Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore IQABM

IQABM

Published by Sureerat Thongpanlek, 2021-07-12 05:30:02

Description: IQABM

Search

Read the Text Version

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 1

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 2 บทท่ี 1 บทนำ ทม่ี าและความสำคัญ เนื่องจากการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนามนุษย์ในทุก ๆ ด้าน ตั้งแต่การวางรากฐาน พัฒนาการของชีวิต การพัฒนาศักยภาพและความสามารถที่จะดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพได้อย่าง เป็นสุข สามารถร่วมเป็นพลังสร้างสรรค์ในการพัฒนาประเทศได้ ดังนั้นการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพจะ ส่งผลต่อการพัฒนามนุษย์ในสังคมเป็นอย่างยิง่ การศกึ ษาเป็นเคร่ืองมือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสำคัญ ตอ่ การพฒั นาประเทศ ดังจะเหน็ ได้จากข้อกาหนดในรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2540 ซ่ึง ประกาศใช้บงั คับวนั ท่ี 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ได้บญั ญัติสาระสำคัญไว้ในมาตรา 43 วรรคแรกว่า บุคคลย่อมมี สิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่นอ้ ยกว่า 12 ปี ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดย ไม่เก็บค่าใช้จ่าย ความสำคัญของรัฐธรรมนูญในมาตรานี้ ได้กล่าวเน้นถึงคุณภาพอันหมายถึง คุณภาพทางการ จัดการศึกษา ดังนั้นเพื่อให้การจัดการศึกษาของชาติเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จึงได้มีกฎหมาย หลักทางด้านการศึกษาฉบับแรกของประเทศไทย ที่ประชาชนได้มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและให้ข้อมูล เพื่อกาหนดเนื้อหาสาระต่าง ๆเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของประเทศ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง การจัดการศกึ ษาของชาติอย่างมาก นับตั้งแต่การกาหนดความมุ่งหมายของการศึกษาตามมาตรา 6 ที่เน้นการ พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรมจริยธรรม และ วัฒนธรรมในการดารงชวี ติ สามารถอยูร่ ่วมกบั ผู้อื่นไดอ้ ย่างมีความสขุ และมาตรา 8 ซ่ึงยึดหลกั การศึกษาตลอด ชีวิต สาหรับประชาชนให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ( 2542 ) ในอดีตการจัด การศึกษาจะทาได้หลากหลายวิธีการ โดยวัดและองค์กรในท้องถิ่นเป็นผู้ดาเนินการ ต่อมามีการรวมการจัด การศึกษาไปให้กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้เกิดเอกภาพและมาตรฐานทางการศึกษา แต่เมื่อประชากรเพิ่มขนึ้ ความเจริญก้าวหนา้ ในด้านต่าง ๆ ก้าวไปอยา่ งรวดเร็ว การจดั การศึกษาโดยสว่ นกลางเร่ิมมีข้อจำกัด เกิดความ ล่าช้าและไม่สนองต่อความต้องการของผู้เรียนและชุมชนอย่างแท้จริง จึงต้องมีการคืนอานาจให้ท้องถิ่นและ ประชาชนได้จัดการศึกษาเองอีกครั้ง กระทรวงศึกษาธิการเล็งเห็นความสำคัญของการสร้างความรู้ด้านการ ปฏิรูปการศึกษาโดยการกระจายอานาจ การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการบริหารโรงเรียน การปฏิรูป การศึกษา มีความมุ่งหมายที่จะจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีความสามารถ และมคี วามสขุ พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 5 มาตรา39 และมาตรา 40 กระทรวงได้กระจาย อานาจการบริหารและจัดการศึกษาให้โรงเรียนทั้งในด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารบุคคล และการ บริหารทั่วไป โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นองค์คณะบุคคล ทาหน้าที่ในการบริหารโดยทำให้โรงเรียน เปน็ ฐานหรอื ศูนย์กลางของการบริหาร และจัดการศึกษาที่ต่อเนื่องและยั่งยนื ท่ีจะสร้างคุณค่า ความรับผิดชอบ ความผูกพัน ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคน ซึ่งผู้บริหารโรงเรียนจะมี บทบาทสำคัญ ในกระบวนการมสี ว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ครู นักเรียนและผู้ปกครอง ชุมชน ใน การตัดสินใจบริหารและจัดการศึกษาของโรงเรียนไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ คือ คุณภาพของผู้เรียนเป็นส ำคัญ โดยการกระจายอำนาจทางการศึกษาและลดการควบคุมจากสว่ นกลางลงและให้ความสำคัญกับคณะกรรมการ โรงเรียน จึงมีการแต่งตั้งคณะกรรมการโรงเรียนให้มีอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ ของโรงเรียน

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสียในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 3 ในการจัดการศึกษา ผู้มีอำนาจตัดสินใจในโรงเรียนไม่ใช่มีเฉพาะผู้บริหารเท่านั้น แต่ยังมีครู และผู้ปกครอง รว่ มด้วย โรงเรียนวัดดงโคกขาม อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 มีหนา้ ทจ่ี ดั การเรียนการสอนให้นักเรยี นบรรลุเปา้ หมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ควบคู่ไปกับการสร้าง เสริมคุณธรรม จริยธรรม สุขนิสัย สุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี รวมทั้งการบริหารและการจัดการศึกษา ของ บุคลากรทุกกลุ่ม โดยมีปัจจัยสนับสนุนส่งเสริมการบริหารงานในด้านวิชาการ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ และการบริหารทั่วไป ยึดหลักมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการโรงเรียน ให้มีประสิทธิภาพแต่โรงเรียนวัดดง โคกขาม ยังขาดข้อมูลผลประเมินความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบรหิ าร จัดการโรงเรยี น ทำใหไ้ ม่สามารถรบั ทราบปัญหาของโรงเรยี นที่เกิดขนึ้ ทำให้มีขอ้ มลู ไม่เพยี งพอต่อการนำมาใช้ ในวางแผน พฒั นาโรงเรยี นในดา้ นตา่ ง ๆ ได้ จากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับการบริหารงานของโรงเรียน จึงมีความ สนใจที่จะศึกษาค้นคว้าความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการศึกษาความพึงพอใจและความต้องการ จำเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และรับทราบปญั หาท่ีเกดิ ขน้ึ รวมถงึ เพื่อนำผลท่ีได้มาพฒั นาโรงเรยี นให้มีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพอื่ ศึกษาความพึงพอใจการศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเปน็ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน การบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง นกั เรียน และนกั เรียน 2. รวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะ การบริหารจัดการสถานศึกษาโรงเรียนวัดดงโคกขาม สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน ผูป้ กครองนักเรียน และนักเรยี น ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั จากการวจิ ัย การวิจัยในครงั้ นี้ผวู้ ิจยั คาดว่าจะมปี ระโยชนต์ ่อผู้ท่เี กีย่ วข้อง ดังนี้ 1. เป็นข้อมูลให้ผู้บริหารนำผลการวิจัยไปใช้วางแผน พัฒนา ปรับปรุงการจัดการให้ตรงกับความ ต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2. ส่งเสริมการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงานทั้ง 4 ด้านของโรงเรียนให้สอดคล้องกับสภาพความ ตอ้ งการของผเู้ รยี น สถานศึกษา ชุมชนและทอ้ งถนิ่ คำถามในการวิจัย 1. ความพึงพอใจของของผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี ในตอ่ การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาของโรงเรียนวัดดง โคกขาม สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 อยู่ในระดับใด

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ในการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 4 ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตด้านเน้อื หา ผ้วู ิจัยศึกษา การบริหารจัดการสถานศึกษาของโรงเรียนวัดดงโคกขาม สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา ประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ครอบคลมุ ภารกิจ 4 ดา้ น ดงั น้ี 1.1 ดา้ นการบริหารจัดการท่ัวไป 1.2 ดา้ นการบริหารงานการเงิน พสั ดุ และทรัพย์สิน 1.3 ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล 1.4 ด้านการบรหิ ารงานวิชาการ 2. ขอบเขตด้านประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2.1 ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน คณะ กรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งไม่รวมผู้แทนครูและผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาที่ 6 และนักเรียนระดับชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ของโรงเรียน วดั ดงโคกขาม จำนวน 214 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน คณะกรรมการ สถานศกึ ษาข้ันพื้นฐานซึ่งไม่รวมผู้แทนครูและผู้บรหิ ารสถานศึกษา ผปู้ กครองนกั เรียนระดบั ช้ันอนบุ าล 1 - ชั้น ประถมศึกษาที่ 6 และนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ของโรงเรียนวัดดงโคกขาม สำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ปีการศึกษา 2563 แบ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน จำนวน 11 คน คณะกรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 7 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 97 คน และนักเรียน จำนวน 32 คน จำนวนท้ังหมด 147 คน โดยการเลอื กกลุ่มตวั อยา่ งใชว้ ธิ ีการสุม่ อยา่ งง่าย (Simple Random Sampling ) 3. ดา้ นตวั แปรในการวิจัย 3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ เพศ (ชาย, หญิง) และประเภทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ผู้บริหาร, ครู, คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน, ผู้ปกครอง, นกั เรยี น) 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการบริหารจัดการ สถานศกึ ษาโรงเรียนวัดดงโคกขาม สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 จำแนก 4 ด้าน คือ 1. ด้านการบริหารจัดการทั่วไป 2. ด้านการบริหารงานการเงิน พัสดุและทรัพย์สิน 3. ด้านการบริหารงาน บุคคล 3. ดา้ นการบรหิ ารงานวชิ าการ นิยามศัพทเ์ ฉพาะ การวิจยั ครงั้ น้ี ได้นิยามศัพท์เฉพาะไว้ ดังต่อไปน้ี 1. ความพึงพอใจต่อการบริหารงาน หมายถึง ความรู้สกึ ทมี่ ีตอ่ การดำเนนิ งานต่าง ๆ ของโรงเรยี นวดั ดงโคกขาม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ในการพัฒนานักเรียนทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา เป็นคนดีมีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สังคม ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ มีความเจริญในทกุ ดา้ น วัดได้โดยการตอบแบบสอบถามของผปู้ กครอง ใน 4 ด้าน คือ 1.1 ด้านการบริหารจัดการทั่วไป หมายถึง การดำเนินงานในการสร้างความเข้าใจและการมี ส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การนำนักเรียนไปเรียนร่วม การเดินทางไปเรียนร่วมของนักเรียน การบริหาร จดั การอาคารสถานท่ี อคาประกอบและสภาพแวดล้อม การดำเนนิ งานดา้ นอาหารกลางวัน ดา้ นความพึงพอใจ ของผูม้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียและงานอ่ืน ๆ

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวดั ดงโคกขาม 5 2.2 ด้านการบริหารงานการเงิน พัสดุ และทรัพย์สิน หมายถึง การดำเนินงานในการ ตรวจสอบและจัดทำบัญชที รัพย์สิ งบประมาณ สทิ ธิและการผกู พันทัง้ หมดตามระเบยี บราชการ การบริหารเงิน อุดหนุนรายหัวนักเรียน เงินบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้โรงเรียน สิทธิ หนี้และการผูกพัน การบรหิ ารจัดการทรัพยส์ นิ ของโรงเรยี น 2.3 ด้านการบริหารงานบุคคล หมายถึง การดำเนินงานบริหารร่วมกันของผู้บริหาร สถานศกึ ษา การบริหารครูผ้สู อน พนักงานราชการ ครอู ตั ราจา้ งทม่ี าร่วมกนั ทีโ่ รงเรียนหลักโดยกำหนดบทบาท หน้าที่ในการเรยี นการสอนตามวิชาเอกหรือตามวชิ าที่มีความถนัดในการจดั การเรียนการสอน การบริหารงาน บุคลากรสนับสนุนการสอน ได้แก่ นักการภารโรง และพนักงานธุรการการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 2.4 ด้านการบริหารงานวิชาการ หมายถึง การดำเนินงานในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลการเรียน การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา การ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาแหล่งเรียนรู้การนิเทศการศึกษา การแนะแนว การศึกษา การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาการส่งเสริมความรูท้ างวิชกาแก่ชุมชน การ ประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาองค์กรอื่น และการส่งเสริมและสนับสนุนงาน วชิ าการแก่บุคคล ครอบครวั องค์กรหน่วยงาน และสถาบนั การศึกษาอืน่ ท่จี ัดการศึกษา 2. ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือรองผู้อำนวยการ สถานศึกษาหรือผู้ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา ของโรงเรียนวัดดงโคกขาม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ในปกี ารศกึ ษา 2563 3. ครผู สู้ อน หมายถึง ข้าราชการครู พนักงานราชการ และครอู ตั ราจา้ งทป่ี ฏิบัติการของโรงเรียนวัดดง โคกขาม สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ในปกี ารศกึ ษา 2563 4. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานหมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นคณะกร รมการ สถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐานของของโรงเรียนวดั ดงโคกขาม สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ในปีการศึกษา 2563 ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษาแต่ละชุดจะประกอบด้วย ผู้แทนกลุ่มบุคคลและ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้มาจากการสรรหา จำนวน 7 คน ได้แก่ ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กร ปกครองสว่ นท้องถ่ิน ผูแ้ ทนศษิ ย์เกา่ ผแู้ ทน พระภิกษุหรือผ้แู ทนองค์กรศาสนาในพ้นื ที่ และผทู้ รงคุณวุฒิโดยไม่ รวมผู้แทนครูและผูบ้ ริหารสถานศึกษา 5. ผู้ปกครองนักเรียน หมายถึง พ่อหรือแม่ หรือ บุคคลที่รับอุปการะเลี้ยงดูนักเรียนหรือ บุคคลที่ นักเรียนร่วมอยู่อาศัยด้วย ของของโรงเรียนวัดดงโคกขาม สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ในปีการศกึ ษา 2563 ในการวจิ ัยครั้งนี้ ผ้วู ิจยั เกบ็ แบบสอบถามผูป้ กครองนักเรียน 1 ครัวเรอื นต่อ 1 ชดุ 6. นักเรียน หมายถึง ผู้ที่กำลังศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ของโรงเรียนวัดดงโคกขาม สำนักงาน เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต 1 ในปกี ารศกึ ษา 2563

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ในการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 6 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ผู้วิจัยได้ศึกษาทฤษฎีแนวความคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการศึกษา และการอภิปรายผลการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการ บริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม ซึ่งแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยแบ่งออกเป็น 5 หัวขอ้ ดังน้ี 1. ข้อมลู พนื้ ฐานโรงเรยี นวัดดงโคกขาม 2. การบริหารงานโรงเรยี น 3. ความพึงพอใจ 4. งานวิจัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง 5. กรอบแนวคดิ ที่ใช้ในการวจิ ัย 1. ข้อมูลพืน้ ฐานโรงเรยี นวดั ดงโคกขาม ข้อมูลสถานศกึ ษา 1.1 ข้อมูลทัว่ ไป 1.1) โรงเรียนวัดดงโคกขาม ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลปลักแรด อำเภอ บางระกำ จังหวัด พิษณุโลก รหัสไปรษณีย์ 65140 โทรศัพท์ 09-38865381 E-mail : [email protected] Websithttp://www. facebook. com/ page/ watdongkhokkham , https://sites.google.com/site/dkkschool2015/ 1.2) สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 1.3) เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 1.4) เปิดสอนต้ังแตร่ ะดับ ชน้ั อนบุ าล 1,2 และระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6 1.5) เขตพ้ืนท่บี ริการการศึกษา หมู่ท่ี 2 หมู่ 10 ตำบลปลกั แรด 2. ข้อมลู ดา้ นการบรหิ าร 2.1) ชื่อ-สกุล ผู้บริหาร นายวาณิช คล้ายผา อายุ 47 ปี วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท (กศ.ม) สาขาวิชา การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร และ (วท.ม.) สาขาวิชาการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร ดำรงตำแหน่งในโรงเรียนนี้ตั้งแต่ วันที่ 3 กรกฎาคม 2558 จนถงึ ปจั จบุ ัน หมายเลขโทรศัพท์ 093-8865381 E-mail : [email protected] 2.2 ประวัติโดยย่อ คำขวัญ และวัตถุประสงคเ์ ฉพาะของสถานศึกษา เส้นทางคมนาคมโดยรถยนต์ระหว่างโรงเรียนกับอำเภอบางระกำ 12 กิโลเมตร ระหว่างโรงเรียนจังหวัด พษิ ณโุ ลก 32 กิโลเมตร วันที่ 13 พฤศจิกายน 2497 เปิดทำการสอนครั้งแรก มีนักเรียน 57 คน โดยอาศัยศาลาการ เปรียญวดั ดงโคกขามเปน็ สถานทีเ่ รียน มีนายผาย จติ รำพึง เป็นครใู หญ่คนแรก พ.ศ. 2498 นายเสงี่ยม บูรณะเกียรติพันธ์ ครูใหญ่ ได้ร่วมมือกับผูป้ กครองนกั เรยี น คณะกรรมการ การศึกษาและชุมชน จัดสร้างอาคารเรียนชั่วคราวขึน้ 1 หลัง เพื่อใชเ้ ป็นสถานที่สำหรับจัดกจิ กรรมการเรยี น การสอนเปน็ เอกเทศ

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 7 พ.ศ. 2518 คณะครู ผูป้ กครองนักเรยี น คณะกรรมการการศึกษาและชุมชน ไดร้ ่วมกันจัดหาท่ีดิน สำหรับใช้เปน็ ที่ตง้ั ของโรงเรยี น โดยไดร้ บั บรจิ าคทีด่ ินจำนวน 9 ไร่ 38.8 ตารางวา จากนายแสวง บูรณะ เกียรติพันธ์ นางอบ พัดแหวว และ นายคลาย ศรีภิลา ตามหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3) เลขท่ี 322 ลงวันท่ี 5 กมุ ภาพันธ์ 2519 วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ เป้าหมาย กลยุทธ์ อตั ลักษณ์ และเอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา วสิ ัยทศั น์ โรงเรียนวัดดงโคกขามมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาชาติ ก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี สิง่ แวดลอ้ มดี ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม นอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พันธกจิ 1. พฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้ตามมาตรฐานการศึกษาชาติ 2. ส่งเสริมครูและนักเรยี นใชแ้ ละสร้างนวตั กรรมสื่อเทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์ มีทกั ษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3. จดั บรรยากาศและพัฒนาสง่ิ แวดลอ้ มในโรงเรียน ใหเ้ ปน็ แหลง่ การศึกษาคน้ ควา้ 4. ปลกู ฝงั ใหน้ ักเรียนเปน็ ผมู้ คี ุณธรรม จริยธรรม คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์และอนุรักษ์ ความเป็นไทย 5. ส่งเสรมิ การจดั การเรียนรูส้ อดแทรกหลักคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปา้ ประสงค์ 1.นกั เรยี นมคี ณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาชาติ 2.ครแู ละผ้เู รยี นมคี วามร้คู วามสามารถใช้และสรา้ งนวัตกรรม ส่ือ เทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์ มีทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 3.นกั เรียนมีความร้จู ากแหล่งการเรยี นร้ทู ่มี ีคุณภาพท้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน 4. ผเู้ รยี นมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มท่ีพึงประสงค์สามารถปฏิบตั ิตนตามขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย และวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นไดเ้ ปน็ อย่างดี 5.ครูและผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและดำรงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และผู้รว่ มกันในสังคมได้อย่างมีความสขุ กลยุทธ์ 1. พฒั นาคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษาชาติ 2. ส่งเสริมปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และบริหารจดั การ สารสนเทศและเทคโนโลยขี องโรงเรยี น 3. สร้างเสริมการบริหารจัดการและพฒั นาบรรยากาศการเรียนรู้สิง่ แวดลอ้ มในโรงเรยี นสู่ มาตรฐานการศึกษา 4. ส่งเสริมการพฒั นาคุณภาพการศึกษาโดยเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ และใชห้ ลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน ปรัชญา “มีเหตผุ ล พอประมาณ มีภูมิคุ้มกนั ทด่ี ”ี คำขวญั “ดี เก่ง และมคี วามสุข” อัตลักษณ์ “ความพอเพียง” เอกลกั ษณ์ “โรงเรียนประชาธิปไตย” อกั ษรย่อ “ ด.ข.”

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ในการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 8 สปี ระจำโรงเรยี น “เขียว-เหลอื ง” สีเขยี ว : ความสดชื่น การเจริญเตบิ โต สิง่ แวดล้อม การผ่อนคลาย ความเป็นธรรมชาติ สีเหลอื ง : ความมง่ั คั่ง มง่ั มี อบอนุ่ เป็นมิตร สรา้ งสรรค์ หรอื นกั คิดค้น ประดษิ ฐ์สง่ิ ใหม่ๆ อสิ ระ ความเมตตา การมองโลกในแง่ดี ภารกิจของสถานศึกษา 1. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผน ของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ตลอดจนความต้องการของชมุ ชนและท้องถน่ิ 2. จดั ต้งั งบประมาณ และรับผดิ ชอบการใช้จา่ ยงบประมาณของสถานศกึ ษา 3. พัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกบั หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และความตอ้ งการของนักเรยี น ชมุ ชน และทอ้ งถนิ่ 4. จัดการเรยี นการสอน สภาพแวดล้อม บรรยากาศการเรยี นการสอนทเ่ี หมาะสมและสง่ เสริม กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่าง ต่อเนอื่ ง 5. ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศและแนวปฏิบตั ติ ่าง ๆ ตามท่กี ฎหมายกาหนด 6. กากับ ติดตาม ประเมินผลตามแผนงาน/โครงการ และประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน ตลอดจนการพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนา และการดาเนินการทางวินัยกับครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษาในสถานศึกษาตามกฎหมายกาหนด 7. ระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา รวมทง้ั ปกครอง ดูแล บารงุ รักษา ใชแ้ ละจดั หาผลประโยชน์ จากทรัพยส์ นิ ของสถานศกึ ษา 8. จัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ความร่วมมือในการประเมิน คุณภาพการศึกษาจากหน่วยงานภายนอกสถานศึกษา รวมทั้งการรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการ สถานศึกษาสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 และผ้มู ีส่วนได้ สว่ นเสีย 9. สง่ เสริมความเข้มแขง็ ใหก้ บั ชุมชน และสรา้ งความสมั พนั ธ์กบั สถานศึกษาและสถาบันอื่นใน ชมุ ชน และทอ้ งถิ่น จุดเนน้ จุดเดน่ ทส่ี ่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา 1. มหี น่วยงานและบุคลากรทีด่ ูแลด้านสุขภาพอยูใ่ กลก้ บั โรงเรยี น จึงควรส่งเสรมิ ดา้ นสุขภาพ เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพดี 2. มีแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และหน่วยงานที่ใหก้ ารสนับสนนุ ดา้ นการเกษตร จึงควร ประสานงานเพื่อส่งเสริมพัฒนานักเรียนให้มีทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ผู้บริหารโรงเรียนมีภาวะผู้นำด้านวิชาการและครูผู้สอนมีศักยภาพ เสียสละอุทิศตนทุ่มเท ในการทำงาน จึงควรมุ่งพฒั นาความเป็นเลิศด้านวชิ าการและสง่ เสรมิ ศักยภาพผเู้ รยี น แนวทางการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แนวคิดหลักการที่โรงเรียนวัดดงโคกขามที่ใช้ในการบริหารและจัดการศึกษา คือ การทำงานแบบมี ส่วนร่วม การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน “SBM” ซง่ึ ดำเนนิ การ “รว่ มคดิ รว่ มวางแผน รว่ มปฏบิ ตั ิงาน” ของบุคลากรทุกระดับและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ตามระบบวงจรการทำงานแบบ PDCA (Plan , Do , Check , Act) ในทุกกิจกรรมที่มีการดำเนินงาน และมีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และ ประเมินผลการทำงานเป็นระยะ ๆ โดยให้ผู้ที่ได้รับมอบหมายแบบ PDCA ( Plan , Do , Check , Act )

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 9 ในทกุ กจิ กรรมทีก่ ารดำเนินงาน และมกี ารนเิ ทศ กำกบั ติดตาม และประเมนิ ผล และรายงานผลใหผ้ ทู้ ี่เก่ียวข้อง ทราบ ท้งั น้จี ุดเรม่ิ ต้นท่ีสำคัญก็คือ การสร้างความตระหนัก และจติ สำนกึ ในการทำงาน( Awareness ) ที่ดีใน การพัฒนา 2. การบริหารโรงเรยี น ในการบรหิ ารโรงเรียนผ้บู ริหารควรมีหลักและกระบวนการในการบริหาร โรงเรียนเพ่อื มุ่งนั้นให้เป็นไป ตามหลักการและแนวคิดในภาพรวมของการบริพารโรงเรียน ทั้งนี้เพื่อให้การบริหารสถานศึกยามีความหมาะ สม และเพ่ือใหเ้ กิดความเข้าใจตามมมุ มองในการบริหารโรงเรยี นยิง่ ขนึ้ ตอ่ ไป ความหมายของการบริหารโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ (2546, หน้า 32) ได้กล่าวถึง การบริหารงานโรงเรียนมีขอบข่าย การบริหาร หลากหลายและการบรหิ ารจดั การศึกษาที่ใชโ้ รงเรียนเป็นฐานเป็นรูปแบบหนึง่ ของการกระจายอานาจการจดั การศึกษาที่ส่วนกลางหรือเขตการศึกษาไปยังสถานศึกษาโดยตรง ให้สถานศึกษามีอานาจหน้าที่ความ รบั ผดิ ชอบมีความเปน็ อิสระและคล่องตวั ในการตัดสินใจ ในการบรหิ ารจัดการเกี่ยวข้องกับการบริหารโรงเรียน ในด้านหลักสูตร การเงิน งบประมาณ บริการบคุ คลและการบริหารทัว่ ไป ดว้ ยระบบการมสี ่วนร่วม ซ่ึงในวิจัยน้ี ยึดถือระบบการบริหารโรงเรียน ตามเอกสารคู่มือการบริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐานที่เป็นนิติบคุ คล ผุสดี แสง หล่อ (2555, หน้า 18) กล่าวว่า การบริหารงานโรงเรียน หมายถึง การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ภายในโรงเรียน โดยกลุ่มบุคคลหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาระบบโรงเรียน อันที่จะพัฒนาสมาชิกของสังคมไม่ว่า จะเป็นเด็กเยาวชนตลอดจนประชาชนให้มีความรู้ความสามารถและทักษะ ตลอดจนค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมและเจตคติที่ดีงามตามสังคม ต้องการและสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ท่ีมุ่งเนน้ ใหผ้ ้เู รยี น เป็นคนดี เกง่ และมีความสขุ ธร สนุ ทรายุทธ (ม.ป.ป., หนา้ 2-3 ) กลา่ วไว้วา่ การบริหารการศึกษา เป็นการจดั การ ทางการศึกษาที่ มุ่งทิศทางการควบคุมและการจัดการทุกสิ่งทุกอย่างเกี่ยวกับกิจการทางการศึกษา เช่น การบริหารธุรการ ใน ความหมายนี้หมายถึงการบริหารการศึกษาทั่ว ๆ ไป และที่เกี่ยวกับกระบวนการเรียนการสอน เช่น ครู นักเรียน โปรแกรมการเรียนการสอน กิจกรรม หลักสูตร วิธีการ สื่อการเรียนการสอนและวธิ กี ารแนะแนว ซึ่ง อาจเรียกว่าเป็นการบริหารทางวิชาการ การบริหารการศึกษาอาจพิจารณาว่าเป็นกิจกรรมประเภทหนึ่ ง หมายถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่บุคคลหลาย ๆ คนร่วมมือกันดำเนินการเพื่อพัฒนาให้เด็กและเยาวชน ประชาชน หรือสมาชิกของสังคมในทุก ๆ ด้าน ให้มีความสามารถ ทัศนคติ พฤติกรรม ค่านิยมหรือคุณธรรม ส่วนในด้าน สังคมการเมืองและเศรษฐกิจนั้น ต้องการให้เป็นสมาชิกที่ดี และมีประสิทธิภาพของสังคมโดยกระบวนการ ตา่ ง ๆ ท่เี ป็นแบบแผนทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรยี น สำนักงานปฏิรูปการศึกษา (2545, หน้า 56-57) ได้กล่าวถึง พันธกิจและขอบเขต การบริหารงานท้ัง 4 ด้าน ในสถานศึกษา ไดแ้ ก่ 1. ด้านการบริหารงานวิชาการ ประกอบด้วย การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การปฏิรูปการเรียนรู้ การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา การวัดผลและประเมินผล การเทียบโอนผลการเรียน การ พัฒนาสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา การพัฒนาส่งเสริมแหล่งการเรียนรู้ การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา การสง่ เสรมิ ชุมชนให้เขม็ แข็งทางวิชาการ 2. ด้านการบริหารงบประมาณ ประกอบด้วย การจัดตั้งและการจัดสรรงบประมาณ การตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมนิ ประสิทธภิ าพการใชจ้ ่ายงบประมาณ การบริหารงานการเงินบัญชี พสั ดุและทรัพย์สิน การ ระดมทรพั ยากรและการลงทนุ ทางการศึกษา

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ในการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 10 3. ด้านการบรหิ ารบุคลากร ประกอบดว้ ย การวางแผนอัตรากาลัง การกำหนดตำแหน่งและวิทยฐานะ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การเกลี่ยอัตรากาลัง การสรรหาบรรจุแต่งตั้งการย้ายข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางวิชาชีพ เงินเดือนและค่าตอบแทน การพัฒนา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การเลื่อนขั้นเงินเดือน การลาศึกษาต่อ การประเมินผลและกา ปฏิบัติงาน การส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ การส่งเสริมวินัย การดำเนินการทางวินัยและการลงโทษข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา การอุทธรณ์ การร้องทุกข์ การออกจากราชการ การขอรับใบอนญุ าต และการขอต่ออนญุ าตใบประกอบวิชาชพี งานทะเบยี นประวตั ิ 4. ด้านการบริหารทั่วไป ประกอบด้วย การพัฒนาระบบสารสนเทศ การประสานงานและพัฒนา เครอื ข่ายทางการศึกษา การวางแผนการศึกษา การดำเนนิ การดา้ นธุรการ การเงินและบัญชี การคลังและพัสดุ การดูแลอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม การจัดทำสามโนผู้เรียน การรับนักเรียน การตั้ง ยุบ รวม เลิก สถานศึกษา การส่งเสริมกิจการนักเรียน การประชาสัมพันธ์ งานสถานศึกษา การจัดระบบควบคุมภายใน มี ผใู้ หค้ วามหมายของการบรหิ ารสถานศกึ ษาไว้ตา่ งกนั ดงั น้ี การบริหารโรงเรียน หมายถึง การดำเนินการ ควบคุม การจัดบริการเกี่ยวกับเรื่องราว ต่าง ๆ ใน โรงเรียน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน และการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนอันได้แก่ ครู นักเรียน หลักสูตร แบบเรียน อปุ กรณ์ กจิ กรรม บรกิ ารตา่ ง ๆ อาคารสถานท่ี งานติดต่อสอ่ื สาร งานด้านการเงิน และงบประมาณ ต่าง ๆ งานบริหารโรงเรียนนั้นตามปกติผู้บริหารมักจะจัดรูปงามในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน หรือถ้าจะมีการ จำแนกประเภทต่างกันออกไปบ้าง ก็ขึ้นอยู่กับขนาด ของโรงเรียน ลักษณะของงานและความคิดเห็นของ ผ้บู ริหารแต่ละคน ซึง่ มีผู้กลา่ วไว้ดงั น้ี จันทรานี สงวนนาม (2553, หน้า 147) ได้กล่าวโดยสรุปว่า งานบริหารสถานศึกษานั้นไม่ว่าจะเป็น สถานศกึ ษาขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ ภาระหนา้ ที่ของผ้บู รหิ ารและงานทผ่ี ู้บรหิ าร ต้องปฏบิ ัตยิ ่อมต้องมีงานทุก อย่างที่เหมาะสมกันท้ังส้ิน โดยถือว่างานวิชาการเป็นหลัก เปน็ งาน ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับคุณภาพของผู้เรียนท้ังในเชิง คุณภาพและปริมาณ ส่วนงานอื่น ๆ นั้นถือเป็นงาน ที่มีความสำคัญรองลงมาและเป็นงานสนับสนุน มี ผลการวิจัยทั้งในและต่างประเทศที่ชี้ให้เห็นว่าผู้บริหารสถานศึกษาที่ยึดถือเอางานวิชาการเป็นหลักในการ บริหารและมีความเป็นผู้นาทางวิชาการจะนาโรงเรียนไปสูค่ วามสำเร็จได้ (Effective school) ตรงกันข้ามกับ ผู้บริหารที่ไม่เห็นความสำคัญของงานวิชาการ อาจเป็นเพราะไม่มีความรู้ความสามารถ ขาดทักษะและ ประสบการณ์ทางวิชาการ มองเห็นงานอื่นสำคัญกว่างานวิชาการ จึงไม่สามารถที่จะนาโรงเรียนไปสู่ ความสำเร็จตามเปา้ หมายได้ ดังนนั้ องค์การที่มีสถานศึกษาอยู่ในสงั กัดจึงต้องมีการกำหนดขั้นตอนในการเข้าสู่ ตำแหน่ง ของผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อให้ได้ผู้บริหารที่มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะและคุณลักษณะ ที่พึง ประสงคเ์ ปน็ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สนุ ทร โคตรบรรเทา (2556, หนา้ 1-3) กลา่ วถึง การบริหาร หมายถึง การทาให้คนตั้งแตส่ องคนข้ึนไป ร่วมกันทำงานให้บรรลุเป้าหมาย หรือการทำงานกับคนโดยคนเพือ่ ให้บรรลเุ ป้าหมายขององค์การ กล่าวโดยสรปุ ว่า การบริหารโรงเรยี นหรอื การบรหิ ารสถานศกึ ษา คือการดำเนนิ หรือ การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่มบุคลากรหรือผู้บริหารโดยใช้กระบวนการบริหารงานในด้านต่าง ๆ คือ งาน วิชาการ งานบุคลากร งานวิชาการนักเรียน งานพัสดุและการเงิน งานอาคารสถานที่ และงานความสัมพันธ์ ระหวา่ งโรงเรียนกับชมุ ชน เพื่อใหส้ ถานศึกษามปี ระสิทธิภาพบรรลุเป้าหมาย บรรลวุ ัตถุประสงคต์ ามท่กี ำหนด

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสียในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 11 ขอบข่ายการบริหารโรงเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับ ที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 39 ให้กระทรวงกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบรหิ ารทั่วไปไปยังคณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาและ สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรงและมาตราที่ 40 ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและ สถานศึกษาต่ำกว่าปริญญาของแต่ละสถานศึกษา เพื่อทำหน้าที่กากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของ สถานศึกษา การบริหารโดยใช้โรงเรียน เป็นฐานจึงเป็นหลักการสำคัญที่เน้นการกระจายอานาจโดยการ ตัดสนิ ใจและใช้อานาจของ สถานศึกษาผา่ นคณะกรรมการสถานศึกษาและเปิดโอกาสให้ผทู้ ่ีมีสว่ นได้สว่ นเสียได้ มสี ว่ นร่วมในการตัดสนิ ใจในด้านต่าง ๆ ภายในขอบเขตการบรหิ ารสถานศึกษาตามท่ีกำหนดในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ออกเป็น 4 ดา้ น ดงั ต่อไปนี้ ดา้ นการบรหิ ารงานวิชาการ หลักการและแนวคิด การบรหิ ารงานงบประมาณมขี อบขา่ ยและแนวคดิ ดงั น้ี จันทรานี สงวนนาม (2553, หน้า 148-149) กล่าวถึง การบริหารงานวิชาการ หมายถึง การบริหาร กจิ กรรมทุกชนิดในสถานศึกษา ซง่ึ เกี่ยวกับการปรับปรุง พฒั นาการเรียนการสอน ให้เกดิ ผลตามเป้าหมายของ หลกั สูตรอย่างมีประสิทธิภาพ การบรหิ ารงานวิชาการ เปน็ หวั ใจสำคญั ของการบริหารสถานศึกษาและเป็นส่วน หนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ผู้บริหารจะต้องให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ส่วนการบริหารงานด้านอื่น ๆ น้ัน แม้จะมีความสำคัญเช่นเดียวกัน แต่ก็เป็นเพียงส่วนสางเสริมสนับสนุนให้งานวิชาการดำเนินไปอย่างมี ประสทิ ธิภาพ กจิ กรรมหลักทสี่ ำคัญของการบริหารงานวิชาการ 1. จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาให้เป็นไปตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานและ สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของชุมชนและสังคมอย่างแท้จริงโดยมีครู ผู้บริหาร ผู้ปกครองและ ชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการดำเนนิ งาน 2. จัดทำกระบวนการเรียนรู้ โดยถอื วา่ ผเู้ รียนมคี วามสำคัญที่สุด 3. ใหช้ ุมชนและสงั คมมีส่วนร่วมในการกำหนดหลักสตู ร กระบวนการเรยี นรู้ รวมทั้งเป็นเครือข่ายและ แหลง่ การเรยี นรู้ 4. จัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานโดยจัดให้มีดัชนีวัดคุณภาพด้วยการจัดหลักสูตร กระบวนการเรยี นรแู้ ละสามารถตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาได้ 5. มุ่งส่งเสริมให้มีการร่วมมอื เปน็ เครือข่ายเพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพและคณุ ภาพ ในการจัดการพัฒนาการศึกษา ขอบข่ายของการบริหารงานวชิ าการ การบรหิ ารงานวชิ าการมขี อบขา่ ย ดังนี้ จนั ทรานี สงวนนาม (2553, หนา้ 152-163) ได้กล่าวถงึ ขอบข่ายงานวชิ าการ ไว้ดังนี้ 1. หลักสูตรและการบริหารหลักสูตร ปัจจุบันได้มีการประกาศใช้หลักสูตรใหม่ที่เรียกว่า “หลักสูตร แกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551” ซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิรูปเนื้อหาสาระของหลักสูตรให้ ทนั ยคุ สมัยเหมาะกับอายุและวฒุ ภิ าวะของผเู้ รียน และแกไ้ ขสาระที่ซ้ำซอ้ น ซึง่ กระทรวงศกึ ษาธิการ

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ในการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 12 โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหน่วยงานในการดำเนินการ หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนั้น กิจกรรมที่ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องดำเนินการในเรื่อง เกย่ี วกับหลกั สูตรและการบริหารหลกั สตู ร ได้แก่ 1.1 การศึกษาสาระการเรียนรู้ของหลักสูตรและการจดั ระบบ ผู้บริหารจะตอ้ งศกึ ษาสาระการ เรียนรู้ต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรซึ่งเป็นองค์ความรู้เดิมที่จะต้องนามาจัดให้เป็นระบบและมีการกำหนด มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดเป็นรายวิชาและช่วงชั้นโดยปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ซึ่ง สถานศึกษาจะต้องจัดทำสาระการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ที่ สถานศึกษาต้องใช้ เป็นหลักเพื่อเสริมสร้างพื้นฐานการคิด การเรียนรู้และการแก้ปัญหา ตลอดจนการ เสรมิ สร้าง การเป็นมนษุ ย์ ศักยภาพพ้ืนฐานในการคิด การทำงาน และการพฒั นาตนเอง 1.2 การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ หรือที่เรียกว่าการปฏิรูป การเรียนรู้ ทั้งในส่วน ที่เกี่ยวกับวิธีการเรียนของผู้เรียนและวิธีการสอนของครู ซึ่งครูจะต้องสอนโดยยึดผู้เรยี น เปน็ สำคัญ เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นไดฝ้ ึกคิดวเิ คราะห์และศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง โดยมคี รเู ป็นผู้ควบคุมดูแล เป็น การฝึกปฏิบัติให้ผู้เรียนมปี ระสบการณ์การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง รู้จักวิธีคิด วิธีการดำเนินชวี ิต และมีทักษะในการ เผชญิ ปญั หาต่าง ๆ ได้ การจดั การเรียนการสอนตามแนวหลักสูตรใหม่ มีหลักการและแนวปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1.2.1 เน้นการเรยี นการสอนตามสภาพจริง 1.2.2 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้ ได้แสดงความคิดอย่างอิสระสามารถ สรปุ และสร้างองคค์ วามรใู้ หมข่ ้ึนไดจ้ ากขอ้ มูลทีม่ ี 1.2.3 นักเรียนเป็นผู้ปฏิบัติ ครูเป็นเพียงแหล่งข้อมูลหนึ่งจากหลาย ๆ แหล่ง และ เป็นผอู้ านวยความสะดวกใหแ้ กผ่ ู้เรยี น 1.2.4 เน้นการปฏิบัติทคี่ วบค่ไู ปกับหลกั การและทฤษฎี 1.2.5 เน้นวิธกี ารสอนจากการเรียนร้หู ลาย ๆ รูปแบบ 1.2.6 ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดมากกว่าการค้นหาคำตอบที่ตายตัวเพียง คำตอบเดยี ว 1.2.7 ถือว่ากระบวนการเรียนรู้มีความสำคัญมากกว่าเนื้อหาเพื่อให้ผู้เรียนมีข้อมูล เพยี งพอที่จะสร้างองค์ความรู้ใหม่ 1.2.8 ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการเรียนรรู้ ่วมกนั และเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 1.3 ส่อื การเรยี นรู้ ผู้บริหารจะต้องจัดให้สถานศึกษามีสื่อการเรียนการสอน เพราะสื่อเป็นสิ่งที่ช่วยให้ครูและ ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนได้สะดวกยิ่งขึ้น สื่อเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับครูผู้สอน เช่นเอกสาร หลักสูตร คู่มือครู บันทึกการสอน นอกจากนี้แหล่งการเรียนรู้ทุกรูปแบบ เครือข่าย การเรียนรู้ที่สามารถให้ ผเู้ รยี นไดศ้ กึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเองกถ็ อื วา่ เป็นส่อื การเรยี นรู้ทง้ั สิน้ 1.4 การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่จะช่วยตรวจสอบคุณภาพ ของผู้เรียน ว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการคุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ซ่ึง เป็นผลเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หรือไม่เพียงใด ผลการประเมินจะช่วยให้ครูผู้สอนรู้ข้อบกพร่อง หรอื ความกา้ วหน้าของผู้เรียนทาให้สามารถจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ ละวิธีการแกป้ ัญหาหรือพัฒนาให้เหมาะสม ได้ กิจกรรมการประเมนิ ผลการเรยี นรูส้ ามารถดำเนนิ การได้ 4 ระดับ คือ

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 13 1.4.1 การประเมนิ ผลระดับชน้ั เรียน เป็นหน้าที่สำคญั ของครผู สู้ อนจะต้องประเมิน ผเู้ รยี นในแต่ละรายวิชา เพือ่ รจู้ ักผู้เรียนเปน็ รายบุคคลโดยวธิ ีการที่หลากหลาย 1.4.2 การประเมินผลระดับสถานศึกษาเป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบ ความก้าวหน้าด้านการเรียนรู้รายปหี รอื รายภาคของสถานศึกษาเพือ่ นาข้อมูลที่ได้พัฒนาปรับปรุงคุณภาพของ สถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ 1.4.3 การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาจะต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคน ทเี่ รียนในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 และชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปที ี่ 6 เข้ารับ การประเมินคุณภาพระดับชาติ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สำคัญได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาต่างประเทศและกลมุ่ สาระ การเรยี นรอู้ น่ื ๆ ตามท่ีกระทรวงกำหนด 2. การวิจยั ในชั้นเรียน (Classroom research) ผลจากการประเมินผู้เรียนทาให้ครรู ู้ข้อบกพร่องของ ผู้เรียนแต่ละคนและคิดหาวิธีที่จะพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพมากขึ้น การวิจัยในชั้นเรียนเป็น กระบวนการที่น่าเชื่อถือและเป็นระบบในการแสวงหาคาตอบ เพราะเป็นการคิดค้นและพัฒนาที่เป็นการ แก้ปญั หา (Problem solving) ในสภาพการณ์ท่เี ปน็ จรงิ ในช้ันเรยี น ลกั ษณะการวิจยั ในชนั้ เรียนมดี งั นี้ 2.1 ปัญหาการวิจัยเกิดจากการทำงานในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนซึ่งอาจเป็น ปญั หาของผู้เรียนที่ครูต้องแก้ไขหรอื ปัญหาทค่ี รตู ้องการพฒั นาก็ได้ 2.2 ผลจากการวิจัยเปน็ สิ่งทีค่ รูสามารถนาไปใช้พัฒนาการเรียนการสอน 2.3 การวิจัยในชั้นดำเนินไปพร้อมกับการเรียนการสอน กล่าวคือ สอนไปวิจัยไป เก็บข้อมูล และบันทกึ ผลแลว้ นาผลการวิจัยไปใชแ้ กป่ ัญหา และเผยแพรใ่ หเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ผอู้ น่ื 3. การสอนซ่อมเสรมิ การสอนซอ่ มเสริม เปน็ อีกวธิ หี นง่ึ ในการแกป้ ญั หาข้อบกพรอ่ งและเสริมทักษะ การเรียนรูใ้ ห้แกผ่ ้เู รียน ซึ่งครจู ะจัดใหผ้ ู้เรียนท่ีตอ้ งการความชว่ ยเหลือเปน็ กรณีพิเศษ วธิ กี ารสอนซ่อมเสริมอาจ ทาได้หลายวิธีดงั น้ี 3.1 การสอนแบบตัวตอ่ ตัว 3.2 การสอนเป็นกลุม่ ยอ่ ย 3.3 นักเรียนเก่งสอนนักเรียนอ่อน 3.4 สอนโดยบทเรยี นสำเร็จรูป 3.5 ให้ทำแบบฝึกหัด เรียนด้วยตนเอง 3.6 ใหท้ ากจิ กรรมเพม่ิ เตมิ 3.7 การเฉลยคาตอบของแบบฝึกหดั หรอื แบบสอบถาม 4. การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย มิได้ขึ้นอยู่แต่เฉพาะการสอนใน ชนั้ เรยี นเพียง อย่างเดยี วเท่านน้ั การจดั กจิ กรรมเสริมหลักสูตรเป็นวิธีการชว่ ยพฒั นาคุณลักษณะและนิสัยใจคอ ของผู้เรียนให้เป็นคนดี มีความเสียสละ มีความซื่อสัตย์กตัญญู มีความเมตตากรุณา รักใคร่ กลมเกลียว สมัคร สมานสามคั คแี ละมวี ินยั มีภาวการณเ์ ป็นผ้นู าผตู้ ามท่ีดี ตามกิจกรรมตา่ ง ๆ เหล่านี้ 4.1 กิจกรรมส่งเสริมประชาธปิ ไตย 4.2 กจิ กรรมอาหารกลางวนั ของนกั เรียน 4.3 กจิ กรรมสหกรณ์ 4.4 กิจกรรมการอนรุ กั ษ์พลงั งานและส่ิงแวดล้อม 4.5 กจิ กรรมบริหารแนะแนวการศึกษา 4.6 กิจกรรมสง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรม

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรียนวดั ดงโคกขาม 14 4.7 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพพลานามยั และการกฬี า 4.8 กจิ กรรมหอ้ งสมุด 5. การนิเทศภายในสถานศึกษา การนิเทศภายใน หมายถงึ ความพยายามทุกชนิดของผู้บริหารในการ ที่จะปรบั ปรุงสง่ เสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนในสถานศึกษาให้ดีข้ึนเป็นการเพิ่มพลงั การปฏิบัติงานของ ครู รวมทั้งใหค้ รูมีความก้าวหนา้ ในวิชาชีพ ผลสุดท้ายก็คือ การศึกษาของเด็กก้าวหน้า ไปอย่างมีประสิทธิภาพ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2546, หนา้ 9) การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา มจี ุดมงุ่ หมาย ดังนี้ 5.1 เพื่อให้สถานศึกษามีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ใหส้ อดคล้องกบั มาตรฐาน หลักสูตรตามแนวพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 5.2 เพ่อื ให้สถานศึกษาสามารถบริหารและจดั การเรียนรู้ได้อยา่ งมคี ุณภาพ 5.3 เพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ให้มีปะสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของชุม และสังคม ทันต่อการเปล่ยี นแปลงทุกด้าน 5.4 เพื่อให้บุคลากรในสถานศึกษาได้พัฒนาความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ในการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ ตลอดจนพฒั นาวิชาชพี 5.5 เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาปฏิรูประบบบริหารโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วม ในการคิด ร่วม ตดั สนิ ใจ ร่วมทา รว่ มรบั ผิดชอบและช่นื ชมในผลงาน 5.6 เพื่อให้เกดิ การประสานงานและความรว่ มมือระหว่างผูเ้ กี่ยวข้อง ไดแ้ ก่ ชมุ ชน สังคมและ วัฒนธรรมในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 6. การประกนั คณุ ภาพการศึกษา ระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา เปน็ ส่วนหนึ่งของการ บริหารสถานศึกษา และเป็นกระบวนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่อง ประกอบด้วย 6.1 การจัดระบบบรหิ ารและสาระสนเทศ 6.2 การพฒั นามาตรฐานการศกึ ษา 6.3 การจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 6.4 การดำเนินการตามแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 6.5 การตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพการศกึ ษา 6.6 การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา 6.7 การายงานคณุ ภาพการศกึ ษาประจาปี 6.8 การผดงุ ระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า การบริหารวิชาการ หมายถึง กิจกรรมทุกชนิด ในสถานศึกษา โดยเฉพาะ เกี่ยวกับการปรับปรุงพฒั นาการเรยี นการสอนให้ได้ผลดแี ละ มีประสิทธิภาพที่สุดอัน ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาหลักที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต อยู่ในสังคมและรวมถึงการอบรมศีลธรรมจรรยาและ ความประพฤตขิ องนกั เรียนเพอ่ื เป็นคนดี เกง่ มีความสุข เป็นไปตามจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตร ด้านการบริหารงานงบประมาณ 1. หลกั การและแนวคิด การบริหารงานงบประมาณมหี ลกั การและแนวคดิ ดงั น้ี 1.1 ยดึ หลักความเท่าเทียมกนั และความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาของผู้เรียน 1.2. ในการจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยรัฐจัดสรรเงินอุดหนุน เป็นค่าใช้จา่ ยรายบุคคลสาหรับผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่สถานศึกษาของรัฐ และเอกชนอย่าง เท่าเทียมกนั และจัดสรรเพิ่มเตมิ ใหแ้ กผ่ ูเ้ รียนที่มลี กั ษณะพิเศษตามความจาเป็น

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี ในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 15 2. มุ่งเน้นการเสริมสร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการจัดการงบประมาณโดยให้ สถานศึกษามีอิสระในการตัดสินใจ มีความคล่องตัวควบคู่กับการโปร่งใสและ ความรับผิดชอบที่ตรวจได้จาก ผลสำเร็จของงานและทรัพยากรที่ใช้ 3. ยึดหลักการกระจายอานาจในการบริหารจัดการงบประมาณ โดยจัดสรรงบประมาณให้เป็นวงเงิน รวมแก่เขตพ้นื ที่การศึกษาและสถานที่การศึกษาและสถานศึกษา 4. มุ่งพัฒนาขีดความสามารถในการบรหิ ารจัดการงบประมาณตามหลักสตู รมาตรฐานการจัดการทาง การเงนิ ท้ัง 7 ด้าน คือ 4.1 การวางแผนงบประมาณ 4.2 การคำนวณต้นทนุ ผลผลิต 4.3 การจัดระบบการจดั หาพัสดุ 4.4 การบริหารทางการเงินและการควบคมุ งบประมาณ 4.5 การรายงานทางการเงินและผลการดำเนนิ งาน 4.6 การบรหิ ารสินทรพั ย์ 4.7 การตรวจสอบภายใน 5. มุ่งส่งเสริมการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงินและทรัพย์สินจากทุกส่วน ของสงั คมมาใช้เพอ่ื การจัดและพัฒนาการศึกษา ขอบข่ายการบรกิ ารงานงบประมาณ การบรหิ ารงานงบประมาณมขี อบขา่ ยและการบริหารงาน ดังนี้ 1. การจัดต้ังงบประมาณ 1.1 จัดระบบขอ้ มูลสารสนเทศและดชั นีช้วี ดั ผลผลิตและผลลัพธ์ด้านงบประมาณของ สถานศกึ ษา 1.2 วเิ คราะห์แผนพัฒนาสถานศึกษาโดยพิจารณาจากแผนงาน งาน โครงการของฝา่ ยตา่ ง ๆ เพ่อื นำไปจัดตงั้ เปน็ แผนงบประมาณของสถานศึกษา 1.3 จัดทำแผนงบประมาณตามแผนงาน งานโครงการใหม้ คี วามเชอ่ื มโยงกบั ดัชนชี ว้ี ดั ผลผลติ และผลลัพธข์ องสถานศกึ ษา 1.4 วิเคราะห์และจัดลาดับความสำคญั ของแผนงาน งานโครงการและจดั ต้ังงบประมาณของ สถานศึกษาเพอ่ื เสนอความเหน็ ชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษา 1.5 จัดทำคาขอตั้งงบประมาณของสถานศึกษาเสนอสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา ทำสัญญา บริการสาธารณะโดยมีเป้าหมายการให้บริการที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษา โดยผ่านความ เหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา 2. การจดั สรรงบประมาณ 2.1 จัดสรรงบประมาณที่ไดร้ บั ให้กบั ฝ่ายตา่ ง ๆ ภายในสถานศึกษาตามแผนพัฒนาการศึกษา ประจาปี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา 2.2 การเบิกจา่ ยและการอนุมัตงิ บประมาณ 2.1.1 การจดั สง่ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปเี พือ่ ขอใช้งบประมาณ 2.1.2 เบกิ จา่ ยงบประมาณประเภทต่าง ๆ ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี 2.1.3 อนุมัติการใช้งบประมาณของสถานศึกษาตามประเภท และรายงานที่ได้รับ งบประมาณ

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียในการบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรียนวดั ดงโคกขาม 16 2.3 โอนเงนิ งบประมาณวงเงนิ รวมตา่ งประเทศ งบรายจ่ายของแต่ละแผนงาน งานโครงการ 2.4 รายงานผลการดำเนินงาน ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณประจาปีโดยแสดงรายละเอียด ผลผลิตและผลลพั ธข์ องแผนงาน งาน โครงการ ตามแบบทกี่ ำหนดไปยังสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา 3. การตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสิทธภิ าพการใชจ้ า่ ยงบประมาณ 3.1 กำหนดแผนการตรวจสอบการใชจ้ ่ายงบประมาณ วเิ คราะห์ ประเมิน ความเพียงพอและ ประสทิ ธิภาพของระบบการควบคุมภายใน สอบทานระบบการปฏิบตั ิงาน ความเชอื่ ถอื ได้ของข้อมูล ตรวจสอบ ระบบการดแู ลรักษาและความปลอดภยั ของทรัพยส์ นิ 3.2 ประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย โดยวางแผน วิเคราะห์และ ประเมินประสิทธภิ าพ ประสทิ ธิผลในการใชท้ รัพยากรของหนว่ ยงานในสถานศึกษาโดยคานึงถึงความคุ้มค่าและ ประหยดั 4. ระดมทรัพยากรและการลงทนุ เพ่ือการศึกษา 4.1 ทุนการศึกษา สถานศึกษาต้องวางแผน รณรงค์ ส่งเสริมการระดมทุนการศึกษาและทุน เพื่อการพัฒนาสถานศึกษา จัดทำข้อมูลสารสนเทศและระบบการรับจ่ายทุนการศึกษาและทุนเพื่อการพัฒนา การศึกษาใหด้ ำเนินงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล คมุ้ คา่ มกี ารสรปุ รายงาน เผยแพร่และเชิด ชูเกยี รตผิ ู้สนบั สนุนทุนการศึกษาและทุนเพ่ือพัฒนาการศึกษา 4.2 กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาสำรวจความต้องการของนักเรียนและคัดเลือกผู้เสนอตาม เกณฑ์ท่ีกำหนดประสานการกู้ยืมเพื่อการศึกษากับหนว่ ยปฏิบัตงิ านทีเ่ กยี่ วข้องในขณะเดียวกันสถานศึกษาต้อง สร้างความตระหนักแก่ผู้กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาพร้อมทั้งติดตามตรวจสอบประเมินผลและรายงานผลการ ดำเนินงาน 4.3 กองทุนสวัสดิการเพื่อการศึกษาจัดระบบสวัสดิการเพื่อการศึกษาของสถานศึกษาให้ สอดคล้องและเป็นไปตามระเบยี บและกฎหมายที่เก่ียวข้อง 4.4 การจัดการทรัพยากรส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรของสถานศึกษา ร่วมมือกันให้ ทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยรว่ มกับบุคคลและหนว่ ยงานใหเ้ กิดประโยชน์ ตอ่ กระบวนการเรียนการสอน และสถานศึกษา สิ่งที่สำคัญ คือ สถานศึกษาควรดำเนินการเชิดชูเกียรติบุคคลและหน่วยงานทั้งภาครัฐและ เอกชนท่ีสนับสนุนการใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั เพ่อื การศึกษาของสถานศึกษา 4.5 ส่งเสริมการบริหาร การจัดหารายได้และผลประโยชน์ในรูปแบบที่หลากหลายตาม แนวทางของกฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวขอ้ ง 5. การบรหิ ารการเงนิ 5.1 การเบิกเงินจากคลัง ยื่นเรื่องขอเบิกเงินพร้อมหลักฐานสาหรับรายการที่มิได้จดั สรรและ กำหนดให้เบิกเป็นเงินก้อน เช่น เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรให้เขตพื้นที่การศึกษา เว้นแต่กรณี การขอเบกิ เงนิ สาหรบั งบประมาณท่จี ดั สรรและกำหนดใหเ้ บกิ เปน็ วงเงนิ รวมไมต่ ้องยน่ื ให้เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา 5.2 รบั เงนิ และออกใบเสรจ็ รบั เงนิ ในส่วนทอี่ ยู่ในอานาจของสถานศึกษา 5.3 เก็บรกั ษาเงินทีอ่ ยูใ่ นอานาจหน้าที่ของสถานศึกษา 5.4 จ่ายเงินที่อยู่ในอานาจหน้าที่ให้บุคลากรหรือผู้มีสิทธิโดยตรง เว้นแต่กรณีที่เป็นอานาจ จ่ายเงินของคลังและทีค่ ลังกำหนดใหส้ ว่ นราชการผู้เบกิ เป็นผู้จ่าย นอกจากน้ยี ังต้องหกั เงิน ณ ที่จ่ายและนาเงิน ทีห่ ักสง่ ตามอานาจหนา้ ท่ี 5.5 นาสง่ เงนิ ทีอ่ ยูใ่ นอานาจหน้าทโี่ ดยนาส่งคลังโดยตรงหรอื นาส่งคลังผ่านธนาคาร 6. การบริหารบญั ชี

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียในการบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 17 6.1 จดั ทำบญั ชีเฉพาะที่อยู่ในอานาจหน้าทขี่ องสถานศึกษา 6.2 จัดทำทะเบยี นเฉพาะทอ่ี ย่ใู นอานาจหนา้ ท่ขี องสถานศึกษา 6.3 จัดทำรายงานทางการเงินและงบประมาณส่งเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงาน ที่ เกี่ยวขอ้ งรวมท้ังเปิดเผยตอ่ สาธารณะชน 7. จัดทำและจดั หาแบบพิมพบ์ ัญชี ทะเบียนและรายงาน ยกเว้นแบบพิมพ์กลาง ที่เขตพื้นทีก่ ารศึกษา หรือหน่วยงานต้นสังกัดหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องจัดทำขึ้นเพื่อจำหน่าย จ่ายแจกการบริหารการพัสดุและ สินทรัพย์ 7.1 วางแผนการจดั หาพัสดปุ ีปัจจบุ นั และปีล่วงหน้า 3 ปี เฉพาะส่วนท่ีจดั หาเองหรอื ทจ่ี ะรว่ มมือกบั สถานศึกษายน่ื หรือหนว่ ยงานอน่ื จดั หา 7.2 กำหนดรูปแบบรายงานหรือคุณลักษณะเว้นแต่กรณีที่มีรูปแบบรายงานหรือคุณ ลกั ษณะเฉพาะมาตรฐานอยู่แล้ว 7.3 พัฒนาระบบข้อมลู และสารสนเทศเพื่อการจดั ทำและจัดหาพัสดใุ หร้ ะดบั สถานศกึ ษา 7.4 จัดหาพัสดุด้วยเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณของสถานศึกษา โดยดำเนินการ เองหรอื รว่ มมือกับสถานศกึ ษาอื่น หรือหนว่ ยงานอืน่ จัดหาตามแผนการจัดหาพสั ดปุ ระจำปี 7.5 ควบคุม ดูแล บารงุ รักษาและจาหนา่ ยพัสดุในสว่ นที่เปน็ อานาจหนา้ ทีข่ องสถานศึกษา 7.6 จัดหาผลประโยชน์สินทรัพย์ในส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของสถานศึกษา กล่าวโดย สรุปว่า การบริหารงานงบประมาณ หมายถึง งานที่โรงเรียนจดั ตั้งข้ึนเพ่ือเป็นการบริการหน่วยงานต่าง ๆ ของ โรงเรียนให้สามารถดำเนินไปตามจุดมุ่งหมายหรือตามท่ีต้องการ งานบริหารงบประมาณในโรงเรียนจึง เปรียบเสมือนส่วนที่ประสานงานหรือคอยสนับสนุนให้โรงเรียนสามารถดำเนนิ การไปสู่เป้าหมายท่ีกำหนดด้วย ความราบรน่ื การปฏบิ ัติงานจงึ ดำเนินการด้านงบประมาณของโรงเรียน ดา้ นการบริหารบุคลากร หลกั การและแนวคิด การบริหารงานบุคลากรมหี ลกั การและแนวคดิ ดงั นี้ 1. ยึดหลกั การบรหิ ารเพอ่ื ใหเ้ กิดการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเน่ือง 2. ยึดหลักความเป็นอิสระในการบริหารงานบุคลากรของสถานศึกษาตามนโยบายกฎหมายและ หลักเกณฑ์ทกี่ ำหนด 3. ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล ขอบข่ายภารกิจของการบริหารงานบคุ ลากร การบริหารงานบุคลากรมขี อบข่ายและภารกจิ ดงั น้ี 1. การวางแผนอัตรากาลงั 1.1 ประเมินความต้องการอัตรากาลัง 1.2 จัดทำแผนอัตรากาลงั ของสถานศกึ ษา 1.3 เสนอแผนอตั รากาลงั ของสถานศกึ ษาโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา 2. การกำหนดตำแหนง่ ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 2.1 สำรวจและรวบรวมข้อมูลการขอปรับปรุง กำหนดตำแหน่งให้สงู ขึ้นของครู และบุคลากร ทางการศึกษาของสถานศกึ ษา 2.2 ขอกำหนดตำแหนง่ เพิม่ เติมและขออนุมัติโอนตำแหนง่ และอตั ราเงนิ เดือน

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียในการบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 18 2.3 เสนอขอ้ เปลี่ยนแปลงการกำหนดตำแหนง่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษา ตอ่ เขตพ้นื ที่การศกึ ษา 2.4 ดำเนินการตามอานาจหนา้ ทแี่ ละตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 3. การเกลย่ี อัตรากาลงั ของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 3.1 เสนอความต้องการของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 3.2 ดำเนนิ การสรรหาเพอ่ื บรรจแุ ละแตง่ ตง้ั บุคคลเข้าเป็นครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 3.3 ดำเนนิ การสรรหาและจัดจ้างบุคคลเพ่ือปฏบิ ัติงานในตำแหน่งอัตราจา้ งประจาและอัตรา จ้างชั่วครามตามความต้องการและความจาเป็นของสถานศึกษา ทั้งนี้ให้เป็นไปตามระเบียบและข้อบังคับท่ี เกี่ยวข้อง 4. การสรรหาและบรรจุแต่งตงั้ 4.1 แจ้งภาระงาน มาตรฐานคุณภาพงาน มาตรฐานวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพและเกณฑ์ การประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทราบเป็นลายลักษณ์อกั ษร 4.2 ดำเนินการทดลองปฏิบัติงานสาหรับบุคลากรทางการศึกษาหรือเตรียมความพร้อมและ พฒั นาอย่างเข้าใจสาหรบั ผู้ไดร้ บั การบรรจุตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายกำหนด 4.3 ตดิ ตามประเมินผลการปฏิบตั ิงานตามเง่ือนไขท่ีไดแ้ จ้งให้ทราบตามข้อ 1 (อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง) 4.4 รายงานผลการทดลองปฏิบัติงานหรือการเตรียมความพร้อมและพัฒนา อย่างเข้มข้น แล้วแตก่ รณตี ่อเขตพ้นื ท่ีการศึกษา 4.5 ดำเนินการแต่งตั้งหรือสั่งให้พ้นจากสภาพการเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาตามอา นาจหนา้ ที่ท่กี ฎหมายกำหนดเมอ่ื ได้รบั อนมุ ัตจิ าก สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 5. การย้ายครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 5.1 รวบรวมรายชื่อและข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสงค์จะขอย้ายและให้ ความเห็นเสนอไปยังสถานศกึ ษาท่ีครูและบุคลากรทางการศึกษาประสงค์จะขอยา้ ยไปปฏบิ ตั งิ าน 5.2 พิจารณาให้ความเห็นชอบครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสงค์จะขอย้าย มา ปฏบิ ตั งิ านในสถานศึกษา 5.3 ในกรณีท่ีเห็นชอบการรับย้ายให้เสนอเรื่องไปยงั ผบู้ ริหารสถานศึกษา เพ่อื ขออนมุ ตั ิ 5.4 ในกรณีให้ความเห็นว่าไม่สมควรรับย้าย ให้แจ้งเรื่องไปยังผู้บริหารสถานศึกษาต้นสังกัด ของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาเพ่ือทีป่ ระสงค์จะขอยา้ ยทราบ 5.5 สง่ั ย้ายและส่งั บรรจแุ ต่งต้งั ครูและบุคลากรทางการศึกษาแลว้ แต่กรณีตามอานาจหน้าท่ีที่ กฎหมายกำหนด 6. การเปล่ียนแปลงสถานภาพวชิ าชีพ 6.1 ตรวจสอบคาขอเปลี่ยนสภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีความประสงค์จะขอ เปลีย่ นแปลงตำแหน่งมาดารงตำแหน่งในสถานศึกษานน้ั ๆ 6.2 เสนอแนะให้ความเห็นชอบในกรณีที่มีครูและบุคลากรทางการศึกษา ขอเปลี่ยนแปลง ตำแหนง่ มาดารงตำแหนง่ ในสถานศึกษาน้ัน ๆ 6.3 เสนอแนะให้ความเห็นชอบในกรณีที่มีครูและบุคลากรทางการศึกษา ขอเปลี่ยนแปลง ตำแหนง่ มาดารงตำแหน่งในสถานศึกษาน้ัน ๆ 7. เงนิ เดอื นและค่าตอบแทน

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 19 7.1 อัตราเงินเดือนและค่าตอบแทนให้เป็นไปตามบัญชีอัตราเงินเดือนและ เป็นไปตาม ระเบยี บกฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 7.2 การได้รับเงินเดือนและค่าตอบแทนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กฎหมาย กำหนด 8. การเลอ่ื นข้ันเงินเดือน 8.1 การเลอ่ื นข้นั เงนิ เดอื นปกติ 8.1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี กฎหมายกำหนดในฐานะผบู้ ังคับบญั ชา 8.1.2 รวบรวมข้อมูลพรอ้ มความเห็นของผู้มีอานาจในการประเมนิ และ ให้ความเห็น ในการเลื่อนขั้นเงินเดือนของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเสนอคณะกรรมการ ตามขอ้ 8.1.1 พิจารณา 8.1.3 แจ้งคาสั่งให้เลื่อนขั้นเงินเดือนให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาในฐานะ ผู้บงั คับบญั ชาทราบพร้อมเหตผุ ลท่ไี มเ่ ล่ือนขน้ั เงินเดอื น 8.1.4 สั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนในกรณีพิเศษ กรณีถึงแก่ความตายอันเนื่องมาจาก การ ปฏิบัตหิ น้าที่ 8.2 การเลื่อนขั้นเงินเดือนในกรณีพิเศษกรณีถึงแก่ความตายอันเนื่องมาจากทางการปฏิบัติ หนา้ ท่ี 8.2.1 เสนอเรอ่ื งพร้อมทงั้ ข้อยตุ ิและรายละเอียดไปยงั ผู้บรหิ ารสถานศึกษา 8.2.2 ดำเนินการด้านสวัสดิการให้แก่ครอบครัวอันเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่ หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารที่กฎหมายกำหนดตามความเหมาะสม 9. การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 9.1 วิเคราะหค์ วามจาเป็นในการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา 9.2 จัดทำแผนพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาของสถานศึกษา 9.3 ดำเนนิ การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาตามแผนท่ีกำหนด 9.4 สร้างและพฒั นาความร่วมมือกบั เครือขา่ ยในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 10. การลาศึกษาตอ่ 10.1 อนุญาตหรือเสนอขออนุญาตการลาศึกษาต่อตามนโยบายหลักเกณฑ์และวิธีการของ เขตพ้ืนท่ีการศึกษาและตามที่กฎหมายกำหนด 10.2 เสนอเรื่องการขออนุญาตให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ลาศึกษาต่อ ในเขตพื้นที่ การศกึ ษาทราบ 11. การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน 11.1 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาให้ สอดคล้องกับมาตรฐานการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูแล บุคลากรทางการศกึ ษาประจำเขตพื้นทก่ี ารศึกษากำหนด 11.2 ดำเนนิ การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ในสถานศึกษา 11.3 ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธที กี่ ฎหมายกำหนด 11.4 นาผลการประเมนิ ไปใชป้ ระโยชน์ในการบรหิ ารงานบคุ ลากรของสถานศกึ ษา 11.5 รายงานผลการประเมินการปฏบิ ตั งิ านในสว่ นทเ่ี ขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาร้องขอให้รบั ทราบ 12. การส่งเสริมและยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติ

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียในการบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 20 12.1 ส่งเสริมการพฒั นาตนเองของครูและบุคลากรทางการศึกษาในการปฏบิ ตั ิงาน ใหม้ ีคณุ ภาพและมปี ระสิทธิภาพและนาไปสกู่ ารพัฒนามาตรฐานวชิ าชีพและคุณภาพทางการศึกษา 12.2 สร้างขวัญและกาลังใจครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยการยกย่องเชิดชูเกียรติผู้มี ผลงานดีเดน่ และมคี ุณงามความดตี ามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่กำหนด 12.3 ดำเนินการสร้างขวัญและกาลังใจให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาตาม ความ เหมาะสม 13. มาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวิชาชีพ 13.1 ดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบวินัย มาตรฐาน และจรรยาบรรณของวชิ าชพี ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 13.2 ควบคุม ดูแลและส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีการประพฤติปฏิบัติตาม ระเบียบ วนิ ัย มาตรฐานและจรรยาบรรณวชิ าชีพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 14. การสง่ เสรมิ วนิ ัยสาหรับครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 14.1 เสรมิ สรา้ งและพัฒนาให้ผใู้ ตบ้ งั คบั มวี ินยั 14.2 ปอ้ งกันไมใ่ หผ้ ู้ใตบ้ งั คับบัญชากระทำผดิ วนิ ัย 15. การดำเนนิ การทางวินยั ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 15.1 การดำเนนิ การทางวนิ ยั ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาท่ีกระทำผดิ วนิ ัยไม่รา้ ยแรง 15.1.1 กรณีมีมูลให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนการกระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรงใน ฐานะผบู้ ังคบั บญั ชา 15.1.2 พิจารณาลงโทษทางวินัยหากปรากฏผลการสอบสวนว่าครูและบุคลากร ทางการศึกษากระทำผดิ วนิ ยั ไมร่ ้ายแรงตามอานาจทก่ี ฎหมายกำหนด 15.1.3 รายงานการพิจารณาลงโทษทางวนิ ัยไปเขตพนื้ ที่การศึกษา 15.2 การดำเนินการทางวินัยแก่ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาที่กระทำผดิ วนิ ยั อย่างร้ายแรง 15.2.1 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนการกระทำผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงในฐานะ ผู้มอี านาจสั่งบรรจแุ ละแตง่ ตง้ั หรือรายงานตอ่ ผ้มู ีอานาจแลว้ แตก่ รณี 15.2.2 ประสานงานกับหนว่ ยงานการศกึ ษาอนื่ และกรรมการสอบสวนกรณี มีการกระทำผิดรว่ มกนั 15.2.3 พิจารณาระดับการลงโทษกรณีความผิดไม่ร้ายแรงแล้วรายงานเขตพื้นท่ี การศึกษาหรือเสนอระดับการลงโทษไปยังเขตพื้นที่การศึกษากรณีเป็นความผิดวินัย ร้ายแรงเพื่อเสนอ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา พิจารณา 16. การสั่งพักงานการสั่งให้ออกจากงานไว้ก่อนแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนสั่งให้ครูและบุคลากร ทางการศึกษาผู้กระทำผิดวินัยพักงานหรือสั่งให้ออกจากงานไว้ก่อนในฐานะผู้มีอานาจหน้าที่ตาม หลักเกณฑ์ และวิธีการทกี่ ฎหมายกำหนด 17. การลงโทษทางวินัยและรายงานการดำเนินการทางวินัยดำเนินการลงโทษทางวินัยและรายงาน การดำเนนิ การทางวนิ ัยตามท่กี ฎหมายกำหนด 18. การอุทธรณ์

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 21 18.1 รับเรื่องอุทธรณ์คาสัง่ ลงโทษทางวนิ ยั ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษา แล้วเสนอไปยังผู้มีอานาจพิจารณาดำเนินการตอ่ ไปในกรณีทีค่ รแู ละบุคลากร ทางการศึกษาเสนอเรื่องอุทธรณ์ ผ่านหวั หน้าสถานศกึ ษา 18.2 เสนอความเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาในการพิจารณาอุทธรณ์ของครูและ บุคลากรทางการศึกษาที่ยื่นอุทธรณ์ผ่านคณะกรรมการสถานศึกษาต่อ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษาประจาเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา (อ.ก.ค.ศ.) เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา หรือผูม้ อี านาจตามท่ีกฎหมาย กำหนด 19. การรอ้ งทกุ ข์ รบั เรอื่ งของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาแลว้ เสนอ ไปยังผูม้ อี านาจพิจารณาต่อไป ในกรณีที่ครูและบุคลากรทางการศึกษาเสนอเร่ืองร้องทุกขผ์ ่าน 20. การออกจากงาน 20.1 การลาออก 20.1.1 รับเรอื่ งการลาออกจากครูและบุคลากรทางการศึกษาในฐานะผู้บังคับบัญชาแล้วเสนอ ไปยงั ผ้มู อี านาจสง่ั บรรจแุ ละแตง่ ตงั้ พิจารณา 20.1.2 อนุญาตการลาออกจากครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในฐานะผู้มีอานาจสั่งบรรจุและ แตง่ ตัง้ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการทก่ี ฎหมายกำหนด 20.1.3 ยบั ยั้งการอนุญาตให้ลาออกจากครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในฐานะ ผู้มีอานาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งหากเห็นว่าจาเป็นเพื่อประโยชน์แก่หน่วยงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กฎหมายกำหนด 20.2 สั่งให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาออกจากการปฏิบัติหน้าที่เพื่อรับบาเหน็จบำนาญ เพราะเหตุทดแทนในฐานะผมู้ ีอานาจสง่ั บรรจุและแต่งตั้ง ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการ ทก่ี ฎหมายกำหนด 21. ดำเนินการขอรับใบอนุญาตและการขอต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการ ศึกษาเพ่อื เสนอไปยังเขตพื้นที่การศึกษาใหด้ ำเนนิ การต่อไป 22. งานทะเบียนประวตั ิครูและบุคลากรทางการศึกษา 22.1 จดั ทำข้อมลู ทะเบียนประวตั คิ รู บุคลากรทางการศึกษาและลกู จ้าง 22.2 ดำเนนิ การในสว่ นท่เี ก่ียวข้องกบั การเกษยี ณอายรุ าชการของครู บุคลากร ทางการศึกษา และลกู จ้างในสถานศึกษา 23. งานเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ 23.1 ดำเนนิ การในการขอเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์สาหรับครู บุคลากรทางการศึกษา ลกู จา้ งใน สงั กดั เพอ่ื เสนอคาขอต่อเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา 23.2 จดั ทำทะเบยี นผู้ไดร้ ับเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ของครู บคุ ลากรทางการศึกษา และลูกจ้าง ในสงั กดั จากท่ไี ด้กล่าวมาข้างต้น สรปุ ไดว้ า่ การบรหิ ารงานบุคคล หมายถึง กระบวนการดำเนินงานท่ีผู้บริหาร ได้ใช้ศาสตร์และศิลป์ในการพิจารณาเพื่อสรรหาบรรจุ แต่งตั้ง ให้บุคคล ที่มีความสามารถ มีความเหมาะสม เข้ามาทำงานในหนว่ ยงานและขณะปฏบิ ตั ิงานก็ไดม้ ี การดำเนนิ การจัดทำประวัตกิ ารพัฒนาและการบารุงรักษา บคุ คลเพ่ือให้บุคคลสามารถปฏบิ ตั งิ าน ได้เตม็ ความสามารถดารงชีวิตอยู่ได้

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 22 ด้านการบริหารงานท่ัวไป หลักการและแนวคดิ การบริหารงานทวั่ ไปมหี ลกั การและแนวคิด ดังน้ี 1. ยึดหลักใหส้ ถานศกึ ษามีความเป็นอิสระในการบรหิ ารและจดั การศึกษาด้วยตนเอง ใหม้ ากท่ีสุด โดย เขตพื้นที่การศึกษามีหน้าที่กากับ ดูแล ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงาน ในเชิงนโยบายให้สถานศึกษาจัด การศึกษาใหเ้ ป็นไปตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ 2. มุ่งส่งเสริมประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารและจัดการศึกษาของสถานศึกษาตาม หลักการบริหารงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลักโดยเน้นความโปร่งใส ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ ยึด หลักเกณฑ์ กตกิ า ตลอดการมีสว่ นร่วมของบุคคล ชุมชน และองค์กรท่ีเกยี่ วขอ้ ง 3. มุ่งพัฒนาองค์กรในระดับสถานศึกษาให้เปน็ องค์กรสมัยใหม่ โดยนานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ อย่างเหมาะสม สามารถเชอ่ื มโยง ติดต่อสอื่ สารกันอย่างรวดเรว็ ดว้ ยระบบเครือขา่ ยและเทคโนโลยีทท่ี ันสมัย กล่าวโดยสรุป การบริหารงานทั่วไปเป็นกระบวนการสำคัญที่ช่วยประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนให้ การบริหารงานอื่น ๆ บรรลุผลตามมาตรฐานคุณภาพและเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยมีบทบาทหลักในการ ประสานงานส่งเสริม สนับสนุนและการอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในการให้บริการการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้ง การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ตามบทบาทของสถานศึกษา ตลอดจนการ จัดและใหบ้ ริการศึกษาของบคุ คล ชมุ ชน องค์กร หนว่ ยงานและสถาบันสังคมอ่ืน ขอบข่ายภารกิจของการบรหิ ารงานทัว่ ไป การบริหารงานทั่วไปมีขอบข่าย ดังน้ี 1. การพัฒนาระบบและเครือข่ายขอ้ มลู สารสนเทศ 1.1 จัดระบบฐานข้อมูลของสถานศึกษาเพื่อใช้ในการบริหารจัดการภายในสถานศึกษาให้ สอดคล้องกบั ระบบฐานข้อมลู ของเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 1.2 จัดระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศเชื่อมโยงกับสถานศึกษาอื่น เขตพื้นที่การศึกษาและ สว่ นกลาง 1.3 นาเสนอและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศเพ่อื การประชาสมั พันธ์ การบริหาร และการบรกิ าร 2. การประสานงานและพัฒนาเครอื ข่ายการศกึ ษา 2.1 ประสานงานกบั เครอื ขา่ ยการศึกษาเพื่อแสวงหาความรว่ มมอื ความช่วยเหลอื เพ่อื ส่งเสริม สนับสนนุ การศึกษาของสถานศกึ ษา 2.2 เผยแพร่ข้อมลู เครือขา่ ยการศกึ ษาใหบ้ ุคลากรในสถานศึกษาและผู้เกยี่ วข้องทราบ 2.3 กำหนดแผนงาน โครงการหรือกิจกรรมเพื่อการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ระหว่างเครือข่าย การศึกษาทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั สถานศึกษา 2.4 ให้ความร่วมมือและสนับสนุนทางวิชาการแก่เครือข่ายการศึกษาของสถานศึกษาและ ขอบเขตพื้นทกี่ ารศึกษาอยา่ งตอ่ เน่ือง 3. การวางแผนการศกึ ษา 3.1 จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาหรือแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับเป้าหมาย และทิศทางของเขตพื้นที่การศึกษาและสนองความต้องการของบุคคล ชุมชน องค์กร สถาบันและหน่วยงานท่ี เก่ยี วขอ้ งกบั การวดั และพัฒนาการศกึ ษาของสถานศึกษา 3.2 เสนอแผนพฒั นาการศกึ ษาหรอื แผนกลยุทธ์ใหเ้ ขตพื้นที่การศึกษาทราบ

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสียในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 23 3.3 จัดทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาหรือแผนกลยุทธ์ของ สถานศกึ ษา 4. งานวิจยั เพอื่ พัฒนานโยบายและแผน 4.1 กำหนดนโยบายและแนวทางการจัดการศึกษาและการใช้จ่ายงบประมาณของ สถานศึกษาที่สอดคล้องกับนโยบายและกรอบแนวทางการจัดและพัฒนาการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา และแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา 4.2 จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาประจาปีเพื่อขอรับการจัดสรรงบประมาณจากเขตพื้นท่ี การศกึ ษา 4.3 จัดทำแผนปฏิบัติการประจาปีตามนโยบายและกรอบแนวทางของสถานศึกษาและตาม งบประมาณท่ีไดร้ บั จดั สรรรวมกบั ทรพั ยากรของสถานศึกษาหรือท่ีสถานศึกษาจดั หาให้ 4.4 เสนอแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษาให้เขตพน้ื ท่ีการศึกษารับทราบ 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในสถานศึกษาให้เป็นองค์กรที่ทันสมัยมีคุณภาพและมี ประสิทธภิ าพอย่างต่อเน่ือง 6. การพฒั นามาตรฐานและการปฏิบัติงาน 6.1 กำหนดมาตรฐานและดัชนวี ดั ผลการปฏิบตั ิงานแต่ละดา้ นของสถานศึกษา 6.2 ตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของสถานศกึ ษา 6.3 ปรับปรุงและพัฒนาทั้งมาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบการประเมินมาตรฐานการ ปฏบิ ัติงานของสถานศกึ ษา 7. วางแผนและดำเนินการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษามาใช้ในการบริหารและพัฒนา การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 8. สนบั สนุนขอ้ มูล รับทราบหรือดำเนนิ การตามมตขิ องคณะกรรมการเขตพนื้ ท่ีการศึกษาแล้วแตก่ รณี 9. การดำเนนิ งานธุรการ ดา้ นการเงนิ การคลัง บัญชีและพสั ดุ 9.1 วางระบบงานดา้ นการเงนิ การคลงั บัญชีและพัสดขุ องสถานศกึ ษา 9.2 ดำเนินการจัดซ้อื จดั จา้ งและการจดั ทำบญั ชตี ามระเบียบทกี่ ำหนด 9.3 ขอเบกิ จ่ายงบประมาณไปยังคลังจังหวดั ผ่านเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาตามระบบท่ีกำหนด 9.4 กากับ ตรวจสอบ ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณภายในสถานศึกษาให้เป็นไปตามแผน และระบบทก่ี ำหนด 10. จดั ระบบการสง่ เสรมิ สนบั สนุนและอานวยความสะดวกในการบริหารงานบุคคลต้งั แต่การสรรหา บรรจุ แต่งต้ัง โยกยา้ ย การพฒั นา สทิ ธิประโยชน์และสวัสดิการ ตลอดจน การดำเนนิ การทางวนิ ัยตามบทบาท ความรับผิดชอบของสถานศกึ ษา 11. บำรุง ดูแลและพัฒนาอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาให้อยู่ในสภาพมั่นคง ปลอดภัย เหมาะสมและพรอ้ มที่จะใช้ประโยชน์ 12. การจดั สามะโนผ้เู รียน 12.1 ประสานงานกับชุมชนและท้องถิ่นในการสำรวจและจัดทำสามะโนผู้เรียนที่จะเข้ารับ บริการทางการศกึ ษาของสถานศึกษา 12.2 เสนอสามะโนผู้เรยี นให้เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษารับทราบ

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสียในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 24 13. การรบั นกั เรียน 13.1 กำหนดเขตพื้นที่บริการการศึกษาของแต่ละสถานศึกษาโดยประสานงานกับเขตพื้นที่ การศึกษา 13.2 กำหนดแผนการรบั นักเรยี นของสถานศึกษาโดยประสานงานกับเขตพื้นที่การศึกษา 13.3 ดำเนินการรบั นกั เรยี นตามแผนทกี่ ำหนด 14. การจดั ต้ัง ยบุ รวมหรอื เลกิ สถานศึกษาโดยการเสนอข้อมูลและความต้องการ ในการยุบรวม เลิกหรือเปลี่ยนสภาพสถานศึกษาไปยังเขตพื้นที่การศึกษาโดยผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศกึ ษา 15. การอานวยการและประสานงานการจัดการศกึ ษาในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 15.1 สำรวจความต้องการในการเข้ารับบริการศึกษาทุกรูปแบบทั้งในระบบ นอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 15.2 กำหนดแนวทางและความเชื่อมโยงในการจัดและพัฒนาการศึกษา ของสถานศึกษาท้ัง การศึกษาในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามความต้องการ ของผู้เรียนและท้องถิ่นท่ี สอดคลอ้ งกบั แนวทางของเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 15.3 ดำเนินการจัดการศึกษาในรูปแบบหนึ่งหรือทั้ง 3 รูปแบบตามความเหมาะสมและ ศักยภาพของสถานศึกษา รวมทั้งเชื่อมโยงประสานความร่วมมือและส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของ บุคคล ชุมชน องคก์ ร หน่วยงานและสถาบันสังคมอื่นท่จี ดั การศึกษา 16. ระดบั ทรัพยากรเพอื่ การศกึ ษา 16.1 กำหนดแนวทางการระดมทรพั ยากรเพ่ือการศึกษาของสถานศึกษา 16.2 ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาของสถานศึกษาในทุกด้าน ซึ่งควบคุมถึง การประสาน ความร่วมมือกับบคุ คล องค์กร หน่วยงาน สถาบันสังคมและสถานศกึ ษาอื่น ในการใช้ทรัพยากรเพือ่ การศึกษา รว่ มกนั 17. การทศั นศึกษา 17.1 วางแผนการนานักเรยี นไปทศั นศึกษานอกสถานท่ี 17.2 ดำเนินการนานกั เรียนไปทัศนศกึ ษานอกสถานทตี่ ามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารท่ีกำหนด 18. ดำเนินการจัดกิจกรรมนักเรียนและส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรม อยา่ งหลากหลายตามความสนใจและความถนัดของนักเรยี น 19. การประชาสัมพนั ธง์ านการศกึ ษา 19.1 วางแผนการประชาสมั พันธง์ านการศึกษาของสถานศกึ ษา 19.2 ดำเนินการประชาสมั พันธง์ านการศึกษาตามแนวทางทีก่ ำหนด 19.3 ติดตาม ประเมินผล ปรับปรุงและพัฒนาการประชาสัมพันธ์และการศึกษา ของ สถานศกึ ษา 20. ให้คำปรึกษา แนะนา ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษา ของบุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงานและสถาบนั สังคมอนื่ ที่จดั การศกึ ษา 21. งานประสานราชการกับสว่ นภมู ภิ าคและส่วนทอ้ งถนิ่ 21.1 ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคในการจัดและพัฒนาการศกึ ษา ของสถานศึกษา

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรียนวดั ดงโคกขาม 25 21.2 ประสานความร่วมมอื กับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และสถานศึกษา ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ในการจดั และพัฒนาการศกึ ษารว่ มกัน 22. งานกากับดูแลสถานศึกษา ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงาน 22.1 จัดระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงานผลการพัฒนาการศึกษาของ สถานศึกษา 22.2 จัดทำเกณฑ์มาตรฐาน ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการ พฒั นาการศึกษาของสถานศึกษา 22.3 ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาตาม ระบบทกี่ ำหนดไว้ 22.4 รายงานผลการพัฒนาการศกึ ษาของสถานศึกษาใหส้ าธารณชนทราบ 22.5 ปรับปรงุ และพฒั นาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงานผลการพัฒนา การศึกษาของสถานศึกษา 23. การจัดระบบควบคุมภายในหน่วยงาน 23.1 วางแผนการจดั ระบบควบคุมภายในสถานศกึ ษา 23.2 ดำเนินการควบคุมตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการทส่ี ำนักงานตรวจแผ่นดนิ กำหนด กลา่ วโดยสรปุ การบริหารงานทั่วไป หมายถงึ การจดั ระบบบรหิ ารองค์การให้บริการงานอน่ื ๆ เพื่อให้ บรรลุตามมาตรฐานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การประสานงาน ส่งเสริม สนับสนุนและอานวยการความสะดวกต่าง ๆ ในการให้บริการการศึกษาทุกรูปแบบโดยมุ่งให้สถานศึกษามี การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมตลอดจนสง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มของผ้ปู กครอง องคก์ รและชุมชน เพ่อื ให้การจัดการศกึ ษามปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลในการปฏบิ ัติงาน บทบาทและความสมั พนั ธ์ของผปู้ กครองนกั เรยี นทีม่ ตี อ่ การบรหิ ารของโรงเรียน โรงเรียนเป็นหน่วยงานที่สำคัญทีส่ ุดในการนานโยบายการศึกษาของชาติเข้าสู่การปฏิบัติ ซึ่งผู้บริหาร โรงเรยี นจะตอ้ งทาหนา้ ทบี่ ริหารการศกึ ษาใหบ้ รรลุตามวัตถปุ ระสงคเ์ ป้าหมายท่ีตอ้ งการ ตลอดจนได้งานที่มีมาตรฐาน และมีคุณภาพสูงสุด เป็นที่ทราบกันดีในวงการศึกษาว่า องค์ประกอบของการ เรียนการสอนที่ทาให้นักเรียนได้รบั การศึกษาสมบูรณ์ มอี ทิ ธิพลมาจากหลายดา้ นด้วยกัน เชน่ สภาวะแวดล้อม ของชุมชน สิ่งแวดล้อมภายในบ้าน กลุ่มเพื่อน การปรับปรุงและพัฒนาการศึกษา จึงไม่อาจละเลยกับ สภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ รวมถงึ บคุ คลท่ีใกลช้ ดิ กบั นกั เรยี น ประดิษฐา จันทร์ไทย (2548, หน้า 10) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการจัด การศึกษาว่า การท่บี ุคคลหรอื กลุ่มบคุ คล ให้การสนับสนนุ ช่วยเหลือ รว่ มมือและตดั สินใจในการกำหนดทิศทาง เป้าหมาย นโยบาย และแผนการเรียนการสอน ของโรงเรียน ลักษณะการมีส่วนร่วมในโรงเรียน โดยการ สนับสนุนด้านความคิดเห็น ตัดสินใจ สละแรงงาน และสละเวลาให้โรงเรียน ในการวางแผน การกำหนด นโยบาย การติดต่อสื่อสาร ระหว่างบ้านกับโรงเรียน การแก้ปัญหา พัฒนา สนับสนุนด้านการเงินและการ ประเมนิ ผล การทำงาน ซ่ึงแบง่ งานเป็น 2 ประการ คือ 1. การมีส่วนร่วมอย่างเป็นทางการ คือ การมีส่วนร่วมโดยกฎหมาย ระเบียบประเพณี และข้อตกลง รว่ มกันรองรับ การมสี ่วนรว่ มอย่างเป็นทางการ โดยปัจเจกบุคคล เช่น ได้รับเลอื กต้ังเป็นตัวแทนและเก่ียวข้อง โดยตรง สว่ นการมสี ่วนรว่ มอยา่ งเปน็ ทางการ โดยกลมุ่ บุคคล เช่น สมาคมผู้ปกครองและครู สมาคมวิชาชีพ 2. การมีส่วนรว่ มอยา่ งไม่เปน็ ทางการ คือ การมีสว่ นรว่ มโดยอสิ ระ โดยไม่มีกฎหมาย ระเบยี บประเพณี และข้อตกลงรองรับ การมีส่วนร่วมอย่างไมเ่ ปน็ ทางการโดยปจั เจกบคุ คล คอื การเกีย่ วขอ้ งเฉพาะคราว เช่น ใน

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ในการบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 26 ฐานะของผู้ชานาญพิเศษในสาขาอาชีพ เป็นต้น ส่วนการ มีส่วนร่วมอย่างไม่เป็นทางการ โดยกลุ่มบุคคลเป็น การรวมกลุ่มผู้ท่มี ีความสนใจในเร่ืองเดียวกนั เฉพาะคราวไมต่ ่อเนื่อง เชน่ ผู้สนใจในการกฬี าของโรงเรียน จำเรยี ง ถาวรสนิ (2549, หน้า 36) ผู้ปกครองเปน็ บุคคลท่ีใกล้ชดิ กับนักเรยี นทีส่ ดุ ทงั้ ยังเป็นทิศทางใน การจัดการศึกษาเปน็ อย่างดี กล่าวโดยสรุป การบริหารงานของโรงเรียนจึงควรเป็นไปตามความต้องการของชุมชน ก็คือให้ชุมชน เข้ามามสี ่วนร่วมกับโรงเรยี น ซ่งึ ชุมชนในท่ีนีก้ ค็ อื ผูป้ กครองนักเรียนน้นั เอง ถา้ ผู้ปกครองนักเรยี นไดเ้ ขา้ มามีส่วน ร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนมาก ๆ ก็จะส่งผลต่อการบริหารของโรงเรียน และสนองความต้องการของสังคม โดยรวม 3. แนวคดิ ทฤษฎีเก่ียวกบั ความพงึ พอใจ การบริหารงานทางการศึกษาในโรงเรียนมีความเกี่ยวข้องกับการให้บริการสาหรับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชนอย่างมากในฐานะที่โรงเรียนเสมือนเป็นผู้ให้บริการย่อมมีโอกาสก่อให้เกิดทัศนคติที่พึง พอใจหรือไม่พอใจได้ ขึ้นอยู่กับความสามารถในการตอบสนองต่อ ความคาดหวังของผู้บริการได้มากน้อย เพยี งใด ซึง่ นักการศึกษาหลายทา่ นไดก้ ลา่ วถงึ แนวคิด และทฤษฎีเก่ยี วกับความพงึ พอใจไว้ดังน้ี ความหมายของความพึงพอใจ ความพึงพอใจตรงกับภาษาอังกฤษว่า Satisfaction ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542) กล่าวว่า เป็นสภาพความรู้สึกของบุคคลที่มีความสุข ความอิ่มเอมใจ เมื่อ ความต้องการหรือแรงจูงใจของตนได้รับการตอบสนองความพึงพอใจ ตามพจนานุกรมด้านจิตวิทยา หมายความว่า เป็นความรู้สึกในขั้นแรกเมื่อบรรลุวัตถุประสงค์ และความรู้สึกขั้นสุดท้ายเมื่อบรรลุถึง จดุ มุ่งหมายโดยมแี รงกระตนุ้ ซึ่งมนี กั วิชาการหลายคน ได้ศกึ ษาและให้ความหมายไว้ต่าง ๆ กัน ดังนี้ แนวคิดเกยี่ วกบั ความพงึ พอใจ ความหมายของความพึงพอใจและลักษณะความพึงพอใจ ความพึงพอใจเป็นปัจจัย สำคัญประการ หนึ่งที่มีผลต่อความสำเร็จของงานที่บรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นผลจากการได้รับการ ตอบสนองตอ่ แรงจงู ใจหรือความตอ้ งการของแต่ละบุคคลในแนวทางทเี่ ขาประสงค์ ความพึงพอใจโดยท่ัวไปตรง กับคำในภาษาอังกฤษว่า Satisfaction และยังมีผู้ให้ ความหมายคำว่า “ความพึงพอใจ” พอสรุปได้ดังน้ี มอร์ส (Morse, 1958) ให้ความหมายเกี่ยวกับความพึงพอใจไว้ว่าความพึงพอใจคือ สภาวะที่จิต ปราศจากความเครยี ด ทัง้ น้ีเพราะธรรมชาติของมนุษยท์ ุกคนมีความต้องการ และถ้าความต้องการนั้นได้รับการ ตอบสนองทั้งหมดหรือบางส่วน ความเครียดก็จะลดลง ความพึงพอใจก็จะเกิดขึ้น และในทางกลับกันถ้าความ ต้องการนั้น ๆ ไม่ได้รับการตอบสนองเลยความเครียดและความไม่พึงพอใจก็จะเกิดขึ้น อีเลียและพาร์ทริกค์ (Elia and Partrick, 1972) ไดใ้ ห้ความหมายของความพึงพอใจเอาไวว้ ่า เป็นความรสู้ กึ ของบุคคลในด้านความ พงึ พอใจ หรือสภาพจิตใจของบคุ คลในด้านความพงึ พอใจ สมุทร ชำนาญ (2556, หน้า 268-294) กล่าวถึง กลุ่มทฤษฏีที่เน้นการศึกษาเนื้อหา (Contents theories) เป็นกลุ่มที่ศึกษาเกี่ยวกับความต้องการของมนุษย์ จึงมีการเรียกชื่อหนึ่งว่า ทฤษฎีที่เน้นความ ต้องการ (Need theories of work motivation) เป็นทฤษฎีที่มุ่งศึกษาเพื่อหาคาตอบของมนุษย์แต่ละคนมี ความต้องการอะไร ตลอดจนมคี วามต้องการอยใู่ นระดบั ใด ทฤษฎที ีเ่ น้น การตอบสนองความต้องการของมนุษยม์ ีการนาเสนอไวห้ ลากหลาย ส่วนทฤษฎที ่ีเป็นท่ียอมรบั ในปจั จบุ นั มดี งั นี้

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสยี ในการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 27 1. ทฤษฎคี วามต้องการของ มาสโลว์ (Maslow’s hierarchy of need) มาสโลว์มีหลักที่สำคัญเกี่ยวกับแรงจูงใจ โดยเน้นในเรื่องลาดับขั้นความต้องการ เขามีความเชื่อว่า มนุษย์มีแนวโน้มที่จะมีความต้องการอันใหม่ที่สูงขึ้น แรงจูงใจของคนเรามาจากความต้องการพฤติกรรมของ คนเรา มุ่งไปสู่การตอบสนอง ความพอใจ มาสโลว์ (Maslow) แบ่งความต้องการพื้นฐานของมนษุ ยอ์ อกเป็น 5 ระดับดว้ ยกัน ไดแ้ ก่ 1.1 ความต้องการด้านร่างกาย (Physiological needs) เป็นความตอ้ งการปัจจยั 4 เช่น ต้องการอาหารให้อิ่มท้อง เครื่องนุ่งห่มเพื่อป้องกันความร้อน หนาวและอุจจาดตา ยารักษาโรคภัยไข้เจบ็ รวมทงั้ ทีอ่ ยอู่ าศยั เพอ่ื ป้องกันแดด ฝน ลม อากาศหนาวและสัตวร์ ้าย ความตอ้ งการเหล่านม้ี คี วามจาเปน็ ต่อการ ดารงชวี ิตของมนุษย์ทกุ คน ตอ้ งบรรลุใหไ้ ดก้ ่อน 1.2 ความตอ้ งการความปลอดภัย (Safety needs) หลังจากทม่ี นษุ ย์บรรลุ ความต้องการดา้ น ร่างกาย ทาให้ชีวิตสามารถดำรงอยู่ในขั้นแรกแล้ว จะมีความต้องการด้าน ความปลอดภัยของชีวิตและ ทรัพย์สินของตนเองเพิ่มขึ้นต่อไป เช่น หลังมนุษย์มีอาหารรับประทานจนอิ่มท้องแล้วได้เริ่มหันมาคานึงถึง ความปลอดภัยของอาหารหรือสุขภาพโดยหันมาให้ความสำคัญกับเรื่องสารพิษที่ติดมากับอาหาร ซึ่งสารพิษ เหลา่ นีอ้ าจสร้างความไม่ปลอดภยั ใหก้ บั ชีวติ ของเขา เป็นตน้ 1.3 ความต้องการความรักและการเป็นเจ้าของ (Belonging and love needs) เป็นความ ต้องการที่เกิดข้ึนหลังจากการที่มชี วี ติ อยู่รอดแล้ว มีความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สินแล้ว มนุษย์จะเริ่มมอง หาความรกั จากผู้อ่นื ตอ้ งการทจ่ี ะเป็นเจ้าของสิ่งต่าง ๆ ทีต่ นเองครอบครองอยูต่ ลอดไป เชน่ ต้องการให้พ่อแม่ พี่น้อง คนรัก รักเราและต้องการให้เขาเหล่านั้นรักเราคนเดียว ไม่ต้องการให้เขาเหล่านั้นไปรักคนอื่นโดยการ แสดงความเปน็ เจา้ ของ เปน็ ตน้ 1.4 ความต้องการการยอมรับนับถือจากผู้อื่น (Esteem needs) เป็นความต้องการ อีกข้ัน หนึ่งหลังจากได้รับความต้องการทางร่างกาย ความปลอดภัย ความรักและเป็นเจ้าของแล้ว จะต้องการการ ยอมรับนับถือจากผู้อื่น ต้องการได้รับเกียรติจากผู้อื่น เช่น ต้องการการเรียกขาน จากบุคคลทั่วไปอย่างสุภาพ ให้ความเคารพนับถือตามควรไม่ต้องการการกดขี่ข่มเหงจากผู้อื่น เนื่องจากทุกคนมีเกียรติและศักดิ์ศรีของ ความเปน็ มนษุ ยเ์ ท่าเทียมกนั 1.5 ความต้องการความเป็นตัวตนอันแท้จริงของตนเอง (Self-actualization needs) เป็น ความต้องการขั้นสุดท้าย หลังจากทีผ่ ่านความต้องการความเป็นส่วนตัว เป็นความต้องการท่ีแท้จรงิ ของตนเอง ลดความต้องการภายนอกลง หันมาต้องการส่ิงที่ตนเองมี และเปน็ อยู่ ซึ่งเปน็ ความต้องการขั้นสูงสุดของมนุษย์ แต่ความต้องการในขั้นนี้มักเกิดขึน้ ได้ยาก เพราะต้องผ่านความต้องการในขั้นอื่น ๆ มาก่อนและจะตอ้ งมีความ เข้าใจในชีวติ เป็นอย่างยง่ิ 2. ทฤษฎอี ีอาร์จีของอัลเดอเฟอร์ (Alderfer’ ERG theory) จำเนยี ร พลหาญ (2553, หน้า 117) กล่าวถงึ Claylon alderfer ชาวอเมริกาได้กำหนดทฤษฎขี ้ึน ซ่ึง มพี น้ื ฐานจากทฤษฎีความต้องการของ มาสโลว์ (Maslow) ซึง่ สอดคล้องกับ สมทุ ร ชานาญ (2556, หนา้ 268- 294) ที่กล่าวถึง เคลตัน อัลเดอเฟอร์ (Clayton Alderfer) เป็นบุคคลหนึ่งที่ศึกษาทฤษฎีความต้องการของ มนุษย์และได้รับอทิ ธิพลจากแนวคดิ ของ เมอรเ์ รย์ (Murray) อลั เดอเฟอร์ (Alderfer) ได้เสนอทฤษฎีการจูงใจท่ี เกยี่ วกบั ความต้องการ เรียกว่า ทฤษฎีอี อาร์ จี (ERG) ซง่ึ คล้ายกับทฤษฎีของ มาสโลว์ (Maslow) อัลเดอเฟอร์ (Alderfer) สรุปความต้องการ ของมนุษยม์ ีเพียง 3 ประเภท ซึง่ แทนด้วยอักษรย่อ ดงั นี้

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี ในการบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 28 2.1 ความต้องการเพื่อการคงอยู่ (Existence needs: E) ความคงอยู่หรือความสามารถที่จะ ดำรงชีพอยู่ได้ของมนุษย์คือ การที่มนุษย์ได้รบั การตอบสนองสิ่งจาเป็นทังกายและจิตใจ อย่างพอเพียงที่จะดา รงชพี อยไู่ ดโ้ ดยไมม่ ปี ญั หา 2.2 ความต้องการความสัมพันธ์ (Relatedness need: R) ความต้องการทางสังคมที่มนุษย์ ตอ้ งการมเี พอ่ื น ไมต่ ้องการอยู่อย่างโดดเดีย่ ว สามารถรวมตวั กันเปน็ กลุ่มหรอื ทมี ไดอ้ ยา่ งเปิดเผยและได้รับการ ยอมรับจากสมาชิกในองคก์ าร เปน็ ไปตามธรรมชาติของมนษุ ย์ ท่เี ปน็ สัตวส์ ังคม (Social animal) 2.3 ความต้องการความก้าวหนา้ (Growth need: G) เป็นความต้องการส่วนบุคคล ในการท่ี ใช้ความรู้และความสามารถและทักษะของตนเพื่อทำงานอย่างเต็มศักยภาพที่มีอยู่รวมทั้ง ได้มีโอกาสใช้ ความสามารถในการสร้างสรรคส์ ง่ิ ใหม่ได้อยา่ งเต็มท่ี มีความรับผดิ ชอบสูงขึน้ มีความตอ้ งการความสำเร็จสูงสุด ในชีวิตกับบางสว่ นของความต้องการไดร้ บั การยกย่อมนับถือ 3. ทฤษฎคี วามตอ้ งการของ แมคเคลล็ แลนด์ (McClelland’s theory of needs) แมคเคล็ลแลนด์ (McClelland) เป็นนักจิตวิทยา ที่ทาการศึกษาหาข้อสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างความ ต้องการของมนุษย์ การจูงใจ ตามทฤษฎีของ แมคเคล็ลแลนด์ (McClelland) เชื่อว่าความต้องการ (Need ) สะท้อนคุณลกั ษณะด้านบุคลิกภาพท่บี คุ คลนน้ั ได้รับจากประสบการณ์การเล้ียงดูของครอบครัวมาตง้ั แต่เยาว์วัย และเชอ่ื ว่าความตอ้ งการของแตล่ ะบุคคลภายใต้สถานการณ์หน่ึงจะต้องการอย่างหนึง่ สง่ ผลใหเ้ กิดแรงจูงใจ แต่ พอสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป ความต้องการของบุคคลนั้นจะปรับเปล่ียนตามไปด้วย ดังนั้น แมคเคล็ลแลนด์ (McClelland) ไดเ้ สนอความต้องการ 3 ประเภท ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี 3.1 ความต้องการความสำเร็จ (Need for achievement เขียนย่อว่า nAch) เป็นความ ตอ้ งการท่ีบุคคลมุ่งทจ่ี าทำงานท่ีตนเองรับผิดชอบหรอื ไดร้ บั มอบหมายให้เกดิ ผลสำเร็จ บุคคลท่ีมีความต้องการ ความสำเร็จสูง (nAch person) เป็นบุคคลที่มีความมั่นใจในตนเอง มีความกระตือรือร้นสูง มีความมุ่งมั่นต่อ งานมีความปรารถนาอย่างแรงกลา้ ที่จะทำงานให้สำเร็จ 3.2 ความต้องการผูกพัน (Needs for affiliation เขียนย่อว่า nAff) เป็นความต้องการทาง สังคม (Social Need) บุคคลที่มีความต้องการด้านความรักใคร่ผูกพันสูง (nAff person) เป็นบุคคลที่มีความ ปรารถนาอย่างแรงกล้าในการสร้างและรักษามติ รภาพระหว่างกัน ยึดมั่น ต่อความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คล 3.3 ความต้องการมอี านาจ (Needs for power เขยี นวา่ nPow) ผทู้ ่ตี ้องการมีอานาจสูง (nPow person) เป็นผมู้ ีความปรารถนาแรงกล้าท่ีจะมีอิทธิพลเหนือผู้อืน่ สามารถควบคุม บังคับ ส่ังการบุคคล อื่น ต้องการสร้างผลกระทบหรือสร้างความประทับใจต่อคนอื่นบุคคลที่ต้องการ มีอานาจสูงจึงพยายามสร้าง สถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมทางสงั คมขนึ้ เพื่อใหต้ นเองสามารถ ใช้อิทธิพล ควบคุม กากบั ผู้อน่ื 4. ทฤษฏี 2 ปัจจยั ของ เฮอร์ซเบอรก์ (Herzberg’s two-factors theory) ทฤษฏีสองปัจจัยของ เฮอร์ซเบอร์ก (Herzberg) เป็นทฤษฎีจูงใจเชิงเนื้อหาทฤษฎีหนึ่งที่มาจาก ผลงานวิจัยของ เฟรเดริคเฮอร์ซเบอร์ก (Federick herzberg) อาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยชิคาโก เพื่อศึกษาถึง ปัจจัยองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกับงานโดยเฉพาะปัจจัยที่ทาให้เกิดความพึงพอใจในงาน เฮอร์ซเบอร์ก (Herzberg) ได้เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ ปัจจัยที่ทาให้เกิดความพึงพอใจต่องาน เป็นคนละปัจจัยที่ทาให้เกิด ความไมพ่ งึ พอใจตอ่ งาน มนษุ ย์น้ันสามารถสรา้ งแรงจงู ใจในการทำงานได้ 2 ปจั จยั ได้แก่ 4.1 ปัจจัยจูงใจ (Motivation factors) เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความพึงพอใจในงาน (Job satisfaction) ซ่ึงเปน็ ปจั จัยทีส่ มั พนั ธก์ บั ตวั งานโดยตรง

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 29 4.2 ปัจจัยสุขอนามัยหรือปัจจัยเพื่อการคงอยู่ (Hygiene factors or maintenance factors) เป็นปัจจัยที่ป้องกันไม่ให้บุคคลเกิดความไม่พึงพอใจในงาน (Job dissatisfies) ซึ่งเกี่ยวกับ สภาพแวดลอ้ มทีอ่ ยู่นอกตัวงาน ชูศรี บารุง (2551, หน้า 58) ได้กล่าวถึง มูลเหตุที่ทาให้บุคคลมีความพึงพอใจ ในการทำงาน โดยอ้าง ถงึ ทฤษฏขี อง บารน์ าร์ด (Barnard) ไวด้ งั น้ี 1. สิ่งจูงใจที่เป็นวัตถุ ได้แก่ เงิน สิ่งของ หรือสภาวะทางกายที่ให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน เป็นการตอบแทน เชน่ รางวัลการทำงานท่ีเขาได้ปฏบิ ัติมาเป็นอยา่ งดี 2. ส่งิ จูงใจเปน็ โอกาสของบุคคลซ่ึงไม่ใช่วตั ถุ จัดเปน็ ส่งิ จงู ใจท่สี ำคญั ในการช่วยเหลือ ส่งเสรมิ ความร่วมมือในการทำงานมากกว่ารางวัลที่เป็นวัตถุ เพราะสิ่งจูงใจประเภทน้ีไม่เกิดกับ ทุกคน เช่น เกียรติภูมิ ตำแหนง่ การใหส้ ทิ ธิพิเศษและการมอี านาจ เปน็ ตน้ 3. สภาพรา่ งกายท่พี ึงปรารถนา หมายถึง สง่ิ แวดลอ้ มในความสะดวกตา่ ง ๆ อนั ก่อให้เกดิ ความสขุ ทางกายในการทำงาน 4. ผลประโยชน์ทางอุดมคติ เป็นสิ่งจูงใจซึ่งอยู่ระหว่างความมีอานาจที่สุดกับ ความท้อแท้ ผลประโยชน์ทางอุดมคติ หมายถึง สมรรถภาพของหน่วยงานและสนองความต้องการ ของบุคคลในด้านความ ต้องการ ความภูมิใจในด้านการแสดงฝีมือ ความรู้สึกเท่าเทียมกนั การได้มีส่วนช่วยเหลือครอบครัวตัวเองและ ผู้อ่นื รวมทั้งได้แสดงความจรงิ ใจตอ่ หน่วยงาน 5. ความดงึ ดดู ในสงั คม หมายถงึ ความสมั พนั ธ์ฉันมิตรกบั ผรู้ ่วมงานในหน่วยงานซึง่ ถา้ ความสัมพันธ์นั้น ไปได้ด้วยดจี ะทาใหเ้ กดิ ความผูกพันและความพอใจร่วมงาน 6. การปรับสภาพการทำงานให้เหมาะสมกับวิธีการและเจตคติของบุคคลซึ่งแต่ละคนมีความสามารถ แตกตา่ งกนั 7. โอกาสที่จะมีส่วนร่วมในการทำงานอยา่ งกว้างขวางและเปดิ โอกาสให้ผู้ร่วมงาน มีความรู้สกึ ร่วมใน งานเปน็ ส่วนหนึง่ ของงาน ความรู้สึกเท่าเทียมกนั จนมกี าลงั ใจในการทำงาน 8. สภาพของการอยู่ร่วมกัน เป็นความพอใจของบุคคล ในด้านสังคมและทาให้คนรู้สึก มีหลักประกันและมนั่ คงในการทำงาน 4. งานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง งานวิจัยในประเทศ นิรันดร์ วงศ์มณีนิล (2551, หน้า 62) การศึกษาความต้องการของผู้ปกครองนักเรียน ต่อการจัด การศึกษาระดับประถมศึกษาของโรงเรียนอรวินวิทยา จังหวัดระยอง ผลการศึกษา พบว่า ความต้องการของ ผปู้ กครองนักเรียน ต่อการจดั การศึกษาระดับประถมศึกษาของโรงเรียนอรวนิ วิทยา จงั หวดั ระยอง โดยรวมอยู่ ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมาก ทุกด้าน เรียงจากมากไปน้อย คือ ด้านบริหารงาน บคุ ลากร ด้านบริหารงานวชิ าการ ด้านบรหิ ารงานทว่ั ไป และอันดบั สุดท้ายคอื ด้านงานงบประมาณ ดวงนภา สุคตะ (2550, หน้า 67-68) ได้ศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองที่มีต่อ ต่อการบริหารงาน ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครนนทบรุ ี พบว่า โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมาก 3 ด้าน และปานกลาง 1 ด้าน โดยเรียงลาดับจากมาไปหาน้อย ดังนี้ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานวิชาการ การบริหาร งานทั่วไป ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การบริหารงานงบประมาณมีค่า น้อยที่สุดและ จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการบริหารงาน ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนนทบุรี โดยจำแนกตามเพศและอาชีพโดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน นงลักษณ์

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผ้มู ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ในการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 30 กลมเกลี้ยง (2554, หน้า 58) ได้ศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียน ต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน วดั บรุ พาพิทยาราม (ธรรมรัตนศ์ ึกษาประชาอุทิศ) จังหวดั จนั ทบรุ ี พบวา่ ความพงึ พอใจของผู้ปกครองนักเรียน ตอ่ การจัดการศึกษาของโรงเรียนวัดบุรพาพิทยาราม (ธรรมรัตนศ์ ึกษาประชาอุทิศ) จงั หวดั จันทบุรี โดยรวมอยู่ ในระดับมากเมื่อเรียงลาดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยตามลาดับ ดังนี้ คือ การบริหารงานบุคคลมีค่า คะแนนเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือการบริหารทั่วไป การบริหารงบประมาณและการบริหารงานวิชาการ ตามลำดับ บรรเจิด ศุภราพงศ์ (2556, หน้า 100) ได้ศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครอง ในการบริหารงานของ โรงเรียนปากช่องพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสมี า ผลการวิจัยพบวา่ ความพึงพอใจของ ผู้ปกครองในการบริหารงานของโรงเรียนปากช่องพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก คือ ด้านการ บรหิ ารงานวชิ าการ ดา้ นการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานงบประมาณ งานวิจยั ต่างประเทศ พอลลอซซี่ (Pallozzi, 1981, p. 1481) ได้ศึกษารูปแบบของชุมชนต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับการ ตัดสินใจของโรงเรยี นท้องถิ่นในมลรฐั นิวเจอร์ซี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า รูปแบบที่ใช้ในการจัดการศกึ ษา ควรขยายไปเปน็ รูปแบบของชมุ ชนเมอื งดว้ ยการจดั การศึกษาในโรงเรียนโดยความรว่ มมือกนั ทกุ ฝา่ ยโรงเรียนไม่ ควรยึดติดกับนโยบายมากนัก ส่วนฝ่ายชุมชนควรเสนอนโยบายที่ตรงกับความสามารถของตนและสิ่งที่ชุมชน ตอ้ งคานึงถึงคือความรับผิดชอบในกิจกรรมทโ่ี รงเรียนจดั ขนึ้ และมคี วามเป็นไปได้ แอบเดล ฮาดี้ (Abdel-Hady, 1990, p. 3276-A) ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการบริหาร การศึกษาในประเทศอียิปต์ พบว่า การมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นหลักสำคัญของประชาธิปไตย จาเป็นต้อง ปรับปรุงรูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชน ควรจะกำหนดเป้าหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชน ช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่างโรงเรียนกับสถานศึกษา และประเด็นกิจกรรมที่ต้องการให้ชุมชนเข้ามามี สว่ นร่วม แบค และเมอร์ฟี (Back & Murphy, 1998, p. 359) พบว่า การบริหารโดยใช้โรงเรียน เป็นฐานเป็น ยุทธศาสตร์ของการปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นการถ่ายโอนอานาจจากมลรัฐและ เขตพื้นที่การศึกษาไปยัง โรงเรยี นเพ่ือให้โรงเรียนสามารถสร้างระบบการตดั สินใจด้วยตนเอง คอนดาล (Quandahl, 2001, pp. 201-204) ไดท้ าวจิ ัยเรอื่ ง การปฏบิ ัตกิ ารสอนของครูอนุบาลท่ีมีผล ต่อความสำเร็จของนักเรียน วัตถุประสงค์ในการวิจัยคอื เพื่อศึกษาความแตกต่าง ของการปฏิบัติการสอนของ ครูอนุบาลที่มีผลต่อความสำเร็จของนักเรียน กลมุ่ ตวั อย่างคือ ครอู นุบาลจานวน 9 คน ซ่งึ สอนในโรงเรียนแบบ เต็มวันและแบบครึ่งวัน จานวน 4 โรงเรียนที่ตั้งอยู่ใน เขตเมืองและเด็กอนุบาล จานวน 208 คน โดยการ สังเกตการณ์สอนและลักษณะของครูในห้องเรยี น ผลการวิจยั พบวา่ การจัดการศึกษาในแต่ละโรงเรียนมีความ แตกต่างกันและพบว่า ความสำเร็จ ในด้านวิชาการในระดับอนุบาลไม่ได้มีความจาเป็นต่อการนาไปสู่ ความสำเรจ็ ในดา้ นวิชาการ ในระดับอนุบาลไม่มีความจาเป็นต่อการนาไปสู่ความสำเร็จในการศึกษาระดับต่อไป ลักษณะ ของครูมีผลต่อ ความสำเรจ็ ของเดก็ อนุบาลและความสำเรจ็ ของนักเรยี น จากการศกึ ษางานวิจยั ทเี่ กีย่ วข้องทง้ั ในประเทศ กล่าวโดยสรปุ ว่าผู้บรหิ ารสถานศึกษา มีบทบาทสำคัญ อย่างยิ่งต่อการบริหารจัดการให้ครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน เกิดความพึงพอใจต่อการบริหาร โรงเรียน เพราะต้องเอาใจใส่ กระตือรือร้นสง่ เสริมสนบั สนุนประสานความรว่ มมือในทุกฝ่ายก่อให้เกิดคุณภาพ และเป็นที่พึงประสงค์ของผู้ปกครองนักเรียน ควรให้ผู้ปกครองนักเรียน มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของ

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 31 โรงเรียน เช่น การสร้างกฎระเบียบ ของโรงเรียน การให้บริการอยา่ งรวดเร็ว การให้ข้อมูลข่าวสาร การทำงาน เป็นทีมระหว่างผู้ปกครองนักเรียน กับครูและร่วมกันวางแผนการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการ ของชุมชน ประสานกับทุกฝ่ายเพื่อให้จัดการเรียนการสอนให้ได้คุณภาพและมีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น ซึ่งเป็น สิ่งที่ ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายเป็นคนดี เก่ง และมีความสุข เป็นท่พี ึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อไป 5. กรอบแนวคดิ ท่ใี ช้ในการวิจัย การวิจยั ครง้ั นี้ เป็นการศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสียในการ บรหิ ารจดั การสถานศึกษาของโรงเรยี นวัดดงโคกขาม ดังน้ี ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม การบริหารจัดการโรงเรยี น 4 ดา้ น 1.ตำแหนง่ 1. ด้านการบรหิ ารจัดการท่วั ไป 2. ด้านการบรหิ ารงานการเงนิ พัสดุ 1.1 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครผู ้สู อน 1.2 คณะกรรมการสถานศึกษาฯ และทรัพย์สิน 2.ประสบการณ์ในการปฏิบตั งิ านฯ 3. ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล 2.1 ต่ำกว่า 5 ปี 4. ด้านการบรหิ ารงานวิชาการ 2.2 ต้งั แต่ 5 ปขี นึ้ ไป ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ความพึงพอใจและความต้องการจำเป็น 1.ผู้ปกครองนักเรยี น ของผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสียในการบรหิ ารจัดการ - ความสัมพันธ์กับนกั เรียน สถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม - อายุ - เพศ - วุฒิการศึกษา 2.นกั เรียน - เพศ - ระดบั ชัน้ ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ในการศึกษาความพึงพอใจและความตอ้ งการจำเป็นของผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ใน การบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสียในการบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 32 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวจิ ยั การวิจัยครั้งน้ี เพื่อศึกษาเกย่ี วกับการศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเปน็ ของผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ น เสียในการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม เปน็ การศึกษาเชงิ สำรวจ (Survey research) โดยไดด้ ำเนินตามขนั้ ตอน ดังน้ี 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง 2. เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจัย 3. การสรา้ งเครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวิจยั 4. การเกบ็ รวมรวมข้อมลู 5. การวิเคราะหข์ ้อมลู 6. สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการวิจัย และการตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการวิจยั เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการกบ็ รวบรวมข้อมูลครง้ั นี้ เปน็ แบบสอบถามจำนวน 3 ชุด ได้แก่ ชุดที่ 1 แบบสอบถามผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และคณะกรรมการสถานศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ดงั นี้ ตอน 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามเป็นข้อมูลสถานภาพของผู้ตอบ แบบสอบถามมลี กั ษณะเป็นแบบสำรวจรายการ (Check-List) ไดแ้ ก่ ตำแหนง่ ประสบการณ์ใน การปฏิบัติงาน ในสถานศกึ ษา ตอนที่ 2 2.1 แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับการบริหารจัดการโรงเรียนวัดดงโคกขาม ในด้านการบริหาร จัดการทั่วไป การบริหารงานการเงิน พัสดุ และทรัพย์สิน การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานวิชาการ ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณคา่ ( Rating Scale) จำนวน 19 ข้อ โดยกำหนดตัวเลอื กไว้ 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยมีเกณฑ์ ให้น้ำหนักคะแนนตามแนวทางการสร้างเครื่องมือ ของลเิ คอรท์ ( Liket) ดังน้ี (ชศู รี วงศร์ ัตนะ, 2550,หนา้ .69) การดำเนนิ งานอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ 5 คะแนน การดำเนินงานอยู่ในระดบั มาก 4 คะแนน การดำเนินงานอยใู่ นระดบั ปานกลาง 3 คะแนน การดำเนินงานอยใู่ นระดับน้อย 2 คะแนน การดำเนินงานอยู่ในระดับน้อยท่สี ุด 1 คะแนน 2.2 แบบสอบถาม การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating Scale) จำนวน 5 ข้อ โดยกำหนดตัวเลือกไว้ 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยมี เกณฑ์ให้น้ำหนักคะแนนตามแนวทางการสร้างเครื่องมือของลิเคอร์ท (Liket) ดังนี้ (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2550, หนา้ 69)

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 33 ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากที่สุด 5 คะแนน ความพงึ พอใจ อยู่ในระดับมาก 4 คะแนน ความพึงพอใจ ในระดบั ปานกลาง 3 คะแนน ความพงึ พอใจ ในระดบั น้อย 2 คะแนน ความพงึ พอใจ ในระดบั น้อยท่ีสดุ 1 คะแนน ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามปลายเปิด (Open - Ended Questionnaire) เพือ่ ให้ ผตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ ปัญหา และให้ข้อเสนอแนะ เพ่ิมเติมเก่ยี วกบั การบริหารจัดการโรงเรียน วดั ดงโคกขาม ชุดที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของ ผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นข้อมูลสถานภาพของผู้ตอบ แบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบสำรวจรายการ ( Check-List) ได้แก่ ความสัมพันธ์กับนักเรียน อายุ เพศ วุฒิ การศึกษา ตอนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อการบริหารจัดการ สถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จำนวน 19 ข้อ โดยกำหนดตัวเลือกไว้ 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยมีเกณฑ์ ใหน้ ำ้ หนักคะแนนตามแนวทางการสรา้ งเคร่ืองมือของลิเคอรท์ (Likert) ดงั นี้ (ชศู รี วงศ์รตั นะ, 2550, หนา้ 69) ความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด 5 คะแนน ความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มาก 4 คะแนน ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั ปานกลาง 3 คะแนน ความพึงพอใจอยู่ในระดบั น้อย 2 คะแนน ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับน้อยท่ีสดุ 1 คะแนน ตอนท่ี 3 เปน็ แบบสอบถามปลายเปิด (Open - Ended Questionnaire) เพ่อื ให้ ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น ปัญหา และให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการบริหารจัดการ สถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม ชุดที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียน วดั ดงโคกขาม ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของ ผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นข้อมูลสถานภาพของผู้ตอบ แบบสอบถาม มลี ักษณะเป็นแบบสำรวจรายการ Check-Lit) ไดแ้ ก่ เพศ ระดบั ช้นั ตอนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการ บริหารจัดการโรงเรียน ขนาดเล็กโดยการจัดการเรียนร่วม ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จำนวน 29 ข้อ โดยกำหนดตัวเลอื กไว้ 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยมีเกณฑ์ ให้น้ำหนักคะแนนตามแนวทางการสร้างเครื่องมือของลิเคอร์ท ( Likert) ดังนี้ (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2550, หน้า 69) ความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ 5 คะแนน ความพึงพอใจอย่ใู นระดบั มาก 4 คะแนน ความพงึ พอใจอยู่ในระดับปานกลาง 3 คะแนน ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั นอ้ ย 2 คะแนน

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียในการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 34 ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั น้อยทส่ี ดุ 1 คะแนน ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามปลายเปิด (Open - Ended Questionnaire) เพื่อให้ ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น ปัญหา และให้ข้อสนอแนะ เพิ่มเติมเกี่ยวกับการบริหารจัดการ สถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม วธิ กี ารสรา้ งเครอ่ื งมอื ผู้วจิ ัยได้ดำเนินการสร้างเครอ่ื งมอื เพ่อื ใชใ้ นการรวบรวมข้อมลู โดยมขี นั้ ตอนดงั นี้ 1. ศึกษานโยบาย หลักการ แนวคิด และความรู้ทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ โรงเรียน ตามกรอบการบริหารและการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และวิธีการสร้าง แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จากตำราเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข้อง 2. กำหนดวัตถุประสงค์และกรอบแนวคดิ ในการวิจยั เพือ่ กำหนดขอบเขตคำถามเกี่ยวกบั การ บริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 3. สรา้ งแบบสอบถาม จำนวน 3 ชุดตามวตั ถุประสงค์และกรอบแนวคดิ ในการวิจัยโดย แบบสอบถามด้านการบริหารจัดการสถานศึกษาของโรงเรียนวัดดงโคกขาม พัฒนามาจากลดารัตน์ ศศิธร, (2558, หนา้ .96-99) 4. นำแบบสอบถามทงั้ 3 ชดุ ท่ีสรา้ งขน้ึ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งเหมาะสมและใหข้ ้อเสนอแนะ ในการปรบั ปรุงแกไ้ ขเพ่อื ใหส้ มบรู ณ์ย่งิ ขน้ึ 5. นำแบบสอบถามท่ีปรับปรุงแลว้ ท้งั 3 ชดุ เสนอตอ่ ผเู้ ชย่ี วชาญ จำนวน 3 คนประกอบดว้ ย อาจารยม์ หาวทิ ยาลัยทม่ี คี วามเชี่ยวชาญด้านการวดั ผลประเมนิ ผล ผูบ้ ริหารสถานศึกษาท่มี ปี ระสบการณ์ในการ บริหารสถานศึกษาที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง และครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ที่รับผิดชอบโดยตรง เพื่อตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) โดยให้เกณฑ์ในการ ตรวจพจิ ารณาขอ้ คำถาม ดงั น้ี คะแนน +1 หมายถึง แนใ่ จว่าขอ้ คำถามสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ คะแนน 1 หมายถงึ ไม่แน่ใจว่าขอ้ คำถาม สอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ คะแนน -1 หมายถงึ แนใ่ จว่าข้อคำถาม ไมส่ อดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ จากนั้นนำผลกาตรวจสบมาคำนวณหค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ใช้ เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อคำถามที่มี ค่าดัชนีความสอดคล้องตัง้ แต่ 0.5 ขึ้นไป ปรากฎว่าข้อคำถามทุกขอ้ ผ่านเกณฑ์ โดยมีค่าตั้งแต่ 0.5-1.00 (ปกรณ์ ประจันบาน,2552,หน้า 164 ) และได้ปรับปรุงข้อคำถามตม คำแนะนำของผูเ้ ชีย่ วชาญ รายละเอยี ดแสดงในภาคผนวก ข 6. นำแบบสอบถามท่ีปรับปรงุ แกไ้ ขตามคำแนะนำของผเู้ ช่ียวชาญและตรวจสอบความถูกต้อง อีกครงั้ 7. นำแบบสอบถามทีท่ ำการปรบั ปรงุ แกไ้ ขแล้วไปทดลองใช้ (Try-out) ดังนี้แบบสอบถามชุด ที่ 1 ทดลองใช้กับกลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และคณะกรรการสถานศึกษาของโรงเรียน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ซึ่งมิใช่กลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา จำนวน 30 คน แบบสอบถามชุดที่ 2 ทดลองใช้กับกลุ่มผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนสำนักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ซง่ึ มใิ ชก่ ลุม่ ตวั อย่างทีจ่ ะศึกษา จำนวน 30 คน แบบสอบถามชุดที่ 3 ทดลองใช้กับกลุ่มนักเรียนของโรงเรียนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 1 ซึ่งมใี ชก่ ลมุ่ ตวั อย่างทจี่ ะศกึ ษา จำนวน 30 คน

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 35 8. นำแบบสอบถามที่ทดลองใช้ทั้ง 3 ชุด มาวิเคราะห์หาค่ามาคำนวนค่าดัชนีความ สอดคล้อง (IOC) และทำการคัดเลือกข้อคำถามที่มีความสอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ 0.5-1.00 ขึ้นไป (ปกรณ์ ประจนั บาน,2552,หน้า 164 ) ชุดท่ี 1 จำนวน 19 ขอ้ ชดุ ท่ี 2 จำนวน 19 ขอ้ และชดุ ที่ 3 จำนวน 28 ข้อ เพ่ือ นำมาแกไ้ ขปรับปรุงตามคำแนะนำของผูเ้ ช่ยี วชาญ 9. ทำการแก้ไข ปรับปรุงแบบสอบถาม ท้งั 3 ชดุ ก่อนนำไปใชจ้ รงิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วจิ ยั ดำเนินการตามข้ันตอน ดังนี้ 1. สง่ แบบสอบถามใหผ้ ู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ของโรงเรียนวัดดงโคกขาม ตอบแบบสอบถาม ด้วยตนเอง 3. นำแบบสอบถามทไ่ี ด้รับคืนมาตรวจสอบความสมบรู ณ์ ของข้อมูลและดำเนินการ วเิ คราะห์ สรปุ ผลตามขนั้ ตอนของการวจิ ยั การวเิ คราะหข์ อ้ มูล และสถติ ิท่ใี ช้ ผู้วจิ ยั นำแบบสอบถามที่ไดร้ ับคนื มาท้ังหมด มาตรวจสอบความสมบูรณ์ครบถว้ นของ คำตอบในแบบสอบถามแต่ละชุด แล้วนำมาวิเคราะห์โดยใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู ดงั น้ี แบบสอบถามชดุ ท่ี 1 ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถามไดแ้ ก่ ตำแหน่งประสบการณ์ใน การปฏบิ ัตงิ านในสถานศกึ ษา วเิ คราะหโ์ ดยหาคา่ ความถี่ (Frequency) และหาค่ารอ้ ยละ (Percentage) ตอนที่ 2 1. ความคิดเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาครูผสู้ อน และคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน เกี่ยวกับการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก โดยการจัดการเรียนร่วม ในด้านการบริหารจัดการ ทั่วไป ด้านการบริหารงานการเงิน พัสดุ และทรัพย์สิน ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงาน วชิ าการ 2. วเิ คราะหโ์ ดยหาค่าเฉลย่ี ( Mean) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แล้วเทยี บกับเกณฑส์ มั บูรณ์ ( Absolute Criteria) ซงึ่ แบง่ คา่ ชว่ งคะแนนเป็นช่วง ๆ โดยมี ความหมาย ดงั นี้ (ชศู รี วงศ์รัตนะ, 2550, หน้า 69-70) ค่าเฉลย่ี ความคิดเห็นต่อระดับการดำเนนิ งาน 4.51 - 5.00 มากที่สุด 3.51 - 4.50 มาก 2.51 - 3.50 ปานกลาง 1.51 - 2.50 นอ้ ย 1.00 - 1.50 น้อยทส่ี ุด 3. ความพึงพอใจของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา และ ครูผู้สอน และคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ต่อการศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการ บริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม วิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และคู่เบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation) แล้วเทียบกับเกณฑ์สัมบูรณ์ (Absolute Criteria) ซึ่งแบ่งค่าช่วงคะแนนเป็นช่วงๆ โดยมีความหมายดงั นี้ (ชศู รี วงศ์รัตนะ , 2550, หน้า 69-70) คา่ เฉลยี่ ระดบั ความพึงพอใจ

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี ในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 36 4.51 - 5.00 มากท่สี ุด 3.51 - 4.50 มาก 2.51 - 3.50 ปานกลาง 1.51 - 2.50 นอ้ ย 1.00 - 1.50 น้อยที่สุด ตอนที่ 3 วิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับ ความคิดเห็น ปัญหา และ ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหาร สถานศึกษาครูสอน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานต่อการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดง โคกขาม โดยการวเิ คราะหเ์ นอื้ หา การหาค่าความถแ่ี ละจัดลำดบั ความถี่ แบบสอบถามชดุ ที่ 2 ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของผปู้ กครองนักเรยี น ไดแ้ ก่ ความสมั พันธ์กบั นกั เรยี น อายุ เพศ วุฒิการศกึ ษา วเิ คราะหโ์ ดยหาคา่ ความถ่ี (Frequency) และหาค่ารอ้ ยละ (Percentage) ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจของผูป้ กครองนักเรียน ต่อการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม วิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ย ( Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานน้อยที่สุด (Standard Deviation) แล้วเทียบกับเกณฑ์สัมบูรณ์ ( Absolute Criteria) ซึ่งแบ่งค่าช่วงคะแนนเป็นช่วง ๆ โดยมี ความหมาย ดงั นี้ (ชศู รี วงศ์รตั นะ, 2550, หนา้ 69-70) คา่ เฉลีย่ ระดบั ความพงึ พอใจ 4.51 - 5.00 มากที่สุด 3.51 - 4.50 มาก 2.51 - 3.50 ปานกลาง 1.51 - 2.50 นอ้ ย 1.00 - 1.50 นอ้ ยทีส่ ดุ ตอนที่ 3 วิเคราะห์ข้อมลู เกี่ยวกับ ความคิดเห็น ปัญหา และ ข้อเสนอแนะ ของ ผปู้ กครองนักเรียน ต่อการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวดั ดงโคกขาม โดยการวิเคราะหเ์ น้ือหา การหา ค่าความถี่และจดั ลำดับความถี่ แบบสอบถามชดุ ที่ 3 ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไปของนักเรยี น ได้แก่ เพศ ระดบั ชั้น และลกั ษณะของ โรงเรียน วเิ คราะห์โดยหาค่าความถี่ (Frequency) และหา คา่ รอ้ ยละ (Percentage) ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจของนกั เรียน ต่อการ การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรียน วัดดงโคกขามวิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ย ( Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation) แล้ว เทียบกับเกณฑ์สัมบูรณ์ ( Absolute Criteria) ซึ่งแบ่งค่าช่วงคะแนนเป็นช่วง ๆ โดยมีความหมาย ดังนี้ (ชูศรี วงศร์ ตั นะ, 2550, หน้า 69-70)คา่ เฉลยี่ ระดับความพงึ พอใจ 4.51 - 5.00 มากที่สดุ 3.51 - 4.50 มาก 2.51 - 3.50 ปานกลาง 1.51 - 2.50 นอ้ ย 1.00 - 1.50 น้อยทส่ี ุด ตอนที่ 3 วเิ คราะหข์ ้อมูลเก่ียวกับความคดิ เหน็ ปญั หา และขอ้ เสนอแนะของนักเรยี น ตอ่ การบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม โดยการเคราะห์เน้อื หา

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ในการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 37 สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวิจยั 1. สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการหาคุณภาพของเครอ่ื งมอื ไดแ้ ก่ ตรวจสอบความตรงของเนื้อหา โดยการหาค่า IOC 2. สถติ ิพน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานผวู้ ิจยั ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรปู ทางสถิติ SPSS/PC+ โดยเลอื กเฉพาะวธิ วี ิเคราะห์ ข้อมูลที่สอดคล้องกบั ความมุ่ง หมายของประเด็นปญั หาเพื่อหาค่าความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสียในการบริหาร จัดการสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม สถิตทิ ีใ่ ช้ คือ การหาค่าเฉล่ยี ( X ) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสียในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 38 บทท่ี 4 ผลการวจิ ยั การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจการศึกษาความพึงพอใจและความต้องการ จำเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม สำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน คณะกรรมการ สถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ผู้ปกครองนกั เรียน และนกั เรียน และเพอ่ื รวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะ การบริหาร จัดการสถานศึกษาโรงเรียนวัดดงโคกขาม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศกึ ษา ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรยี น และนกั เรียน โดยผวู้ จิ ยั ได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู เปน็ 3 ตอนตามลำดบั ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปของกลุ่มตวั อยา่ ง ตอนที่ 2 ความพึงพอใจผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครูผ้สู อนบคุ ลากรทางการศกึ ษาและ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ผู้ปกครองนกั เรยี น และนักเรียนตอ่ การการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ปัญหาของผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอนบุคลากร ทางการศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานต่อการการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดง โคกขาม สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล ตอนที่ 1 ข้อมลู ทัว่ ไปของกลุ่มตวั อยา่ ง 1.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอนบุคลากรทางการศึกษาและ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย ตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในสถานศึกษา และแสดงรายละเอียดในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครูผู้สอน บคุ ลากรทางการศึกษาและคณะกรรมการ สถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน (n=18) ข้อมลู ทั่วไป จำนวน รอ้ ยละ 1 ตำแหน่ง 11 61.11 ผ้บู ริหาร ครูผู้สอนและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 7 38.89 คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 18 100 รวม 3 16.67 15 83.33 2 ประสบการณ์ในการปฏบิ ตั ิงานในสถานศึกษา 18 100 ต่ำกว่า 5 ปี 5 ปขี ้ึนไป รวม

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสียในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 39 จากตารางท่ี 1 ผลการศึกษาข้อมลู ทว่ั ไปของกลุ่มตวั อยา่ ง พบวา่ ส่วนใหญเ่ ป็นผบู้ รหิ าร ครูผสู้ อนและบคุ ลากร ทางการศกึ ษา ร้อยละ 61.11 เปน็ คณะกรรมการสถานศึกษา ร้อยละ 38.89 ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการ ปฏิบัติงานในสถานศึกษาตั้งแต่ 5 ปีขนึ้ ไป รอ้ ยละ 83.33 และประสบการณใ์ นการปฏิบตั ิงานในสถานศึกษาตำ่ กวา่ 5 ปี รอ้ ยละ 16.67 1.2 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผปู้ กครองนกั เรียนผลการศึกษาข้อมูลท่วั ไปของผปู้ กครอง นักเรียน ประกอบดว้ ย ความสมั พันธ์กบั นักเรียน อายุ เพศ และวฒุ ิการศกึ ษา แสดงรายละเอียดในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ปกครองนกั เรยี น (n=97) ข้อมูลทว่ั ไป จำนวน รอ้ ยละ 1 ความสมั พนั ธ์กับนกั เรยี น 31 31.96 พอ่ /แม่ 45 46.39 ปู่ย่า/ตายาย 16 16.49 ลงุ ปา้ /นา้ อา 5 5.15 พ่ี/ญาติ 97 100 รวม 37 38.14 21 21.65 2 อายุ 28 28.87 ตำ่ กว่า 31 ปี 11 11.34 31 - 40 ปี 97 100 41 – 60 ปี 61 ปขี ึ้นไป 44 45.36 53 54.64 รวม 97 100 3 เพศ 29 29.90 ชาย 41 42.27 หญงิ 17 17.53 10 10.31 รวม 97 100 4 วุฒิการศกึ ษา ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา/ปวช. อนปุ ริญญา (ปวส.) ปริญญาตรี รวม จากตารางท่ี 2 ผลการศกึ ษาข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตวั อย่างซ่งึ เป็นผปู้ กครองนกั เรยี น ความสัมพนั ธก์ ับ นักเรียน พบวา่ สว่ นใหญเ่ ป็นป่ยู า่ /ตายาย รอ้ ยละ 46.39 รองลงมา คือ พ่อ/แม่ และ ลุงปา้ /น้าอา ร้อยละ 31.96 และ 16.49 ตามลำดบั และตำ่ สุดคือ พี่/ญาติ รอ้ ยละ 5.15 ผ้ปู กครองนักเรยี นส่วนใหญ่มี อายุต่ำกว่า 31 ปี ร้อยละ 38.14 รองลงมาคือ 41 – 60 ปี และ 31 - 40 ปี ร้อยละ 28.87และ 21.65 ตามลำดับ

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวดั ดงโคกขาม 40 ตำ่ สดุ มอี ายุ 61 ปีขึ้นไป รอ้ ยละ 11.34 สว่ นใหญ่เปน็ เพศหญิง รอ้ ยละ 54.64 ส่วนใหญจ่ บการศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษา/ปวช. รอ้ ยละ 42.27 รองลงมา คือ ระดับประถมศึกษา และอนุปรญิ ญา (ปวส.) ร้อยละ 29.90 และ 17.53 ตามลำดับ โดยมีผูป้ กครองท่จี บการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี เพยี งร้อยละ 10.31 1.3 ข้อมลู ท่ัวไปของนักเรยี นผลการศึกษาข้อมูลท่วั ไปของนักเรยี น ประกอบดว้ ย เพศ ระดับชัน้ แสดงรายละเอียดในตารางท่ี 3 ตารางท่ี 3 ข้อมลู ทว่ั ไปของนักเรียน (n=32) ขอ้ มูลทัว่ ไป จำนวน ร้อยละ 1 เพศ 19 59.38 ชาย 13 40.63 หญิง 32 100 รวม 15 46.88 11 34.38 2 ระดบั ชัน้ 6 18.75 ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 32 100 ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 รวม จากตารางที่ 3 ผลการศึกษาข้อมลู ท่ัวไปของกลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงเปน็ นักเรยี น พบว่าส่วนใหญ่เปน็ เพศชาย รอ้ ยล 59.38 ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 ร้อยละ 46.88 และระดับชัน้ ประถมศึกษา ปีท่ี 5 รอ้ ยละ 34.38 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ครูผ้สู อนบคุ ลากรทางการศกึ ษาและ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียนต่อการการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 โดยภาพรวม รายด้าน และ รายขอ้ ในแต่ละด้าน แสดงรายละเอยี ดในตารางที่ 4 – 10

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสียในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 41 3.3 ผลการศกึ ษา ความพึงพอใจของผู้บริหารสถานศกึ ษา ครผู ู้สอนบคุ ลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐานโรงเรียนวัดดงโคกขาม โดยภาพรวมดังน้ี ตารางที่ 4 ความพงึ พอใจของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครผู ู้สอนบุคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานตอ่ การบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม ในภาพรวม (n=18) การบริหารจัดการโรงเรยี น X S.D. ระดับ 4.40 0.61 1 ดา้ นการบรหิ ารจดั การท่ัวไป 4.64 0.56 ดีมาก 2 ด้านการบริหารงานการเงิน พัสดแุ ละทรพั ย์สนิ 4.57 0.58 ดีมาก 3 ด้านการบรหิ ารงานบุคคล 4.52 0.56 ดีมาก 4 ดา้ นการบรหิ ารงานวิชาการ ดีมาก 4.53 0.58 ดมี าก รวม จากตารางที่ 4 พบว่า ผูบ้ ริหารสถานศึกษา คผู้สอนบุคคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม ในภาพรวมอยู่ใน ระดบั ดมี าก ( X = 4.53, S.D. = 0.58) และเมอื่ พิจารณาเปน็ รายดา้ น พบว่า มีการบริหารจัดการสถานศึกษา ของโรงเรียนวดั ดงโคกขาม ทงั้ 4 ดา้ น อย่ใู นระดบั ดมี าก โดยมกี ารดำเนนิ งานดา้ นการบรหิ ารงานการเงนิ พัสดุ และทรัพย์สินสูงสุด ( X = 4.64, S.D. = 0.56) รองลงมา คือ ด้านการบริหารงานบุคคล ( X = 4.57, S.D.= 0.58) ดา้ นการบรหิ ารวิชาการ ( X = 4.52, S.D. = 0.56) และด้านท่ีมีการดำเนินงานตำ่ สุด คอื ด้านการบรหิ ารจัดการท่ัวไป ( X = 4.40, S.D. = 0.61) ตารางท่ี 5 ความพึงพอใจ ของผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอนบคุ ลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการ สถานศึกษาข้นั พื้นฐานต่อการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม รายขอ้ ด้านการ บริหารจัดการทัว่ ไป การบรหิ ารจัดการโรงเรยี น X S.D. ระดบั 4.37 ด้านการบริหารจดั การทว่ั ไป 4.68 4.37 1 การดำเนินการของโรงเรียนได้มีการสร้างความเขา้ ใจกับกลุ่มผ้มู สี ่วน 4.37 0.68 4.37 4.21 ได้สว่ นเสยี อย่างครอบคลุม ดมี าก 2 อาคารเรียนและอาคารประกอบของโรงเรียนหลักเพยี งพอและเอื้อ 4.68 0.48 ต่อการจัดการเรยี นร่วมอย่างมีคุณภาพ 3 ห้องเรยี น ห้องปฏบิ ัติการ และห้องคอมพวิ เตอรม์ ีเพียงพอและเอ้ือ 4.37 0.60 ต่อการจัดการเรยี นการสอน 4 โรงอาหาร โตะ๊ ทนี่ ัง่ และอปุ กรณ์สำหรับรบั ประทานอาหาร 4.37 0.60 มเี พียงพอต่อนักเรียน 5 ชุมชนมีสว่ นรว่ มในการกำหนดแผน และการดำเนนิ งานของ 4.21 0.63 โรงเรียน รวม 4.40 0.61

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสียในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 42 จากตารางท่ี 4 พบว่า ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา คผสู้ อนบุคคลากรทางการศกึ ษา และคณะกรรมการสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม ในภาพรวมอยู่ใน ระดบั ดีมาก ( X = 4.53, S.D. = 0.58) และเมือ่ พิจารณาเปน็ รายดา้ น พบว่า มีการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา ของโรงเรียนวดั ดงโคกขาม ทง้ั 4 ดา้ น อยู่ในระดับดีมาก โดยมกี ารดำเนินงานด้านการบรหิ ารงานการเงิน พัสดุ และทรัพย์สินสูงสุด ( X = 4.64, S.D. = 0.56) รองลงมา คือ ด้านการบริหารงานบุคคล ( X = 4.57, S.D.= 0.58) ด้านการบริหารวชิ าการ ( X = 4.52, S.D. = 0.56) และด้านท่ีมีการดำเนนิ งานต่ำสุด คอื ดา้ นการบริหารจัดการท่วั ไป ( X = 4.40, S.D. = 0.61) ตารางที่ 6 ความพึงพอใจ ของผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูผสู้ อนบุคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการ สถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐานตอ่ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวดั ดงโคกขาม รายข้อด้านการ บรหิ ารงบประมาณ การบรหิ ารจดั การโรงเรยี น X S.D. ระดบั 4.58 0.61 ด้านการบริหารงบประมาณ 4.79 0.42 4.58 1 มีการตรวจสอบและจัดทำบัญชีทรพั ย์สนิ งบประมาณสิทธิและการ 4.53 0.61 4.79 4.79 0.42 4.53 ผูกพันทงั้ หมดเปน็ ไป ตามระเบยี บ 4.53 0.70 4.79 2 การบรหิ ารเงนิ อุดหนุนรายหัวนักเรยี นดำเนินการอยา่ งมีระบบด้วย 4.53 4.64 0.56 ดีมาก การมสี ่วนร่วม และกำหนดรายละเอียดในการปฏบิ ตั ิอยา่ งชัดเจน 3 การระดมทรัพยากรทางการศึกษา เช่น เงินบำรงุ การศึกษา เงินบรจิ าค ผา้ ปา่ เพ่ือการศึกษา เป็นตน้ 4 การบรหิ ารงบประมาณมคี วามโปรง่ ใสและตรวจสอบได้ 5 ความเหมาะสม ความเพยี งพอ และความคมุ้ คา่ ในการใช้ งบประมาณ รวม จากตารางที่ 4 พบวา่ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา คผ้สู อนบุคคลากรทางการศกึ ษา และคณะกรรมการสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม ในภาพรวมอยู่ใน ระดับดีมาก ( X = 4.53, S.D. = 0.58) และเมอ่ื พิจารณาเปน็ รายดา้ น พบว่า มีการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา ของโรงเรียนวัดดงโคกขาม ทั้ง 4 ดา้ น อยใู่ นระดบั ดีมาก โดยมกี ารดำเนนิ งานด้านการบริหารงานการเงิน พสั ดุ และทรัพย์สินสูงสุด ( X = 4.64, S.D. = 0.56) รองลงมา คือ ด้านการบริหารงานบุคคล ( X = 4.57, S.D.= 0.58) ด้านการบริหารวชิ าการ ( X = 4.52, S.D. = 0.56) และดา้ นทีม่ ีการดำเนินงานต่ำสุด คอื ดา้ นการบริหารจัดการทว่ั ไป ( X = 4.40, S.D. = 0.61)

การศกึ ษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี ในการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรียนวดั ดงโคกขาม 43 ตารางท่ี 7 ความพึงพอใจ ของผ้บู ริหารสถานศึกษา ครผู ู้สอนบคุ ลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการ สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานต่อการบริหารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรียนวดั ดงโคกขาม รายขอ้ ด้านการ บริหารงานบคุ คล การบริหารจดั การโรงเรยี น X S.D. ระดบั 4.47 ดา้ นการบริหารงานบุคคล 4.53 4.63 1 การมอบหมายงานคำนึงถึงความถนัด ศักยภาพของบุคลากรและ 4.47 0.61 4.63 4.58 ความเต็มใจของบคุ ลากรส่วนใหญ่ ดมี าก 2 การกำหนดบทบาทหนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบแกบ่ ุคลากรสายสนบั สนุน 4.53 0.61 นักการภารโรงและพนกั งานธุรการ ซดั เจน 3 ครผู สู้ อนมขี วัญและกำลังใจในการปฏิบตั งิ านและปฏบิ ตั งิ านอย่างมี 4.63 0.60 คุณภาพ 4 การพจิ ารณาความดีความชอบของผู้บริหารสถานศึกษาครูผู้สอน 4.63 0.50 และบุคลากร สายสนับสนนุ มคี วามเปน็ ธรรมชัดเจนและเหมาะสม 5 การมอบหมายงานคำนึงถึงความถนดั ศักยภาพของบุคลากรและ 4.58 0.61 ความเต็มใจของบคุ ลากรสว่ นใหญ่ รวม 4.57 0.58 จากตารางที่ 4 พบวา่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา คผูส้ อนบุคคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม ในภาพรวมอยู่ใน ระดบั ดีมาก ( X = 4.53, S.D. = 0.58) และเมอื่ พจิ ารณาเป็นรายด้าน พบว่า มกี ารบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ของโรงเรียนวัดดงโคกขาม ทง้ั 4 ดา้ น อยูใ่ นระดบั ดีมาก โดยมกี ารดำเนินงานดา้ นการบรหิ ารงานการเงนิ พสั ดุ และทรัพย์สินสูงสุด ( X = 4.64, S.D. = 0.56) รองลงมา คือ ด้านการบริหารงานบุคคล ( X = 4.57, S.D.= 0.58) ดา้ นการบริหารวิชาการ ( X = 4.52, S.D. = 0.56) และด้านทม่ี กี ารดำเนนิ งานตำ่ สุด คือ ดา้ นการบรหิ ารจัดการท่วั ไป ( X = 4.40, S.D. = 0.61)

การศกึ ษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ในการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม 44 ตารางท่ี 8 ความพึงพอใจ ของผบู้ ริหารสถานศึกษา ครผู ้สู อนบคุ ลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการ สถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐานตอ่ การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม รายขอ้ ด้านการ บริหารงานวชิ าการ การบริหารจัดการโรงเรยี น X S.D. ระดับ 4.37 0.60 4.37 ดา้ นการบรหิ ารงานวิชาการ 4.42 0.61 4.42 1 การจดั ทำหลักสูตรของสถานศึกษาสอดคล้อง ตามความต้องการ 4.47 0.61 4.47 4.63 0.50 4.63 ของชมุ ชน ท้องถ่นิ และบริบทของโรงเรียน 4.52 0.56 ดีมาก 2 ครผู ู้สอนไดร้ ับการส่งเสรมิ และพัฒนาในด้านการเรียนการสอน อย่างสม่ำเสมอ 3 การวัดและประเมินผลการเรียนมีความหลากหลาย มีการพฒั นา เครื่องมือวัดและประเมินผล 4 การจัดกจิ กรรมทางวิชาการเพ่อื เปดิ โอกาสให้มกี ารแลกเปลย่ี น เรียนร้แู ก่ชมุ ชน รวม จากตารางท่ี 4 พบวา่ ผู้บริหารสถานศึกษา คผสู้ อนบุคคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนวัดดงโคกขาม ในภาพรวมอยู่ใน ระดบั ดีมาก ( X = 4.53, S.D. = 0.58) และเมอื่ พิจารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ มีการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ของโรงเรียนวัดดงโคกขาม ทัง้ 4 ดา้ น อยใู่ นระดบั ดีมาก โดยมกี ารดำเนนิ งานด้านการบรหิ ารงานการเงนิ พัสดุ และทรัพย์สินสูงสุด ( X = 4.64, S.D. = 0.56) รองลงมา คือ ด้านการบริหารงานบุคคล ( X = 4.57, S.D.= 0.58) ดา้ นการบริหารวชิ าการ ( X = 4.52, S.D. = 0.56) และด้านทม่ี กี ารดำเนนิ งานตำ่ สดุ คือ ดา้ นการบริหารจัดการทว่ั ไป ( X = 4.40, S.D. = 0.61)

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 45 3.2 ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองนกั เรยี นต่อการบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม โดยภาพรวมดงั นี้ ตารางท่ี 9 ความพึงพอใจ ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรยี นต่อการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรยี น วัดดงโคกขาม โดยภาพรวมดังน้ี (n=97) การบรหิ ารจดั การโรงเรยี น X S.D. ระดับ ดีมาก 1 โรงเรียนมีการนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการพฒั นาการเรยี นการสอน 4.65 0.50 ดีมาก 2 ชมุ ชนมสี ่วนรว่ มในการจดั ทำหลกั สูตรและประเมินผลงานของ 4.70 0.50 ดีมาก นักเรยี น ดีมาก 3 โรงเรยี นจัดหาสื่อการเรียนการสอนได้เหมาะสมกับกลมุ่ สาระการ 4.71 0.46 ดีมาก ดมี าก เรียนรู้ ดีมาก 4 มีการจัดกจิ กรรมทสี่ ่งเสริมการเรียนการสอนที่เปน็ ประโยชนแ์ ก่ 4.68 0.49 ดมี าก ดมี าก นกั เรียนและสามารถนำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน ดมี าก ดีมาก 5 การรายงานผลการเรียนของนักเรยี นมีความชัดเจน 4.79 0.41 ดีมาก 6 ครมู คี วามยุตธิ รรม ไม่ลำเอยี ง ให้ความเสมอภาคกับนักเรียนทุกคน 4.65 0.50 ดีมาก 7 ครูทป่ี รกึ ษามีการจดั ระบบดูแลและชว่ ยเหลือนกั เรยี นอยา่ งสาเสมอ 4.70 0.50 ดีมาก และตอ่ เน่ือง ดีมาก 8 ครปู ระพฤติตนอนั เป็นแบบอยา่ งทีด่ แี กน่ กั เรยี น 4.71 0.46 ดมี าก 9 ครมู คี วามกระตือรือร้นและตงั้ ใจท่ีจะช่วยเหลอื นกั เรยี นเมือ่ มปี ญั หา 4.68 0.49 ดมี าก 10 กระบวนการเรยี นการสอนของครกู ้าวหนา้ และทันต่อเหตกุ ารณ์ 4.79 0.41 ดีมาก 11 มอี าคารเรยี น อดรประกอบ และหอ้ งน้ำทีเ่ พยี งพอกบั นักเรียน 4.65 0.50 12 มีสนามกีฬาและสถานท่ีพักผ่อนกว้างขวางเพียงพอกับจำนวน 4.70 0.50 นกั เรียน 13 มกี ารดแู ลรักษาความสะอาดของอาคารเรยี นและบรเิ วณโรงเรียน 4.71 0.46 อย่างสม่ำเสมอ 14 มหี อ้ งปฏิบัติการต่าง ๆ เช่น หอ้ งวิทยาศาสตร์ ห้องสมดุ ห้อง 4.68 0.49 คอมพวิ เตอร์ ห้องปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา ที่เพยี งพอกบั จำนวนของ นกั เรยี น 15 โรงเรยี นนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผูป้ กครองมา 4.79 0.41 ดำเนนิ การปรบั ปรงุ การบรหิ ารงานของโรงเรียน 16 โรงเรยี นให้ความรว่ มมอื ความชว่ ยเหลอื และเข้าร่วมกิจกรรมของ 4.65 0.50 ชุมชนอย่างต่อเนื่อง 17 โรงเรยี นอำนวยความสะดวกใหก้ ับผู้ปกครองท่ีมาตดิ ต่อราชการกับ 4.70 0.50 ทางโรงเรยี น 18 โรงเรียนและชมุ ชนมกี ารตดิ ต่อประสานงานในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม 4.71 0.46 ต่าง ๆ อยา่ งต่อเน่ือง

การศกึ ษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 4.68 0.49 46 4.70 0.47 19 โรงเรยี นจดั ประชมุ ชี้แจง ใหค้ วามรู้ในการจัดการศึกษาของ ดีมาก โรงเรยี นแก่ผปู้ กครองอยา่ งต่อเน่ือง ดมี าก รวม 3.3 ผลการศกึ ษา ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม ตารางท่ี 10 ความพงึ พอใจ ความพึงพอใจของผูป้ กครองนกั เรยี นต่อการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรยี น วดั ดงโคกขาม โดยภาพรวมดงั นี้ (n=32) การบริหารจัดการโรงเรียน X S.D. ระดบั 0.47 ดมี าก 1 มีการปรับปรงุ เนื้อหาในหลักสูตรใหเ้ หมาะสมกับวัยความสนใจของ 4.81 นกั เรยี น 0.48 ดมี าก 4.66 0.46 ดีมาก 2 การพฒั นาและการใช้แหล่งเรียนรูท้ ง้ั ในโรงเรยี นและนอกโรงเรียน 4.72 0.30 ดมี าก 3 มีการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรทู้ ี่เปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ูเ้ รียน 4.91 4 ส่งเสรมิ การนำทรัพยากรและภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ มาใชพ้ ัฒนาการ 0.52 ดีมาก 4.72 0.47 ดีมาก เรียนรขู้ องนักเรยี น 4.81 5 ครจู ัดการเรียนร้เู น้นการใช้ส่อื และเทคโนโลยที ีท่ ันสมยั 0.48 ดีมาก 6 สง่ เสริมการจัดกจิ กรรมแบบกระบวนการกลมุ่ และยึดผูเ้ รยี นเปน็ 4.66 0.46 ดีมาก 4.72 0.30 ดีมาก สำคัญ 4.91 7 ครูมอบหมายกิจกรรมหรอื การบ้านใหน้ กั เรียนอย่างเหมาะสม 0.52 ดีมาก 8 ครตู รวจผลงานนกั เรยี นและแกไ้ ขขอ้ บกพร่องอยา่ งสม่ำเสมอ 4.72 9 กระตุ้น ปลกู ฝงั ให้นกั เรยี นศึกษาคน้ คว้าหาความรู้ดว้ ย เชน่ 0.47 ดมี าก 4.81 0.48 ดมี าก การใชห้ อ้ งสมุด อนิ เตอร์เนต็ จากแหลง่ เรียนรู้ท่หี ลากหลาย 4.66 0.46 ดีมาก 10 มีการจดั อบรมคุณธรรมจรยิ ธรรมควบคู่กบั ความรู้ทางวชิ าการใหก้ บั 4.72 0.30 ดีมาก 4.91 0.52 ดมี าก นกั เรียน 4.72 0.50 ดีมาก 11 นกั เรยี นมคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะปฏบิ ัติ 4.59 0.56 ดมี าก 12 การดแู ล เอาใจใส่ ช่วยเหลอื ผ้เู รียน 4.56 0.44 ดีมาก 13 นกั เรียนมีความส่ือสัตยส์ จุ รติ และอดทน 4.75 0.51 ดมี าก 14 นกั เรยี นมีความรบั ผดิ ชอบในงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 4.75 0.44 ดมี าก 15 นักเรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนเปน็ ที่น่าพอใจ 4.75 0.50 ดมี าก 16 ชุมชนใหก้ ารยอมรบั ในความรู้ความสามารถของผู้เรยี น 4.59 17 การจัดครปู ระจำชน้ั / ประจำวชิ า 18 การเอาใจใสของครตู ่อนกั เรยี น 19 การปฏิบตั ิหนา้ ทข่ี องครู 20 ความสัมพันธ์ระหว่างผ้บู ริหาร/ครู กบั ผปู้ กครองและชมุ ชน 21 ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสียในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรียนวดั ดงโคกขาม 22 การประชาสมั พันธ์การดำเนนิ งานของโรงเรยี นให้นกั เรยี นทราบ 4.56 0.56 47 23 จัดกจิ กรรมนักเรียนที่มุ่งเนน้ สง่ เสริมทกั ษะดา้ นคุณธรรม จริยธรรม 4.75 0.44 ดีมาก ดีมาก และคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ ดมี าก ดีมาก 24 กฎและระเบียบของโรงเรยี นเกยี่ วกับการควบคุมดูแลความ 4.75 0.51 ดมี าก ประพฤตขิ องนกั เรยี น ดีมาก ดมี าก 25 การจดั สวัสดกิ ารเพื่อสง่ เสรมิ สุขภาพอนามัยของนักเรยี น เชน่ 4.75 0.44 ดีมาก ฉดี วคั ซีน ตรวจสุขภาพ นาส่งสถานพยาบาล และด้านสง่ เสริม การเล่นกฬี า 26 ความเป็นกนั เองและไดร้ บั ความสะดวกในการติดต่อใหบ้ ริการของ 4.59 0.50 โรงเรยี น 27 การดูแลรกั ษาสภาพแวดลอ้ มบริเวณโรงเรียนสะอาดรม่ รื่นนา่ อยู่ 4.56 0.56 นา่ เรยี น มีความปลอดภัย 28 โรงเรียนยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตินักเรียนทีม่ ีผลการเรียนดี ทำความดี 4.75 0.44 และกิจกรรมทางวิชาการ และนกั เรียนที่มีจติ อาสา รวม 4.72 0.47 ผลการวิเคราะหเ์ ก่ียวกับข้อเสนอแนะและแนวทางแกป้ ัญหาใน การบริหารจัดการ โรงเรยี นขนาดเล็กโดยการจัดการเรนี รว่ ม สังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบี่ แสดงรายละเอยี ดในตารางท่ี 21 ตารางที่ 21 ปัญหา ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางแก้ปญั หาใน การบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กโดย การจดั การเรยี นรว่ ม

การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็นของผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ในการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 48 ภาคผนวก

การศึกษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม 49 ภาคผนวก ก คำสั่งแต่งตงั้ คณะกรรมการวจิ ยั คำส่งั โรงเรยี นวัดดงโคกขาม ท่ี 21 / 2563 เร่อื ง แต่งต้ังคณะกรรมการวิจัย \"การศกึ ษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเปน็ ของผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสียในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวัดดงโคกขาม ………………………………………………………………………………………………… ด้วยโรงเรียนวัดดงโคกขามได้จัดทำโครงการวิจัย \"การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการจำเป็น ของผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม\" เพื่อการเกบ็ รวบรวมข้อมลู วิจัย และนำผลการวิจัยไปใช้วางแผน พัฒนา ปรับปรุงการจัดการให้ตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่อื ใหก้ ารดำเนนิ งานครง้ั นเ้ี ปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย จงึ แต่งตง้ั คณะกรรมการวจิ ัย ดังน้ี 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหนา้ ท่ี ใหค้ ำปรึกษา เสนอแนะ สนับสนุนและอำนวยความสะดวก ให้การดำเนินงานเปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ ประกอบดว้ ย 1.1 นายวาณชิ คลา้ ยผา ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นวดั ดงโคกขาม ประธานกรรมการ 2. คณะกรรมการวิจัย มีหน้าที่จดั ทำโครงร่างวจิ ยั ออกแบบเคร่อื งมือ วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูลและ จัดทำรปู เลม่ รายงานวิจัย ประกอบด้วย 2.1 นางสาวสุรรี ตั น์ ทองพานเหล็ก ประธานกรรมการ 2.2 นางสาวหน่ึงฤทัย ปลื้มสุข กรรมการ 2.3 นางสาววชั รี รอดเกตุ กรรมการ 2.4 นางรมนี พนัสขาว กรรมการ 2.5 นางสาวกนกวรรณ จันทรเ์ พ็ง กรรมการและเลขานุการ 3. คณะกรรมการฝ่ายการเงนิ และพสั ดุ มีหนา้ ที่ ดำเนินการจัดทำเอกสารการเงนิ ตรวจสอบ หลกั ฐานการเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบด้วย 3.1 นางสุพรรษา เสอื นอ้ ย ประธานกรรมการ 3.2 นางสาวสพุ ตั รา ราชขวัญ กรรมการ 3.3 นางสาวศวิ ลักษณ์ เอกอุฬารพันธ์ กรรมการและเลขานุการ ขอให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มกำลังความสามารถ ด้วยความตั้งใ เพื่อให้การดำเนินโครงการวิจัยทางการศึกษา บรรลุตมวัตถุประสงค์ เกิดประสิทธิผลและ ประสทิ ธิภาพสงู สดุ ต่อการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ท้ังน้ี ตงั้ แตบ่ ัดน้เี ป็นต้นไป ส่งั ณ วนั ท่ี 3 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 (นายวาณิช คล้ายผา) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดดงโคกขาม

การศกึ ษาความพงึ พอใจและความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม 50 ภาคผนวก ข แบบประเมินและผลการพิจารณาความสอดคล้องของแบบประเมนิ ความพึงพอใจและความ ต้องการจำเปน็ ของผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสียในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นวดั ดงโคกขาม ตามความ คดิ เห็นของผเู้ ชี่ยวชาญ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook