Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 9.2 ดราฟ คู่มือเครือข่ายคุ้มครองแรงงาน 5 16.06.66

9.2 ดราฟ คู่มือเครือข่ายคุ้มครองแรงงาน 5 16.06.66

Published by หญิงเด็ก เครือข่าย, 2023-06-16 04:04:55

Description: 9.2 ดราฟ คู่มือเครือข่ายคุ้มครองแรงงาน 5 16.06.66

Search

Read the Text Version

คานา เครือข่ายการคุ้มครองแรงงานเป็นกลุ่มบุคคลท่ีกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานได้สร้างข้ึนเพ่ือสอดส่อง ดูแล แจ้งเบาะแส เม่ือพบเห็น การใช้แรงงานไม่ถูกต้อง ไม่เป็นธรรม หรือมีการกักขังหน่วงเหนี่ยว ทาร้ายร่างกาย บังคับใช้แรงงาน ตลอดจนช่วยเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารเก่ยี วกับสิทธหิ นา้ ท่ตี ามกฎหมายคุ้มครองแรงงานให้แก่นายจ้าง ลูกจ้าง ประชาชนท่ัวไป และปฏิบัติงานอื่น ๆ เพ่ือคุ้มครองลูกจ้างให้ได้รับสิทธิ ตามกฎหมายแรงงาน กรมส วัสดิการแล ะคุ้มค รองแ รงงา นได้จัดทาคู่ มือ เค รือข่า ย การคุ้มครองแรงงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกเครือข่ายคุ้มครอง แรงงานได้ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ประกอบด้วยเน้ือหาต่าง ๆ ท่ีสมาชิกเครือข่ายคุ้มครองแรงงานควรทราบ เช่น ความหมายของเครือข่ายการคุ้มครองแรงงาน วัตถุประสงค์ของการสร้าง เครือข่ายการคุ้มครองแรงงาน การดาเนินงานด้านเครือข่ายการคุ้มครอง แรงงาน บทบาทหน้าที่ แนวทางการปฏิบัติงานเพื่อช่วยเหลือแรงงาน การแจ้งเบาะแส การรายงานการปฏิบัติงาน เป็นต้น กรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสมาชิกเครือข่ายคุ้มครองแรงงานจะได้รับ ประโยชน์จากคู่มือเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานฉบับน้ีและใช้เป็นแนวทางใน การปฏิบตั งิ านดา้ นคุ้มครองแรงงานต่อไป กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กนั ยายน 2566 กรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 1

สารบญั (1) เรอ่ื ง หน้า หมวด 1: 5 ความหมายของเครือข่ายการคมุ้ ครองแรงงาน 6 วตั ถุประสงคข์ องการสรา้ งเครือขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน 7 คุณสมบตั ขิ องเครือขา่ ยการค้มุ ครองแรงงาน บทบาทหนา้ ท่ขี องเครอื ขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน 8 9 ประโยชน์ของเครือข่ายการคุ้มครองแรงงาน 10 10 กลุ่มเป้าหมายในการปฏิบัตงิ านของเครือขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน 11-12 แนวทางการสรา้ งเครือขา่ ยการคุม้ ครองแรงงาน (สาหรบั สมาชิกเครอื ขา่ ยคุ้มครองแรงงาน) 13-15 16 แนวทางการปฏิบตั งิ านของเครอื ข่ายการค้มุ ครองแรงงานเพ่ือ ช่วยเหลอื แรงงาน 17 การแจ้งเบาะแส หมวด 2: การรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานของเครือขา่ ยการค้มุ ครองแรงงาน แบบสมคั รสมาชิกใหมช่ มรมเครือขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน ของกรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 2

สารบัญ (2) หนา้ 18 เรือ่ ง 19 หมวด 3: ภาคผนวก 20-33 แนวทางการสร้างเครือขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน(2) สาหรับเจ้าหนา้ ทีฯ่ 34-35 36 ภารกิจของหนว่ ยงานสงั กดั กระทรวงแรงงาน ที่อยู่กระทรวงแรงงาน และหน่วยงานสงั กดั กระทรวงแรงงาน 37 การดาเนินงานด้านเครือข่ายการคุ้มครองแรงงาน 38-39 ของกรมสวัสดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน 40 จานวนสมาชกิ เครอื ขา่ ยการค้มุ ครองแรงงาน 41 จานวนสมาชิกกล่มุ ไลนเ์ ครือขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน 41 จงั หวดั ท่มี ีการจดั ตั้งชมรมเครอื ขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน หมวด 4: ภาคผนวก (กฎหมาย) 42 QR Code พระราชบญั ญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 43 QR Code สรปุ สาระสาคัญ กฎหมายกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 44-47 QR Code หนงั สือกฎหมายแรงงาน 48-50 QR Code รายละเอยี ดกฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน (เพ่ิมเติม) สรุปสาระสาคัญพระราชบญั ญัติคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 3 กฎกระทรวงคมุ้ ครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2557 และทแี่ ก้ไขเพิม่ เตมิ กรมสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน

สารบัญ (3) เร่ือง หนา้ - หมวด 4: ภาคผนวก ต่อ-(กฎหมาย) 51-53 54 ความรูเ้ บือ้ งตน้ ทเ่ี ครือข่ายคมุ้ ครองแรงงานควรทราบ 55-59 QR Code สรุปสาระสาคญั พระราชบัญญตั ิปอู งกันและปราบปราม 60 การคา้ มนุษย์ พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2562 - 61-62 สทิ ธิประโยชนต์ ามกฎหมายประกันสังคม 63-65 QR Code ระเบียบฯกองทุนสงเคราะหฯ์ ลกู จา้ ง 66-78 หมวด 5: ภาคผนวก (ช่องทางการติดตอ่ ) 79 ชอ่ งทางการขอรับคาปรึกษาขอ้ กฎหมายด้านคมุ้ ครองแรงงาน 80 จากกรมสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน 81 ช่องทางสาหรับตดิ ตอ่ พนักงานตรวจแรงงานในทอ้ งท่ีท่ที างาน สานักงานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพน้ื ท่ี 1 – 10 ชอ่ งทางสาหรับตดิ ต่อพนกั งานตรวจแรงงานในทอ้ งทีท่ ี่ทางาน สานกั งานสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงานจังหวดั 76 จงั หวดั การยน่ื คาร้องเรียน บรรณานุกรม คณะผูจ้ ดั ทา กรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 4

หมวด 1 : เครือข่ายการคุ้มครองแรงงาน (Labour Protection Network) หมายถึง กลุ่มบคุ คลท่ีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ดาเนินการส่งเสริม ให้ร่วมกันเป็นภาคีเครือข่ายการคุ้มครองแรงงาน โดยความสมัครใจของสมาชิก เพ่ือสนับสนุนการทางานร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ภาคประชาชน ในการพัฒนาการ คุ้มครองแรงงาน โดยมีบทบาทในการสอดส่อง ดูแล เฝูาระวัง การแจ้ง เบาะแส เม่ือพบเห็นการกระทาใด ๆ ต่อลูกจ้างโดยผิดกฎหมาย การใหค้ าปรึกษาแนะนาเบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองแรงงานแก่ นายจ้าง ลูกจ้าง และบุคคลที่เก่ียวข้องด้านแรงงาน การให้ความ ช่วยเหลือ ดูแลลูกจ้าง ให้ได้รับสิทธิประโยชน์ และสวัสดิการตามที่ กฎหมายกาหนด มีความปลอดภัยในการทางาน รวมทั้งให้ความ ช่วยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกันระหว่างเครือข่าย เพื่อสร้างสังคมแห่ง การให้และแบ่งปันและสามารถปฏิบัติงานได้บรรลุตามเจตนารมณ์ รว่ มกัน 5

วัตถุประสงคข์ องการสรา้ งเครือขา่ ยการคมุ้ ครองแรงงาน การสร้างเครื อข่ายการคุ้มครองแรงงานมี ข้ึ น เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและความสามารถของกลุ่มบุคคล จากหลากหลายภาคส่วน ในการร่วมกันเป็นภาคีเครือข่าย ทางานร่ วมกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายคุ้มครองแรงงานให้สามารถ ช่วยเหลือ เกื้อกูล แลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์ด้านแรงงาน ให้คาปรึกษา ด้านแรงงานในการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน พัฒนาและยกระดับการ คุ้มครองแรงงานให้ครอบคลุมและท่ัวถงึ วัตถปุ ระสงคห์ ลกั ภาคเี ครอื ข่ายการคุม้ ครองแรงงาน 1 เพ่ือให้กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานมีเครือข่ายท่ีมาจากหลากหลายภาคส่วน มกี ารดาเนนิ การที่มคี วามเขม้ แข็งตอ่ เนอื่ งและยั่งยนื 2 เพ่ือให้เครือข่ายคุ้มครองแรงงานมีโอกาสได้รับทราบสถานการณ์ด้านแรงงาน ทีเ่ ป็นปจั จุบนั และไดแ้ ลกเปล่ยี นประสบการณแ์ ละข้อมลู ข่าวสาร 3 เพือ่ ใหผ้ ใู้ ช้แรงงานไดร้ บั การคมุ้ ครองสทิ ธปิ ระโยชนต์ ามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 6

คณุ สมบัติของเครือขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน  มีความรู้ข้ันพนื้ ฐานเก่ียวกับกฎหมายค้มุ ครองแรงงาน และกฎหมายอ่ืนท่ีเกี่ยวขอ้ ง  มคี วามเขา้ ใจสงั คม กระบวนการทางานของแรงงาน ทัง้ ในระบบและนอกระบบ  มวี สิ ัยทศั น์ มคี วามรูร้ อบตวั ใฝรุ ู้  มบี ุคลิกเปน็ ผปู้ ระสานงาน มีมนษุ ย์สัมพนั ธ์  มคี วามเสยี สละ กระตือรือรน้ มคี วามตั้งใจทจ่ี ะช่วยเหลอื ผู้ประสบปญั หาดา้ นแรงงาน และเปน็ ผู้มจี ิตอาสา  มีความเป็นกลาง รักษาความลับไดเ้ ปน็ อยา่ งดี กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 7

