Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best-วิทยาการคำนวณ-ครูสุรีรัตน์

Best-วิทยาการคำนวณ-ครูสุรีรัตน์

Published by Sureerat Thongpanlek, 2021-07-01 13:58:38

Description: Best-วิทยาการคำนวณ-ครูสุรีรัตน์

Search

Read the Text Version

ผลงานท่มี ีวิธีปฏิบตั ทิ ี่เปน็ เลิศ (Best Practices) ชอื่ ผลงาน การเขียนโปรแกรมผา่ นเว็บแอพพลเิ คชัน่ Scratch เพื่อพัฒนาทักษะดา้ นโค้ดดิ้ง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชอื่ ผเู้ สนอผลงาน นางสาวสรุ รี ตั น์ ทองพานเหล็ก โรงเรยี น/หนว่ ยงาน โรงเรียนวัดดงโคกขาม สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 1. ท่มี าและความสำคัญ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 กำหนดให้ผู้เรียนทุกคนมีคุณลักษณะและทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในยุคไทยแลนด์ 4.0 สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและ แหล่งเรียนรูท้ ี่ไร้ขดี จำกัด พัฒนาองคค์ วามรู้ และสรา้ งปัญญาที่เพมิ่ ข้ึน สกู่ ารขับเคลอ่ื นประเทศด้วยเทคโนโลยี ความคิดสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม กระทรวงศึกษาธิการกำหนดนโยบายส่งเสริมการการเรียนรู้ใหม่ในระบบดิจิทัล ปรับปรุงรูปแบบการ เรียนรู้มุ่งสู่ระบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีด้านวิศวกรรม คณิตศาสตร์ โปรแกรมเมอร์ และ ส่งเสริมการเรียนภาษาคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาโดยกำหนดภาษาคอมพิวเตอร์ หรือ Coding เป็นภาษาที่ 3 ของหลักสูตรการศึกษาไทย นอกเหนือจากภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ โดยมุ่งเน้นการ พัฒนาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารมาใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการดำเนินชีวิตในยุคเศรษฐกิจ ดิจิทัลที่ต้องมีพื้นฐานความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริงหรือพัฒนานวัตกรรม และใช้ทรัพยากรด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการสร้างองค์ความรู้หรื อสร้างมูลค่าให้เกิดขึ้นได้อย่า งสร้างสรรค์ วิทยาการคำนวณ (Computing science) เป็นวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนให้เด็กสามารถคิดเชิงคำนวณ (Computational thinking) มีความพื้นฐานความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital technology) และมีพื้นฐานการรู้เท่าทันสื่อและข่าวสาร (Media and information literacy) ซึ่งการเรียนวิชาการคำนวณ จะไม่จำกัดอยู่เพียงแค่การคิดให้เหมือน คอมพิวเตอร์เท่านั้น และไม่ได้จำกัดอยู่เพียงการคิดในศาสตร์ของนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ แต่จะเป็น กระบวนการความคดิ เชิงวิเคราะห์เพื่อนำมาใช้แก้ปญั หาของมนุษย์ โดยเป็นการสั่งใหค้ อมพิวเตอรท์ ำงานและ ช่วยแก้ไขปัญหาตามที่เราต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคำนวณ มเี ป้าหมายที่สำคัญในการพฒั นาผูเ้ รียนกลา่ วคอื เพ่ือให้ผเู้ รียนมีความสามารถใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการ คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ มีทักษะในการค้นหาข้อมูลหรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และนำสารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา เสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้าน วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ส่อื ดจิ ทิ ัล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร ในการแก้ปัญหาในชีวิตจรงิ การทำงาน รว่ มกนั อยา่ งสรา้ งสรรคเ์ พื่อประโยชนต์ ่อตนเองหรือสังคม และสามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร อย่างปลอดภัย รเู้ ทา่ ทนั มคี วามรบั ผิดชอบมีจริยธรรม โปรแกรม Scratch เป็นภาษาคอมพิวเตอร์สำหรับสร้างผลงานต่างๆ เช่น การทำแอนิเมชัน การจำลองทาง วิทยาศาสตร์ เกม ดนตรี ศิลปะ การสร้างสื่อแบบมีปฏิสมั พันธ์ โดยมีวิธีการโปรแกรมท่ีไม่ตอ้ ง มีการพิมพ์คำสั่งที่ยุ่งยากซับซ้อน เหมาะกับการสอนหลักการโปรแกรมที่ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีระบบ

การเรียนการสอนวิทยาการคำนวณในระดับประถมศึกษาเป็นการเน้นการออกแบบและการเขียน โปรแกรมอย่างง่าย เพื่อเป็นการฝึกทักษะการโค้ดดิ้งและการแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ไป พร้อม ๆ กนั เพอ่ื นำไปใช้ตอ่ ยอดและสร้างสรรค์นวัตกรรมในอนาคต 2. จุดประสงค์และเปา้ หมายของการดาํ เนนิ งาน 2.1 จดุ ประสงค์ 1. เพือ่ พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ของนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรยี นวัดดงโคกขามให้สงู ขึน้ 2. เพ่อื ให้นักเรยี นมที ักษะการเขียนโปรแกรม Scratch และทกั ษะดา้ นโดด้ ดง้ิ 3. เพ่ือให้นักเรยี นมเี จตคติที่ดีตอ่ การเรยี นวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 2.2 เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 ถงึ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 27 คน สามารถเขียนโปรแกรมผา่ นเว็บแอพพลเิ คช่ัน Scratch และมที กั ษะดา้ นโค้ดด้งิ เชงิ คุณภาพ นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ถึงชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2562 มผี ลสัมฤทธ์ทิ าง การศึกษาวิทยาศาสตร์สาระเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๓ และมีเจตคติทีด่ ตี ่อการเรียน วิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 3. หลกั การและแนวคดิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้เป็น กระบวนการที่สำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถตาม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ โดยยดึ หลักว่าผู้เรยี นสำคัญทส่ี ุด เชือ่ ว่าทกุ คนมีความสามารถ เรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้ สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ โดยคำนึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง ให้ความสำคัญ ทั้งความรู้และคุณธรรม ครูผู้สอนเป็นผู้ออกแบบ กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับศักยภาพและ บริบทของผู้เรียน กำหนดบทบาทของผู้สอนและผู้เรียน การใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีที่ เหมาะสม และการวัดผล ประเมินผล เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ดังนั้นการเขียนโปรแกรมผ่านเว็บแอพพลิเคชั่น Scratch เพื่อพัฒนาทักษะด้านโค้ดดิ้งมีแนวคิด หลักการทฤษฎที ีน่ ำมาใช้ในการพัฒนา มีดงั น้ี 3.1 ทฤษฎกี ารเรียนรู้จากการปฏบิ ัติ (Learning by doing ) ของ John Dewey เป็น แนวคิดของ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ซึ่งเป็นต้นคิดในเร่ืองของ “การเรียนรู้โดยการกระทำ” หรือ “Learning by Doing”การจัดการเรียนการสอนโดยใหผ้ ู้เรียนเปน็ ผลู้ งมือปฏิบตั ิจัดกระท าน้ี นบั ว่าเปน็ การเปลี่ยนบทบาทใน การเรียนรู้ของผู้เรียนจากการเป็น “ผู้รับ” มาเป็น “ผู้เรียน” และเปลี่ยนบทบาท ของครูจาก “ผู้สอน” หรือ “ผู้ถ่ายทอดข้อมูลความรู้” มาเป็น “ผู้จัดประสบการณ์การเรียนรู้” ให้ ผู้เรียน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงบทบาทน้ี เท่ากับเป็นการเปลี่ยนจุดเน้นของการเรียนรู้ว่าอยู่ที่ผู้เรียน มากกว่าอยู่ที่ผู้สอนดังน้ันผู้เรียนจึง กลายเป็น ศูนย์กลางของการเรียนการสอน เพราะบทบาทในการเรียนรู้ส่วนใหญ่จะอยู่ที่ตัวผู้เรียนเป็นสำคัญ 3.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สนับสนุนการจัดการเรียนรู้แบบการใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based

Learning) ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์(ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์, 2552) 1) พัฒนาทางการสติปัญญา ของบุคคลเป็นไปตามวัย ซึ่งแบ่งได้ 4 วัยดังนี้ ขั้นรับรู้ดว้ ยประสาท สัมผัส (Sensorimotor period) มีอายุอยู่ ในช่วง 0-2 ปี ขนั้ ก่อนปฏบิ ัตกิ ารการ คิด (Preoperational period) มอี ายุอยู่ในช่วง 2 – 7 ปี 2 ข้ันน้จี ะมีการ รับรู้และการกระท า ส่วนขัน้ การคดิ แบบรูปธรรม (Concrete operational period) มีอายุอยู่ในช่วง 7-11 ปี ขนั้ นนี้ อกจากเรยี นรแู้ บบรูปธรรมได้ ยัง สามารถเรียนรู้และใชส้ ัญลักษณ์ไดด้ ้วย ขน้ั สดุ ท้ายเป็นขั้นการคิดแบบ นามธรรม (Formal operational period) มีอายุอยู่นามธรรม ตั้งสมมติฐานและใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ได้ 2) ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่ 3) กระบวนการทางสติปัญญาเป็น การซึมซับ หรือการดูดซึม (Assimilation) และการปรับและ การจัดระบบ (Accommodation) การซึมซับ หรือดูดซับ เป็นกระบวนการทางสมองในการรับ ประสบการณ์ เรื่องราว และข้อมูลต่างๆ เข้ามาสะสมเก็บไว้ เพื่อใช้ประโยชน์ตอ่ ไป การปรบั และการ จดั ระบบ เป็นกระบวนการทีเ่ กิดขึ้นจากข้นั ของการปรับ หากการปรับ เปน็ ไปอยา่ งผสมผสาน กลมกลืน จะก่อใหเ้ กดิ สภาพท่มี ีความสมดลุ ขนึ้ หากบุคคลไม่สามารถปรบั ประสบการณ์ ใหม่และ ประสบการณเ์ ดมิ ใหเ้ ขา้ กนั ไดก้ จ็ ะเกดิ ภาวะความไมส่ มดุล 3.3 ทกั ษะโค้ดดง้ิ (Coding Skill) คอื ทักษะท่สี ําคญั แห่งอนาคต ท่ีเป็นทกั ษะพนื้ ฐานท่ีหลายประเทศ ทั่วโลกมีนโยบายให้เยาวชนของประเทศต้องมีความสามารถในการเรียนรู้และต่อยอด อันจะเป็นกุญแจสําคัญ ในการสร้างธุรกิจ ที่เป็น New S-Curve ใหม่ๆ ในอนาคต ว่ากันว่ายิ่งสามารถสร้างเยาวชนของชาติให้เรียนรู้ เรื่องเหล่านี้ได้มากเท่าไร อนาคตของประเทศไทยจะมีโอกาสสดใสและเติบโตมากเท่านั้น ในอนาคตอันใกล้ Coding จะไม่ใช่แค่ทางเลือกของผู้สนใจเทคโนโลยีเทา่ น้ัน แต่ได้เข้าไปอยู่ในองค์ประกอบต่างๆ ในการใช้ชวี ติ และสร้างธุรกิจในอนาคต เพราะเป็นพื้นฐานของความเข้าใจกระบวนการคิด และการสื่อสารอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะสามารถต่อยอดสู่การพัฒนาอื่นๆ ทั้งความเข้าใจทั้งด้านหุ่นยนต์, IoT, Machine Learning หรือ ปัญญาประดิษฐ์ในอนาคตกระทรวงดีอี โดยสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) ได้ร่วมมือกับ code.org สหรัฐอเมริกาและไมโครซอฟท์ นำโครงการ Coding Thailand หรือห้องเรียนออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ มาใช้เป็นครั้งแรกในประเทศไทย เตรียมพร้อมในการพัฒนากำลังคนด้านดิจิทัลใน ภาคอตุ สาหกรรม การศึกษา และสงั คม เขา้ สู่การเป็นประเทศที่ขบั เคลื่อนเศรษฐกิจดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลต่อไป เพื่อพัฒนาประเทศให้ก้าวทันการเปล่ียนแปลงนี้ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) จึงเสนอหลักสูตรวิทยาการคำนวณต่อกระทรวงศึกษาธิการ จนได้รับการประกาศใช้ในหลักสูตรอย่างเป็น ทางการในปี 2561 ให้เด็กมีความรูแ้ ละทักษะเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริงหรอื พัฒนานวัตกรรม และใช้ทรัพยากร ด้านไอซีทีในการสร้างองค์ความรู้หรือสร้างมูลค่าได้อย่างสร้างสรรค์การจัดการเรียนรู้ด้านวิทยาการคำนวณมี องค์ประกอบหลัก 3 ส่วน คือ 1.วิทยาการคอมพิวเตอร์ 2.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ 3.การรู้ เรื่องดิจิทัล การเขียนโปรแกรมที่ภาษาอังกฤษเรียก coding หรือ programming ไม่จำเป็นต้องเป็นการใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์อย่าง Python เสมอไป เด็กเล็กไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เสียด้วยซ้ำ อาจใช้บัตร คำ เช่น ให้เด็กใช้บัตรภาพลูกศรกับแผนที่เพื่อวางแผนเดินทางไปบ้านเพื่อน ตามตัวอย่างข้างต้น หรือใช้เกม เป็นสื่อการเรียนรู้แบบ Code.org หรือ CodingThailand.org เมื่อเด็กโตขึ้นถึงชั้นมัธยม จะได้แก้ปัญหาที่ ซับซ้อนมากขึ้น หลักสูตรวิทยาการคำนวณออกแบบมาให้เหมาะกับวัยและพัฒนาการของเด็ก มีเป้าหมายใน ระยะยาวส่วนหน่ึงเพื่อเปลย่ี นบทบาทคนไทยจากผใู้ ช้เทคโนโลยใี หเ้ ป็นผู้สร้างเทคโนโลยีได้ในอนาคต 4. กระบวนการผลติ งานหรือขน้ั ตอนการดำเนินงาน (วธิ ปี ฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ ) มขี น้ั ตอนการสร้างและพฒั นาโดยใช้แนวความคดิ วงจรคณุ ภาพ PDCA ของเดมมิ่ง (Deming) ดงั นี้

ขั้นเตรยี มการ (Plan) 1) ศกึ ษาและวิเคราะห์หลักสูตรสาระเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 2) ศึกษาเทคนิคการสอนในแตล่ ะเรอ่ื งควรวิธกี ารสอนแบบใด และควรใชส้ ่อื ชว่ ยสอนชนิดใด 4) ศึกษาวิธกี ารสรา้ งและออกแบบจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 4) ศึกษาวธิ กี ารสร้างแบบฝึกทกั ษะ และส่ือบทเรียนออนไลน์ ข้นั ดำเนินการ (DO) 1) จดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ 2) จัดทำแบบฝึกทักษะและบทเรยี นออนไลน์ข้ึนมาใชส้ อนสอดแทรกในหนว่ ยการเรยี นตลอด ภาคเรยี น 3) จดั กระบวนการเรียนรู้ตามแนวคดิ และทฤษฎีและรูปแบบทีอ่ อกแบบ 4) สรา้ งเครอื ข่ายโดยให้ความรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรูอ้ น่ื ๆ ในการจัดการเรยี นรู้ ขน้ั การตรวจสอบประเมินผล ( Check ) 1) ใช้แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน และคำถามหลงั กิจกรรม 2) ประเมินจากการปฏิบตั ิกิจกรรม 3) ประเมนิ ผลการเรยี นร้โู ดยใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 4) แบบวัดเจตคตติ ่อการเรียนวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ขน้ั การปรับปรุงพัฒนา (Action) 1) ปรบั ปรุงนวัตกรรมใหเ้ นื้อหามีความเหมาะสมและน่าสนใจมากขึน้ 2) ปรบั ปรงุ นวัตกรรมใหส้ อดคล้องกับ มาตรฐาน ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง วชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 3) นำข้อเสนอแนะในการนำไปใช้และการศกึ ษาค้นคว้าคร้ังต่อไปจากนวตั กรรมเดิมไปพัฒนา

4) ปรับปรุงพัฒนาแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยนำขอ้ เสนอแนะและข้อควรปรบั ปรุงพฒั นาให้ สอดคล้องกบั นวัตกรรมท่ปี รบั ปรุง 5) ขยายเครือขา่ ยและจดั ทำโครงงานบูรณาการข้ามกลมุ่ สาระการเรียนรูแ้ ละขยายสูห่ นว่ ยงาน ภายนอก 5. ผลการดาํ เนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ทีไ่ ด้รับ 1. นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6 โรงเรียนวดั ดงโคกขามมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นในกลุม่ สาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวน) เพ่ิมขนึ้ 2. ผู้เรยี นมีทกั ษะทักษะการเขียนโปรแกรม Scratch และทักษะด้านโดด้ ดง้ิ สามารถสร้างสรรค์ ช้ินงานออกมาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. ผ้เู รียนมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อการเรยี นวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 4. โรงเรียนมีส่อื การเรียน และแหล่งเรียนรทู้ ่สี ามารถเรียนรู้ไดต้ ลอดเวลา 5. ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะท่ีได้เขา้ รว่ มแข่งขันทักษะทางด้านคอมพิวเตอรใ์ นระดับต่าง ๆ 6. ปัจจยั ความสาํ เรจ็ 1. การสนบั สนุนของผู้บรหิ าร ในดา้ นงบประมาณ โดยผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นใหก้ ารสนับสนุน จัดหาเครอ่ื ง คอมพวิ เตอร์ ระบบอินเทอรเ์ นต็ และใหก้ ําลังใจอย่างเตม็ ที่ 2. โรงเรยี นให้การส่งเสรมิ สนับสนุน ในการจดั ทำนวัตกรรมเพ่อื การเรยี นการสอน 3. การสนับสนุนของผปู้ กครองนกั เรยี น ในการใหน้ ักเรียนฝึกฝนทักษะนอกเวลาเรยี น 4. ความร่วมมือร่วมใจของนักเรียน จากรุ่นพ่สี อนร่นุ นอ้ ง อยา่ งต่อเนอื่ งไมส่ ิน้ สดุ ก่อใหเ้ กดิ การพฒั นา ท่ียง่ั ยืนตอ่ ไป 7. บทเรยี นท่ีไดร้ บั (Lesson Learned) 1. การจดั การเรยี นการสอนท่ีอยา่ งเปน็ ระบบและนวตั กรรมที่พัฒนาขึ้นมีความหลากหลาย น่าสนใจ และสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ส่งผลนกั เรียนอยากทํากจิ กรรมต่อไปได้รบั การเสรมิ แรงทําให้เกดิ การเรยี นรู้ ที่ดยี งิ่ ขึ้น 2. นักเรยี นสามารถเรยี นรู้จากประสบการณต์ รง ปฏบิ ัติได้ มกี ระบวนการคิดและแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ 3. นักเรียนมีทักษะด้านโค้ดดิ้งเกดิ การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ให้คำปรึกษาซ่ึงกนั และกัน ตอ่ ยอดผลงาน ของตนเองอย่างสรา้ งสรรค์ 4. ความร่วมมอื จากทกุ ฝา่ ย ท้ังผบู้ ริหาร คณะครู นกั เรียน และผปู้ กครองนกั เรียนในการดำเนิน กิจกรรม 5. นกั เรียนเกิดแนวคิดในการพฒั นาผลงาน เพ่ือนำไปสู่การเขา้ แข่งขันในระดับจงั หวดั ระดับภาค และ ระดับประเทศต่อไป 8. การเผยแพร/่ การได้รับการยอมรับ/รางวัลท่ีได้รบั 1. นักเรียนเขา้ แข่งขนั กิจกรรมการแขง่ ขันการสร้างเกมสร้างสรรค์ ระดบั ขัน้ ป.4-ป.6 งานมหกรรม ความสามารถทางศิลปหัตถกรรมวิชาการ และเทคโนโลยขี องนกั เรียน ปีการศึกษา 2561

2. การเผยแพรผ่ ลงานนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอน บทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การเขยี นโปรแกรมผา่ นเว็บแอพพลเิ คชั่น Scratch เพื่อพฒั นาทักษะด้านโค้ดดง้ิ ผ่านทาง www.https://sites.google.com/site/dkkschool2015 เมนูผลงานครู 3. จัดแสดงและเผยแพรผ่ ลงานของนักเรียนต่อนักเรียนระดับชน้ั อนื่ ๆ คณะครู ผปู้ กครอง และผมู้ ีสว่ น เกย่ี วข้องที่สนใจเย่ียมชมผลงานนกั เรยี น 4. เป็นวิทยากรอบรมวทิ ยาการคำนวณใหก้ บั ครูกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ วชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ของสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 5. เกยี รตบิ ัตรผสู้ อนดเี ดน่ จากสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา เขต 1 6. นำเสนอการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยเทคโนโลยใี นโครงการวันศึกษาศาตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ประจำปี 2561 กจิ กรรม “ชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC)” เรอ่ื งการจดั การเรียนรู้ยุค 4.0 ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 7. เปน็ ครูแกนนำโครงการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา โดยใชด้ จิ ิทลั คอนเทนต์ในการจดั การ เรยี นการสอน หลักสูตรการประเมินผลสมรรถนะดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ และหลกั สูตรการผลติ และนำสอื่ ดิจทิ ัลคอนเทนตไ์ ปประยกุ ตใ์ ช้จัดการเรยี นการสอน 8. นำเสนอผลงาน เรอ่ื งแนวคดิ ของการสร้างและส่งเสริมการเรียนรูด้ ิจิทัลสำหรับครู ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

ภาคผนวก - สำเนาภาพถ่าย - สำเนาเกียรตบิ ัตร

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)

พัฒนาสอ่ื การจัดการเรียนการสอน แบบฝกึ ทักษะ และบทเรยี นออนไลน์

ครผู สู้ อนการเรียนรดู้ ว้ ยเทคโนโลยไี ด้รับการคัดเลอื กจากเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ในแนวคิดของการสรา้ งและส่งเสรมิ การเรยี นรดู้ ิจิทัลสำหรับครู โดยมที า่ น ดร.ชยั พฤกษ์ เสรรี ักษ์ (สภาการศึกษา) เขา้ ตรวจเยยี่ มโรงเรยี น เป็นครูแกนนำโครงการพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา โดยใชด้ ิจิทลั คอนเทนตใ์ นการจัดการเรียนการสอน หลักสตู รการประเมินผลสมรรถนะดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ และหลกั สตู รการผลติ และนำสอื่ ดจิ ทิ ลั คอนเทนตไ์ ปประยกุ ต์ใช้ จัดการเรียนการสอน วทิ ยากรการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร พัฒนานวตั กรรมเพือ่ การเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑ โดยใช้ Google Apps for Education โรงเรียนวดั ดงโคกขาม

นำเสนอการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยเทคโนโลยใี นโครงการวนั ศึกษาศาตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ประจำปี 2561 กิจกรรม “ชุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชพี (PLC)” เรอ่ื งการจดั การเรยี นรู้ยุค 4.0 ณ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร นำเสนอผลงาน เรือ่ งแนวคดิ ของการสรา้ งและส่งเสริมการเรียนรู้ดิจทิ ลั สำหรับครู ณ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร จังหวดั พิษณุโลก จดั ทำสอ่ื ดจิ ทิ ลั คอนเทนต์รว่ มกบั สพป.พล.1

ไดร้ บั เกยี รตบิ ัตรครผู ้สู อนดเี ด่น ประจำปพี ุทธศักราช 2562 เปน็ คณะกรรมการตดั สินงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วิชาการและเทคโนโลยีของนักเรยี น ครงั้ ท่ี 68 สพม.39


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook