลยี
ชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ ม.๓ ๔. วิเคราะหแ นวทางการจดั การภยั พิบัติและ แนวทางการจดั การภยั พิบัติและ กระบวนการ การจดั การทรัพยากรและส่งิ แวดลอ ม การจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดลอ มในทวปี ในทวีปอเมริกาเหนอื และทวปี อเมรกิ าใต ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การต้งั คําถาม ๑. การแปลความขอมูล อเมริกาเหนอื และทวีปอเมริกาใตท่ยี ่งั ยนื ท่ยี ่งั ยนื ธรรมชาตแิ ละมนุษย เชิงภูมศิ าสตร ทางภูมิศาสตร ๒. การรวบรวมขอ มลู ๒. การคิดเชงิ พ้ืนท่ี ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ๒. การใหเ หตผุ ล ๓. การจัดการขอมลู ๓. การคดิ แบบองครวม กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทางภูมิศาสตร ๔. การวิเคราะหขอ มลู ๔. การใชเทคโนโลยี ๕. การสรปุ เพ่ือตอบคําถาม ๕. การใชสถติ พิ ้ืนฐาน ๓. การตัดสนิ ใจอยางเปน ระบบ ๕. ระบคุ วามรว มมอื ระหวางประเทศทีม่ ีผลตอ เปา หมายการพัฒนาทีย่ ัง่ ยืนของโลก - - - การจัดการทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ ม ความรว มมอื ระหวางประเทศท่มี ผี ลตอการ จดั การทรัพยากรและส่งิ แวดลอ ม สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ม.๔-๖ ๑. วเิ คราะหปฏิสัมพนั ธร ะหวางส่ิงแวดลอม ปฏิสมั พันธระหวางสิง่ แวดลอมทางกายภาพกับ ๑. ความเขา ใจระบบ ๑. การตัง้ คําถาม ๑. การแปลความขอมลู ทางกายภาพกับกจิ กรรมของมนุษย วิถีการดาํ เนนิ ชีวติ ภายใตกระแสโลกาภิวัตน ธรรมชาติและมนษุ ย เชงิ ภูมิศาสตร ทางภมู ิศาสตร 25 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ในการสรา งสรรคว ถิ กี ารดาํ เนินชีวิตของทองถนิ่ ไดแก ๒. การใหเหตผุ ล ๒. การรวบรวมขอ มูล ๒. การใชเ ทคนิคและ ทง้ั ในประเทศไทยและภูมิภาคตางๆ ของโลก - ประชากรและการตั้งถิ่นฐาน (การกระจาย ทางภมู ิศาสตร ๓. การจดั การขอมลู เครือ่ งมอื ทางภมู ิศาสตร และเหน็ ความสาํ คญั ของสิง่ แวดลอมทมี่ ีผลตอ และการเปล่ียนแปลงประชากร ชมุ ชนเมือง ๓. การตดั สินใจอยางเปน ๔. การวิเคราะหขอมลู ๓. การคดิ เชงิ พื้นที่ การดํารงชวี ิตของมนุษย และชนบท และการกลายเปนเมอื ง ระบบ ๕. การสรปุ เพอ่ื ตอบคําถาม ๔. การคดิ แบบองครวม - การกระจายของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ (เกษตรกรรม อุตสาหกรรมการผลิต การบรกิ าร และการทอ งเที่ยว)
ช้นั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ ม.๔-๖ ๒. วเิ คราะหส ถานการณ สาเหตุ และผลกระทบ สถานการณการเปล่ยี นแปลง กระบวนการ ดา นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม ของการเปลี่ยนแปลงดานทรัพยากรธรรมชาติ ไดแ ก การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ๑. ความเขาใจระบบ ๑. การตง้ั คําถาม ๑. การสังเกต และสง่ิ แวดลอ มของประเทศไทยและ ความเส่ือมโทรมของส่ิงแวดลอม ธรรมชาติและมนุษย เชงิ ภูมิศาสตร ๒. การแปลความขอมลู ภูมิภาคตางๆ ของโลก ความหลากหลายทางชวี ภาพ และภัยพบิ ัติ ๒. การใหเหตผุ ล ๒. การรวบรวมขอ มลู ทางภูมศิ าสตร ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง สาเหตุ และผลกระทบของการเปลยี่ นแปลง ทางภมู ศิ าสตร ๓. การจดั การขอ มูล ๓. การใชเทคนคิ และ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ดานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม ๓. การตัดสนิ ใจอยา งเปน ๔. การวิเคราะหข อมลู เครื่องมอื ทางภูมิศาสตร ของประเทศไทยและภมู ิภาคตางๆ ของโลก ระบบ ๕. การสรปุ เพื่อตอบคําถาม ๔. การคดิ เชิงพื้นท่ี การจดั การภัยพบิ ตั ิ ๕. การคดิ แบบองคร วม สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. ระบุมาตรการปอ งกนั และแกไ ขปญหา มาตรการปอ งกนั และแกไ ขปญหาทรพั ยากร ๑. ความเขา ใจระบบ - ๑. การคดิ เชิงพื้นที่ กฎหมายและนโยบายดา นทรัพยากรธรรมชาติ ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ มในประเทศและ ธรรมชาตแิ ละมนุษย ๒. การคดิ แบบองคร วม 26 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู และสิง่ แวดลอม บทบาทขององคก าร ระหวา งประเทศ ตามแนวทางการพัฒนาท่ี ๒. การใหเหตผุ ล ที่เกย่ี วขอ ง และการประสาน ความรวมมอื ยงั่ ยืน ความม่ันคงของมนุษย และการบรโิ ภค ทางภมู ศิ าสตร ทง้ั ในประเทศและระหวางประเทศ อยา งรบั ผดิ ชอบ ๓. การตดั สินใจ กฎหมายและนโยบายดานทรพั ยากรธรรมชาติ อยา งเปนระบบ และส่งิ แวดลอ มท้ังในประเทศและระหวา งประเทศ บทบาทขององคการ และการประสาน ความรวมมอื ทง้ั ในประเทศและระหวา งประเทศ ๔. วเิ คราะหแนวทางและมีสวนรวมในการจดั การ แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ - ๑. การตง้ั คาํ ถาม ๑. การแปลความขอ มูล ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ ม และสงิ่ แวดลอม เชงิ ภูมิศาสตร ทางภมู ศิ าสตร เพ่ือการพฒั นาที่ยงั่ ยืน การมีสว นรว มในการแกปญ หา และ ๒. การรวบรวมขอมูล ๒. การใชเ ทคนคิ และ การดําเนินชีวิตตามแนวทางการจดั การ ๓. การจัดการขอ มูล เครื่องมือทางภูมิศาสตร ทรัพยากรและสิง่ แวดลอมเพ่ือการพฒั นา ๔. การวิเคราะหข อ มูล ๓. การคิดเชงิ พน้ื ที่ ทย่ี ่ังยืน ๕. การสรปุ เพื่อตอบคาํ ถาม ๔. การคิดแบบองครวม
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู สาระท่ี ๕ ภูมศิ าสตร มาตรฐาน ส ๕.๑ เขาใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธของสรรพส่ิงซ่ึงมีผลตอกัน ใชแผนที่และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห และ สรปุ ขอ มูลตามกระบวนการทางภมู ศิ าสตร ตลอดจนใชภมู ิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง geo-literacy การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ความสามารถ กระบวนการ ชนั้ ตัวช้ีวัด มโนทัศนส าํ คัญ คาํ ถามสาํ คัญ ทักษะ คาํ สาํ คัญ เครอื่ งมือวดั และประเมินผล ป.๑ ๑. จําแนกสิ่งแวดลอ มรอบตัว การใชแผนผงั ส่งิ ตา งๆ รอบตัวเกดิ จาก ความเขาใจระบบ - สงั เกต จําแนก - แบบตรวจสอบ ท่เี กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ แสดงความสัมพนั ธของ อะไร ธรรมชาตแิ ละ รายการ และท่ีมนุษยสรา งขน้ึ ตําแหนง ระยะทาง และ มนษุ ย - แบบสอบประเภท ทศิ ของสิ่งตางๆ รอบตวั เลือกตอบแบบ สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทงั้ ทีเ่ กิดจากธรรมชาติ ถกู -ผิด และทีม่ นุษยส รา งขนึ้ 27 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๒. ระบคุ วามสมั พนั ธของ สง่ิ ตางๆ รอบตัวตั้งอยูใ น - - สงั เกต ระบุความ เกณฑการให ตาํ แหนง ระยะ ทิศของ ตาํ แหนง ใด สมั พนั ธ คะแนน (rubric) สงิ่ ตา งๆ ๓. ใชแ ผนผงั แสดงตําแหนง ใชแผนผังแสดงตําแหนง ๑. ความเขาใจ - ๑. การสงั เกต ใช....แสดง เกณฑ สงิ่ ตางๆ ในหองเรียน ของสิ่งตา งๆ รอบตัวได ระบบ ๒. การแปลความ การใหคะแนน อยา งไร ธรรมชาติ ขอ มูล และมนุษย ทางภูมิศาสตร ๒. การใหเ หตุผล ๓. การใชเทคนิค ทางภมู ิศาสตร และเครือ่ งมือ ทางภูมิศาสตร
geo-literacy การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู กระบวนการ ชน้ั ตวั ช้ีวัด มโนทศั นสําคัญ คาํ ถามสาํ คัญ ความสามารถ ทักษะ คําสาํ คญั เคร่ืองมือวดั สภาพอากาศในรอบวนั - และประเมินผล เปล่ยี นแปลงไปอยางไร ป.๑ ๔. สงั เกตและบอก การเปล่ียนแปลง - ๑. การสงั เกต - สงั เกต เกณฑ การเปลย่ี นแปลงของ สภาพอากาศในรอบวนั ๒. การแปลความ - บอก การใหคะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง สภาพอากาศในรอบวัน มผี ลตอส่ิงแวดลอม ขอ มลู ทาง กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภูมศิ าสตร ป.๒ ๑. ระบสุ ิ่งแวดลอ ม สิง่ แวดลอมระหวา งบา นกบั สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ความเขาใจระบบ - ๑. การสังเกต ระบุ - แบบตรวจสอบ ทางธรรมชาตแิ ละที่ โรงเรียน ประกอบดวย และที่มนษุ ยสรางขึน้ ธรรมชาติและ ๒. การแปลความ รายการ มนุษยส รา งขึน้ ซ่งึ ปรากฏ สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ซ่งึ ปรากฏระหวา งบา นกบั มนุษย ขอมลู ทาง - แบบสอบปาก ระหวางบา นกบั โรงเรียน และมนุษยส รา งข้ึน โรงเรยี นมอี ะไรบา ง ภูมิศาสตร เปลา สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. ระบุตําแหนงและลักษณะ ลูกโลก แผนผัง แผนที่ ลักษณะทางกายภาพของ - - ๑. การสงั เกต ระบุ - เกณฑ ทางกายภาพของส่ิงตา งๆ และรปู ถาย สามารถใช สิ่งตา งๆ ทปี่ รากฏใน ลูกโลก ๒. การแปลความ การใหคะแนน 28 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ทีป่ รากฏในลกู โลก แสดงตาํ แหนง ของลกั ษณะ แผนผัง แผนท่ี และรูปถา ย ขอมลู ทาง - แบบสงั เกต แผนผัง แผนที่ และ ทางกายภาพและ อยใู นตาํ แหนงใด ภูมศิ าสตร รปู ถาย สง่ิ ตา งๆ ได และมีลักษณะอยา งไร ๓. การใชเทคนิค และเครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร ๓. สังเกตและแสดง ความสมั พนั ธร ะหวา งโลก ความสัมพนั ธระหวา งโลก ๑. ความเขาใจ - ๑. การสงั เกต - สังเกต - เกณฑ ความสมั พนั ธร ะหวางโลก ดวงอาทติ ยและดวงจนั ทร ดวงอาทติ ยและดวงจนั ทร ระบบ ๒. การแปลความ - แสดงความ การใหค ะแนน ดวงอาทิตยและ ทําใหเ กิดปรากฏการณ ทาํ ใหเกดิ ปรากฏการณ ธรรมชาตแิ ละ ขอ มูลทาง สมั พันธ - แบบสงั เกต ดวงจนั ทร ที่ทาํ ใหเกิด ทางธรรมชาติท่มี อี ทิ ธิพล ใดบาง มนษุ ย ภมู ศิ าสตร ระหวาง...และ... ปรากฏการณ ตอ การดํารงชวี ิต ๒. การใหเหตผุ ล ๓. การใชเ ทคนคิ ทางภูมิศาสตร และเคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร
geo-literacy การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู ความสามารถ กระบวนการ ช้ัน ตวั ชี้วดั มโนทศั นส าํ คญั คาํ ถามสาํ คัญ ทกั ษะ คาํ สาํ คัญ เครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล ป.๓ ๑. สํารวจขอมูลทางภมู ศิ าสตร แผนผัง แผนที่ และรปู ถา ย จากแผนผัง แผนท่ี และ ความเขา ใจระบบ ๑. การตัง้ คาํ ถาม ๑. การสังเกต - สํารวจ - เกณฑ ในโรงเรียนและชุมชน เปนเครื่องมือ ในการแสดง รปู ถายสถานที่สําคญั ธรรมชาติและ เชิงภูมิศาสตร ๒. การแปลความ - แสดงความ การใหค ะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง โดยใชแผนผัง แผนท่ี และ ตาํ แหนงทีต่ ้งั ของสถานท่ี ในบริเวณโรงเรยี นและ มนษุ ย ๒. การรวบรวม ขอ มูลทาง สัมพันธ - แบบสังเกต กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รปู ถา ย เพอ่ื แสดงความ สาํ คญั ในบริเวณโรงเรยี น ชมุ ชนมีอะไรบางและต้งั อยู ขอมูล ภมู ิศาสตร - เกณฑ สมั พันธของตําแหนง ระยะ และชมุ ชน ในตําแหนง ใด ๓. การจดั การ ๓. การใชเทคนคิ การใหค ะแนน ทศิ ทาง ขอมูล และเครื่องมือ ๔. การวเิ คราะห ทางภูมิศาสตร ขอ มลู ๕. การสรุป เพือ่ ตอบ สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) คาํ ถาม ๒. วาดแผนผัง เพือ่ แสดง แผนผงั ท่แี สดงตาํ แหนง ท่ตี ง้ั ๑. ความเขา ใจ ๑. การสังเกต วาด 29 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ตําแหนงที่ตัง้ ของสถานท่ี ของสถานทส่ี ําคัญ ระบบ ๒. การแปลความ สําคญั ในบรเิ วณโรงเรียน ในบริเวณโรงเรยี นและ ธรรมชาติและ ขอ มูลทาง และชุมชน ชมุ ชนวาดไดอ ยา งไร มนุษย ภูมศิ าสตร ๒. การใหเหตผุ ล ๓. การใชเ ทคนิค ทางภมู ศิ าสตร และเคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร ป.๔ ๑. สบื คนและอธบิ ายขอ มูล แผนทแี่ ละรปู ถา ยเปน เครอื่ ง จากแผนท่แี ละรูปถาย ๑. ความเขาใจ ๑. การตงั้ คาํ ถาม ๑. การสังเกต - สบื คน - เกณฑ ลกั ษณะทางกายภาพ มอื ทใ่ี ชแ สดงลกั ษณะทาง จงั หวดั ของตนมีลกั ษณะ ระบบ เชงิ ภมู ศิ าสตร ๒. การแปลความ - อธิบาย การใหคะแนน ในจังหวัดตน ดว ยแผนที่ กายภาพ แหลงทรัพยากร ทางกายภาพอยา งไร ธรรมชาติและ ๒. การรวบรวม ขอ มูลทาง - แบบทดสอบ และรปู ถา ย และสถานทส่ี ําคญั ในจงั หวดั มนุษย ขอมลู ภมู ิศาสตร เขียนตอบ ของตน
geo-literacy การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ความสามารถ กระบวนการ ชน้ั ตวั ช้ีวัด มโนทศั นส ําคญั คาํ ถามสําคัญ ทักษะ คําสาํ คญั เครือ่ งมือวัด ป.๔ และประเมนิ ผล ๒. การใหเหตุผล ๓. การจัดการ ๓. การใชเทคนคิ ทางภมู ศิ าสตร ขอมลู และเครอ่ื งมือ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ๔. การวิเคราะห ทางภมู ิศาสตร กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ขอมูล ๕. การสรุป เพื่อตอบ คําถาม ๒. ระบุแหลง ทรัพยากรและ จากแผนทแี่ ละรูปถาย - ๑. การสังเกต ระบุ - แบบทดสอบ สถานท่สี ําคญั ในจังหวดั แหลง ทรัพยากรและ ๒. การแปลความ เลอื กตอบ สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ของตนดว ยแผนท่ีและ สถานท่ีสําคญั ในจังหวัด - แบบทดสอบ รปู ถา ย ของตน มอี ะไรบา ง ขอมูลทาง เขยี นตอบ 30 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู และอยูบริเวณใด ภูมิศาสตร ๓. การใชเ ทคนิค และเครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร ๓. อธิบายลกั ษณะทาง ลกั ษณะทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ ๑. ความเขา ใจ ๑. การสังเกต อธบิ าย.... - แบบทดสอบ กายภาพทสี่ งผลตอแหลง สง ผลใหเ กดิ แหลง สง ผลตอ แหลงทรัพยากร ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ ทสี่ งผลตอ ..... เขียนตอบ ทรัพยากรและสถานที่ ทรัพยากรและสถานท่ี และสถานท่สี ําคญั และมนุษย - เกณฑ สําคัญในจังหวัด สาํ คัญท่ีแตกตางกนั ในจงั หวัดอยา งไร ขอมลู ทาง การใหคะแนน ในจงั หวัด ๒. การใหเ หตุผล ภมู ิศาสตร ทางภมู ศิ าสตร ๓. การใชเทคนิค และเคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร
geo-literacy การวัดและประเมินผลการเรียนรู ความสามารถ กระบวนการ ช้ัน ตวั ชว้ี ัด มโนทัศนสําคัญ คาํ ถามสาํ คญั ทักษะ คําสําคัญ เครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผล ป.๕ ๑. สบื คน และอธบิ ายขอมูล แผนท่แี ละรูปถา ย จากแผนท่ีและรูปถาย ๑. ความเขาใจ ๑. การต้ังคาํ ถาม ๑. การสงั เกต - สบื คน - เกณฑ ลกั ษณะทางกายภาพใน เปน เคร่อื งมอื ท่ีใชแสดง ภมู ภิ าคของเรามีลกั ษณะ ระบบ เชิงภูมิศาสตร ๒. การแปลความ - อธิบาย การใหคะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ภูมิภาคของตน ดวยแผนท่ี ขอมูลลักษณะทางกายภาพ ทางกายภาพอยา งไร ธรรมชาติ ๒. การรวบรวม ขอมลู - แบบทดสอบ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และรูปถาย ในภูมภิ าคของตน และมนุษย ขอมูล ทางภมู ศิ าสตร เขยี นตอบ ๒. การใหเ หตุผล ๓. การจดั การ ๓. การใชเทคนิค - แบบสงั เกต ทางภมู ิศาสตร ขอ มลู และเคร่ืองมอื ๔. การวเิ คราะห ทางภูมิศาสตร ขอมลู ๔. การใช ๕. การสรุปเพอ่ื เทคโนโลยี ตอบคําถาม สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. อธิบายลักษณะทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพสง ผล ๑. ความเขาใจ ๑. การสังเกต อธบิ าย... แบบทดสอบ 31 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ทีส่ งผลตอแหลงทรัพยากร สง ผลใหเกดิ แหลง ตอ แหลงทรพั ยากรและ ระบบ ๒. การแปลความ ทีส่ ง ผลตอ .... เขียนตอบ และสถานทส่ี ําคัญ ทรัพยากรและสถานที่ สถานทส่ี าํ คัญในภมู ิภาค ธรรมชาติ และ ในภูมภิ าคของตน สาํ คัญในภมู ภิ าคของตน ของเราอยา งไร มนษุ ย ขอมลู ทาง ๒. การใหเหตผุ ล ภมู ศิ าสตร ทางภมู ิศาสตร ๓. การใชเ ทคนคิ และเครื่องมือ ทางภูมศิ าสตร ๔. การใช เทคโนโลยี
geo-literacy การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ความสามารถ กระบวนการ ชั้น ตัวชี้วดั มโนทัศนส ําคัญ คาํ ถามสําคัญ ทกั ษะ คาํ สาํ คัญ เครือ่ งมือวดั และประเมินผล ป.๖ ๑. สบื คน และอธบิ ายขอ มูล แผนที่ รูปถา ยทางอากาศ จากแผนที่ รปู ถา ย ๑. ความเขาใจ ๑. การตัง้ คําถาม ๑. การสังเกต - สืบคน - เกณฑ ลกั ษณะทางกายภาพของ และภาพจากดาวเทยี ม ทางอากาศ และภาพจาก ระบบ เชงิ ภูมศิ าสตร ๒. การแปลความ - อธิบาย การใหค ะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ประเทศไทย ดวยแผนท่ี ใชแสดงขอมูลลักษณะ ดาวเทียม ประเทศไทยมี ธรรมชาตแิ ละ ๒. การรวบรวม ขอมูล - แบบทดสอบ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รปู ถาย ทางอากาศ และ ทางกายภาพของ ลักษณะภูมิประเทศ มนษุ ย ขอมูล ทางภูมศิ าสตร เขยี นตอบ ภาพจากดาวเทียม ประเทศไทย ภูมอิ ากาศและทรพั ยากร ๒. การใหเหตุผล ๓. การจดั การ ๓. การใชเ ทคนิค ธรรมชาติอยา งไร ทางภมู ศิ าสตร ขอมลู และเครอ่ื งมือ ๔. การวิเคราะห ทางภมู ศิ าสตร ขอ มลู ๔. การใช ๕. การสรปุ เทคโนโลยี เพ่ือตอบ สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) คําถาม ๒. อธิบายความสมั พนั ธ ลักษณะทางกายภาพของ ภยั พบิ ตั ใิ นประเทศไทย ๑. ความเขา ใจ ๑. การสงั เกต อธบิ าย - เกณฑ 32 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ระหวา งลักษณะทาง ไทยในภมู ิภาคตางๆ สงผล มอี ะไรบาง และ ระบบ ๒. การแปลความ ความสมั พนั ธ การใหค ะแนน กายภาพกับภัยพบิ ัติ ใหเ กดิ ลกั ษณะภยั พบิ ัตทิ ี่ มคี วามสมั พนั ธก บั ธรรมชาติ ขอมูลทาง ระหวา ง....กับ....... - แบบทดสอบ ในประเทศไทย เพื่อเตรยี ม แตกตา งกัน และการเตรียม ลักษณะทางกายภาพ และมนษุ ย ภูมศิ าสตร เขยี นตอบ พรอ มรับมอื ภยั พิบตั ิ พรอ มรับมอื ภยั พบิ ัติจะชว ย ของไทยอยางไร ๒. การใหเ หตผุ ล ๓. การใชเทคนคิ ใหเ ราอยูร วมกับธรรมชาติ ภยั พิบตั ิแตละประเภท ทางภมู ิศาสตร และเครอ่ื งมือ ไดอยางยงั่ ยืน มีสาเหตุและสง ผล ๓. การตัดสนิ ใจ ทางภมู ิศาสตร กระทบอยางไร อยา งเปน ๔. การใช เราจะเตรียมพรอ ม ระบบ เทคโนโลยี รบั มือภยั พิบตั ิ แตละประเภทอยางไร
geo-literacy การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ความสามารถ กระบวนการ ชัน้ ตวั ชีว้ ัด มโนทัศนส ําคญั คาํ ถามสําคญั ทกั ษะ คาํ สําคญั เครอ่ื งมอื วัด ม.๑ ๑. วิเคราะหลกั ษณะทาง และประเมนิ ผล กายภาพของทวีปเอเชยี เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร จากการสืบคนโดยใช การใหเหตผุ ล ๑. การต้งั คําถาม ๑. การสังเกต วเิ คราะห. ... - เกณฑ ทวปี ออสเตรเลีย และ สามารถนาํ ไปใชใ นการ เคร่อื งมือทางภมู ิศาสตร ทางภมู ศิ าสตร เชงิ ภมู ศิ าสตร ๒. การแปลความ โดยใชเ ครือ่ งมอื การใหคะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง โอเชียเนีย โดยใช สบื คน ขอ มลู เพื่อวเิ คราะห ทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลยี ๒. การรวบรวม ขอมูลทาง - แบบทดสอบ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร ลักษณะภมู ปิ ระเทศ และโอเชยี เนยี มลี กั ษณะ ขอมลู ภมู ิศาสตร เขียนตอบ สืบคน ขอมูล ลักษณะภมู อิ ากาศ และ มลี ักษณะภมู ปิ ระเทศ ๓. การจัดการ ๓. การคิด ทรัพยากรธรรมชาตขิ อง ภมู อิ ากาศ และทรัพยากร ขอ มูล เชงิ พนื้ ท่ี ทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย ธรรมชาติอยางไร ๔. การวเิ คราะห ๔. การคิด และโอเชียเนยี ขอมลู แบบองคร วม ๕. การสรปุ ๕. การใช เพอ่ื ตอบ เทคโนโลยี สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) คําถาม 33 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๒. อธบิ ายพิกัดภูมศิ าสตร ระบบพิกัดภูมิศาสตรใ ช พกิ ดั ภมู ศิ าสตร ๑. ความเขา ใจ - ๑. การสังเกต - อธิบาย - แบบทดสอบ (ละตจิ ดู และลองจิจูด) ในการอา งองิ ตําแหนง มวี ิธกี ารอา นอยา งไร ระบบ ๒. การแปลความ - เปรียบเทียบ เลอื กตอบ เสนแบงเวลา และ และการคํานวณวนั เวลา วนั เวลาของโลก ธรรมชาติและ ขอ มูล - แบบทดสอบ เปรียบเทยี บ วัน เวลา มวี ธิ กี ารคํานวณ มนษุ ย ทางภมู ิศาสตร เขยี นตอบ ของโลก อยางไร ๒. การใหเหตผุ ล ๓. การใชเ ทคนคิ ทางภมู ิศาสตร และเครอื่ งมอื ทางภูมิศาสตร ๔. การคิด แบบองคร วม ๕. การใช เทคโนโลยี
geo-literacy การวัดและประเมินผลการเรียนรู ความสามารถ กระบวนการ ช้นั ตัวชวี้ ัด มโนทศั นส ําคญั คําถามสาํ คญั ทักษะ คําสาํ คญั เครื่องมือวัด ม.๑ ๓. วิเคราะหสาเหตกุ ารเกิด และประเมินผล ภัยพบิ ตั ิและผลกระทบ ลักษณะทางกายภาพของ การเกิดภยั พบิ ัติของทวีป ๑. ความเขาใจ ๑. การตั้งคําถาม ๑. การแปลความ - วเิ คราะหส าเหตุ - แบบทดสอบ ในทวีปเอเชีย ทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ระบบ เชิงภมู ศิ าสตร ขอมลู ทาง - วเิ คราะห เลอื กตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนยี สงผลตอ และโอเชยี เนียมอี ะไรบา ง ธรรมชาติ ๒. การรวบรวม ภมู ิศาสตร ผลกระทบ - แบบทดสอบ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และโอเชียเนยี การเกดิ ภยั พบิ ตั ิ เกิดจากสาเหตใุ ด และ และมนษุ ย ขอ มูล ๒. การคดิ เขียนตอบ และผลกระทบทแ่ี ตกตา งกัน มผี ลกระทบอยางไร ๒. การใหเหตผุ ล ๓. การจดั การ เชิงพน้ื ที่ - เกณฑ ทางภมู ิศาสตร ขอมูล การใหค ะแนน ๓. การตัดสินใจ ๔. การวิเคราะห อยางเปน ขอมูล ระบบ ๕. การสรุป เพอื่ ตอบ สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) คาํ ถาม 34 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ม.๒ ๑. วิเคราะหล ักษณะทาง เคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร จากการสบื คน โดยใช ๑. การใหเ หตผุ ล ๑. การตง้ั คําถาม ๑. การสงั เกต วเิ คราะห...โดยใช - แบบทดสอบ กายภาพของทวปี ยโุ รป สามารถนําไปใชในการ เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร ทางภมู ิศาสตร เชงิ ภมู ิศาสตร ๒. การแปลความ เคร่อื งมอื เลอื กตอบ และ ทวีปแอฟริกา สืบคน ขอ มลู เพือ่ วเิ คราะห ทวปี ยุโรปและแอฟริกา ๒. การรวบรวม ขอมลู ทาง - แบบทดสอบ โดยใชเ ครอื่ งมอื ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ มลี ักษณะภูมิประเทศ ขอมูล ภูมิศาสตร เขียนตอบ ทางภมู ิศาสตรสืบคน ขอมลู ภูมอิ ากาศ และ ภูมอิ ากาศ และ ๓. การจดั การ ๓. การคดิ - เกณฑ ทรพั ยากรธรรมชาติของ ทรพั ยากรธรรมชาติ ขอมลู เชงิ พน้ื ท่ี การใหค ะแนน ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า อยา งไร ๔. การวเิ คราะห ๔. การคิด ขอมลู แบบองคร วม ๕. การสรุป ๕. การใช เพอ่ื ตอบ เทคโนโลยี คาํ ถาม
geo-literacy การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู ความสามารถ กระบวนการ ช้นั ตวั ชีว้ ัด มโนทัศนสําคญั คาํ ถามสาํ คัญ ทกั ษะ คําสาํ คัญ เครอื่ งมอื วัด และประเมนิ ผล ม.๒ ๒. อธิบายมาตราสวน ทิศ มาตราสวน ทศิ และ มาตราสว น ทศิ และ ๑. ความเขา ใจ - ๑. การสังเกต อธบิ าย - แบบทดสอบ และสัญลักษณ สญั ลกั ษณ เปน องค สัญลักษณ ใชอธิบาย ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ เลือกตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ประกอบของแผนทที่ ่ที ําให สง่ิ ตา งๆ บนผิวโลก และมนษุ ย ขอมลู ทาง - แบบทดสอบ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เราทราบตาํ แหนง ระยะ ทปี่ รากฏในแผนที่ ๒. การใหเหตุผล ภมู ิศาสตร เขยี นตอบ ทางและทศิ ทางของสง่ิ ไดอ ยางไร ทางภมู ิศาสตร ๓. การใชเทคนคิ ตางๆ ทป่ี รากฏบนผิวโลก และเคร่อื งมือ ทางภมู ศิ าสตร ๔. การใช เทคโนโลยี สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. วเิ คราะหส าเหตุและ ลกั ษณะทางกายภาพของ การเกิดภัยพิบตั ิของทวปี ๑. ความเขา ใจ ๑. การต้งั คาํ ถาม ๑. การแปลความ - วเิ คราะหส าเหตุ - แบบทดสอบ ผลกระทบการเกิดภัยพบิ ัติ ทวีปยุโรปและทวปี แอฟรกิ า ยโุ รป และทวีปแอฟรกิ ามี ระบบธรรมชาติ เชงิ ภูมศิ าสตร ขอ มูลทาง - วเิ คราะห เลอื กตอบ 35 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ในทวีปยโุ รป และทวปี สง ผลตอ การเกดิ ภยั พิบัติ อะไรบาง เกิดจากสาเหตุใด และมนษุ ย ๒. การรวบรวม ภูมิศาสตร ผลกระทบ - แบบทดสอบ แอฟริกา และผลกระทบทแี่ ตกตา งกนั และมผี ลกระทบอยางไร ๒. การใหเ หตผุ ล ขอมูล ๒. การคดิ เขียนตอบ ทางภมู ิศาสตร ๓. การจดั การ เชิงพื้นที่ - เกณฑ ๓. การตดั สนิ ขอมูล การใหค ะแนน ใจอยา งเปน ๔. การวิเคราะห ระบบ ขอมลู ๕. การสรปุ เพือ่ ตอบคําถาม
geo-literacy การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู ความสามารถ กระบวนการ ชั้น ตัวชี้วดั มโนทศั นส ําคัญ คาํ ถามสาํ คัญ ทกั ษะ คาํ สาํ คัญ เครอ่ื งมอื วัด ม.๓ ๑. วเิ คราะหล กั ษณะทาง และประเมนิ ผล กายภาพของทวปี เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร จากแผนทเ่ี ฉพาะเรื่อง การใหเ หตุผล ๑. การตัง้ คําถาม ๑. การสังเกต วเิ คราะห...โดยใช - เกณฑ อเมริกาเหนือ และทวปี สามารถนาํ ไปใชในการ และการสืบคนโดยใช ทางภูมิศาสตร เชิงภูมศิ าสตร ๒. การแปลความ เครื่องมอื การใหคะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง อเมริกาใต โดยเลือกใช สบื คน ขอ มลู เพอ่ื วเิ คราะห เครอื่ งมอื ทางภูมศิ าสตร ๒. การรวบรวม ขอมูลทาง - แบบทดสอบ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม แผนทเ่ี ฉพาะเรอ่ื งและ ลกั ษณะภูมิประเทศ ทวีปอเมรกิ าเหนือและ ขอ มลู ภมู ิศาสตร เขยี นตอบ เคร่อื งมือทางภูมศิ าสตร ภูมอิ ากาศ และ ทวีปอเมริกาใตล ักษณะ ๓. การจัดการ ๓. การคดิ สบื คน ขอ มลู ทรัพยากรธรรมชาตขิ อง ภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ ขอมลู เชิงพ้นื ท่ี ทวีปอเมริกาเหนอื และ และทรัพยากรธรรมชาติ ๔. การวิเคราะห ๔. การคิด ทวปี อเมรกิ าใต ของมลี ักษณะอยางไร ขอมลู แบบองคร วม ๕. การสรปุ ๕. การใช เพือ่ ตอบ เทคโนโลยี สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) คาํ ถาม 36 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๒. วิเคราะหส าเหตุการเกิด ลักษณะทางกายภาพของ การเกดิ ภยั พิบตั ิของ ๑. ความเขาใจ ๑. การตั้งคาํ ถาม ๑. การแปลความ - วเิ คราะหส าเหตุ - เกณฑ ภัยพิบตั แิ ละผลกระทบ ทวปี อเมรกิ าเหนือ และ ทวีปอเมรกิ าเหนอื และ ระบบ เชิงภมู ิศาสตร ขอมูลทาง - วเิ คราะห การใหคะแนน ในทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต สงผลตอ ทวีปอเมริกาใต มอี ะไรบาง ธรรมชาติ ๒. การรวบรวม ภมู ิศาสตร ผลกระทบ - แบบทดสอบ และทวปี อเมริกาใต การเกดิ ภยั พบิ ัติและ และเกิดจากสาเหตุใด และมนุษย ขอมลู ๒. การคดิ เขยี นตอบ ผลกระทบท่ีแตกตา งกัน ๒. การใหเหตผุ ล ๓. การจัดการ เชิงพืน้ ท่ี ทางภูมศิ าสตร ขอมลู ๓. การตดั สนิ ใจ ๔. การวิเคราะห อยางเปน ขอมลู ระบบ ๕. การสรปุ เพ่อื ตอบคาํ ถาม
geo-literacy การวัดและประเมินผลการเรียนรู ความสามารถ กระบวนการ ชั้น ตวั ช้วี ัด มโนทศั นสาํ คญั คําถามสําคญั ทักษะ คาํ สาํ คัญ เครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล ม.๔-๖ ๑. วเิ คราะหการเปล่ยี นแปลง ปจจยั ทางภมู ศิ าสตร ๑. ปจ จยั ทางภูมศิ าสตรที่ ๑. การใหเ หตุผล ๑. การตั้งคําถาม ๑. การแปล วิเคราะห - เกณฑ ทางกายภาพในประเทศไทย มอี ทิ ธพิ ลตอการเปลยี่ นแปลง สงผลตอ การเปลีย่ นแปลง ทางภูมิศาสตร เชิงภมู ศิ าสตร ความหมาย การเปลย่ี นแปลง การใหค ะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง และภมู ภิ าคตา งๆ ของโลก ทางกายภาพในประเทศไทย ทางกายภาพมอี ะไรบาง ๒. การตัดสนิ ใจ ๒. การรวบรวม ขอ มลู ทาง ทางกายภาพ - แบบทดสอบ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ซง่ึ ไดรบั อิทธิพลจากปจ จยั และภมู ิภาคตางๆ ของโลก อยางไร อยา งเปน ขอ มลู ภมู ศิ าสตร เขยี นตอบ ทางภมู ิศาสตร ซึง่ สง ผลตอ ภมู ปิ ระเทศ ๒. การเปลี่ยนแปลง ระบบ ๓. การจดั การ ๒. การคิด - แบบทดสอบ ภมู ิอากาศและ ทางกายภาพสง ผลตอ ขอมลู เชงิ พ้ืนที่ เลอื กตอบ ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ ๔. การวเิ คราะห และทรพั ยากรธรรมชาติ ขอมลู ในประเทศไทยและ ๕. การสรปุ ภมู ิภาคตา งๆ ของโลก เพอ่ื ตอบ สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) อยา งไร คําถาม 37 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๒. วิเคราะหล ักษณะ ลกั ษณะทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ ๑. ความเขา ใจ ๑. การแปลความ วิเคราะหล ักษณะ - เกณฑ ทางกายภาพ ซ่งึ ทําใหเกิด ทแี่ ตกตางกันสง ผลใหเกดิ สง ผลใหเกดิ ปญ หาและ ระบบ หมายขอมลู ทางกายภาพ การใหคะแนน ปญหาและภัยพิบัตทิ าง ปญหาและภยั พิบัติ ภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติ ธรรมชาติ ทางภมู ศิ าสตร - แบบทดสอบ ธรรมชาติในประเทศไทย ทางธรรมชาตทิ แ่ี ตกตางกัน ในประเทศไทยและในภูมภิ าค และมนุษย ๒. การคิด เขยี นตอบ และภูมภิ าคตางๆ ทงั้ ในดา นประเภท ความถี่ ตางๆ ของโลก ทง้ั ดา นประเภท ๒. การใหเ หตผุ ล เชงิ พ้ืนท่ี - แบบทดสอบ ของโลก และความรนุ แรง ความถ่ี และความรุนแรง ทางภมู ศิ าสตร ๓. การใชส ถติ ิ เลอื กตอบ ไดอยางไร และเพยี งใด ๓. การตัดสินใจ พนื้ ฐาน อยางเปน ระบบ
geo-literacy การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ความสามารถ กระบวนการ ชน้ั ตัวชี้วัด มโนทัศนส าํ คัญ คําถามสาํ คัญ ทักษะ คําสาํ คัญ เครอ่ื งมอื วดั และประเมินผล ม.๔-๖ ๓. ใชแผนท่แี ละเครอ่ื งมอื การใชแ ผนทแ่ี ละเครือ่ งมือ การอา นแผนที่ ๑. ความเขา ใจ ๑. การตั้งคาํ ถาม ๑. การสงั เกต - ใช....คนหา และ - เกณฑก ารให ทางภูมิศาสตรในการคน หา ทางภมู ิศาสตร การแปลความหมาย ระบบ เชงิ ภูมิศาสตร ๒. การแปลความ วเิ คราะหสรปุ คะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง วเิ คราะห และสรปุ ขอมลู ตามกระบวนการ รูปถา ยทางอากาศ และ ธรรมชาติ ๒. การรวบรวม ขอมูลทาง ขอ มลู - แบบทดสอบ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามกระบวนการ ทางภูมิศาสตรจ ะชว ยให ภาพจากดาวเทยี ม และมนษุ ย ขอ มูล ภมู ศิ าสตร - นาํ ...มาใช เขยี นตอบ ทางภูมิศาสตร และ สามารถนําภูมิสารสนเทศ รวมทงั้ การคน หาขอมูล ๒. การใหเ หตุผล ๓. การจัดการ ๓. การใชเ ทคนิค ประโยชน - แบบทดสอบ นําภมู สิ ารสนเทศ มาใชในชีวิตประจําวันได จากเคร่อื งมอื ทาง ทางภมู ิศาสตร ขอมลู และเครือ่ งมือ เลอื กตอบ มาใชป ระโยชน อยางมีประสิทธภิ าพ ภูมิศาสตรม วี ธิ กี ารอยา งไร ๓. การตดั สนิ ใจ ๔. การวิเคราะห ทางภมู ิศาสตร ในชวี ติ ประจาํ วัน และนาํ ภมู ิสารสนเทศ อยา งเปน ขอ มลู ๔. การคดิ เชิง ไปใชป ระโยชน ระบบ ๕. การสรุป พน้ื ที่ ในชวี ิตประจาํ วนั เพ่อื ตอบ ๕. การใช สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ไดอ ยางไร คาํ ถาม เทคโนโลยี ๖. การใชส ถิติ 38 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู พน้ื ฐาน
สาระที่ ๕ ภมู ิศาสตร มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา ใจปฏสิ มั พนั ธร ะหวา งมนษุ ยก บั สงิ่ แวดลอ มทางกายภาพทก่ี อ ใหเ กดิ การสรา งสรรคว ถิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ติ มจี ติ สาํ นกึ และมสี ว นรว มในการจดั การทรพั ยากร และสง่ิ แวดลอมเพ่อื การพัฒนาทยี่ ัง่ ยนื geo-literacy การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ความสามารถ กระบวนการ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ช้ัน ตวั ชว้ี ดั มโนทัศนส าํ คญั คําถามสําคัญ ทักษะ คาํ สําคัญ เคร่อื งมอื วดั กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สิง่ แวดลอมทเ่ี กดิ ตาม และประเมนิ ผล ธรรมชาติมีผลตอ ป.๑ ๑. บอกสงิ่ แวดลอมท่เี กดิ สง่ิ แวดลอ มท่ีเกดิ ตาม ความเปนอยูของมนษุ ย ๑. ความเขาใจ - ๑. การสังเกต บอก.... - แบบตรวจสอบ ตามธรรมชาติทสี่ งผลตอ ธรรมชาติ มีผลตอ อยา งไร ระบบ ๒. การแปลความ ทีส่ งผลตอ .... รายการ ความเปนอยขู องมนุษย ความเปน อยขู องมนุษย ธรรมชาติ ขอมลู - แบบทดสอบ และมนุษย ประเภทเลือก ๒. การใหเหตุผล ทางภูมศิ าสตร ตอบแบบถกู -ผิด สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทางภูมิศาสตร 39 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๒. สงั เกตและเปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลงของ สิ่งแวดลอมมีการเปล่ียนแปลง ๑. ความเขาใจ - ๑. การสงั เกต - สงั เกต - แบบตรวจสอบ การเปล่ียนแปลงของ สง่ิ แวดลอมสงผลตอ อยางไร และจะปฏบิ ัตติ น ระบบ ๒. การแปลความ การเปลย่ี นแปลง รายการ สิง่ แวดลอ มเพื่อการปฏิบัติตน การดาํ เนินชีวิต อยา งไรใหเหมาะสม ธรรมชาติและ ขอมูล - เปรยี บเทียบ - เกณฑการให อยา งเหมาะสม กับการเปลี่ยนแปลง มนุษย ทางภูมิศาสตร การเปลย่ี นแปลง คะแนน ท่ีเกดิ ขึน้ ๒. การใหเ หตุผล - ปฏบิ ตั ิตนอยา ง - แบบสอบ ทางภูมิศาสตร เหมาะสม ปากเปลา ๓. มสี วนรวมในการดแู ล การมสี วนรว มในการดูแล นักเรยี นมสี ว นรวม ๑. ความเขา ใจ - ๑. การสงั เกต มีสวนรวม - แบบตรวจสอบ สงิ่ แวดลอ มทบี่ า นและ สิ่งแวดลอมที่บานและ ในการดูแลสิง่ แวดลอม ระบบ รายการ หองเรยี น หอ งเรียนเปน หนา ที่ ท่ีบา นและในหองเรยี น ธรรมชาติและ ๒. การแปลความ - เกณฑ ขอมูล ของทกุ คน ไดอยา งไร มนษุ ย ทางภมู ศิ าสตร การใหค ะแนน ๒. การใหเ หตผุ ล - แบบสอบ ทางภูมิศาสตร ปากเปลา
geo-literacy การวดั และประเมินผลการเรียนรู ความสามารถ กระบวนการ ชั้น ตวั ชวี้ ดั มโนทัศนส าํ คัญ คาํ ถามสาํ คญั ทักษะ คาํ สาํ คญั เครอื่ งมือวัด ป.๑ ๓. การตดั สิน และประเมินผล ใจอยา งเปน ระบบ - แบบสังเกต ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ป.๒ ๑. อธิบายความสําคัญของ ส่งิ แวดลอมทางธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ มทางธรรมชาติ ๑. ความเขาใจ - ๑. การสงั เกต อธบิ ายความสําคัญ - แบบสอบ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ส่ิงแวดลอ มทางธรรมชาติ และทมี่ นษุ ยสรางขึ้น และทม่ี นุษยสรางขึ้น ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ ปากเปลา และทีม่ นุษยสรา งขึ้น มีผลตอการดาํ เนนิ ชวี ิต มผี ลตอ การดําเนนิ ชีวติ และมนุษย ขอ มลู ทาง - แบบประเมนิ อยา งไร ๒. การใหเหตผุ ล ภมู ศิ าสตร การตรวจสอบ ทางภูมศิ าสตร ผลงาน สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. จาํ แนกและใช มนุษยตองใชทรัพยากร ทรพั ยากรธรรมชาติ ๑. ความเขาใจ - ๑. การสงั เกต - จาํ แนก - แบบสอบ ทรัพยากรธรรมชาติ ธรรมชาตอิ ยางคมุ คา ทีใ่ ชแลวไมห มดไป ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ - ใชอยา งคุมคา ปากเปลา 40 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ที่ใชแ ลว ไมหมดไป เนื่องจากมอี ยูอยางจาํ กดั ท่ใี ชแ ลว หมดไปและ และมนษุ ย ขอ มลู ทาง - แบบประเมิน ที่ใชแลวหมดไป และสราง สรา งทดแทนขน้ึ ใหมไ ด ๒. การใหเหตุผล ภูมศิ าสตร การตรวจสอบ ทดแทนขน้ึ ใหมไ ดอ ยาง แตกตางกนั อยางไร ทางภูมิศาสตร ผลงาน คมุ คา การใชทรพั ยากรธรรมชาติ ใหค ุมคา มีลกั ษณะอยา งไร ๓. อธบิ ายความสัมพนั ธระหวา ง ฤดูกาลสง ผลตอการดาํ เนิน ฤดกู าลทแี่ ตกตางกัน ๑. ความเขา ใจ - ๑. การสงั เกต อธบิ าย - แบบสอบ ฤดูกาลกับการดาํ เนนิ ชีวิต ชีวติ ของมนษุ ย สงผลตอ การดํารงขีวิต ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ ความสัมพันธ ปากเปลา ของมนุษย ของมนุษยอยา งไร และมนุษย ขอมลู ทาง - เกณฑ ภูมิศาสตร การใหคะแนน ๒. การใหเหตผุ ล ทางภูมิศาสตร
geo-literacy การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ความสามารถ กระบวนการ ชน้ั ตัวชี้วัด มโนทัศนสาํ คัญ คาํ ถามสาํ คัญ ทักษะ คาํ สําคัญ เครือ่ งมือวัด และประเมินผล ป.๒ ๔. มสี ว นรวมในการจัดการ การมีสว นรวมในการจดั การ นักเรยี นมีสว นรว มในการ ๑. ความเขา ใจ - ๑. การสงั เกต มสี ว นรวม - แบบตรวจสอบ สิ่งแวดลอมในโรงเรียน สง่ิ แวดลอมในโรงเรียน จัดการสิ่งแวดลอ ม ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ ในการจดั การ รายการ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง เปน หนาทขี่ องทกุ คน ในโรงเรยี นไดอ ยา งไร และมนษุ ย ขอ มลู ทาง - เกณฑ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภูมศิ าสตร การใหคะแนน ๒. การใหเ หตผุ ล - แบบสอบ ทางภูมศิ าสตร ปากเปลา - แบบสงั เกต ๓. การตัดสนิ ใจอยา งเปน ระบบ สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ป.๓ ๑. เปรียบเทยี บการเปลีย่ นแปลง ปจ จบุ นั สงิ่ แวดลอ มในชมุ ชน สิง่ แวดลอมของชมุ ชน ๑. ความเขา ใจ - ๑. การสังเกต เปรยี บเทียบ..... - แบบทดสอบ สง่ิ แวดลอ มของชุมชน มกี ารเปลี่ยนแปลงไปจาก ในอดตี กับปจจบุ ัน ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ การเปลีย่ นแปลง เขยี นตอบ 41 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ในอดตี กับปจจบุ ัน อดตี แตกตางกนั อยางไร และมนุษย ขอมูลทาง กับ..... - เกณฑ เพราะเหตใุ ด ภมู ิศาสตร การใหค ะแนน ๒. การใหเหตุผล ทางภมู ิศาสตร ๒. อธบิ ายการใชประโยชน มนุษยม ีความจําเปน ตอ งใช มนษุ ยใชป ระโยชนจาก ๑. ความเขาใจ ๑. การต้ังคําถาม ๑. การสังเกต อธิบาย - แบบทดสอบ จากสง่ิ แวดลอ มและ ประโยชนจ ากสิ่งแวดลอ ม ส่ิงแวดลอมและทรพั ยากร ระบบธรรมชาติ เชิงภูมิศาสตร ๒. การแปลความ เขยี นตอบ ทรพั ยากรธรรมชาติ และทรัพยากรธรรมชาติ ธรรมชาติในการสนอง และมนุษย ๒. การรวบรวม ขอมูลทาง - เกณฑ ในการสนองความตองการ ในการตอบสนอง ความตอ งการพนื้ ฐาน และ ๒. การใหเ หตุผล ขอมูล ภมู ิศาสตร การใหค ะแนน พื้นฐานของมนษุ ย และ ความตองการพืน้ ฐานและ การประกอบอาชพี อยา งไร ทางภมู ศิ าสตร ๓. การจดั การ - แบบทดสอบ การประกอบอาชพี การประกอบอาชพี ขอ มลู เลือกตอบ ๔. การวิเคราะห ขอ มลู ๕. การสรุปเพ่ือ ตอบคาํ ถาม
geo-literacy การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ความสามารถ กระบวนการ ชนั้ ตัวชีว้ ัด มโนทศั นสําคัญ คําถามสาํ คัญ ทกั ษะ คําสาํ คัญ เคร่อื งมอื วัด และประเมินผล ป.๓ ๓. อธบิ ายสาเหตทุ ่ที าํ ใหเกดิ มลพิษเกดิ จากการกระทาํ มนุษยทําใหเกิดมลพิษได ๑. ความเขา ใจ ๑. การตงั้ คําถาม ๑. การสงั เกต อธบิ ายสาเหตุ - แบบทดสอบ มลพษิ โดยมนษุ ย ของมนุษย อยางไร ระบบธรรมชาติ เชงิ ภมู ิศาสตร ๒. การแปลความ เขียนตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง และมนษุ ย ๒. การรวบรวม ขอ มลู ทาง - เกณฑ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒. การใหเหตุผล ขอมูล ภูมิศาสตร การใหค ะแนน ทางภูมศิ าสตร ๓. การจัดการ - แบบทดสอบ ขอ มูล เลอื กตอบ ๔. การวเิ คราะห - แบบทดสอบ ๔. อธิบายความแตกตาง เมืองและชนบทเปนชุมชน เมอื งและชนบทมีความ ๑. ความเขาใจ ขอ มลู ๑. การสงั เกต อธิบาย เขยี นตอบ ของลกั ษณะเมืองและ ทม่ี ีความแตกตางกัน แตกตางกนั อยางไร ระบบธรรมชาติ ๕. การสรุป ๒. การแปลความ ความแตกตา ง - เกณฑ ชนบท ทง้ั ทางกายภาพและวิถีชวี ติ และมนุษย เพื่อตอบ ขอ มูลทาง การใหคะแนน สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. การใหเ หตุผล คาํ ถาม ภูมิศาสตร - แบบทดสอบ ทางภูมศิ าสตร เลือกตอบ 42 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ๕. อธบิ ายความสัมพนั ธข อง ภูมิประเทศ ภมู อิ ากาศ ลกั ษณะทางกายภาพ ๑. ความเขา ใจ ๑. การสังเกต อธิบาย - แบบทดสอบ ลักษณะทางกายภาพกับ และทรพั ยากรธรรมชาติ สงผลตอการดาํ เนินชีวติ ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ ความสัมพนั ธ เขียนตอบ การดําเนินชีวิตของคน สง ผลตอการดําเนินชวี ติ ของคนในชุมชนอยางไร และมนษุ ย - เกณฑ ในชุมชน ของคนในชมุ ชน ขอมลู ทาง การใหค ะแนน ๒. การใหเหตผุ ล ภมู ศิ าสตร - แบบทดสอบ ทางภมู ิศาสตร เลือกตอบ
geo-literacy การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ความสามารถ กระบวนการ ชั้น ตัวชี้วดั มโนทัศนส ําคญั คําถามสําคญั ทักษะ คําสาํ คัญ เคร่อื งมอื วัด และประเมินผล ป.๓ ๖. มสี ว นรวมในการจัดการ การมีสวนรว มในการจัดการ นกั เรยี นมสี วนรวม ๑. ความเขาใจ ๑. การต้ังคาํ ถาม ๑. การสังเกต มสี ว นรวม - แบบตรวจสอบ ส่งิ แวดลอมในชุมชน สง่ิ แวดลอมในชุมชนเปน ในการจัดการสิ่งแวดลอ ม ระบบธรรมชาติ เชงิ ภูมิศาสตร ๒. การแปลความ ในการจดั การ รายการ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง หนา ท่ขี องทุกคนในชมุ ชน ในชมุ ชนไดอยางไร และมนษุ ย ๒. การรวบรวม ขอมลู ทาง - เกณฑ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒. การใหเหตผุ ล ขอมูล ภมู ศิ าสตร การใหค ะแนน ทางภมู ิศาสตร ๓. การจัดการขอมลู - แบบสอบ ๓. การตัดสินใจ ๔. การวิเคราะห ปากเปลา อยางเปน ขอ มลู - แบบสงั เกต ระบบ ๕. การสรปุ เพือ่ ตอบคําถาม สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ป.๔ ๑. วิเคราะหส ง่ิ แวดลอ ม ภูมิประเทศ ภมู ิอากาศ ลักษณะทางกายภาพสง ๑. ความเขาใจ ๑. การต้งั คาํ ถาม ๑. การสังเกต วเิ คราะห... - แบบทดสอบ ทางกายภาพทส่ี ง ผลตอ และทรัพยากรธรรมชาติ ผลตอ การดําเนนิ ชวี ติ ของ ระบบธรรมชาติ เชงิ ภูมศิ าสตร ๒. การแปลความ ท่ีสงผลตอ ..... เขยี นตอบ 43 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู การดาํ เนินชวี ติ ของคน สงผลตอการดาํ เนินชีวติ คนในจังหวัดอยา งไร และมนษุ ย ๒. การรวบรวม ขอ มูลทาง - เกณฑ ในจงั หวดั ของคนจงั หวดั ๒. การใหเ หตุผล ขอมลู ภูมศิ าสตร การใหค ะแนน ทางภูมศิ าสตร ๓. การจัดการขอมูล ๓. การใชเทคนคิ - แบบทดสอบ ๔. การวิเคราะห และเครอ่ื งมือ เขียนตอบ ขอมูล ทางภมู ิศาสตร - เกณฑ ๕. การสรุป การใหคะแนน ๒. อธิบายการเปลีย่ นแปลง การเปล่ยี นแปลงสิง่ แวดลอม การเปลย่ี นแปลง ๑. ความเขา ใจ เพื่อตอบคาํ ถาม ๑. การสังเกต - อธบิ าย..... สิ่งแวดลอ มในจงั หวดั สง ผลตอการดาํ เนนิ ชีวิต ส่งิ แวดลอมท่สี ง ผล ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ - ผลทเี่ กดิ ..... และผลทีเ่ กดิ จากการ ของคนในจงั หวัด ตอการดาํ เนนิ ชวี ิต และมนษุ ย ขอ มูลทาง เปลีย่ นแปลง ของคนในจังหวดั ๒. การใหเหตผุ ล ภมู ศิ าสตร เปนอยางไร ทางภมู ิศาสตร
geo-literacy การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู กระบวนการ ช้ัน ตวั ชีว้ ดั มโนทศั นส ําคัญ คําถามสําคัญ ความสามารถ ทกั ษะ คาํ สาํ คัญ เคร่อื งมือวดั ป.๔ และประเมนิ ผล ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ๓. การใชเทคนคิ - แบบทดสอบ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และเครื่องมือ เลือกตอบ ทางภมู ศิ าสตร ๓. นําเสนอแนวทางการ แนวทางการจดั การ แนวทางในการจัดการ ๑. ความเขาใจ ๑. การสังเกต นําเสนอแนวทาง - แบบทดสอบ จัดการสง่ิ แวดลอมใน สิ่งแวดลอ มในจงั หวัด สิ่งแวดลอมในจังหวดั ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ เขียนตอบ จังหวัด แตกตา งกันไปตามลักษณะ มอี ะไรบาง และมนุษย - เกณฑ ทางกายภาพและการ ขอมลู ทาง การใหค ะแนน ดาํ เนนิ ชีวติ ๒. การใหเหตผุ ล ภูมศิ าสตร ทางภมู ศิ าสตร สาระภูมศิ าสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. การตัดสนิ ใจ 44 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู อยา งเปน ระบบ ป.๕ ๑. วิเคราะหส่ิงแวดลอ ม ภูมิประเทศ ภูมอิ ากาศ ลักษณะทางกายภาพ ๑. ความเขาใจ ๑. การต้ังคําถาม ๑. การสงั เกต วิเคราะห. ...... - แบบทดสอบ ทางกายภาพท่ีมอี ิทธิพลตอ และทรัพยากรธรรมชาติ สง ผลตอ การต้ังถน่ิ ฐาน ระบบธรรมชาติ เชิงภมู ิศาสตร ๒. การแปลความ ท่มี อี ทิ ธพิ ล เขยี นตอบ ลักษณะการต้ังถิ่นฐาน มีอทิ ธพิ ลตอการตง้ั ถนิ่ ฐาน และการยา ยถิ่น และมนษุ ย ๒. การรวบรวม ขอ มูลทาง ตอ .......... - เกณฑ และการยายถิน่ ของ และการยา ยถ่นิ ของคน ในภมู ิภาคของตนอยา งไร ๒. การใหเ หตุผล ขอมลู ภมู ศิ าสตร การใหคะแนน ประชากรในภูมภิ าค ในภมู ิภาคของตน ทางภูมิศาสตร ๓. การจัดการ ๓. การใชเ ทคนิค ของตน ขอ มูล และเครอื่ งมอื ๔. การวเิ คราะห ทางภมู ิศาสตร ขอมูล ๕. การสรุป เพ่อื ตอบคาํ ถาม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105