บทบาทหนา้ ทข่ี องเครือขา่ ยการคมุ้ ครองแรงงาน มีความรู้ ความเข้าใจ พร้อมที่จะเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ความรู้เก่ียวกับ สิทธิและหน้าที่ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 รวมท้ังความรู้อื่นที่เกี่ยวข้อง กจิ กรรม ขา่ วสาร ขอ้ มลู ของทางราชการที่เปน็ ประโยชนแ์ ก่บุคคลทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง นายจ้าง ลูกจ้าง และ ประชาชนท่วั ไป ให้มีความรูค้ วามเข้าใจอยา่ งถกู ตอ้ งแทจ้ รงิ เป็นรูปธรรม ให้คาปรึกษา แนะนา นายจ้าง ลูกจ้างที่ประสบปัญหาจากการทางาน และปัญหาส่วนตัว แนะนาเบ้ืองต้นเก่ียวกับข้อกฎหมาย และ หน่วยงาน ท่ีใหค้ วามชว่ ยเหลือแก่ผตู้ ้องการความชว่ ยเหลอื ส่งเสริมความเข้าใจที่ดีระหว่างภาครัฐกับบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง นายจ้าง ลกู จ้าง และประชาชนท่ัวไป ขยายเครือข่ายให้มีสมาชิกเพิ่มขึ้น เพ่ือสนับสนุนการ ปฏิบัติงาน ให้เกิดประสทิ ธิผลมากข้นึ ช่วยสอดส่อง ดูแล เฝูาระวัง แจ้งเบาะแส กรณีเมื่อพบ เห็น การใช้แรงงานไม่ถูกต้องและไม่เป็นธรรม มีการทาร้ายร่างกาย กักขัง หน่วงเหน่ียว แจ้งเบาะแสเมือ่ พบเห็นว่ามีแนวโน้มท่ีจะเกดิ ปญั หาดา้ นแรงงานในสถานประกอบกจิ การ ต่อกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน ให้ความร่วมมือกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ในการ ปฏบิ ตั ิงานในฐานะเครอื ข่ายคุ้มครองแรงงาน รายงานผลการปฏบิ ัติงานต่าง ๆ เช่น การแจ้งเบาะแส การให้คาปรึกษา แนะนา และการแบ่งปันข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ให้กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ทราบทุกครั้งผ่านชอ่ งทางท่ีกาหนด กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน 8

ประโยชนข์ องเครือขา่ ยการค้มุ ครองแรงงาน  ขยายให้การปฏิบัติงานด้านคุ้มครองแรงงานของ กรมสวัสดกิ ารและคุม้ ครองแรงงาน เป็นไปอย่างทวั่ ถงึ ครอบคลุมทกุ ภาคส่วน  ดูแลลูกจ้างให้ได้รับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน มีสภาพการทางานที่ดีมีความปลอดภัยในการทางาน ได้รับสวัสดิการ ตามกฎหมายและนอกเหนือกฎหมายกาหนด ทางานอย่างมีความสุข และมคี ุณภาพชวี ติ ทีด่ ีบนหลักคุณธรรมและไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ  ช่วยแก้ไขปัญหาด้านแรงงาน นาไปสู่การลดข้อขัดแย้ง ในสถานประกอบกจิ การ  กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้รับทราบข้อมูล หรือเบาะแส การใช้แรงงานที่ไม่ถูกต้อง สามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาได้ทันเวลา เป็นผลให้ ลกู จา้ งได้รบั ความชว่ ยเหลอื ไดท้ นั ท่วงที  ยกระดับการพัฒนาระบบการค้มุ ครองแรงงาน กรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน 9

กลมุ่ เปา้ หมายในการปฏิบตั ิงานของเครอื ขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน 1. แรงงานทั่วไป 2. แรงงานหญงิ 3. แรงงานเดก็ 4. แรงงานข้ามชาติ 5. องค์กรพฒั นาเอกชน (NGOs) ท่ีทางานดา้ นเครือข่ายคุ้มครองแรงงาน แนวทางการสรา้ งเครือขา่ ยการคมุ้ ครองแรงงาน (1) สาหรบั สมาชิกเครอื ข่ายคุ้มครองแรงงาน ก า ห น ด ก ลุ ่ม เ ป ูา ห ม า ย ห น ุน เ ส ร ิม ใ ห ้เ ข ้า ร ่ว ม เป็นสมาชิกเครอื ข่ายการคมุ้ ครองแรงงาน เชิญชวนกลุ่มเปูาหมายเขา้ ร่วมกลุ่มไลน์เครือข่ายคุ้มครองแรงงาน เพื่อรับทราบข้อมูลข่าวสารและสาระความรู้ต่าง ๆ ตลอดจนใช้กลุ่มไลน์ เป็นชอ่ งทางในการสอ่ื สาร หรอื แจง้ เบาะแสเมือ่ พบเหน็ การกระทาผิดดา้ นแรงงาน ปฏิบัติหนา้ ที่เครอื ขา่ ยคุม้ ครองแรงงาน กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 10

แนวทางการปฏิบัตงิ านของเครอื ข่ายการคุ้มครองแรงงาน เพ่อื ช่วยเหลือแรงงาน (1) 1. การให้ความช่วยเหลือแรงงานจาเป็นต้องมีความร้เู กี่ยวกับ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน ทราบถึงสภาพปัญหาของแรงงานท่ีเกิดข้ึน เช่น นายจ้างไม่สามารถจ้างแรงงานอายุต่ากว่า 15 ปีเข้าทางานได้ นายจ้างหรอื หัวหนา้ งานผคู้ วบคมุ งาน หรอื ผู้ตรวจงานไมส่ ามารถกระทา การล่วงเกินทางเพศต่อลูกจ้างหญิงและเด็ก การเปล่ียนตัวนายจ้าง หากลูกจ้างมีสิทธิเดิมอย่างไร ให้ลูกจ้างมีสิทธิเช่นน้ันต่อไป โดยให้ นายจา้ งใหม่รับไปทง้ั สิทธิและหนา้ ที่ของลูกจา้ งน้นั ทุกประการ 2. เม่ือทราบสาเหตุของสภาพปัญหาแล้วจะต้องทาการตรวจสอบข้อมูล โดยตรวจสอบข้อเท็จจริงให้ถูกต้องชัดเจนก่อนแจ้งข้อมูลให้กับเจ้าหน้าที่ เพอ่ื เขา้ ทาการช่วยเหลือ 3. ข้อเท็จจริงของสภาพปัญหาท่ีเกิดขึ้น อาจได้ข้อเท็จจริง บางส่วนและพฤติการณ์เส่ียงเท่าน้ัน ซ่ึงต้องอาศัยความร่วมมือจาก บุคคลทั่วไปในการแจ้งเหตุ หรือลูกจ้างท่ีถกู ละเมิดแจง้ เหตดุ ้วยตนเอง กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 11

แนวทางการปฏิบัติงานของเครอื ข่ายการคมุ้ ครองแรงงาน เพื่อชว่ ยเหลอื แรงงาน (2) 4. ข้อมูลท่ีจาเป็นที่ผู้แจ้งควรทราบ ช่วยให้พนักงานตรวจ แรงงาน ใหค้ วามชว่ ยเหลือไดร้ วดเรว็ ขึน้ ไดแ้ ก่ - ช่อื สถานท่ี/ที่ตัง้ ของสถานประกอบกิจการ ประเภทกิจการ - ขอ้ มลู เบื้องตน้ ของนายจา้ งเท่าที่จาเป็น - สภาพปัญหาเพื่อประเมินความรุนแรงของปัญหาและวางแผน แนวทางการชว่ ยเหลอื - ข้อมูลลูกจ้าง ควรต้องรู้สถานภาพ อายุ สัญชาติ จานวนลูกจ้างภายใน สถานประกอบกิจการหรือในบา้ นท่ลี กู จ้างทางานอยู่ 5. ข้อบ่งช้ีสถานการณว์ า่ น่าจะมพี ฤตกิ ารณล์ ะเมดิ สทิ ธิ 6. หากปัญหาที่เกิดข้ึนเก่ียวข้องกับสภาพการจ้าง ให้แจ้งพนักงานตรวจแรงงาน โทรศัพท์สายด่วน 1546 หรือแจ้งข้อมูลที่สานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ในพื้นท่ีท่ีลกู จ้างทางานอยู่ 7. กรณีถูกทาร้ายร่างกาย ถูกล่วงเกินทางเพศ กักขังหน่วงเหน่ียว ควรแจ้งเจ้าหน้าที่ตารวจ โทรศัพท์สายด่วน 191 หรือ สถานีตารวจในเขตพ้นื ทน่ี น้ั ๆ 8. กรณไี ดข้ ้อมูลจากลกู จา้ งโดยตรง ซึ่งมที ้งั กรณหี นีออกมาได้ หรือเคยทางาน อยู่ในสถานประกอบกิจการน้ัน ควรแจ้งองค์กรที่เก่ียวข้องเพ่ือช่วยเหลือ เช่น ทีมสหวิชาชพี ตารวจ ฯลฯ กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน 12

การแจง้ เบาะแส (1) สาหรบั เครอื ขา่ ยคมุ้ ครองแรงงาน  การแจง้ เบาะแสควรมขี อ้ มลู อะไร เม่ือพบหรือมีข้อมูลว่ามีการใช้แรงงานไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน เครือข่ายการคุ้มครองแรงงานควรจะต้องทราบรายละเอียดในเรื่องตอ่ ไปน้ี 1. ใคร หม ายถึง ผู้ ที่ให้ข้อ มูลแ ก่เค รือข่ายฯ ชื่ ออะ ไร ผู้ท่ีประส บกั บ ความเดือดร้อนชือ่ อะไร ทอี่ ยู่ปัจจบุ ัน หมายเลขโทรศัพท์ทีส่ ามารถตดิ ต่อได้ 2. ทาอะไร หมายถึง แรงงานที่ประสบปัญหาน้ันทางานในกิจการอะไร เช่น เย็บผ้า ทางานในร้านอาหาร และทางานมานานก่ีเดือน กี่ปี เวลาทางาน เรม่ิ เวลาไหน เลิกเวลาไหน เป็นต้น 3. ท่ีไหน หมายถึง ช่ือสถานท่ีต้ังของสถานประกอบกิจการ ท่ีทางาน ของแรงงานที่ประสบปัญหาว่าต้ังอยู่เลขท่ีอะไร ตรอก ซอย ถนน แขวง เขต เบอรโ์ ทรศพั ท์ ชอ่ื ของนายจา้ ง เป็นตน้ 4. เ ม่ื อ ไ ร หม า ย ถึง วั น เ ดือ น ปี ท่ี เ กิด เ ห ตุกา ร ณ์ ( กร ณี ถู กเ ลิ ก จ้า ง หรือถูกกระทาการใดๆ ท่ีเป็นการละเมิดต่อลูกจ้าง เช่น ถูกทาร้าย ร่างกาย ล่วงเกนิ ทางเพศ เป็นต้น) 5. อย่างไร หมายถึง เร่ืองที่นายจ้างทาไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ต่อลกู จ้าง กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 13

การแจง้ เบาะแส (2) สาหรับเครอื ขา่ ยคมุ้ ครองแรงงาน  ข้นั ตอนในการแจง้ เบาะแส 1. กรณีไม่เกี่ยวข้องในเร่ืองของแรงงาน เม่ือเครือข่ายได้ข้อมูลมาไม่ว่าจะจาก ประชาชนทว่ั ไปแตพ่ บเห็นการกระทาผดิ หรอื ผู้ท่ีเป็นลูกจ้าง หรือได้ข้อมูลจากบุคคลอื่น แต่เปน็ เรอ่ื งทีไ่ ม่เก่ยี วกับการใชแ้ รงงาน เช่น เรื่องเกี่ยวกับประกันสังคม ให้สอบถามด้วย ท่าทีท่ีเป็นมิตร ให้คาแนะนา ในเบ้ืองต้น หรือแนะนาให้โทรศัพท์ไปขอคาปรึกษาได้ท่ี โทรศพั ท์ สายดว่ น 1506 กด 1 สานกั งานประกันสงั คม 2. กรณีเป็นเร่ืองที่เก่ียวกับแรงงาน เม่ือเครือข่ายได้ข้อมูลมาไม่ว่าจะจากผู้อื่นที่ไม่ได้เป็นลูกจ้าง แต่พบเห็นการกระทาผิด หรือผู้ที่เป็นลูกจ้าง และเป็นเรื่องที่เก่ียวกับการใช้แรงงาน อย่างไมถ่ ูกตอ้ ง ใหเ้ ครอื ขา่ ยสอบถามข้อมูลรายละเอียดให้มากทสี่ ดุ และแจ้งเบาะแสได้ที่ สายด่วนกรมสวัสดกิ ารฯ 1546 และ สายด่วนศูนย์บริการข้อมูลฯ 1506 กด 3 หรอื สานกั งานสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงานกรุงเทพมหานครพ้นื ที่ 1 – 10 หรือ สานกั งานสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงานจงั หวดั ทกุ จงั หวัด ( ดใู นภาคผนวก สแกน QR Code) หรอื Line Official กองคมุ้ ครองแรงงาน @187mrglx กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 14

การแจง้ เบาะแส (3) 3. หากพบว่าลูกจ้างต่างด้าวเป็นหญิงหรือเด็กท่ีหลบหนีออกมาจากท่ีทางาน และ ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ในเบ้ืองต้น ให้ตดิ ตอ่ สายด่วน 1546 หรือ สานักงานสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นท่ี 1 - 10 หรอื สานกั งานสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงานจังหวดั ทกุ จังหวดั ( ดูในภาคผนวก สแกน QR Code) หรอื กรมพัฒนาสงั คมและสวสั ดกิ าร หรอื สถานีตารวจที่อยใู่ กล้ท่สี ดุ **ในการแจง้ เบาะแสแต่ละคร้งั ขอให้เครือข่ายทกุ ทา่ นแจง้ ชื่อของท่านดว้ ย ทง้ั นี้ ข้อมลู ของท่านจะถูกเก็บไวเ้ ปน็ ความลับ 15

หมวด 2 : การรายงานผลการปฏิบตั งิ านของเครือขา่ ยการคมุ้ ครองแรงงาน เครอื ข่ายการคมุ้ ครองแรงงานท่ไี ด้ปฏิบัตงิ าน • ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผใู้ ช้แรงงานที่ไม่ไดร้ ับความเป็นธรรมด้านกฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน • เผยแพร่ความร้กู ฎหมายคมุ้ ครองแรงงานให้ลูกจา้ ง นายจ้างและประชาชนท่วั ไป • เม่ือให้ความชว่ ยเหลือผใู้ ชแ้ รงงาน ใหร้ ายงานผลการปฏิบัติงานไปยงั กรมสวัสดกิ ารและคุม้ ครองแรงงานทกุ คร้งั /ทุกเดือน ผ่านลิงก์ https://forms.gle/uJCz9STaNBMkubsu9 หรือสแกนคิวอาร์โค้ดดา้ นลา่ งนี้ แบบรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานฯ กรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน 16

แบบสมัครสมาชกิ ใหม่/ตอ่ อายุสมาชิก ชมรมเครือขา่ ย การคุม้ ครองแรงงานของกรมสวัสดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน - สมาชิกใหมส่ ามารถสมคั รสมาชิกได้ตาม QR Code นี ้ หรือ ได้ผา่ นการกรอกแบบฟอร์มของลิงก์ https://forms.gle/tD2uqEkUN8A1LZbC8 - เมื่อสมคั รแล้วสามารถเป็นสมาชิกได้ตลอดชีพ (ไมม่ ีวนั หมดอาย)ุ / ตอ่ อายสุ มาชิก* 17 กรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน

หมวด 3 : กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 20

แนวทางการสรา้ งเครือข่ายการคุ้มครองแรงงาน (2) สาหรบั เจ้าหน้าทีก่ รมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 1. กาหนดกลุ่มเปาู หมายท่ีจะเชญิ เขา้ รว่ มเปน็ สมาชกิ เครือขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน 2. กาหนดคณุ สมบัติ และบทบาทหนา้ ทข่ี องเครอื ขา่ ยคุ้มครองแรงงาน 3. กาหนดหลักสตู รการฝึกอบรมเครอื ขา่ ยการค้มุ ครองแรงงาน 4. ทาหนังสอื เชิญกลุ่มเปูาหมายเข้ารบั การฝึกอบรมตามหลกั สตู ร 5. การจัดทากลุ่มไลน์เครือข่ายสาหรับใช้เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารของเครือข่าย การคุ้มครองแรงงาน และเพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ใหส้ มาชกิ ได้รบั ทราบ 6. จัดทาทะเบียนสมาชิกชมรมเครือข่ายคุ้มครองแรงงาน และทาเนียบเครือข่าย คมุ้ ครองแรงงาน 7. ให้สมาชิกเครือข่ายคุ้มครองแรงงาน เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ เพื่อสานต่อ สมั พนั ธภาพและพัฒนาเครือข่ายใหเ้ ขม้ แขง็ อย่างต่อเนอื่ ง 8. ติดตามสนับสนุนการปฏิบัติงานของเครือข่ายการคุ้มครองแรงงาน เพ่ือร่วมกัน หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานของเครือข่ายคุ้มครองแรงงาน และพัฒนาให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเป็นรูปธรรมท่ีชัดเจน และเป็นไปในทิศทาง เดยี วกันไดอ้ ย่างยัง่ ยืน กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 19

ภารกจิ ของหนว่ ยงาน สังกัดกระทรวงแรงงาน กระทรวงแรงงาน ประกอบดว้ ยหน่วยงานในสงั กัด 7 หน่วยงาน คอื 1. สานกั งานรฐั มนตรี 2. สานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน 3. กรมการจัดหางาน 4. กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน 5. กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 6. สานกั งานประกนั สงั คม 7. สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) โดยมภี ารกิจหนา้ ทีแ่ ตกตา่ งกันไป ดังต่อไปนี้ กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 20

หน่วยงานสงั กัดกระทรวงแรงงาน 1. สานักงานรัฐมนตรี มีภารกิจเก่ียวกับราชการทางการเมือง เพื่อสนับสนุน ภารกจิ ของรัฐมนตรี ประสานนโยบายระหว่างกระทรวง โดยมอี านาจหนา้ ที่ 1. รวบรวมข้อมลู และวิเคราะห์ กลนั่ กรองเร่ืองเพ่อื เสนอ ต่อรฐั มนตรี รวมทง้ั เสนอความเหน็ ประกอบการวินิจฉยั ของ รัฐมนตรี 2. สนับสนนุ การทางานของรฐั มนตรีในการดาเนินงาน ทางการเมอื งระหว่างรัฐมนตรี คณะรฐั มนตรี รัฐสภาและ ประชาชน 3. ประสานงานการตอบกระทู้ ชีแ้ จงญัตติ ร่างพระราชบญั ญัติ และกจิ การอน่ื ทางการเมือง 4. ดาเนนิ การพจิ ารณาเร่อื งรอ้ งทกุ ข์ รอ้ งเรยี น หรอื รอ้ งขอ ความช่วยเหลือต่อรฐั มนตรี กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 21

หนว่ ยงานสงั กดั กระทรวงแรงงาน 2. สานักงานปลดั กระทรวงแรงงาน วสิ ยั ทศั น์ : แรงงานมีศักยภาพสงู มีงานทาและมีหลักประกนั ทางสงั คมทดี่ ี พนั ธกิจ : 1. พฒั นากาลงั แรงงานใหเ้ ปน็ แรงงานศกั ยภาพสูง 2. สง่ เสรมิ การมงี านทาให้กบั กาลังแรงงานทุกกลุ่ม 3. สร้างหลักประกนั ทางสงั คม คมุ้ ครองแรงงาน และความปลอดภยั ในการทางาน 4. ส่งเสริมความรว่ มมือด้านแรงงานระหวา่ งประเทศและด้านความม่นั คง 5. สง่ เสริมและพัฒนาองค์กร เป็นองคก์ รประสทิ ธภิ าพสูงพรอ้ มรับและปรับตวั เขา้ กบั การเปลีย่ นแปลง 6. พฒั นาระบบการใหบ้ ริการด้านแรงงานดว้ ยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั คา่ นยิ มองคก์ ร \"M O L\" : M : Morality มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม O : Outcome Oriented ทางานแบบมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ L : Life Long Learning เรยี นรตู้ ลอดชีวติ แนวทางการดาเนนิ งาน/พัฒนา : 1. การพัฒนาศักยภาพแรงงานและผปู้ ระกอบการใหส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน เพื่อสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจ และแขง่ ขนั ไดอ้ ย่างย่ังยนื 2. การคุม้ ครองและเสรมิ สร้างความมั่นคง หลักประกนั ในการทางาน และคุณภาพชวี ิตที่ดี 3. การบริหารจัดการด้านแรงงานระหวา่ งประเทศ 4. การพฒั นากลไกในการสร้างความสมดุลของตลาดแรงงาน เพื่อสร้างความยั่งยืนใหภ้ าคแรงงาน 5. การบรหิ ารจัดการองค์กร บคุ ลากร ด้วยหลักธรรมาภิบาล และเสรมิ สร้างการมสี ว่ นรว่ มในองค์กร 6. การพฒั นาเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ เพื่อบรู ณาการสารสนเทศท่ีทนั สมัย และมเี สถยี รภาพ 7. กรอบนโยบายของประเทศที่สาคญั 22 กรมสวสั ดกิ ารและคุม้ ครองแรงงาน

หนว่ ยงานสงั กัดกระทรวงแรงงาน 3. กรมการจัดหางาน ภารกจิ ของกรมการจดั หางาน 3.1 การบริการจดั หางานในประเทศ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีงานทา มีรายได้ท่ีเหมาะสม รับรู้ข่าวสารตลาดแรงงานท่ีทันสมัย รวดเร็ว ช่วยลดปัญหาการว่างงานและการขาดแคลนแรงงาน โดยให้บริการกับประชาชนทุก กลุ่มเปูาหมาย ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้พ้นโทษ ทหารก่อนปลดประจาการ แรงงานที่อยู่บนพ้นื ทส่ี งู ผูป้ ระสบภยั ธรรมชาตแิ ละสาธารณภยั ผ้ผู ่านการบาบดั ยาเสพติด เปน็ ตน้ 3.2 การแนะแนวและการส่งเสรมิ การประกอบอาชีพ เพ่อื ใหน้ ักเรยี น นกั ศึกษา ประชาชนทั่วไป ผู้ท่ีอยู่ในวัยทางานและผู้กาลังเข้าสู่ตลาดแรงงานได้ มีความรู้ความสามารถ และทราบความถนดั ในการประกอบอาชพี ของแตล่ ะคน 3.3 การบริหารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ เพื่อกากับ ดูแล การพัฒนากระบวนการจัดส่งแรงงานไทยไปทางานต่างประเทศให้มี ประสิทธิภาพ และคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของคนหางานและลูกจ้างท่ีไปทางานหรือฝึกงานใน ตา่ งประเทศ รวมทงั้ ส่งเสรมิ การขยายตลาดแรงงานไทยไปต่างประเทศ 3.4 การคุม้ ครองคนหางาน เพือ่ คุ้มครองและปอู งกนั มใิ ห้คนหางานถูกหลอกลวงจากการหางานทา ถกู เอารดั เอาเปรียบจาก บริษัทจัดหางาน/สานักงานจัดหางาน และบุคคลท่ีมีพฤติการณ์หลอกลวงคนหางาน รวมถึงการใช้ มาตรการทางกฎหมายเพือ่ ปอู งกนั และลงโทษผ้หู ลอกลวงทเี่ อารดั เอาเปรียบคนหางาน 3.5 การจดั ระบบการทางานของคนต่างด้าว เพื่อดูแล ตรวจสอบ และควบคุมการทางานของคนต่างด้าวในประเทศให้เป็นไปตามกฎหมาย และ เกิดประโยชน์แก่ประเทศไทยมากที่สุด รวมถึงการคุบคุมแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง ซง่ึ ได้รับการผ่อนผนั ให้ประกอบอาชพี เปน็ การชวั่ คราว 23

หน่วยงานสังกดั กระทรวงแรงงาน 3. กรมการจัดหางาน ภารกจิ ของกรมการจดั หางาน 3.1 การบรกิ ารจัดหางานในประเทศ การดาเนนิ งาน 1. การจดั งานนดั พบตลาดงานเชิงคุณภาพ เป็นการดาเนินงานด้วยระบบ IT ซึ่งจะทาให้ผู้สมัครงานและ นายจ้างที่เข้าร่วมงานได้รับความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายได้มาก โดยผู้สมัครงานสามารถลงทะเบียน ลว่ งหนา้ ผา่ นทางอนิ เตอรเ์ น็ตเพ่อื สมัครงาน 2. การจดั งานวนั นดั พบแรงงานใหญแ่ ละยอ่ ย เพอื่ อานวยความสะดวกให้นายจา้ ง/สถานประกอบการและ ผู้สมัครงานได้พบและพิจารณาคดั เลอื กกัน 3. การใหบ้ ริการจัดหางาน รับสมัครงาน บรรจุงาน จัดหาตาแหน่งงานว่าง ณ หน่วยบริการของกรมการจัดหา งานที่มีอยู่ท่ัวประเทศทั้งในส่วนกลาง 11 แห่ง ( สานักงานจัดหางานกรุงเทพมหานครเขตพ้ืนท่ี 1- 10 และศูนย์บริการ Smart Job Center ) ส่วนภมู ิภาค จานวน 77 แห่ง (สานกั งานจัดหางานจงั หวดั ) 4. การให้บริการจัดหางานเชิงรุกโดยรถ Mobile Unit เคล่ือนท่ีเข้าไปให้บริการในระดับตาบล หมู่บ้าน ชุมชน ครัวเรือน เพ่ือประชาสัมพันธ์ ตาแหน่งงานว่าง ให้บริการจัดหางาน แนะแนวอาชีพและอบรมอาชีพเสริมให้กับ ประชาชนพื้นที่ 5. การให้บรกิ ารจดั หางานและคุม้ ครองคนหางานตลอด 24 ชัว่ โมง โดยให้บริการจัดหางานและคุ้มครอง คนหางานท่ีเดินทางเข้ามาหางานทาในเขต กรุงเทพฯ และปริมณฑล มีจุดให้บริการ ณ สถานีขนส่งผู้โดยสาร กรุงเทพฯ (สายใต้ใหม่), สถานีขนสง่ หมอชิต 2 และสถานรี ถไฟหวั ลาโพง 6. การให้บริการจัดหางานทางอินเตอร์เน็ต โดยผู้สมัครงานสามารถค้นหาตาแหน่งงานของนายจ้าง / สถานประกอบการ และสมัครงานผา่ นระบบอนิ เตอร์เนต็ ของกรมการจดั หางานไดท้ ่ี Website: http://smartjob.doe.go.th 7. ประสานการเคลื่อนย้ายแรงงานอย่างเป็นระบบ เพื่อเคลื่อนย้ายแรงงานจากจังหวัดที่มีผู้สมัครงานมาก ไปยงั จงั หวัดท่ีขาดแคลนแรงงานและมีความต้องการแรงงานเป็นจานวนมาก รวมท้ังมีการเคล่ือนย้ายนายจ้าง/สถานประกอบการ ใหไ้ ปรับสมคั รงานในจังหวดั ท่ีมีผูส้ มัครงานจานวนมากดว้ ย 8. การให้บริการจัดหางานแกผ่ ู้ประกนั ตนกรณวี า่ งงานตามพระราชบัญญตั ปิ ระกนั สังคม 9. การพัฒนาระบบบริการจัดหางานในประเทศ เพื่อให้มรี ะบบรปู แบบและมาตรฐานเดียวกัน 10. การจดั หางานให้กับกลมุ่ คนพิเศษ คือ คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้พ้นโทษ และนักเรียน นักศึกษา เพ่ือส่งเสริม ให้กลุ่มคนเหลา่ นี้มโี อกาสเข้าถึงขอ้ มลู ขา่ วสารตลาดแรงงานอย่างทั่วถึง และได้พบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลกับนายจ้างโดยตรง รวมถึง เปน็ การสรา้ งแรงจงู ใจใหน้ ายจ้าง/สถานประกอบการเห็นถงึ ความสาคัญของการจา้ งงานบุคคลดงั กล่าวและรับเข้าทางาน โดยในส่วน ของกรมการจัดหางานได้มีการจ้างเหมาคนพิการ จานวน 86 อัตรา และ ผู้สูงอายุ จานวน 20 อัตรา ทางานในหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้ภาครัฐเป็นหน่วยงานอย่างในการจ้างงานคนพิการและผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นการแสดงถึงความตั้งใจของภาครัฐที่จะ ให้ การสนับสนนุ คนพิการ ผสู้ ูงอายุ ให้ไดร้ ับสทิ ธิและโอกาสเท่าเทยี มกับผอู้ นื่ และเป็นแบบอย่างให้กับภาคเอกชน 11. การอบรมแรงงานไทยเพื่อความม่ันคงในอาชีพ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจใน เร่ือง 24 สภาพการทางานในสถานประกอบการ สิทธิประโยชนแ์ ละหน้าทีท่ ่คี วรได้รับตาม

ภารกจิ ของกรมการจัดหางาน 3.2 การแนะแนวและการสง่ เสริมการประกอบอาชีพ การดาเนนิ งาน 1. ให้บรกิ ารแนะแนวอาชพี แก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไป เพ่ือให้ทราบถึงโลกอาชีพ โลกการศึกษา เพื่อเป็นการเตรียมตัวก่อนเข้าสู่ ตลาดแรงงาน ตลอดจนการให้บริการทดสอบความพร้อมทางอาชีพ เพ่ือเป็นแนวทาง ในการเลือกศึกษาต่อ หรือการเลือกประกอบอาชีพให้ตรงกับบุคลิกภาพ ความถนัด ความรู้ความสามารถ และความต้องการของตลาดแรงงาน 2. ส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระ ให้บริการแนะนาการประกอบ อาชพี อิสระ การประสานงานในเรอ่ื งแหล่งฝึกอาชีพ แนะนาเงินทุนภาครัฐและเอกชน เผยแพรข่ อ้ มูลอาชีพ รวมถึงการจดั สาธิตและฝึกปฏบิ ตั ิอาชพี อิสระ 3. ผลิตและเผยแพร่ส่ือต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับการแนะแนวอาชีพ ในรูปแบบ ของแผ่นพับ โปสเตอร์ หนังสือข้อมลู อาชีพ CD/VCD ชดุ นิทรรศการรูปแบบตา่ งๆ 4. ให้บริการศูนย์ข้อมูลอาชีพ โดยเป็นแหล่งสารสนเทศข้อมูล ด้านอาชีพต่างๆ เพ่ือให้นักเรียนนักศึกษา ศึกษาค้นหว้าหาข้อมูลด้านอาชีพเพื่อ เป็นแนวทางในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อหรือเรียนรู้เพื่อเข้าสู่อาชีพที่ถูกต้องและ เหมาะสมกับเป็นการเตรียมความพรอ้ มก่อนเขา้ สู่ตลาดแรงงาน 5. การจดทะเบียนกลุ่มผู้รับงานไปทาท่ีบ้าน โดยส่งเสริมให้ผู้รับงาน ไปทาท่ีบ้านได้มีการรวมตัวกัน เพื่อจัดต้ังกลุ่ม ทาให้กลุ่มมีความเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพและศักยภาพในการรับงานและการผลิต และส่งเสริม ให้ กลุม่ กู้เงินกองทนุ ผรู้ ับงานไปทาทบ่ี า้ นเพอื่ ขยายและพฒั นาศักยภาพในการผลติ 25

ภารกิจของกรมการจดั หางาน 3.3 การบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ การดาเนินงาน 1.บรหิ ารและบริการจัดสง่ แรงงานไทยไปทางานต่างประเทศ 2.เปน็ ศนู ยข์ อ้ มลู และทะเบยี นแรงงานไทยไปทางานต่างประเทศ 3.คุ้มครองสทิ ธปิ ระโยชน์ของแรงงานไทยที่ไปทางานในต่างประเทศ 4.สง่ เสริมและพัฒนาระบบการจัดสง่ แรงงานไทยไปทางานต่างประเทศ 5.ฝึกอบรมและพัฒนาความพร้อมคนหางานก่อนไปทางานตา่ งประเทศ 6.ส่งเสรมิ การขยายตลาดแรงงานไทยไปทางานต่างประเทศ 7.กาหนดแนวทางและสง่ เสริมตลาดแรงงานต่างประเทศให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายของรัฐบาล ทัง้ น้ี การเดินทางไปทางานในต่างประเทศอยา่ งถูกต้องตามกฎหมาย มี 5 วธิ ี ดงั น้ี 1. กรมการจัดหางานเป็นผู้จัดส่ง คือ บริการที่รัฐโดยกรมการจัดหางานเป็นผู้ดาเนินการ ให้แก่ คนท่ีหางานท่ีประสงค์จะไปทางานต่างประเทศ ซ่ึงคนหางานไม่ต้องเสียค่าบริการแต่เสียค่าใช้จ่าย ทจ่ี าเปน็ และเทา่ ทจี่ ่ายจริง เช่น คา่ ทาหนังสือเดินทาง ค่าตรวจสขุ ภาพ คา่ วีซา่ คา่ ภาษีสนามบิน เป็นตน้ 2. บริษัทจัดหางานจัดส่ง ต้องเป็นบริษัทจัดหางานท่ีได้รับอนุญาตจากกรมการจัดหางาน การรับสมัครคนหางานและจัดส่งคนหางานไปทางานต้องได้รับอนุญาตจากกรมการจัดหางานก่อนจึงจะ ประกาศรบั สมัครและจดั ส่งไปทางานได้ 3. นายจ้างในประเทศไทยพาลูกจ้างของตนไปทางานต่างประเทศ นายจ้างในประเทศไทย ทมี่ บี ริษัทในเครืออยู่ในต่างประเทศ หรือประมูลงานในต่างประเทศได้ และประสงค์จะพาลูกจ้างไปทางาน ตอ้ งขออนญุ าตการเดินทางไปทางานต่างประเทศต่อกรมการจดั หางาน 4. นายจ้างในประเทศไทยส่งลูกจ้างของตนไปฝึกงานในต่างประเทศ นายจ้างต้องแจ้งการ เดินทางไปฝกึ งานของลูกจ้างต่อกรมการจดั หางานโดยยนื่ แบบแจ้งการสง่ ลูกจา้ งไปฝึกงานในตา่ งประเทศ 5. คนหางานแจ้งการเดินทางไปทางานต่างประเทศด้วยตัวเอง คนหางานติดต่อไปทางานกับ นายจ้างในต่างประเทศด้วยตนเอง หรือคนหางานที่ทางานครบสัญญาจ้างแล้วได้ต่อสัญญาจ้าง เมื่อเดินทาง กลบั มาพักผอ่ นช่ัวคราวในประเทศไทยและจะกลับไปทางานอีก ตอ้ งแจง้ ต่อกรมการจัดหางานก่อนวนั เดินทาง 26

ภารกจิ ของกรมการจัดหางาน 3.4 การค้มุ ครองคนหางาน การดาเนินงาน 1. การพิจารณา ตรวจสอบ คาขอรับใบอนุญาตจัดตั้งบริษัทจัดหางาน/สานักงาน จัดหางานเพ่ือจัดหางาน ให้คนหางานทางานในประเทศและต่างประเทศ การต่ออายุใบอนุญาต การขอจดทะเบียนและมบี ตั รประจาตัวผู้รับอนญุ าต การขอเปล่ยี นแปลงทางทะเบยี นต่างๆ การขอยกเลิก หรือเพิกถอนหรือส้ินสภาพใบอนุญาตจัดหางาน รวมถึงการตรวจสอบหลักประกัน การหักหลักประกัน และการเกบ็ รกั ษาหลกั ประกนั เพอ่ื ให้เป็นไปตามกฎหมายกาหนด 2. การรบั เรือ่ งและวินจิ ฉัยคารอ้ งทุกขข์ องคนหางานเก่ยี วกบั การจัดหางานพิจารณา ดาเนินการลงโทษทางทะเบียน และดาเนินคดีทางอาญากับผู้ฝุาฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ว่าด้วยการจดั หางานและคุ้มครองคนหางาน 3. ตรวจสอบควบคุมการจัดหางานในประเทศและต่างประเทศของผู้รับอนุญาต จัดหางาน สืบเบาะแส ติดตามความเคล่ือนไหวและพฤติการณ์การหลอกลวงคนหางานของสาย/ นายหน้าจดั หางานเถ่ือน 4. ตรวจสอบเอกสารหลักฐานของคนหางานหรือลูกจ้างท่ีจะเดินทางไปทางานหรือ ฝึกงานในต่างประเทศ ตรวจสอบและระงับเดินทางของบุคคลท่ีมีพฤติการณ์จะลักลอบเดินทางไป ทางานในต่างประเทศ โดยไม่ผ่านขั้นตอนตามที่กฎหมายกาหนด เพื่อให้ความคุ้มครองและปูองกัน การหลอกลวงคนหางานทจ่ี ะเดนิ ทางไปทางานในตา่ งประเทศและขบวนการค้ามนุษย์ 5. ตรวจสอบควบคุมการทางานของคนต่างด้าวให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจสอบ นายจ้าง/สถานประกอบการเพ่ือให้ปฏิบัติตามที่กฎหมายกาหนด รวมถึงประสานกับหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องในการปราบปราม จับกุมและดาเนินคดีแรงงานต่างด้าวลักลอบทางานโดยผิดกฎหมาย และขบวนการคา้ มนษุ ย์ 6. พิจารณาคาขอรับเงินสินบน เงินรางวัล และค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน รวมทั้ง การเบิก – จ่ายเงิน และนาส่งเงินตามกฎหมายว่าด้วยการจัดหางานและคุ้มครองคนหางานและ กฎหมายว่าดว้ ยการทางานของคนต่างด้าว 27

ภารกิจของกรมการจัดหางาน 3.5 การจดั ระบบการทางานของคนต่างดา้ ว การดาเนนิ งาน 1. พิจารณาออกใบอนญุ าตทางาน ต่ออายใุ บอนญุ าตทางาน เปลยี่ นแปลงรายการในใบอนญุ าตทางาน รบั แจง้ เขา้ – ออก จากการทางานของคนตา่ งดา้ ว 2. จดั ประชมุ คณะกรรมการพจิ ารณาการทางานของคนตา่ งดา้ ว 3. ปรับปรุงพระราชกฤษฎีกากาหนดงานในการห้ามคนต่างดา้ ว ทา 4. ศึกษาวจิ ยั งานในอาชีพและวชิ าชีพห้ามคนตา่ งด้าวทา 5. ปรับปรุงระเบยี บวิธกี ารคดิ คา่ ธรรมเนยี มใบอนุญาตทางาน 6. วางมาตรการจดั ระบบเพอื่ ควบคมุ การทางานของแรงงานตา่ ง ด้าว ผิดกฎหมายให้เข้ามาโดยถกู ตอ้ งตามกฎหมาย 7. ควบคมุ ดูแล และตรวจสอบการทางานของคนต่างด้าวให้ เป็นไปตามกฎหมาย 8. จดั ระบบการดาเนนิ งานขององคก์ ารเอกชนตา่ งประเทศ NGOs 28

หน่วยงานสงั กัดกระทรวงแรงงาน 4. กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน ภารกจิ อานาจหนา้ ท่ี กรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีภารกิจเก่ียวกับการส่งเสริมและพัฒนาฝีมือแรงงาน และ ศักยภาพของกาลังแรงงานและผู้ประกอบกิจการ เพื่อให้กาลังแรงงานมีฝีมือได้มาตรฐานในระดับสากล มีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ทั้งในเชิง ปริมาณและคุณภาพ พัฒนาประสิทธิภาพของผู้ประกอบกิจการให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก และ ควบคุมกากับดูแลการประกอบอาชีพท่ีอาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะหรือต้อง ใช้ผู้มีความรู้ ความสามารถ โดยใหม้ ีหนา้ ทีแ่ ละอานาจ ดังตอ่ ไปนี้ (1) ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กฎหมายว่าด้วย การจัดหางานและคมุ้ ครองคนหางานเฉพาะในส่วนที่เก่ียวกับสถานทดสอบฝีมือแรงงานและการทดสอบ ฝมี อื แรงงาน และกฎหมายอ่ืนท่เี กี่ยวขอ้ ง (2) กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน และแนวทางในการพัฒนากาลังแรงงานของ ประเทศและในระดับพื้นที่ ตลอดจนบูรณาการและประสานแผนการฝึกอาชีพของทุกหน่วยงาน ท้งั ภาครฐั และภาคเอกชน (3) จัดทาและพฒั นามาตรฐานฝมี อื แรงงานใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากลและความต้องการ ของตลาดแรงงาน การจัดงานแข่งขันฝีมือแรงงานท้ังในประเทศและต่างประเทศ พัฒนา ระบบ การรับรองความรูค้ วามสามารถ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการกองทุนพฒั นาฝมี อื แรงงาน (4) ส่งเสริมและพัฒนาระบบและรูปแบบการพัฒนากาลังแรงงาน การพัฒนาศักยภาพ แรงงานและ ผู้ประกอบกิจการ การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และ การออกหนังสือรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ (5) ส่งเสริมและประสานความร่วมมือให้ภาครัฐและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการดาเนินการ เกี่ยวกับการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน มาตรฐานฝีมือแรงงาน การรับรองความรู้ความสามารถ และ การสง่ เสรมิ เครือข่าย การพัฒนาฝมี ือแรงงานทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ (6) ดาเนนิ การเกย่ี วกับการเป็นศูนย์กลางขอ้ มูลสารสนเทศการพฒั นากาลังแรงงานของประเทศ หรือคณะร(ฐั7ม)นปตฏริบมี ัตอิกบาหรมอาื่นยใดตามท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นหน้าที่และอานาจของกรมหรือตามท่ีรัฐมน2ต9รี

หนว่ ยงานสงั กัดกระทรวงแรงงาน 5. กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน วสิ ยั ทัศน์ “แรงงานมีคุณภาพชีวิตทดี่ ี ไดร้ ับความคุ้มครองตามมาตรฐานสากล” พนั ธกจิ 1. ยกระดับคุณภาพชีวิต ความปลอดภัยในการทางาน ป้องกนั และแกป้ ัญหาการค้ามนษุ ย์ ดา้ นแรงงาน และรับมอื กับสถานการณ์ทีม่ กี ารเปลยี่ นแปลง 2. สร้างเสริมภาคเี ครือข่ายจากทกุ ภาคสว่ นในการมีสว่ นรว่ มเพือ่ พัฒนาการทางานทม่ี ี คุณคา่ 3. พัฒนาการบริหารจดั การและองคค์ วามรู้ดา้ นการคุ้มครองแรงงานและสวสั ดกิ าร แรงงาน 4. พฒั นาองค์กรและบุคลากรให้มีสมรรถนะสงู และมธี รรมาภบิ าล ค่านิยมองค์กร 1. มุง่ ผลสัมฤทธิ์ของงาน 2. กล้ายืนหยดั ตามหลกั กฎหมาย 3. มคี วามเชี่ยวชาญ ปฏิบตั งิ านเชิงรุก 4. เป็นธรรม ไม่เลือกปฏบิ ัติ วฒั นธรรมองค์กร – DLPW D : Determined มคี วามมงุ่ มน่ั ตอ่ การทางาน เพือ่ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ L : Legitimacy ใชห้ ลักกฎหมาย เพอ่ื สรา้ งความเป็นธรรม P : Professional & Pro-Active มีความเช่ยี วชาญ ปฏบิ ัตงิ านเชิงรุก ทนั ต่อสถานการณ์ มีจิตบริการ อยา่ งเสมอภาค เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ 30 W : Willingness

หน่วยงานสังกัดกระทรวงแรงงาน 5. กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน มภี ารกิจเก่ียวกับการกาหนดมาตรฐานแรงงาน การคุมครองแรงงานทั้งในระบบและนอกระบบ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม ในการทางาน การแรงงานสัมพันธ การแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ และการสวัสดิการแรงงาน โดยการพัฒนามาตรฐาน รูปแบบ กลไก มาตรการ สงเสริม สนับสนุน และแกไขปญหา เพ่ือเพ่ิม โอกาส ในการแขงขันทางการคาและพัฒนาแรงงานใหมคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี โดยใหมีอานาจหนาท่ี ดงั ตอไปนี้ (1) กาหนดและพัฒนามาตรฐานแรงงาน รวมทั้งการสงเสริม กากับ ดูแลใหการรับรอง สถานประกอบกจิ การท่ีมกี ารบริหารจัดการตามมาตรฐานแรงงานทสี่ อดคลองกบั มาตรฐานแรงงานสากล (2) คุมครองและดูแลแรงงานท้ังในระบบและนอกระบบ ใหไดรับสิทธิประโยชนตามที่ กฎหมายกาหนดและมีคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี (3) ดาเนินการตามกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน กฎหมายวาดวยแรงงาน สมั พันธ กฎหมายวาดวยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ กฎหมายวาดวยการคุมครองผูรับงานไปทา ทบ่ี าน กฎหมายวาดวย ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทางาน กฎหมายวาด วยแรงงานทางทะเล และกฎหมายอน่ื ที่เกีย่ วของ (4) พัฒนาระบบ และสนับสนุนการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทางานของหนวยงานเอกชน ภาครฐั และองคกรทอี่ ยใู นกากบั ของรฐั (5) สงเสริม พัฒนา และเผยแพรความรู ความเขาใจดานมาตรฐานแรงงาน การคุมครอง แรงงาน ทั้งในระบบและนอกระบบ ความปลอดภัยในการทางาน แรงงานสัมพันธ แรงงานรัฐวิสาหกิจ สัมพนั ธ และสวัสดิการแรงงาน (6) สงเสรมิ และดาเนนิ การใหมกี ารจดั สวัสดกิ ารแรงงาน (7) ดาเนนิ การปองกนั และแกไขปญหาความขดั แยง ขอพพิ าทแรงงาน และความไมสงบดานแรง งาน (8) พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน จัดทาแผนงาน และประสานแผนปฏบิ ัตงิ านของกรมใหสอดคลองกบั นโยบายและยุทธศาสตรดานแรงงานของกระทรวง (9) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กฎหมายกาหนดใหเปนอานาจหนาท่ีของกรมหรือตามท่ี รฐั มนตรีหรือคณะรฐั มนตรมี อบหมาย 31

หนว่ ยงานสังกดั กระทรวงแรงงาน 6. สานักงานประกันสังคม วสิ ัยทศั น์ “รว่ มสรา้ งสรรค์สงั คมแรงงาน ท่ีมีหลักประกนั ถว้ นหน้าอย่างยั่งยืน” พนั ธกจิ (Mission) ภารกิจหลัก “การบริหารการประกนั สังคมและเงินทดแทนโดยการจดั การท่ีมี ประสิทธิภาพเพ่อื ใหแ้ รงงานมีหลกั ประกนั การดารงชีวิตที่มนั่ คง” สานกั งานประกนั สังคม ประกอบด้วย 1. กองวจิ ยั และพฒั นา 2. สานกั บริหารเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3. สานกั สิทธิประโยชน์ 4. สานกั สิทธิประโยชน์/กลุ่มงานพฒั นาระบบการจ่าย ประโยชนท์ ดแทน 5. สานกั เงินสมทบ 32

หน่วยงานสังกัดกระทรวงแรงงาน 7. สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) สสปท. เป็นหนว่ ยงานทจี่ ัดตง้ั ข้ึนตามมาตรา 52 แหง่ พระราชบญั ญตั ิความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554 โดยเป็นหน่วยงานอยู่ภายใตก้ ารกากบั ดูแลของ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง วิสยั ทศั น์ ‘‘เป็นองค์การหลกั ที่มีความเป็นผ้นู าในการสง่ เสริม พฒั นามาตรฐาน งานวจิ ยั และให้บริการ ด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน ภายในปี 2570’’ พันธกิจ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ดงั นี้ 1. บริการงานวิจัย วิชาการและการจัดทาสถิติ เพื่อสนับสนุนการจัดทามาตรฐานเพื่อส่งเสริม ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานของประเทศให้มีมาตรฐานในระดบั สากล 2. พัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม และให้บริการวิชาการ พัฒนาบุคลากรด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน รองรับความจาเป็นในการดาเนินงานทางด้านภารกิจ ดา้ นทรัพยากรมนุษย์และการพฒั นาประเทศ 3. สร้างความเข้มแข็งของสังคมการทางานให้มีความปลอดภัย และสนับสนุนเครือข่ายให้มี ความเปน็ เอกภาพในการขับเคล่ือนการดาเนนิ งานความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ของประเทศใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ เกิดประโยชนต์ อ่ คนทางาน และสนบั สนุนการพัฒนาประเทศ 4. สง่ เสรมิ วัฒนธรรมความปลอดภยั 5. สร้างระบบงานและการจัดการภายในองค์กร เพ่ือขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ สสปท. คา่ นิยมองคก์ ร T – Teamwork การทางานเป็ นทีม O – Originality ความคดิ สร้างสรรค์เชิงนวตั กรรม S – Service Mind การมีจิตบริการ SHE Awareness การมีจิตสานกึ ด้านความปลอดภยั 33 H – Honesty & Integrity ความเที่ยงธรรมและซอื่ สตั ย์

ท่อี ยู่กระทรวงแรงงาน หนว่ ยงานสงั กัดกระทรวงแรงงาน (1) กระทรวงแรงงาน ท่ตี งั้ กระทรวงแรงงาน : ถนนมิตรไมตรี แขวงดนิ แดง เขตดนิ แดง กทม. 10400 รถประจาทางท่ผี ่านกระทรวงแรงงาน ด้านถนนดนิ แดง (ป้ ายหยดุ รถหน้าโรงเรียนพิบลู ประชาสรรค์) : รถปรบั อากาศ สาย ปอ.12, ปอ.171, ปอ.172,ปอ.514 และ ปอ.529 : รถธรรมดา สาย 12, 13, ปอ.36, 36ก, 54, ปอ.73, ปอ.73ก, 157, 163 และ ปอ.168 ด้านถนนวภิ าวดรี ังสิต (ป้ ายหยดุ รถบริเวณสะพานลอยตรงข้ามโรงพยาบาลทหารผา่ นศกึ ) : รถปรบั อากาศ สาย ปอ.24, 69, 92, 538 และ 504 : รถธรรมดา สาย 24, 69 , 92 และ 187 ท่ตี งั้ กระทรวงแรงงาน สานักงานปลดั กระทรวงแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน สานกั งานปลดั กระทรวงแรงงาน กรมสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน ถนนมิตรไมตรี แขวงดนิ แดง เขตดนิ แดง กทม. 10400 ถนนมติ รไมตรี แขวงดนิ แดง สายด่วน 1506 กด 5 เขตดนิ แดง กทม.10400 บริการรับเร่ืองร้องทกุ ข์/ร้องเรียน 0 2232 1462-3 สายด่วน 1506 กด 3 สายด่วน 1546 เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ : 0 2232 1471 (ในวนั และเวลาราชการ) งานรับ-สง่ หนงั สือ และงานสารบรรณ https://www.labour.go.th/ อีเมล : [email protected] กรมพฒั นาฝี มอื แรงงาน ตดิ ตอ่ สานกั งานแรงงานจงั หวดั กรมพฒั นาฝี มือแรงงาน อาคาร 10 ชนั้ กรมการจัดหางาน กรมการจดั หางาน ถนนมติ รไมตรี แขวงดนิ แดง ถนนมติ รไมตรี แขวงดนิ แดง เขตดนิ แดง กทม. ทอี่ ยู่ 10400 เขตดนิ แดง กทม. 10400 0 2245 1707 0 2247 9423, 0 2248 4743 สายด่วน 1506 กด 2 และ 1694 ศูนย์มติ รไมตรี สายด่วน 1506 กด 4 https://www.doe.go.th/ http://www.dsd.go.th/ 34

ทอ่ี ยหู่ นว่ ยงานสงั กดั กระทรวงแรงงาน (2) สานกั งานประกนั สังคม สานกั งานประกนั สงั คม กระทรวงแรงงาน 88/28 หมู่ 4 ถนนติวานนท์ อาเภอเมอื ง จงั หวดั นนทบรุ ี 11000 สายด่วน 1506 กด 1 https://www.sso.go.th/ สาหรับผ้ปู ระกนั ตน ติดตอ่ ท่ี e-mail: [email protected] สอบถามข้อมลู เก่ียวกบั งานประกนั สงั คม ติดตอ่ ท่ี e-mail: [email protected] สถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน (องค์การมหาชน) อาคารกรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน (สว่ นแยกตลง่ิ ชนั ) ทอ่ี ยู่ ชนั้ 2 เลขที่ 18 ถนนบรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตล่ิงชนั กรุงเทพฯ 10170 โทรศพั ท์ 0 2448 9111 โทรสาร 02 448 9098 https://www.tosh.or.th/ e-mail: [email protected] 35

การดาเนินงานด้านเครอื ข่ายการคมุ้ ครองแรงงาน ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน • กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานมีการส่งเสรมิ และสนับสนุนให้สมาชกิ เครือข่าย ได้มบี ทบาทในการทาหน้าท่ีเครือข่ายคุ้มครองแรงงาน ดงั นี้ 1) พัฒนาเครือข่ายให้มีการจัดตั้งชมรม โดยการเลือกต้ังคณะกรรมการชมรม ประกอบด้วย ประธาน รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก และประชาสัมพันธ์ และให้ เจ้าหน้าท่ีในพื้นที่เป็นที่ปรึกษาชมรม เพ่ือให้กลุ่มบุคคลดังกล่าวร่วมเป็นแกนนา ในการบริหารและประสานกับสมาชิกเครือข่าย เพื่อให้เครือข่ายได้มีการติดต่อส่ือสาร พบปะ พูดคุย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน อีกท้ังเป็นช่องทางในการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร การประชาสัมพันธ์สาระความรู้ ข้อกฎหมาย การสอดส่องดูแล และการแจ้ง เบาะแส เมื่อพบเห็นการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายแรงงานให้ผู้ใช้แรงงานได้รับ ความชว่ ยเหลอื อย่างรวดเร็วและทนั ทว่ งที 2) การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองแรงงาน เพ่ือเสริมสร้างบทบาท ของเครือขา่ ยให้มีความร้กู ้าวทันเหตุการณ์ในด้านการคุ้มครองแรงงาน เช่น ความรู้เรื่อง กฎหมายแรงงานที่มีการปรับปรุงแก้ไขความรู้เก่ียวกับอนุสัญญา ฉบับที่ 182 ว่าด้วย การห้ามและการดาเนินการโดยทันทีเพ่ือขจัดรูปแบบท่ีเลวร้ายท่ีสุดของการใช้แรงงาน เด็ก การค้ามนุษยด์ า้ นแรงงาน เปน็ ต้น 3) การเพิ่มช่องทางการติดต่อส่ือสารทางสมาชิกเครือข่าย เพื่อประโยชน์ ในการแจง้ เบาะแสการรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ให้มีหลากหลายช่องทาง เช่น โทรศัพท์ สายดว่ น 1506 (กด 3) หรือ 1546 หรือ กลุม่ ไลน์ • สานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดดาเนินการพัฒนาตอ่ ยอดเครอื ขา่ ย คุ้มครองแรงงานในพืน้ ท่ขี องตน หรือเชิญชวนภาคีเครอื ข่ายเข้ามาเป็นสมาชกิ เครือขา่ ยคุ้มครองแรงงาน 36 กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน

จานวนสมาชกิ เครือข่ายการค้มุ ครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเริ่มดาเนินการสร้าง และพัฒนาเครือข่ายจากหลายกลุ่มอาชีพมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 จานวน 48 รุ่น 2,734 คน และเพ่ิมเป็นจานวน 53 +(6) ร่นุ 2,990 คน (2,782 คน) เม่ือปี พ.ศ. 2565 จนถึงปัจจุบัน มีจานวน สมาชิกทั้งหมด 53 รนุ่ จานวน 3,048 คน (ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2566) และ มีเปูาหมายที่จะขยายเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานให้ ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วประเทศ โดยการจัดกิจกรรม การสร้างและ พัฒนาเครือข่ายค้มุ ครองแรงงาน อีกท้ังมีการเพมิ่ จานวนสมาชิกโดย การเปดิ รบั สมัครเพ่ิมเตมิ จากการเชญิ ชวนของสมาชิกเครือขา่ ยดว้ ยกนั ซ่ึงในปัจจุบันมีการสร้างกลุ่มไลน์เครือข่ายคุ้มครองแรงงาน ทั่วประเทศ จากจานวนกลุ่มไลน์ 46 กลุ่ม จานวนสมาชิก 1,854 คน (ข้อมลู ณ เดอื นธันวาคม 2564) เปน็ จานวน 54 กลุ่มไลน์ (ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2565) แบ่งเป็นเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานในระบบ ***** คน เครอื ข่ายการคมุ้ ครองแรงงานตา่ งด้าว จานวน ******** คน (ข้อมูล ณ ตลุ าคม 2566) 37 กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน

จานวนสมาชิกกลมุ่ ไลน์เครอื ขา่ ยการค้มุ ครองแรงงาน (1) กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน มีกล่มุ ไลน์เครือขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน จานวน 53 กลุ่มไลน์ สมาชกิ 2,171 คน 38

จานวนสมาชิกกลมุ่ ไลน์เครอื ขา่ ยการค้มุ ครองแรงงาน (2) กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน มีกล่มุ ไลน์เครือขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน จานวน 53 กลุ่มไลน์ สมาชกิ 2,171 คน 39

จงั หวัดทม่ี ีการจัดต้ังชมรมเครือขา่ ยการคุ้มครองแรงงาน 40 กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน

หมวด 4 :(กฎหมาย) พระราชบญั ญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 พรบ.คมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ.2541 สรุปสาระสาคญั กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สรุปสาระสาคัญกฎหมาย (ย่อ) 41 กรมสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน

หนังสือกฎหมายแรงงาน OLink กฎหมายแรงงาน เว็บไซตก์ องนิตกิ าร กรมสวัสดิการฯ ลิงก์ (ย่อย) ในเวบ็ ไซต์กองนติ ิการ ดังนี้ กฎหมายแรงงาน กฎหมายท่ีเกีย่ วขอ้ งดา้ นแรงงาน 11 หัวข้อ 1. กฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน 2. กฎหมายความปลอดภยั ฯ 3. กฎหมายแรงงานสัมพนั ธ์ 4. กฎหมายแรงงานรัฐวสิ าหกจิ สมั พนั ธ์ 5. กฎหมายคุ้มครองผรู้ บั งานไปทาทีบ่ า้ น 6. กฎหมายแรงงานทางทะเล 7. กฎหมายคุ้มครองแรงงานในงานประมง 8. กฎหมายขอ้ มลู ข่าวสาร 9. กฎหมายอน่ื ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง 10. นโยบายประกาศกรมสวสั ดิการฯ ในสถานการณ์ปัจจุบนั 11. การดาเนินการตามมติคณะรฐั มนตรี - Link หนงั สอื วิชาการด้านแรงงาน อาทิ เชน่ - เกร็ดความรคู้ ู่แรงงาน - คาพิพากษาคดีแรงงาน ฯลฯ หนงั สือวชิ าการด้านแรงงาน 42

รายละเอียดกฎหมายค้มุ ครองแรงงาน (เพ่ิมเตมิ ) คิวอาร์โค้ด กฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน และ พร้อมควิ อารโ์ ค้ด (ย่อย) ในเวบ็ ไซตก์ องนิติการ สรปุ สาระสาคญั (infographic) ตวั เตม็ กฎหมาย 6 ฉบบั ดังนี้ มี 8 หมวด ดงั น้ี 1. กฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน 1. พระราชบญั ญัติ 2. กฎหมายความปลอดภัยฯ 2. พระราชกฤษฎีกา 3. กฎหมายแรงงานสมั พันธ์ 3. กฎกระทรวง 4. กฎหมายแรงงานรัฐวสิ าหกจิ สมั พันธ์ 4. ประกาศ 5. กฎหมายคุ้มครองผรู้ ับงานไปทาท่ีบ้าน 5. ระเบียบ 6. กฎหมายแรงงานทางทะเล 6. คาสง่ั 7. คาชแ้ี จง 8. สรปุ สาระสาคัญ รายละเอียดกฎหมายดา้ นแรงงาน(กองนิติการ) 43

พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 การปฏิบตั ิที่เท่าเทยี มกัน ให้นายจ้างปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและหญิงโดยเท่าเทียมกันในการจ้างงาน เว้นแต่ ลักษณะหรอื สภาพของงานไม่อาจปฏิบัติเชน่ นั้นได้ เวลาทางานปกติ งานทุกประเภท ไม่เกิน 8 ช่ัวโมง/วัน หรือตามท่ีลูกจ้างและนายจ้างตกลงกันไว้ แตต่ ้องไมเ่ กิน 48 ชั่วโมง/สัปดาห์ งานท่ีอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัย ไม่เกิน 7 ชั่วโมง/วัน หรือตามทลี่ ูกจ้างและนายจา้ งตกลงกนั ไว้ แต่ตอ้ งไมเ่ กิน 42 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ การทางานล่วงเวลา ต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้างเป็นคราวๆ ไป แต่ถ้าเป็นงานซึ่งต้องทา ติดต่อกันไปถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็นงานฉุกเฉิน นายจ้างอาจให้ลูกจ้าง ทางานลว่ งเวลาได้เทา่ ทจี่ าเป็น การทางานในวนั หยุด ตอ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมจากลกู จา้ ง เวน้ แตง่ านทีต่ อ้ งทาติดต่อกนั ไป ถ้าหยดุ จะ เสียหายแก่งาน และงานฉุกเฉิน หรือกิจการโรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ง ร้านอาหาร ร้านขายเคร่ืองด่ืม สโมสร สมาคม หรือสถานพยาบาล นายจ้างอาจ ให้ลูกจ้างทางานในวันหยุดได้เท่าท่ีจาเป็น และช่ัวโมงการทางานล่วงเวลา และ การทางานในวนั หยดุ รวมแลว้ ตอ้ งไม่เกนิ 36 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาพกั ไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชั่วโมง หลังจากลูกจ้างทางานมาแล้วไม่เกิน 5 ช่ัวโมงติดต่อกัน สาหรับลูกจ้างเด็ก หลังจากทางานมาแล้วไม่เกิน 4 ช่ัวโมงติดต่อกัน ให้มีเวลาพัก วันหนึ่งไม่น้อยกว่า 1 ช่ัวโมง และใน 4 ชั่วโมงนั้นให้ลูกจ้างซ่ึงเป็นเด็กได้มีเวลาพัก ตามสมควร 44 กรมสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงาน

พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 วนั หยดุ วนั หยดุ ประจาสัปดาหไ์ ม่นอ้ ยกว่า 1 วัน/สัปดาห์ วนั หยุดตามประเพณีไมน่ อ้ ยกวา่ 13 วัน/ปี โดยรวมวนั แรงงานแหง่ ชาติ ลูก จ้า ง ที่ทา ง า น ติด ต่อ กัน ค ร บ 1 ปี มีสิท ธิห ยุด พัก ผ่อ น ป ร ะ จา ปี ไม่น้อยกว่า 6 วนั ทางาน/ปี วันลา ล า ป่ว ย ไ ด้เ ท ่า ที ่ปุว ย จ ริง ไ ด้รับ ค่า จ้า ง ต ล อ ด ร ะ ย ะ เ ว ล า ที ่ล า แต่ไม่เกิน 30 วันทางาน/ปี ลากิจ ลูกจ้างมีสิทธิลากิจได้ปีละไม่น้อยกว่า 3 วันทางาน โดยได้รับค่าจ้าง ไม่เกนิ 3 วนั ทางานต่อปี วันลาเพ่ือคลอดบุตร ลูกจ้างหญิงมีสิทธิลาเพื่อคลอดบุตรครรภ์ หน่ึง ไม่เกิน 98 วัน โดยได้รับค่าจ้างเท่ากับค่าจ้างในวันทางานตลอดระยะเวลาที่ลา แต่ ไม่เกนิ 45 วัน กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 45

พ.ร.บ. คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ค่าจา้ ง ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้ถูกต้อง และตามกาหนดเวลา ดงั ต่อไปนี้ (1) ในกรณีท่ีมีการคานวณค่าจ้างเป็นรายเดือน รายวัน รายช่ัวโมง หรือเป็น ระยะเวลาอยา่ งอื่นท่ไี มเ่ กินหนึ่งเดือน หรือตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วยให้จ่าย เดอื นหน่งึ ไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งครั้ง เวน้ แต่จะมีการตกลงกันเปน็ อย่างอื่นท่ีเป็นประโยชน์ แกล่ ูกจา้ ง (2) ในกรณีที่มีการคานวณค่าจ้าง นอกจาก (1) ให้จ่ายตามกาหนดเวลาท่ี นายจา้ งและลกู จ้างตกลงกนั (3) คา่ ลว่ งเวลา คา่ ทางานในวนั หยุด คา่ ล่วงเวลาในวันหยุด และเงินท่ีนายจ้างมี หนา้ ท่ีต้องจา่ ย ใหจ้ า่ ยเดอื นหนงึ่ ไม่น้อยกวา่ หน่งึ คร้ัง ในกรณีท่ีนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางาน ในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุด และเงินท่ีนายจ้างมีหน้าท่ีต้องจ่ายตามท่ี ลูกจ้างมีสิทธิไดร้ บั ใหแ้ ก่ลูกจ้าง ภายใน 3 วนั นับแตว่ ันทเ่ี ลิกจ้าง ค่าลว่ งเวลา วันทางาน ให้นายจ้างจ่ายค่าล่วงเวลาให้แก่ลูกจ้างในอัตราไม่น้อยกว่า 1.5 เท่า ของอัตราคา่ จ้างตอ่ ชั่วโมงตามจานวนท่ที า หรอื ตามจานวนผลงานท่ีทาได้ วันหยดุ ให้นายจา้ งจา่ ยค่าล่วงเวลาในวันหยดุ ให้แกล่ ูกจ้างในอัตราไมน่ อ้ ยกว่า 3 เทา่ ของอัตราค่าจา้ งต่อชวั่ โมงตามจานวนทีท่ า หรือตามจานวนผลงานท่ที าได้ กรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน 46

พ.ร.บ. ค้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ค่าชดเชย นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยให้ลูกจ้างเมื่อเลิกจ้างลูกจ้างโดยไม่มี ความผิด ในอัตราตามที่กฎหมายกาหนด นายจา้ งมีสทิ ธิเลิกจ้างโดยไมจ่ ่ายค่าชดเชย ในกรณดี ังตอ่ ไปน้ี (1) ทจุ ริตต่อหนา้ ทหี่ รอื กระทาความผิดอาญาโดยเจตนาแกน่ ายจ้าง (2) จงใจใหน้ ายจา้ งไดร้ บั ความเสยี หาย (3) ประมาทเลินเล่อเปน็ เหตใุ หน้ ายจ้างได้รับความเสยี หายอยา่ งรา้ ยแรง (4) ฝุาฝืนข้อบังคับเก่ียวกับการทางาน หรือระเบียบ หรือคาสั่งของนายจ้าง อันชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรม และนายจ้างได้ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว ทั้งนี้ หนังสือเตือนให้มีผลบังคับได้ไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ลูกจ้างกระทาผิด เว้นแต่ กรณีท่ีร้ายแรงนายจ้างไมจ่ าเป็นต้องตกั เตือน (5) ละทิ้งหน้าท่ีเป็นเวลา 3 วันทางานติดต่อกันไม่ว่าจะมีวันหยุดคั่นหรือไม่ก็ตาม โดยไม่มเี หตุผลอันสมควร (6) ได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก เว้นแต่ เป็นโทษสาหรับ ความผดิ ทไ่ี ด้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ ในกรณี (6) ถ้าเป็นความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ต้องเป็นกรณที ่เี ปน็ เหตใุ หน้ ายจ้างได้รบั ความเสยี หาย กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 47

กฎกระทรวงคมุ้ ครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2557 และทีแ่ ก้ไขเพม่ิ เติม ในกิจการประมงทะเลทีม่ ลี ูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขนึ้ ไป นายจา้ งตอ้ งปฏบิ ัตดิ ังต่อไปน้ี 1. ห้ามหักคา่ จา้ งลกู จ้างยกเว้นเปน็ การหักตามมาตรา 76 แหง่ พระราชบัญญัติ 2. ห้ามเรียกหรือรับหลักประกันจากลูกจ้าง เว้นแต่เป็นงานตามที่กาหนด ในประกาศกระทรวงแรงงาน เร่ืองหลักเกณฑ์และวิธีการเรียกหรือรับหลักประกัน การทางาน หรอื หลกั ประกนั ความเสยี หายในการทางานจากลูกจ้าง 3. หา้ มรบั ลูกจา้ งอายตุ า่ กว่า 18 ปี ทางานในเรอื ประมง 4. ต้องจัดให้ลูกจ้างมีเวลาพัก ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง ในระหว่างการทางาน 24 ชวั่ โมง และไม่น้อยกวา่ 77 ช่วั โมงในระยะเวลาการทางาน 7 วัน 5. ต้องจัดทาสัญญาจ้างเป็นหนังสือที่มีข้อความถูกต้องตรงกัน จานวนสองฉบับ โดยมอบให้ลกู จา้ งและนายจา้ งเก็บไว้ฝุายละหนงึ่ ฉบบั 6. ต้องนาตัวลูกจ้างไปรายงานตัวต่อพนักงานตรวจแรงงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง นับแตว่ ันทาสญั ญาจ้าง 7. ในกรณีท่ีมีลูกจ้างต้ังแต่ 10 คนขึ้นไป นายจ้างต้องจัดทาทะเบียนลูกจ้างเป็น ภาษาไทยและเก็บไว้ ณ สถานท่ีทางาน เพ่ือให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบและ สง่ สาเนาทะเบียนลกู จา้ งภายใน 30 วัน นับแต่วันเรม่ิ จ้างลูกจา้ งเขา้ ทางาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 48