Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปลูกเสาวรส

การปลูกเสาวรส

Description: การปลูกเสาวรส

Search

Read the Text Version

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอกระสงั

การปลกู เสาวรส เสาวรสหรอื ทีเ่ รียกกันทว่ั ไปว่า กระทกรกฝร่งั มชี ื่อภาษาอังกฤษวา่ Passion Fruit เปน็ ไมผ้ ลทีอ่ ยู่ในตระกูล Passifloraceae เสาวรสมี 2 ชนิดคอื ชนิดผลสีม่วง ซงึ่ มชี อ่ื วทิ ยาศาสตรว์ า่ Passifloraedulis และผลสีเหลอื งทีม่ ีชอื่ วทิ ยาศาสตรว์ า่ P. edulis F. flavicarpa โดยทว่ั ไปแล้วเสาวรสเป็นผลไม้อตุ สาหกรรมคือปลกู เพือ่ นาผลผลิตไปแปรรูปเป็นนาผลไม้ เนื่องจากในผลมีนามาก รสเปรียวและมีกลิ่นหอมแต่ก็สามารถรับประทาน ผลสดได้ โดยเฉพาะบางพันธุ์ทีผ่ ลมีรสชาตคิ ่อนข้างหวาน สาหรบั ในประเทศไทยนันได้ นาเสาวรสเข้ามาปลกู ครังแรกในปี พ.ศ. 2498 โดยเป็นพันธ์ุสีม่วง ต่อมาได้มีผู้นาเข้า มาปลูกอีกในอีกหลายพืนท่ีทังพันธ์ุผลสีม่วงและผลสีเหลือง จนกระท่ังได้มีการปลูกเป็น การค้ากันท่ัวไปแต่ก็ปลูกเพ่ือส่งโรงงานแปรรูปเท่านัน โดยมีแหล่งปลูกท่ีสาคัญได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย น่าน เพชรบูรณ์ ระยอง ตราด ปราจีนบุรี บุรีรัมย์ ประจวบครี ีขนั ธ์ กาญจนบุรี ชุมพร นราธิวาสและสุราษฎร์ธานี เป็นต้น ส่วนผลผลิตที่ จาหน่ายเพ่ือบริโภคสดนันไม่ใช่พันธุ์สาหรับรับประทานผลสดโดยตรง แต่เป็นการคัด เอาผลผลิตเสาวรสพนั ธุ์สาหรับแปรรูปบางพันธุ์ที่มีรสชาติค่อนข้างดี เช่น พันธ์ุผลสีม่วง มาจาหน่ายเปน็ เสาวรสรบั ประทานสดแทน

ท่ีผ่านมาหน่วยงานต่าง ๆ เช่น มูลนิธิโครงการหลวงและกรมวิชาการ เกษตร ได้มีการพยายามวิจัยหาพันธ์ุเสาวรสสาหรับประทานสดโดยเฉพาะ เนื่องจาก ผลผลติ เสาวรสสาหรบั รับประทานสดมีราคาสูงกว่าเสาวรสสาหรับแปรรูปมาก ในส่วน ของมูลนิธิโครงการหลวงนันได้มีการวิจัยหาพันธ์ุเสาวรสสาหรับรับประทานสดมานาน แล้วโดยได้นาเสาวรสสายพันธุ์จากประเทศต่าง ๆ เช่น ออสเตรเลียและไต้หวัน มา ปลูกทดสอบในสถานีต่าง ๆ ได้แก่ สถานีเกษตรหลวงปางดะ, อินทนนท์, ห้วยลึก และแม่ลาน้อย เป็นต้น แต่ในระยะแรกยังไม่มีพันธุ์ไดท่ีมีลักษณะครบถ้วนตามที่ ต้องการคือ ผลผลิตมีรสชาติดีซึ่งต้องค่อนข้างหวาน ขนาดผลใหญ่ให้ผลผลิตสูงและ ปลกู งา่ ย เนือ่ งจากพบว่าเสาวรสพันธสุ์ าหรบั รบั ประทานสดส่วนใหญ่ที่รสชาติดี แต่ผล มกั จะมขี นาดเล็กให้ผลผลติ ตา่ และค่อนข้างอ่อนแอ จนกระท่ังในปี พ.ศ. 2539 จึงประสบความสาเร็จคัดเลือกได้เสาวรสพันธ์ุ รับประทานสดท่ีมีลักษณะตามต้องการ 2 สายพันธุ์ โดยคัดเลือกจากต้นท่ีเพาะเมล็ด จากเสาวรสสายพนั ธุ์จากประเทศไต้หวัน และได้นาออกส่งเสริมในปี พ.ศ. 2540 ซ่ึง พบว่าผลผลิตเป็นท่ียอมรับและต้องการของผู้บริโภคมาก ทาให้ปัจจุบันผลผลิตไม่ เพียงพอกับความต้องการของตลาดและต้องเร่งขยายการส่งเสริมเพ่ิมมากขึน ดังนันใน อนาคตอันใกลเ้ สาวรสรับประทานสดจะเปน็ ไม้ผลเศรษฐกจิ ทส่ี าคัญชนิดหนึ่ง ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เสาวรสที่ถน่ิ กาเนิดในเขตรอ้ นของฟ้ืนท่สี งู ในอเมริกาได้เป็นไม้ประเภทเลอื ยมีอายหุ ลาย ปีลกั ษณะดอกเป็นดอกเดย่ี วสมบรู ณ์เพศ แตเ่ สาวรสบางพนั ธุค์ ือพนั ธ์ผุ ลสีเหลืองสว่ น ใหญ่ผสมตวั เองไม่ตดิ ต้องผสมขา้ มต้น ดอกเสาวรสจะเกดิ ท่ขี ้อบรเิ วณโคนกา้ นใบของ เถาใหมพ่ รอ้ มกบั การเจริญของเถา โดยต้นท่ีไดจ้ ากการเพาะเมล็ดจะออกดอกตดิ ผลเมื่อ ตน้ มีอายปุ ระมาณ 4-5 เดอื น หลังปลูกลงแปลง แตถ่ ้าเปน็ ตน้ ทีเ่ สียบยอดหรือปกั ชา จะสามารถออกดอกติดผลไดเ้ รว็ ขึน

ผิลเสาวรสเป็นผลเดียว สามารถเกบ็ เกี่ยวได้เม่ืออายุ 50-70 วันหลังติด ผล มีหลายลักษณะ เช่น กลม รูปไข่ หรือผลรียาวขึนอยู่กับพันธ์ุ เปลือกผลและเนือ ส่วนนอกแข็งไมส่ ามารถรบั ประทานได้ผลมี 2 สีคอื ผลสีม่วงและผลสีเหลอื ง ภายในผล มีเมลด็ สนี าตาลเข้มหรอื ดาเป็นจานวนมากแตล่ ะเมล็ดจะถูกห้มุ ดว้ ยรกซึ่งบรรจุนาสีเหลือง มีลักษณะเหนียวข้นอยู่ภายใน มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว มีความเป็นกรดสูง และส่วนท่ี นาไปใช้บริโภคก็คือส่วนท่เี ป็นนาสีเหลอื งนเี อง ชนดิ และพนั ธเ์ุ สาวรส โดยทวั่ ไปแล้วเสาวรสสามารถแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คือชนดิ ผลสมี ว่ ง และชนดิ ผลสี เหลืองซ่ึงมลี กั ษณะที่แตกตา่ งกันคือ 1. เสาวรสชนดิ ผลสีมว่ ง (Passiflora edulis) เสาวรสชนดิ นีผวิ ผลจะเปน็ สมี ่วงผลมลี ักษณะกลมหรอื รปู ไข่ ดอกสามารถผสมตัวเองได้ ดีดอกจะบานในตอนเชา้ ผลสุกมรี สหวานและกลนิ่ หอมกว่าพันธ์สุ ีเหลอื ง แตผ่ ลมักจะมี ขนาดเล็กกวา่ คอื เสน้ ผ่าศนู ย์กลางผลประมาณ 4-5 เซนติเมตร นาหนัก 50-60 กรัมตอ่ ผล 2. เสาวรสชนิดผลสีเหลอื ง (Deneger P. edulis Forma F. flavicarpa) ลักษณะผวิ ผลจะมีสเี หลืองผลมขี นาดใหญก่ ว่าชนดิ ผลสมี ่วงคอื เส้นผา่ ศูนย์กลางผล ประมาณ 6 เซนตเิ มตร นาหนกั ประมาณ 80-120 กรัมต่อผล เนอื ในให้ความเปน็ กรดสูงกวา่ ชนิดสีม่วง จงึ มีรสเปรยี วมากและใชแ้ ปรรปู เปน็ หลัก เสาวรสชนดิ ผลสีเหลืองดอกจะบานในตอนเทย่ี งส่วนใหญ่ผสมตวั เองไมต่ ิดต้องผสมข้าม ตน้ แต่ต้นมที นทานต่อโรคต้นเนา่ เถาเหีย่ ว โรคไวรสั และทนต่อไสเ้ ดือนฝอยมากกวา่ พนั ธ์สุ ีม่วงจงึ นิยมใช้เปน็ ต้นตอในการเสยี บกง่ิ ของพันธม์ุ ่วง

พันธุเ์ สาวรสรบั ประทานสด เสาวรสพันธุ์รบั ประทานสดท่มี ูลนธิ โิ ครงการหลวง คัดเลอื กไดแ้ ละส่งเสรมิ ให้ปลกู เป็นการค้ามี 2 พันธ์คุ อื เสาวรสรับประทานสดเบอร์ 1 และเบอร์ 2 ซง่ึ เป็น ชนดิ พนั ธ์ุสีม่วงทงั 2 พันธ์ุ โดยคดั เลอื กไดเ้ ม่ือปี พ.ศ. 2539 จากตน้ ทีเ่ พาะเมล็ด จากเสาวรสสายพันธไุ์ ตเ้ หวัน 1. พนั ธุร์ ับประทานสดเบอร์ 1 ลักษณะผลเป็นรูปไขส่ มี ว่ งอมแดง เม่อื ตดั ขวางผลจะเห็นว่ามลี ักษณะเป็น 3 พู เส้นผา่ ศูนย์กลางผลประมาณ 5 เซนติเมตร นาหนักผลประมาณ 70-80 กรัมต่อผล รสชาตหิ วานอมเปรยี ว มกี ล่ินหอม ความหวานเฉลี่ยประมาณ 16 Brix 2. พนั ธ์รุ บั ประทานสดเบอร์ 2 ลักษณะโดยทวั่ ไปคล้ายกบั พนั ธุ์เบอร์ 1 แต่สีผลจะเขม้ และมีคณุ ภาพดีกว่าพนั ธเ์ บอร์ 1 คือ รสชาติหวานและนาหนักตอ่ ผลสูงกวา่ โดยผลมเี ส้นผ่าศนู ย์กลางประมาณ 5-6 เซนตเิ มตร นาหนักประมาณ 70-100 กรัมตอ่ ผล ความหวานเฉลยี่ ท่ปี ระมาณ 17- 18 Brix พันธ์ุนเี ปลอื กหนากว่าพนั ธุเ์ บอร์ 1 จงึ สามารถเกบ็ ไว้ไดน้ าน ปจั จบุ ันมลู นธิ ิโครงการหลวง ได้เนน้ ใหเ้ กษตรกรท่ีปลูกเสาวรสใชพ้ ันธรุ์ บั ประทานเบอร์ 2 สาหรบั ปลกู เปน็ การคา้ เนื่องจากลักษณะเด่นทกี่ ล่าวไปแลว้ ขา้ งตน้ สาหรบั พันธทุ์ ีใ่ ช้ แปรรูปทังสีม่วงและสีเหลืองกส็ ามารถปลูกเพอ่ื รับประทานผลสดไดแ้ ต่ราคาของผลผลติ จะตา่ กวา่ ตามคณุ ภาพของผลผลิต การขยายพนั ธ์เุ สาวรส วิธกี ารขยายพันธุ์ การปลูกเสาวรสรับประทานสดจะแตกตา่ งจากเสาวรสโรงงานท่ีปลกู ดว้ ยต้นกล้าจากการเพราะเมล็ด คือ ตอ้ งรักษาให้เผลผลติ มคี ุณภาพและรสชาติดี ไม่ เปลย่ี นแปลงไปจากพันธุ์เดิม ดังนันการปลกู จึงจาเป็นตอ้ งใชต้ ้นกล้าทไ่ี ดจ้ ากการเปล่ียน ยอดพันธุด์ โี ดยมขี นั ตอน ดงั นี

1. การเพาะเมลด็ สาหรบั ทาตน้ ตอ ต้นตอทใี่ ช้ควรเปน็ เสาวรสโรงงานชนิดพันธสุ์ ีเหลอื ง เน่ืองจากมคี วามแขง็ แรงและ ทนทานตอโรงแมลงได้ดี และเมลด็ ทจ่ี ะนามาเพราะควรคัดจากผลและตน้ แม่ทสี่ มบูรณ์ ไมเ่ ป็นโรคไวรัส นามาลา้ งเอารกที่หุ้มเมล็ดออก นามาผ่งึ ใหแ้ ห้งแล้วจงึ นาไปเพาะแต่ ไมค่ วรเก็บเมล็ดไวน้ านเกนิ ไปเพราะจะทาใหค้ วามงอกลดลง การเพาะเมลด็ สามารถทาไดท้ งั ในภาชนะ เช่น ถงุ พลาสติกและตะกรา้ หรอื ในแปลง เพาะกล้าโดยวัสดุเพาะใช้ดิน ปยุ๋ หมัก ขเี ถ้าแกลบและขยุ มะพร้าว ผสมกันในสดั ส่วน 2:1:1:1 ใช้วธิ ีโรยเมลด็ เป็นแถวแล้วกลบดว้ ยวัสดุเพาะใหห้ น้าประมาณ 1 เซนติเมตร ระวังอยา่ ให้เมล็ดแน่นเกินไปเพราะจะทาใหเ้ กิดโรคโคนเนา่ ปกติเมลด็ ทเ่ี พาะจะงอก ภายใน 7-10 วนั หลงั จากตน้ กล้ามใี บจริง 1 ใบ ซ่งึ อายปุ ระมาณ 15-20 วัน หลังเพาะจึงยา้ ยลงถุงปลกู ขนาด 2.5 x 6 นิว หรอื แปลงปลกู ถ้าเปน็ ฤดูฝนหรือ สามารถให้นาได้ทังนีขึนกับว้าจะเปล่ียนยอกดเป็นพันธ์ุดใี นเรอื นเพาะชาหรอื ในแปลง ปลูก ในระหวา่ งการเพาะกลา้ นันตอ้ งมกี ารพน่ ยาปอ้ งกันกาจดั มดทจ่ี ะทาลายเมล็ดและ แมลงทเ่ี ป็นเพาหะของโรคไวรัส เชน่ เพลียไฟและไรแดงอยเู่ สมอ เพือ่ ให้ตน้ กลา้ ปลอดจากโรคไวรัสและตอ้ งใหป้ ุ๋ยชว่ ยเพือ่ ใหต้ ้นกลา้ เจริญเติบโตเร็วขนึ โดยอาจจะให้ ป๋ยุ ทางใบหรอื ใชป้ ยุ๋ สูตร 46-0-0 หรือ 21-0-0 ผสมนารด หลังจากที่ต้นกล้ามี อายุประมาณ 2-3 เดือน จึงสามารถเปลย่ี นยอดเป็นพนั ธด์ุ ดี ได้ 2. การเปลี่ยนยอดพนั ธุ์ เสาวรสเปน็ พืชที่สามารถเปลี่ยนยอดไดง้ ่ายและทาได้ทกุ ฤดกู าล ซึง่ โดยท่วั ไปแล้ว สามารถทาได้ 2 แบบคือ การเปลยี่ นยอดพันธตุ์ ้นกล้าในถุงกอ่ นนาไปปลกู และการ นาต้นตอไปปลูกในแปลงกอ่ นแลว้ จงึ เปลี่ยนพนั ธ์ภุ ายหลัง

2.1 การเปลยี่ นยอดตน้ กลา้ ทปี่ ลกู ในถุง การเปล่ียนยอดแบบนมี ีข้อดีคือทาได้ง่ายและสะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษา เนื่องจากทาได้ในพืนที่จากัดและสามารถคัดเลือกต้นกล้าที่มีความสมบูรณ์แข็งแรง สม่าเสมอกันไปปลูก นอกจากนียังให้ผลผลิตได้เร็วขึนจึงเป็นวิธีการที่แนะนาให้ใช้การ เปล่ยี นยอดนิยมใชว้ ิธเี สยี บลิ่ม (Cleft grafting) ซ่งึ ทาได้ 2 แบบคอื 2.1.1 การเปลีย่ นยอดแบบใชย้ อดอ่อน การเปลย่ี นยอดแบบนีงานพัฒนาและส่งเสริมไม้ผล มูลนิธิโครงการหลวงได้ พัฒนาขึนเพ่ือลดการติดโรคไวรัสของต้นกล้า ปรับปรุงคุณภาพของต้นกล้าให้แข็งแรง สมบูรณ์สม่าเสมอมากขึน ลดระยะเวลาในการเลียงต้นกล้าในถุงปลูกให้สันลง เพ่ือให้ ระบบรากไม่เสียและให้ต้นกล้าเจริญเติบโตได้ต่อเนื่องไม่ชะงัดการเจริญเติบโตหลังการ เปล่ียนยอดต้นตอที่เหมาะสาหรับเปล่ียนยอดคืออายุ 1.5-2 เดือน หลังเพาะซ่ึงจะมีใบ ประมาณ 5-7 ใบและต้นยังอ่อนอยู่ ทาการเตรียมแผลของต้นตอโดยตัดยอดให้เหลือ ใบ 3-4 ใบ ผ่าต้นตอลึก 1.5-2.0 เซนติเมตร นายอดพันธ์ุที่เป็นปลายยอดอ่อน ความยาวประมาณ 5 เซนตเิ มตรมีใบ 2-3 ใบ มาปาดเป็นรูปลิ่มความยาวเท่ากับแผล ของต้นตอ จากนันนามาเสียบลงบนต้นตอผูกด้วยเชือกฟาง ยางยืดหรือใช้ตัวหนีบ เสร็จแล้วนาต้นใส่ไว้ในกระโจมพลาสติกเพื่อรักษาความชืนไม่ให้ยอดเห่ียว หลังจากนัน 7 วัน ยอดพนั ธุด์ ีจะติดสามารถนาออกจากกระโจมและเลียงให้แข็งแรงอีก 20-30 วัน กอ่ นนาไปปลูก

2.1.2 การเปลยี่ นยอดแบบใชต้ าขา้ ง การเปล่ียนพันธ์ุแบบนีเป็นวิธีการที่ใช้อยู่เดิม ซึ่งมีวิธีการเช่นเดียวกับการ เปล่ียนยอดแบบใชย้ อดออ่ น แต่ตน้ ตอที่ใช้จะตอ้ งมีอายุมากกว่าคือประมาณ 3-4 เดือน เพอื่ ใหต้ น้ ตอมขี นาดใหญ่ใกล้เคียงกับยอดพันธ์ุดีที่ใช้ โดยตัดเถาให้มีตาข้าง 2 ตาและ ตัดใบออกให้เหลือคร่ึงใบ ในกรณีที่ไม่มีกระโจมการเปลี่ยนยอดแบบนีสามารถใช้ถุง ครอบยอดเปน็ ตน้ ๆ ได้ หรือใสใ่ นกระโจมขนาดใหญไ่ ด้ เพราะไม่ต้องรักษาความชืนให้ สมา่ เสมอมากนัก 2.2 การเปล่ียนยอดพันธใุ์ นแปลงปลูก วิธกี ารนีจะทาหลังจากท่ีนาตน้ ตอลงไปปลกู ในแปลงแล้ว ซึง่ มีขอ้ เสยี คอื ยาก แกก่ ารเปล่ยี นพนั ธแ์ุ ละดูแลรกั ษาเนื่องจากใชพ้ ืนทม่ี าก แตจ่ ะเหมาะสาหรบั พืนทีป่ ลูกที่ อาศัยนาฝน เพราะสามารถปลกู ตน้ ตอซ่ึงมคี วามแข็งแรงกวา่ ตน้ ทีเ่ ปล่ียนพนั ธลุ์ งไปกอ่ น ในช่วงปลายฤดฝู นแลว้ จงึ ทาการเปล่ียนยอดพันธ์ภุ ายหลงั การเปลีย่ นยอดสามารถทาได้ ตังแตห่ ลงั ปลูกตน้ ตอไปแล้วประมาณ 1 เดือนจนกระท่ังเถาเจรญิ ถงึ ค้างแลว้ โดยวธิ กี าร เสียบล่ิม (Cleft grafting) เช่นเดยี วกบั การเปลย่ี นพนั ธใ์ุ นถงุ ปลกู แตก่ ิ่งพันธท์ุ ีน่ ัน จะเอาใบออกทังหมดและต้องคลมุ ดว้ ยถุงพลาสตกิ เพ่ือรกั ษาความชนื และห้มุ ด้วยกระดาษ ป้องกนั ความรอ้ นจากแสงแดด นอกจากนียงั สามารถเปลี่ยนยอดพนั ธ์ุได้โดยวธิ ีการเสยี บ ข้าง (Side grafting) ได้ หลังการเปลี่ยนยอดใหร้ ักษาใบของต้นตอไว้แต่ต้องหมั่น ปลิดยอดทจ่ี ะแตกจากตาขา้ งของต้นตอออก เพอ่ื ไม่ให้แขง่ ขันกบั ยอดพนั ธ์ุดี

การวางแผนการขยายพนั ธุ์และการผลติ ตน้ กลา้ การขยายพันธุ์และผลิตต้นกล้าเสาวรสนันต้องมีการวางแผนให้สอดคล้องกับ ระยะเวลาท่ตี อ้ งการปลกู ฤดูกาลและนิสัยการเจริญเติบโตของเสาวรสโดยเฉพาะระยะเวลา ให้ผลผลิต การวางแผนที่ถูกต้องจะทาให้เสาวรสให้ผลผลิตอย่างเต็มท่ีและเสียเวลาและ คา่ ใชจ้ า่ ยในการดแู ลรกั ษาน้อยที่สุด โดยตอ้ งวางแผนผลิตต้นกล้าให้มีอายุเหมาะสมพอดี เมอ่ื ถงึ เวลาปลกู ท่ีได้กาหนดไว้ว่าเหมาะสมสาหรบั รปู แบบการปลกู ต่างๆ เช่นปลูกแบบให้ นาหรอื การปลกู แบบอาศยั นาฝน การผลิตต้นกล้าเร็วเกินไปจะทาให้ต้องเลียงต้นไว้ในถุง นานจะมปี ญั หาระบบรากไม่ดีและต้นทุนการดูแลเพ่ิมขึน การผลิตต้องล้าช้าก็จะทาให้ต้น กล้าไมแ่ ขง็ แรงสมบูรณพ์ อเพยี งกบั ระยะเวลาปลกู ที่เหมาะสม การปลกู เสาวรสรบั ประทานสด เสาวรสรบั ประทานสดมีวธิ กี ารปลูกและการปฏบิ ตั ดิ แู ลรักษาเชน่ เดียวกบั เสาวรสโรงงาน แต่ตอ้ งเพิ่มความประณตี ในการปฏิบตั ดิ แู ลรักษาบางอยา่ ง เพ่อื ให้ได้ ผลผลิตทม่ี ีคุณภาพดีย่ิงขึน ปกติแลว้ เสาวรสเปน็ พชื ทีม่ ีอายยุ าวนานหลายปี แตโ่ ดยท่ัวไป แล้วมกี ารปลกู กัน 2 ระบบ คือ การปลูกแบบเกบ็ เกี่ยว 1 ฤดกู าลตอ่ การปลูก 1 ครัง และเกบ็ เก่ยี ว 2-3 ฤดูกาลต่อการปลกู 1 ครงั แตร่ ะบบที่แนะนาใหเ้ กษตรกรใชใ้ น ปัจจบุ นั คอื แบบปลกู 1 ครงั เก็บเกยี่ ว 2-3 ฤดูกาล เนื่องจากเป็นการลดต้นทุนคือ ลงทนุ ทาคา้ ง 1 ครังสามารถเก็บผลผลติ ไดย้ าวนานขนึ

ระยะการปลกู และการวางแผนปลกู โดยธรรมชาติแล้วเสาวรสจะออกดอกและให้ผลผลิตเม่ือมีอายุประมาณ 5-7 เดือนหลังปลูกสาหรับเสาวรสรับประทานสดนันจะออกดอกติดผลเร็วกว่านี เน่ืองจากเป็นต้น กล้าที่เปล่ียนยอด แต่อายุเหมาะสมท่ีควรให้ติดผลไม่ควรต่ากว่า 5 เดือนเพ่ือให้ต้นแข็งแรง พอและขึนค้างแล้ว ปกติแล้วเสาวรสจะให้ผลผลิตได้ตลอดปีถ้าไม่ขาดนา แต่ในสภาพที่ปลูก โดยอาศัยนาฝนนัน เสาวรสจะให้ผลผลิตได้ดีในระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ ดงั นันการปลูกเสาวรสรบั ประทานสดจงึ จะต้องวางแผนให้สอดคล้องกับช่วงเวลาการให้ผลผลิต และสภาพการปลกู 1. การปลูกโดยอาศัยนาฝน เนื่องจากเสาวรสจะให้ผลผลิตได้ดีในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกุมภาพันธ์ การปลูก โดยอาศยั นาฝนและจะต้องตดั แต่งในเดือนกุมภาพันธ์ทุกปี ดังนันการปลูกจะต้องทาก่อนเดือน สิงหาคมอย่างน้อย 7 เดือน ซึ่งมี 2 ช่วงคือระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคม ซึ่งเป็น ช่วงปลายฤดูฝนถึงฤดูหนาว แต่หลังปลูกจะต้องให้นาช่วยเพ่ือให้ต้นสามารถเจริญผ่านฤดูแล้ว แรกไปก่อน สาหรับอีกชว่ งหนึ่งคือการปลูกในช่วงต้นฤดูฝนคือเดือนพฤษภาคม ช่วงนีไม่ต้อง ให้นาแต่ในปีแรกช่วงระยะเวลาให้ผลผลิตจะสันแค่ 3-4 เดือนเท่านัน คือจากเดือน พฤศจกิ ายนถงึ กมุ ภาพนั ธ์ 2. การปลูกแบบให้นา พนื ทป่ี ลูกสามารถใหน้ าได้ในฤดแู ลง้ เสาวรสจะสามารถให้ผลผลิตได้ทันทีเมื่ออายุ ประมาณ 5-7 เดือนหลังปลูก และใหผ้ ลผลิตไดต้ ลอดปี ดังนนั จงึ สามารถปลูกไดท้ ุกช่วงเวลา แต่ยังคงต้องคานึงถึงความสะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษาด้วย ตัวอย่างเช่นถ้าปลูกในช่วงฤดู ฝนจะประหวัดในเร่ืองการใหน้ าแตจ่ ะต้องเพมิ่ การกาจัดวัชพืชมากขึน แต่ถ้าปลูกในช่วงฤดูแล้ง จะตอ้ งช่วยให้นาแตป่ ัญหาเร่อื งวชั พชื จะน้อยลงมาก

การปลกู เสาวรสในกรณีที่จะเปลี่ยนยอดในแปลงปลูกนันจะใช้เวลาตังแต่ปลูก จนกระท่ังเปล่ียนพันธุ์และให้ผลผลิตใกล้เคียงกับการปลูกด้วยต้นพันธุ์ดีเช่นกัน โดยปกติ แล้วจะปลูกตน้ ตอในช่วงปลายฤดฝู นและทาการเปล่ยี นพนั ธุ์ในช่วงปลายฤดูหนาวซ่ึงต้นตอ เจรญิ เติบโตถึงคา้ งแลว้ ขนั ตอนการปลกู การปลูกเสาวรสรับประทานสดมีขนั ตอนทจี่ ะตอ้ งดาเนนิ การและมีการปฏบิ ตั ิ ดูแลรักษาดังนี 1. การคดั เลอื กและเตรียมพืนที่ปลกู เสาวรสรับประทานสดเป็นไม้ผลที่ปลูกง่าย สามารถปลูกเป็นการค้าได้โดย อาศัยนาฝน แตถ่ ้าสามารถเลือกพืนท่ีปลูกที่สามารถให้นาได้จะทาให้คุณภาพผลผลิตดีขึน และการให้ผลผลิตยาวนานตลอดปี เสาวรสรับประทานสดนันสามารถปลูกได้ตังแต่พืน ราบจนกระทั่งพืนท่ีสูงจากระดับนาทะเลประมาณ 1,000 เมตร แต่พืนที่ปลูกควรมี แสงแดดจัด ไม่ควรมีนาขังและลาดชันมากเกินไปเพราะจะทาให้ทาค้างยาก ในเขตท่ีมี ฝนตกชุกเสาวรสอาจจะติดผลไม่ดีนักในบางช่วง เนื่องจากละอองเกสรตัวผู้จะถูกนาชะ ลา้ งและแมลงไมส่ ามารถผสมเกสรได้ เสาวรสปลูกได้ดีในดินหลายชนิด ดินท่ีเป็นกรดก็ สามารถเจริญเติบโตได้ดี แต่ถ้าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ต่ากว่า 5.5 ควรใส่ปูน ขาวลงไปดว้ ย

การเตรยี มพืนที่ปลูกเสาวรสรับประทานสดนนั ต้องมีการไถพรวนพืนที่ก่อน ถา้ พนื ทไี่ ม่ลาดชันนัก และถ้าสามารถหว่านปุ๋ยอินทรีย์ในขณะไถพรวนพืนที่ได้ก็จะดีมาก เนื่องจากเสาวรสมีระบบรากตืนแต่แผ่กว้างมาก จากนันจึงขุดหลุมปลูกโดยให้มีระยะ ปลูก 3ื3 เมตร (177 ต้นต่อไร่) หลุมปลูกควรมีขนาด 30x30x30 เซนติเมตรและ อยบู่ ริเวณโคนเสาคา้ งเพราะจะทาใหส้ ะดวกในการปฏิบัติงานภายในแปลง ก้นหลุมปลูก รองด้วยปุ๋ยอินทรีย์หรือเศษวัชพืชและปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 จานวน 100 กรัม จากนนั ผสมดนิ ดว้ ยปุ๋ยอินทรยี ์อีกครังลงในหลุมและควรเตรียมหลุมปลูกก่อนล่วงหน้าระยะ หนึ่งจะดีมาก เพื่อให้อนิ ทรียวตั ถทุ ใี่ ส่ลงไปย่อยสลายกอ่ น 2. การคัดเลือกและเตรียมต้นกลา้ การปลูกเสาวรสรับประทานสดต้องมีการเตรียมต้นกล้าไว้ล่วงหน้าให้พอดี กับช่วงเวลาท่ีจะปลูกเพ่ือให้ได้ต้นกล้าที่คุณภาพดี เพราะการผลิตกล้าเสาวรสส่วนใหญ่ จะใชถ้ ุงปลกู ขนาดเล็กให้สะดวกต่อการขนส่งจึงไม่สามารถเลียงต้นกล้าไว้ในถุงปลูกนาน ได้และท่ีสาคัญต้นกล้าที่จะนามาปลูกต้องคัดเลือกให้มีความสมบูรณ์สม่าเสมอกันและไม่ แสดงอาการเปน็ โรคไวรัส 3. วิธีการปลูก หลังจากเตรียมหลมุ ปลกุ แล้วกส็ ามารถนานกล้าลงปลกู ไดใ้ นกรณีท่ปี ลกู ดว้ ย ต้นทเี่ ปลย่ี นยอดแล้วตอ้ งให้รอยต่อของยอดพนั ธกุ์ บั ตน้ ตออยสู่ ูงกว่าระดับดนิ เพือ่ ป้องกัน เชือโรคเข้าทางรอยต่อและต้องตรวจสอบดดู ้วยวา่ ไดเ้ อาวัสดพุ นั กง่ิ ออกแลว้ หรือไม่ เมื่อ ปลูกต้นกลา้ แลว้ ใช้หลักไม้ไผ่ขนาดเลก็ ความสูงถงึ ระดบั ค้างปกั และผกู เถาตดิ กบั หลกั หรือ เสาคา้ งก็ได้เพื่อให้ยอดของต้นตงั ตรงตลอดเวลาตน้ จึงจะเจริญเติบโตไดเ้ รว็

4. การทาคา้ ง เน่อื งจากเสาวรสเปน็ ไม้ผลประเภทเถา้ เลอื ยการปลูกจึงต้องมีค้างรองรับต้น และผลผลิต ค้างเสาวรสนันต้องแข็งแรงเพียงพอสามารถใช้งานได้อย่างน้อย 3 ปี ต่อการปลูก 1 ครังและต้องทาก่อนปลูกหรือทาทันทีหลังปลูกเพื่อให้ทันกันการ เจริญเติบโตของต้นเสาวรสสามารถเลียงเถาได้ทันทีเมื่อเถาเจริญถึงค้าง ซึ่งปกติจะใช้ เวลาประมาณ 3 เดือน การทาคา้ งช้าเป็นปญั หาท่พี บมาก เพราะเปน็ ขันตอนท่ีต้องใช้ ทุนและแรงงานมากทีส่ ุด ค้างเสาวรสมีอยู่ 2 ระบบคือค้างแบบรัวตังและค้างแบบเป็นผืนท่ียังแยก ออกเป็นอีก 2 แบบคือ แบบเป็นผืนใหญ่เต็มพืนที่และแบบตัวที แต่ค้างแบบรัวตัง และแบบตัวทีนนั ยังไมแ่ นะนาใหเ้ กษตรกรใชเ้ พราะพนื ท่เี ลียงเถามีจากัดต้องเพ่ิมการตัด แต่งมากกวา่ ปกติ ค้างแบบเป็นผืนใหญ่เต็มพืนท่ีเป็นแบบท่ีแนะนาให้เกษตรกรใช้ปัจจุบัน เนือ่ งจากมพี นื ทีเ่ ลียงเถามาก เกษตรกรไม่ต้องเสียเวลาในการเลียงและตัดแต่งเถามาก นอกจากนียงั ทาไดง้ า่ ยและแข็งแรงซึง่ คา้ งประกอบด้วย 2 ส่วนไดแ้ ก่ 1. เสาค้าง สามารถใช้ไดท้ ังเสาคอนกรตี เสาไมห้ รือเสาไม้ไผ่แต่ทังนีต้องคานงึ ถงึ การลงทนุ ใหน้ ้อยที่สุดในพืนท่ี 1 ไร่ จะใชเ้ สาค้าง 177 ตน้ คือใชร้ ะยะ 33ื เมตร เชน่ เดียวกบั หลุมปลูก 2. คา้ งส่วนบน เป็นพืนที่เลือยของเถาเพื่อไม่ให้เถาห้อยตกลงมา วัสดุที่ใช้อาจจะเป็น ไมไ้ ผ่ลวดสงั กะสีหรอื เชือกไนลอ่ นก็ได้ แต่วิธีท่ีแนะนาให้เกษตรกรใช้คือใช้ลวดสังกะสี เบอร์ 14 สานเป็นโครงสร้างและใช้เชือกไนล่อนสานเป็นตารางขนาด 40ื50 เซนติเมตร วิธีนีจะทาให้นาหนกั คา้ งสว่ นบนลดลง

ในแต่ละปีต้องมีการซ่อมแซมค้างท่ีเสียหายให้แข็งแรงอยู่เสมอ โดยปกติ แลว้ จะทาหลังจากการตดั แต่งก่งิ ในเดือนกุมภาพันธ์ เช่น เปลี่ยนเชือกท่ีขาดและเสาท่ีผุ พงั เป็นตน้ 5. การจดั ทรงต้นและการเลียงเถา เสาวรสเช่นเดียวกับไม้ผลชนิดอื่นๆ ท่ีจะต้องจัดทรงตน้ ให้เหมาะสมกับการ เจรญิ เติบโตและให้ผลผลิตโดยเร่มิ ตงั แตห่ ลงั ปลกู จนกระทั่งขึนค้าง คือจะต้องให้เสาวรส มีลาต้นเดียวตังแต่ระดับพืนดินจนถึงค้างในระยะนีจะต้องคอยดูแลตัดหน่อท่ีงอกจากต้น ตอกิ่งข้างของต้นออกให้หมดรวมทังต้องมัดเถาให้เลือยขึนตังตรงอยู่ตลอดเวลา เพราะ ถ้ายอดของเถาห้อยลงจะทาให้ยอดชะงักการเจริญเติบโตและแตกตาข้างมากและ เนื่องจากเสาวรสรับประทานสดเน้นการเลียวเถาเป็นต้นจากการเสียบยอดจึงติดผลเร็ว ต้องหม่นั เด็ดผลทงิ จนกว่าต้นจะเจริญถึงค้าง หลังจากต้นเจริญถึงค้างแล้วให้ทาการตัดยอดบังคับให้แตกเถาใหม่ 3-4 กิ่ง จากนันจัดเถาให้กระจายออกไปโดยรอบต้นท่ัวพืนที่ของค้าง และควรตัดยอดของ เถาอกี ครังเมื่อยาวพอสมควรแล้วเพ่อื ชว่ ยใหแ้ ตกยอดมากขนึ 6. การใสป่ ุ๋ย เสาวรสเป็นพืชที่ออกดอกติดผลตลอดทังปี ดังนันจึงจาเป็นต้องได้รับปุ๋ย อยา่ งต่อเนอ่ื งสม่าเสมอ จงึ จะให้ผลผลิตไดด้ ีและมีคุณภาพโดยเฉพาะเสาวรสรับประทาน สดนันย่ิงมีความจาเป็นมาก การได้รับปุ๋ยที่ไม่ถูกต้องและเพียงพอจะมีผลทาให้คุณภาพ และรสชาติของผลผลิตต่ากว่ามาตรฐาน ปุ๋ยที่ใช้ในการปลูกเสาวรสรับประทานสดมี 2 ชนิดคือ

1. ปยุ๋ อินทรยี ์ มปี ระโยชน์ช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดินทาให้ต้นเสาวรสมีความแข็งแรง ขนึ และลดความรุนแรงของโรคไวรัสลง ซ่ึงได้แก่ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมัก ต้องใส่ให้อย่างน้อย ปลี ะ 1 ครงั คอื ใสพ่ รอ้ มกับการเตรยี มดินกอ่ นปลกู และหลังจากสินสุดช่วงเก็บเก่ียวแล้วและ ทาการติดแตง่ กิง่ ของแต่ละปีในช่วงตน้ กมุ ภาพนั ธโ์ ดยใชป้ ระมาณ 10 กโิ ลกรัมต่อต้นต่อปี โดยอาจจะใชว้ ธิ โี รยเป็นแถวระหว่างต้นหรือรอบตน้ แล้วไถพรวนหรอื ดนิ กลบ 2. ปุ๋ยเคมี มีความจาเปน็ ต่อเสาวรสรับประทานสดมาก โดยท่ัวไปแล้วแนะนาให้ใช้อย่าง ตอ่ เนือ่ ง ครงั ละจานวนน้อยแต่บ่อยครงั เพราะเสาวรสมีช่วงการให้ผลผลิตตลอดปีและพืนท่ี สูงมักจะมีปัญหาการชะล้างของฝนทาให้เกิดการสูญเสียของปุ๋ยได้ง่าย อัตราใช้ปุ๋ยเคมีที่ แนะนาคือ 150-200 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปีหรือประมาณ 1 กิโลกรัมต่อต้นต่อปี 7. การใหน้ าและกาจัดวชั พชื เสาวรสสามารถทนแล้งได้ดีพอสมควร สามารถปลูกโดยอาศัยนาฝนได้ แต่ การปลูกเสาวรสรับประทานสดแบบให้นาเพื่อให้มีผลผลิตตลอดปีนันจาเป็นต้องให้นาใน ฤดูแล้งประมาณ 7 วันครัง ซ่ึงสามารถให้ได้โดยหลายวิธี เช่น นาพ่นฝอย นาหยด หรือรดนา ควรให้นา 1-2 ครัง / สัปดาห์ เป็นต้น สาหรบั วัชพืชนันต้องหม่ันกาจัดอยู่ เสมอโดยอาจจะใช้วีการตัดหรือพ่นด้วยสารเคมีได้แต่ต้องไม่ใช้ประเภทดูดซึม หลังจากท่ี เถาเต็มค้างแล้วปัญหาเร่ืองวัชพชื จะน้อยลง 8. การปลดิ ผล โดยธรรมชาติแล้วเสาวรสจะออกดอกและติดผลได้ง่ายโดยจะเกิดท่ีทุกข้อ บริเวณโคนก้านใบของก่ิงใหม่ถึงแม้ว่าดอกบางส่วนจะร่วงไม่ติดผลแต่ก็มักจะติดผล ค่อนข้างมากอยู่ ทาให้ผลผลิตคุณภาพไม่สม่าเสมอจาเป็นต้องปลิดผลที่มีคุณภาพต่าทิง ให้ผลที่เหลืออยู่มีคุณภาพดี ซึ่งจาเป็นมากสาหรับเสาวรสรับประทานสดที่ต้องเน้นเรื่อง คุณภาพ

ใน 1 เถาเสาวรสจะให้ผลที่มีคุณภาพดีเป็นชุด ๆ ละ 3-4 ผล หลังจาก ติดผล 1 ชุดแล้ว ผลชุดที่ติดต่อไปมักมีขนาดเล็กเพราะอาหารไม่เพียงพอจึงต้องทิงบ้าง นอกจากนยี ังมีผลท่ีบิดเบียวเน่ืองจากการทาลายของโรคแมลงท่ีต้องปลิดทิงด้วย โดยทา ตังแต่ผลมีขนาดเล็กอยู่ 9. การตดั แตง่ เถา เนือ่ งจากเสาวรสเป็นไมผ้ ลที่ออกดอกบนกิ่งใหม่จึงต้องทาให้ต้นมีการแตกกิ่ง ใหม่ตลอดเวลาเสาวรสจึงจะให้ผลผลิตได้ดีอีกประการหนึ่งคือเถาเสาวรสจะเลือยยืดยาว ออกไปตลอดเวลา ทาให้กิ่งใหม่และผลติดอยู่ไกลลาต้นจึงได้รับนาและอาหารไม่เต็มท่ี การตัดแต่งจะมปี ระโยชน์ในการช่วยให้ต้นแตกกิ่งใหม่และเถาไม่ยาวเกินไป ซ่ึงทาได้ 2 ลกั ษณะตามรูปแบบการปลูกคือ 1) การปลกู แบบอาศัยนาฝน จะตอ้ งทาการตัดแต่งหนัก 1 ครัง หลังจากสินสุดฤดูกาล เกบ็ ผลผลติ ในเดือนกมุ ภาพนั ธโ์ ดยตัดเถาโครงสร้างที่เกิดจากลาต้นให้เหลอื 3-4 ก่ิงยาว ประมาณ 30 เซนตเิ มตร หลังจากนัน 1 เดือนจะแตกยอดใหม่ที่ก่ิงโครงสร้าง ตัดแต่ง กิ่งอกี ครงั โดยเลอื ยยอดใหม่ทส่ี มบรู ณ์ ไว้ 2-3 ยอดต่อเถาโครงสร้าง 1 เถา จัดเถาให้ กระจายไปรอบต้น ในระหว่างท่ีต้นเจริญเติบโตและให้ผลผลิตนันต้องคอยตัดแต่งกิ่งข้างท่ีแก่และก่ิงท่ีให้ ผลผลติ ไปแลว้ ออกโดยให้เหลอื ตา 2-3 ตา เพอื่ ให้แตกยอดใหมใ่ หผ้ ลผลติ ต่อไป

2) การปลกู แบบใหน้ า การปลูกแบบนีจะไม่มีการตัดแต่งหนักในฤดูแล้งเพราะต้องการให้มีผลผลิต ตลอดปี แต่จะใช้การตดั ยอดของเถาโครงสร้างท่ียืดยาวออกไปเป็นระยะๆ หลังจากที่ต้น ขนึ คา้ งแล้ว เพอื่ บงั คบั ใหแ้ ตกเถาข้างมากขนึ และทาการตัดแต่งเถาข้างเม่ือยาวพอสมควร เปน็ ระยะเชน่ กนั เพ่ือบังคับใหแ้ ตกเถาแขนงให้มากสาหรับให้ผลผลิตและต้องตัดแต่งเถา ข้างหรือเถาแขนงท่ีแก่หรือให้ผลผลิตแล้วออกเป็นประจาเพื่อให้แตกยอดใหม่ทดแทน ตลอดเวลาโดยตัดใหเ้ หลือ 2-3 ตา ในบางช่วงทต่ี ้นติดผลน้อยกว่าปกติ อาจจะตัดแต่งให้หนักมากขึนได้เพราะ จะไมก่ ระทบกบั การใหผ้ ลผลติ มากนกั 10. การเก็บเกี่ยวและการบม่ เสาวรสรับประทานสดจะไม่เก็บเกี่ยวโดยปล่อยให้ร่วงเหมือนกับเสาวรส โรงงาน คือต้องเก็บจากต้นโดยผลจะสุกเม่ืออายุประมาณ 50-70 วันหลังดอกบาน ระยะทเี่ หมาะสมเก็บเก่ียวเม่อื ผลเปลี่ยนเป็นสีม่วงแล้วประมาณ 70-80 เปอร์เซ็นต์ โดย สีของผลจะเปล่ียนจากสีเขียวเป็นสีแดงอมม่วงจึงเก็บเก่ียวด้วยวิธีการใช้กรรไกรตัดขัวผล จากต้นให้สนั ตดิ ผล แลว้ จึงนามาบม่ เพ่ือให้สีผลสวยและรสชาติดีขึน โดยทั่วไปแล้วจะทา การเกบ็ เกยี่ วทุกๆ 2-3 วันต่อครัง การบ่อใช้ก๊าซอะเซทธิลีน ซึ่งทาได้หลายวิธีเช่น ใส่ผลลงไปภาชนะเช่น กล่องกระดาษ แล้วนาแคลเซียมคาร์ไบด์ท่ีใส่ในภาชนะเล็กๆ หรือห่อกระดาษเติมนา เลก็ นอ้ ยให้เกดิ ก๊าซอะเซทธิลีนแล้วปิดภาชนะทิงไว้ 2-3 วันผลจะเปลี่ยนสีเป็นสีม่วงแดง เข้มขึนจึงนาส่งจาหน่าย ในกรณีที่ผลผลิตมีจานวนมากให้ใช้วิธีใส่ผลผลิตลงในลัง พลาสติกหลายๆ ลงั นามาตงั รวมกนั ใสแ่ คลเซยี มคาร์ไบด์มากเกินไปเพราะจะทาให้ผิวผล เสยี หาย

กอ่ นการบ่มควรคัดคุณภาพผลผลิตก่อนที่สาคัญคือระดับความสุกของผลให้ สมา่ เสมอกันเพราะจะทาให้ใช้ระยะเวลาในการบม่ เท่ากันสีของผลสมา่ เสมอกันทุกผล 11. การคัดคุณภาพผลผลติ และบรรจุหีบหอ่ ผลผลิตเสาวรสรับประทานสดนันต้องเน้นเรื่องคุณภาพเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะคุณภาพภายใน ซ่ึงได้แก่ความหวานและนาหนักต่อผล โดยความหวานต้อง ไม่ต่ากว่า 16 Brix และผลที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 5 เซนติเมตร ควรมี นาหนักประมาณ 70 กรัม เพราะผลที่มีขนาดใหญ่แต่นาหนักเบาภายในจะมีเนือน้อย สาหรับลักษณะภายนอกนันผลต้องไม่บิดเบียว ไม่เน่า แตก หรือเห่ียว ผิวผลอาจจะ ลายจากโรคไวรัสหรือแมลงได้ แต่ไม่มากเกินไป ปัจจุบันมูลนิธิโครงการหลวงกาหนด ชันมาตรฐานผลผลิตไว้ 2 เกรด คือ เกรด 1 เส้นผ่าศูนย์กลางผลตังแต่ 5 เซนตเิ มตรขึนไป และเกรด 2 เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางผลตังแต่ 4-5 เซนตเิ มตร หลังจากคัดคณุ ภาพแลว้ จึงบรรจุผลผลิตเพ่ือส่งจาหน่ายโดยกาหนดให้บรรจุผลลงในลังสี เขยี วที่บุขา้ งด้วยกระดาษและส่งให้งานคัดบรรจุตรวจสอบคุณภาพและส่งจาหน่ายต่อไป โดยอาจจะบรรจใุ หมส่ าหรบั ขายปลกี เปน็ กโิ ลกรัม โรคและแมลงศตั รู ปกติเสาวรสจะมีโรคและแมลงหลายชนิดรบกวนแต่เน่ืองจากเป็นพืชท่ี ค่อนข้างจะแข็งแรงทนทานต่อโรคแมลงการปลูกส่วนใหญ่จึงไม่นิยมใช้สารเคมีป้องกัน กาจัดโรคแมลง ประกอบกับเสาวรสให้ผลผลิตตลอดทังปี จึงไม่เหมาะกับการใช้ สารเคมี โรคและแมลงทส่ี าคัญของเสาวรสมีดงั นี

โรคของเสาวรส 1. โรคใบดา่ ง (Mosaic) โรคนเี ปน็ โรคที่สาคัญทส่ี ุดของเสาวรสเมอ่ื เกิดการระบาดแลว้ จะทาใหผ้ ลผลิต ลดตา่ ลงทงั ปริมาณและคุณภาพโดยในเสาวรสรบั ประทานสดนนั ส่วนใหญ่มกี ารติดโรคนี เน่ืองจากมกี ารขยายพันธุ์โดยใช้กง่ิ พนั ธด์ุ ีจากตน้ แม่เดิมที่เปน็ โรคอย่กู ่อนแล้ว ปัจจุบันอยู่ ในระหว่างการวจิ ัยเพอ่ื ผลติ ต้นแมท่ ป่ี ลอดโรคอยู่ สาเหตแุ ละอาการ โรคใบด่างเกดิ จากเชือไวรัส 2 ชนิด คือ Passion fruit Woodiness Virus (PWV) ซึ่งเปน็ ไวรสั ทอ่ นยาวคดขนาด 650-800 นาโนเมตร ลักษณะตน้ ที่เป็นโรคจะแสดงอาการใบด่าง เสน้ ใบใส ผลดา่ งท่ัวผลและมอี าการดา่ ง แบบวงแหวน ผวิ เปลือกไม่เรียบ เปลอื กหนากว่าปกติ ผลจะมีลกั ษณะบิดเบยี วและขนาด เลก็ ลง เชือไวรสั อกี ชนิดหน่งึ คือ Cucumber Mosaic Virus (CMV) อาการที่ พบคือใบดา่ งเหลือง ใบยอดบิดและหงิกงอ ผิวใบไมเ่ รียบ ผลบิดเบยี ว การแพร่ระบาด เชอื ไวรัสสามารถถ่ายทอดโดยวิธีกล เชน่ การตัดแต่งกงิ่ การเสยี บกงิ่ และ ระบาดโดยแมลงพาหะ เชน่ เพลียออ่ น

การปอ้ งกนั กาจดั 1. คัดเลอื กตน้ กล้าทสี่ มบรู ณ์ปลอดจากไวรัส 2. ไมค่ วรปลูกปะปนกบั พชื ตระกลู แตง มะเขอื 3. เมอ่ื นาต้นกล้าลงปลูกจนกระทั่งถงึ เร่มิ ติดผล ควรพ่นยาปอ้ งกันกาจดั แมลงพาหะเป็น ระยะๆ 4. ควรระมดั ระวังเคร่ืองมือทใี่ ช้ตดิ แตง่ ก่ิง โดยทาความสะอาดทุกครงั ทต่ี ดั แตง่ ตน้ เสรจ็ ในแต่ละตน้ 5. การบารงุ ตน้ ให้มคี วามแขง็ แรงสมบรู ณ์อยู่เสมอจะทาให้ตน้ ทนทานต่อการทาลายของ โรคไวรัส และยงั คงใหผ้ ลผลติ ไดด้ ีถงึ แม้ปรมิ าณและคณุ ภาพจะลดลงบ้างแตก่ ็ยงั คง สามารถให้ผลผลติ ได้ดี 2. โรคจดุ สนี าตาลทผ่ี ล (Brown fruit spot) โรคนีพบมากในแปลงปลูกทป่ี ลูกถเ่ี กนิ ไปทาให้เถาแนน่ ทบึ แสงแดดส่งไมถ่ งึ นอกจากนยี งั พบในแปลงปลกู ทมี่ ีวัชพืชมาก สาเหตุและอาการ เกิดจากเชอื Collectotrichum sp. ทาให้ผลเป็นจุดสนี าตาลทั่วผลหลังจากนันแผล ดังกล่าวจะพฒั นาเป็นกระเกิดนูนสีนาตาล การปอ้ งกันกาจดั ตอ้ งหม่นั ดแู ลรกั ษาแปลงใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ ตดั แตง่ เถาทแ่ี กแ่ ละแนน่ ทบึ ออกบ้าง เพอื่ ให้แสงแดดสง่ ถงึ และให้อากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก ทาการตัดแต่งผลทเ่ี ปน็ โรคออกจากแปลง หากพบการหแพรร่ ะบาดของโรคมากและจาเปน็ ต้องทาการปอ้ งกนั กาจดั แนะนาให้ใชส้ ารเคมี เชน่ เบนเลท หรือไดแทนเอม็ -45 หรือแคปแทน ฉดี พน่ 1-2 ครงั แต่ไมค่ วรใชใ้ นช่วงใกล้เกบ็ เกี่ยว

3. โรครากเนา่ และโคนเน่า (Damping off} Root rotand footrot) มักจะเกดิ กับตน้ กล้าหรือต้นทปี่ ลกุ ในพืนที่ระบายนาไมด่ ี ซึ่งเกิดจากเชือราในดนิ พวก Rhizoctonia sp. และ Fusarium sp. โดยตน้ จะแสดงอาการเห่ียวบางครังลา ตน้ บวมพองและแตกเมอ่ื ดรู ะบบทอ่ นาทอ่ อาหาร บรเิ วณรากและโคนตน้ เป็นสีนาตาล การปอ้ งกนั กาจัด 1. ในพืนที่ท่ีเคยพบการแพรร่ ะบาดควรทาการไถดนิ ตากแดด ประมาณ 2 สปั ดาห์ เพื่อลดปริมาณของเชือโรคในดิน 2. ควรนาเชอื ราไตรโคเดอร์มา่ มาใชร้ องก้นหลุมกอ่ นปลูกเพ่อื ปอ้ งวกันการเข้าทาลายของ เชอื โรคในดินและควรใชอ้ ย่างสม่าเสมอ 3. หากเริม่ พบการเกิดโรคควรกาจัดแหลง่ ของเชอื โรคโดยการเผาทาลาย แมลงศตั รเู สาวรส 1. ไรแดงแดงและไรสองจดุ เข้าทาลายพืชบริเวณใตใ้ บทาใหใ้ บมีสซี ีด การระบาดจะมมี ากในชว่ งฤดแู ล้ง แมลงทัง สองชนิดนเี ป็นแมลงปากดูด การป้องกนั กาจัด ไรแดง หากมกี ารระบาดในปรมิ าณมากใหใ้ ชส้ ารไดโคโฟล (dicofol) ฉดี พน่ บรเิ วณ ใต้ใบ การใชส้ ารเคมีนใี หผ้ สมสารจับใบในการพ่นทกุ ครังเพือ่ เพม่ิ ประสิทธภิ าพการ เกาะตดิ ทใี่ บของสารเคมี ไรสองจุด หากมกี ารระบาดสามารเลอื กใชส้ ารเคมีได้ดังต่อไปนีคอื 1. โพรพารไ์ กต์(โอไมท์) อัตรา 30 กรัม/นา 20 ลติ ร 2. อะเบาเมิกตนิ (เวอรท์ ิเมค) อัตรา 20 มลิ ลลิ ติ ร/นา 20 ลติ ร 3. เฟนไพรอ็ คซเิ มต(ortus) อัตรา 20 มลิ ลิลติ ร/นา 20 ลิตร ** การพน่ สารควรพ่นตามอตั ราทก่ี าหนดและในเวลาทไี่ ม่มีแดดจัด

2. เพลียไฟ เพลยี ไฟมีปากเขี่ยดูดมกั เขา้ ทาลายท่ีใบออ่ นและผลออ่ น โดยส่วนของพชื ที่ถูกเพลยี ไฟ เข้าทาลายจะมลี ักษณะเป็นขีดสีนาตาล เพลยี ไฟมกั จะระบาดในช่วงฤดแู ล้งหรอื ช่วงที่ฝน ทงิ ช่วง หากพบการระบาดของเพลียไฟควรทาการปอ้ งกนั กาจัดพร้อมกบั บารงุ ต้นพืชให้ แข็งแรง สารเคมที ี่ใชป้ อ้ งกันกาจดั เพลยี ไฟ 1. คาร์บารลิ (เซฟวนิ 85 ดับบิวพ)ี 20-30 กรัม/นา 20 ลติ ร 2. โพรดไทโอฟอส (โตกไุ ธออน) 20-30 มลิ ลลิ ติ ร/นา 20 ลติ ร 3. ฟลเู ฟนนอกซูรอน (แคสเดด) 20-40 มิลลลิ ติ ร/นา 20 ลิตร การปอ้ งกนั กาจัดแมลงด้วยสารเคมสี ามารถทาไดใ้ นช่วงก่อนเก็บเกยี่ วผลผลติ และงดการ พ่นสารเคมที กุ ชนดิ กอ่ นการเก็บเก่ยี ว 7-10 วัน การผลติ และการตลาดเสาวรส เน่อื งจากเสาวรสรบั ประทานสดเป็นพนั ธทุ์ ม่ี ลู นธิ ิโครงการหลวงวิจยั ไดแ้ ละ ส่งเสริมใหเ้ กษตรกรในพืนท่ผี ลิต ปัจจบุ ันจงึ มีผลผลิตจากมูลนิธิโครงการหลวงเทา่ นนั ที่ ออกสูต่ ลาด โดยมีผลผลิตส่งจาหนา่ ยตงั แต่ปี พ.ศ. 2541/2542(ส.ค.2541- ก.พ.2542) จานวน 3,905.5 กิโลกรมั ปีพ.ศ.254/2543(ม.ี ค.2545-ก.พ.2543) จานวน 7,012 กโิ ลกรัมและในปี พ.ศ.2543/2544 (มี.ค.2543-ก.พ.2544) จานวน 37,925 กิโลกรมั แตพ่ บวา่ ปริมาณผลผลติ ยงั ไมเ่ พยี งพอกบั ความตอ้ งการ ของตลาด เนือ่ งจากผลผลิตเป็นท่ยี อมรับของผูบ้ รโิ ภคทาให้ความต้องการของตลาด เพ่มิ ขึนในอตั ราทเี่ ร็วกว่าการเพ่ิมการผลติ ในขณะท่รี าคาผลผลติ อย่ใู นระดบั ทด่ี คี ือ เฉล่ียกโิ ลกรมั ละประมาณ 10-12 บาท ซึ่งสูงกว่าเสาวรสโรงงานถงึ 3-4 เทา่

จากสภาพดังกล่าวจึงคาดวา่ เสาวรสรบั ประทานสดมีศักยภาพท่ีจะสง่ เสริมให้ เป็นไมผ้ ลเศรษฐกจิ ชนิดหน่ึงได้ ทังบนพืนท่ีสูงและพืนท่ีต่า แต่ทังนีการขยายการผลิต ในระยะแรกคอื 2-3 ปขี า้ งหนา้ ตอ้ งวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกบั ความต้องการของ ตลาดโดยคาดวา่ ไมค่ วรเกนิ 200 ตนั ตอ่ ไป เพื่อรกั ษาระดับราคาของผลผลิตไม่ให้ลด ต่าลงและเพือ่ ศกึ ษาความต้องการของตลาดในอนาคตขา้ งหน้าให้แน่นอนอีกครัง การปลูกเสาวรสนันมีปัญหาสาคัญประการหนึ่งคือการใช้ไม้ทาค้างดังนัน การส่งเสริมปลูกต้องระวังไม่ให้เกิดปัญหาการตัดไม้ทาลายป่ามาเพื่อใช้ทาค้าง การ ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกไมไ้ ผ่ควบคู่กบั การปลูกเสาวรสจะเปน็ ประโยชน์มาก

:: แหล่งอา้ งองิ ขอ้ มูล/ภาพประกอบ :: https://www.nfc.or.th/content/7450

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอกระสงั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook