Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่ม

รวมเล่ม

Published by สกร.อำเภอพรรณานิคม, 2021-05-24 23:53:57

Description: แนวทางการสนับสนุนการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมสำหรับ​เยาวชน

Search

Read the Text Version

1 สว่ นที่ ๑ บทนำ ๑.๑ ภยั ของมนุษย์ เกดิ จำกอะไร ? ทกุ ประเทศ ทุกสังคม ล้วนปรารถนาท่จี ะทาให้สมาชิกในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มั่นคง ปลอดภัยด้วยกันทั้งสิ้น แต่ส่ิงท่ีขัดขวางความสันติสุขของสังคมก็คือภัยของมนุษย์ ซึ่งล้วนเกิดจาก สาเหตเุ พยี ง ๒ ประการ คือ ประกำรท่ี ๑ เกดิ จากธรรมชาติ เชน่ ฟ้าผ่า แผน่ ดินไหว พายุ สตั ว์รา้ ยและโรครา้ ยตา่ งๆ ประกำรท่ี ๒ เกิดจากมนุษย์ ทั้งจากการท่ีมนุษย์ทาร้ายมนุษย์โดยตรง เช่น สงครามและ อาชญากรรมต่างๆ หรือเกิดจากการท่ีมนุษย์ทาลายสิ่งแวดล้อม แล้วส่งผลกระทบกลับคืนสู่มนุษย์ เช่นการทาลายป่าต้นน้าทาใหเ้ กดิ ภัยแล้งหรอื น้าทว่ ม ๑.๒ เครื่องมอื ที่สังคมใชเ้ พื่อปอ้ งกัน ไมใ่ ห้เกิดภยั จำกมนษุ ย์คืออะไร ? เพ่ือลดโอกาสท่ีจะเกิดภัยจากน้ามือมนุษย์ ทุกสังคมล้วนมีเคร่ืองมือสาคัญ ๒ ชนิดได้แก่ กฎหมายและคุณธรรม ซึ่งมีข้อแตกตา่ งกันดังน้ี กฎหมำย เป็นการบังคับภายนอก ซึ่งรัฐบังคับให้ประชาชนทุกคน ต้องประพฤติตน ตามข้อกาหนด หากผู้ใดละเมดิ ย่อมได้รับโทษตามทก่ี ฎหมายกาหนด คุณธรรม เป็นการควบคุมภายใน ซ่ึงแต่ละคนต้องควบคุมจิตใจของตนเอง เพ่ือให้ ประพฤติตนในสงิ่ ท่ีพึงประพฤติ และละเว้นในสง่ิ ท่พี ึงละเว้น โดยต้องคานึงถึงผูอ้ ื่นหรือสว่ นรวมเสมอ กฎหมายแม้จะมีสภาพบังคับ แต่ก็ยังมีจุดอ่อนหรือช่องโหว่ ซึ่งสามารถหลีกเล่ียงได้ เช่น กรณีที่มผี ูพ้ บสร้อยคอทองคา ตกอยูใ่ นท่ีลับตา หากผู้พบเป็นคนที่กลัวกฎหมาย ก็อาจเก็บเอาไว้เอง เพราะรู้ว่าเมื่อไม่มีใครรู้เห็น กฎหมายจงึ ไมอ่ าจเอาผดิ ตนได้ แต่คนท่ีมีคุณธรรมน้ัน เมื่อเก็บสร้อยคอทองคาได้ ย่อมไม่เก็บเอาไว้เองแต่จะพยายาม นาส่งคืนเจ้าของ โดยไมส่ นใจว่าจะมผี ูใ้ ดรเู้ หน็ หรอื ไม่กต็ าม กฎหมาย เป็นเคร่ืองมือของฝ่ายรัฐ เช่นเดียวกับท่ีคุณธรรมเป็นเคร่ืองมือของฝ่ายศาสนา ซึง่ หนา้ ท่สี าคญั ของสถาบันศาสนากค็ อื การสร้างความเปน็ ปกึ แผน่ ใหแ้ กส่ งั คม ดังนั้นศาสนาทุกศาสนา

2 จึงมีหลักคุณธรรมเป็นเครื่องยึดเหน่ียวจิตใจ สาหรับศาสนิกชนของตนเสมอ ซ่ึงคุณธรรมของศาสนา ตา่ งๆ นน้ั ยอ่ มมหี ลกั การท้ังท่ีต่างกันและสอดคลอ้ งกัน ๑.๓ คุณธรรมเชิงเด่ียวคอื อะไร ? คุณธรรมเชงิ เด่ียว หมายถึง คณุ ธรรมเฉพาะประเดน็ เชน่ ความส่ือสัตย์ ความกตัญญู เป็นเรื่อง การประพฤติ ปฏิบัติตนระหว่างบุคคลกับบุคคล หรือบุคคลกับกลุ่มบุคคลใกล้ชิด ซึ่งการเสริมสร้าง คุณธรรมในปัจจุบันโดยเฉพาะอย่างย่ิงสาหรับเยาวชนนั้น สังคมไทยยังใช้เป็นหลักในการเสริมสร้าง คุณธรรม การยึดมั่นในคุณธรรมเชิงเดี่ยวโดยปราศจากการไตร่ตรองอย่างรอบคอบ ก็อาจส่งผล เสยี หายแกส่ งั คมได้ เชน่ เร่ืองความซื่อสัตย์ หากบุคคลท่ีได้รับเงินทองหรือสิ่งของจากผู้รับสมัครเลือกตั้ง แล้วยึดมั่นใน เร่ืองความซื่อสัตย์ซ่ึงเป็นคุณธรรมเชิงเด่ียว จึงต้องไปลงคะแนนให้นักการเมืองท่ีซ้ือเสียงน้ัน ผลเสียก็ คอื ไม่ได้นกั การเมอื งที่เหมาะสม เรื่องความกตัญญู หากผู้รักษากฎหมายพยายามช่วยผู้มีพระคุณท่ีกระทาผิดกฎหมายให้พ้นผิด เพราะยึดมั่นในเรื่องความกตัญญู ซ่ึงเป็นคุณธรรมเชิงเด่ียว ก็จะเป็นการทาลายความศักด์ิสิทธ์ิของ กฎหมายและสง่ ผลรา้ ยตอ่ บ้านเมือง จากกรณีดังกล่าว ย่อมแสดงให้เห็นว่า คุณธรรมเชิงเด่ียวแม้จะมีประโยชน์มากมาย แต่ก็ยังมี จุดอ่อนท่ีอาจสร้างความเสียหายต่อสังคมได้ ดังนั้นเพ่ือปิดจุดอ่อนดังกล่าวสมควรกลับไปทบทวน คน้ หาแก่นแทข้ องคณุ ธรรมทศี่ าสนาต่างๆ ไดก้ ลา่ วไว้ ๑.๔ ศำสนำต่ำงๆ ไดก้ ลำ่ วถงึ คุณธรรมไวอ้ ยำ่ งไร ? ศำสนำต่ำงๆ ได้กล่าวถึงคุณธรรมไว้ว่าคุณธรรมมี ๒ ระดบั คือ ระดับที่ ๑ เป็นการปฏิบัติระหว่างมนุษย์กับเทพเจ้ำหรือกับพระเจ้ำ เพ่ือให้มนุษย์ เคารพยาเกรงเทพเจา้ หรอื ยาเกรงพระเจ้า ระดบั ท่ี ๒ เป็นการปฏบิ ัตริ ะหว่างมนุษยก์ ับมนุษย์เพ่อื ใหเ้ กิดความสันตสิ ุขในสังคม ศำสนำอสิ ลำม มหี ลักธรรมทเี่ รียก “อหิ ซำน”ซ่งึ แบ่งความสมั พันธ์ของมนุษย์ออกเปน็ ๒ ระดับดังน้ี ระดับท่ี ๑ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับอัลลอฮ์ ซ่ึงจะทาให้มนุษย์มีความยาเกรง ต่อพระองค์ เช่น ต้องเคารพภักดีต่ออัลลอฮ์เสมือนตนเห็นพระองค์ แม้ว่าตนจะไม่เห็นพระองค์ แตพ่ ระองคท์ รงเหน็ ตน

3 ระดบั ท่ี ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษยก์ ับมนษุ ย์ซ่ึงจะทาใหม้ นุษยม์ ีความประพฤติที่ดี ต่อกันและหวังดีต่อกันเช่นพึงเคารพบิดามารดา พึงบริจาคทานซากาด พึงให้เกียรติซ่ึงกันและกัน พงึ ละเวน้ การเสพสรุ าและพงึ ละเว้นการสรา้ งความเดอื นรอ้ นแกส่ ังคม ศำสนำคริสต์ เมื่อพิจารณาจาก“บัญญัติ ๑๐ ประกำร”และคาสอนอ่ืนๆแล้ว ก็สามารถแบ่ง ความสมั พนั ธข์ องมนษุ ย์ออกเปน็ ๒ ระดบั เชน่ กนั คือ ระดับท่ี ๑ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าเช่นจงนมัสการพระเจ้าพระองค์ เดยี วของทา่ นหรอื อย่าออกนามพระเจา้ โดยไม่สมเหตุ ระดับที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์เช่นพึงเคารพนับถือบิดา มารดา พงึ รกั คนอน่ื เหมอื นรกั ตนเอง หา้ มฆา่ คนหรอื หา้ มขโมย เปน็ ตน้ ศำสนำซิกข์ มคี าสอนท่ีกาหนดระเบียบวินยั ใหป้ ฏิบัติ เป็น ๒ ระดบั เชน่ กนั คือ ระดับที่ ๑ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า เช่น ให้มีความเชื่อม่ันในพระเจ้า องค์เดยี ว และมีจิตใจอยกู่ ับพระเจ้า ระดบั ท่ี ๒ ความสมั พันธ์ระหว่างมนุษยก์ ับมนษุ ย์ เช่น ใหห้ าเลยี้ งชพี โดยชอบ หมายถึง ไม่เบยี ดเบียนผู้อ่ืน หรอื การบรกิ ารแกค่ นอืน่ ทางกายและทางวาจา เป็นต้น ศำสนำพรำหมณ์ – ฮินดู ไดก้ าหนดคาสอนไว้เป็น ๒ ระดบั ดงั น้ี ระดบั ท่ี ๑ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ ับเทพเจ้า คือ ตรมี รู ติ อนั ได้แก่ พระพรหม พระวิษณุ และพระศวิ ะ เปน็ เทพเจ้าทส่ี ามารถท่จี ะอานวยความสุขสวัสดี แก่ผูเ้ คารพบูชา ระดบั ที่ ๒ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งมนุษย์กับมนษุ ย์ เชน่ “อัสเตยะ” ไดแ้ ก่ การไม่ลกั ขโมย ไม่ทาการโจรกรรม หรือ “สัตยำ” ไดแ้ ก่ การแสดงความซอื่ สัตยต์ อ่ กนั และกัน ศำสนำพุทธ ไม่มีคาสอนเร่ืองพระเจ้า แต่จะสอนเร่ืองกฎของธรรมชาติ แม้พระพุทธเจ้าเองก็ ปฏิบัติตามกฎของธรรมชาติ ไม่มีส่ิงใดอยู่เหนือธรรมชาติ ทุกคนต้องปฏิบัติตนตามกฎของธรรมชาติ และจะได้รับผลจากกฎนั้น พระธรรมคาสอนเป็นเพียงเครื่องช้ีทางให้เดินถูกต้องเท่านั้น ส่วนการ ตัดสินใจปฏิบัติเป็นเร่ืองของคนแต่ละคน ทุกอย่างข้ึนกับตนเอง โดยให้ความสาคัญกับคาสอนท่ีว่า “ตนเป็นที่พึ่งแหง่ ตน”ซง่ึ คาสอนในศาสนาพุทธแบ่งไดเ้ ปน็ ๒ ระดบั คอื ระดับท่ี ๑ โลกุตตรธรรม คือ ธรรมที่เหนือโลก เป็นธรรมสาหรับผู้ท่ีต้องการดับทุกข์ และมงุ่ นิพพาน

4 ระดับท่ี ๒ โลกียธรรม คือ ธรรมท่ีเหมาะสมกับวิสัยของมนษุ ย์ปุถุชน เป็นแนวทางท่ี จะประพฤตปิ ฏิบัตติ นระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ เพื่อความสงบสันติสขุ ของสังคมเชน่ “เบญจศลี และ เบญจธรรม”ซ่งึ เปน็ ข้อพึงละเวน้ และข้อพงึ กระทาของมนุษยท์ ุกคน เมื่อพิจารณาคาสอนของทุกศาสนาแล้วจะพบว่า ทุกศาสนาล้วนประสงค์ท่ีจะให้มนุษย์ทุกคน มีจิตสานึกหรือเจตจานง (Will) ท่ีจะควบคุมตนเองให้ประพฤติตนอย่างเหมาะสม เพ่ือความสันติสุข ของสงั คม ซึ่งเป็นการประพฤตติ นระหวา่ งมนษุ ย์กับมนุษย์ด้วยกันทั้งส้ิน จิตสานึกหรือเจตจานง (Will) รว่ มดงั กล่าว จงึ เป็น “คุณธรรมที่เปน็ สำกล” ของทุกศาสนา ซึง่ จะเรยี กวา่ “คุณธรรมสำกล” ๑.๕ คุณธรรมสำกลคอื อะไร ? คุณธรรมสากล (Moral) คือ จติ สานกึ หรือเจตจำนง (Will) ของมนษุ ยท์ ีจ่ ะควบคมุ ตนเอง ให้ประพฤติตนอย่างเหมาะสม เพ่ือใหเ้ กดิ ความสันตสิ ุขของสงั คม และเจตจานง (Will) ดงั กลา่ ว มี หลกั การท่สี อดคล้องกับหลักธรรม ในสว่ นที่เปน็ กำรปฏิบัติระหว่ำงมนุษยก์ บั มนุษย์ ของทุกศาสนา เชน่ หลกั ธรรม “อหิ ซำน” ของศาสนาอสิ ลาม คาสอนเร่ือง“บญั ญัติ ๑๐ ประกำร” ของศาสนาคริสต์ หลกั คาสอนเรอ่ื ง “ วนิ ัย ” ของศาสนาซิกข์ หลักคาสอนเร่อื ง “อัสเตยะ และ สตั ยำ ” ของศาสนา พราหมณ์ – ฮนิ ดู และหลกั คาสอนเรือ่ ง “เบญจศลี เบญจธรรม”ของศาสนาพุทธ ซ่งึ หลกั การของทกุ ศาสนามีเพียง ๒ ประกำร คอื ประกำรท่ี ๑ พึงละเว้นกำรทำควำมชั่ว หมายถึง พึงละเว้นการทาความเดือนร้อนแก่ ผูอ้ ื่น หรือสว่ นรวม ประกำรที่ ๒ พงึ ทำควำมดี หมายถงึ การทาประโยชน์แก่ผอู้ ่ืน หรอื ส่วนรวม หากมนษุ ย์ทุกคนมุ่งม่ันจะปฏบิ ตั ติ ามหลกั การท้ัง ๒ ข้อ ย่อมทาให้สงั คมเกิดความสันตสิ ขุ สถาพร เพื่อช้ีให้เห็นว่าคุณธรรมสำกล เป็นเร่ืองของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ท่ีพึง ประพฤติปฏบิ ตั ิต่อกนั ซ่ึงจะส่งผลถึงควำมสนั ตสิ ุขของสังคม โดยขอยกตัวอยา่ งดังนี้ บ้ำน บำ้ น บำ้ น ป้ำแดง ทดิ บญุ ลงุ บงั

5 บ้านป้าแดง บ้านทิดบุญ และบ้านลุงบัง มีร้ัวติดกัน วันหน่ึงป้าแดงเดินทางไปทาบุญไหว้พระ ๙ วัด เพื่อความเป็นสิริมงคลของตนเอง แต่เม่ือกลับบ้านตอนเย็น ก็พบว่ากิ่งไม้ใบไม้จากบ้านทิดบุญ ปลิวตกไปรกบ้านป้าแดง ป้าแดงไม่พอใจอย่างยิ่ง จึงต่อว่าและทะเลาะกับทิดบุญ ส่งผลให้สังคม ระหวำ่ งป้ำแดงและทิดบญุ ไม่รำบร่นื เพรำะป้ำแดงทำให้ทิดบญุ เดือดรอ้ น ตรงกันข้ามกับลุงบัง ท่ีไปทาพิธีตามศาสนาของตนท่ีมัสยิด และเมื่อกลับมาบ้านในตอนเย็น ไดซ้ ้ือแกงมัสมั่นไก่มาฝากทิดบุญ จึงทาให้สังคมระหว่ำงทิดบุญและลุงบังรำบรื่นปรองดองเพรำะลุงบัง ทำประโยชนใ์ ห้ทดิ บญุ ตัวอย่างทีย่ กมาน้ี แสดงให้เหน็ ว่า คุณธรรมสำกล ซึง่ ปรากฏอยู่ในคาสอนของทุกศาสนา เปน็ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างมนุษย์กบั มนษุ ย์ หากทุกคนประพฤติปฏบิ ัตติ ่อกนั ดว้ ยหลกั กำร ๒ประกำร คือ พงึ ละเว้นควำมชั่วหรือพึงละเว้นการกระทาทจ่ี ะสร้างความเดือดรอ้ นให้ผอู้ ่ืนและส่วนรวม กับทั้งพงึ ทำ ควำมดี คอื พึงทาประโยชน์ให้ผู้อ่นื และส่วนรวม สงั คมย่อมมคี วามสันติสขุ ดังนั้น ไมว่ ่าทุกคนจะนับถอื ศาสนาใด ๆ ก็ตาม หำกยดึ มนั่ ในคุณธรรมสำกล ซง่ึ เป็นหลกั การ ประพฤติตนระหวา่ งมนษุ ยก์ บั มนุษย์แล้วยอ่ มอย่รู ว่ มกัน อยำ่ งสันตสิ ุขสถำพร สรปุ คุณธรรมสากลหรอื คาสอนรว่ มของทกุ ศาสนา ซึง่ เปน็ การปฏบิ ตั ริ ะหว่างมนษุ ยก์ บั มนษุ ย์ เพ่อื ใหอ้ ยู่ร่วมกนั อย่างสันตสิ ขุ มีหลักการเพียง ๒ ประการ คือ ๑. ขอ้ หำ้ ม : หำ้ มทำให้ผู้อื่นหรือส่วนรวมเดือดรอ้ น ๒. ข้อใหท้ ำ : ทำใหผ้ ้อู ่นื หรอื ส่วนรวมมคี วำมสุข

6 สว่ นที่ ๒ หลักกำรพนื้ ฐำนของคุณธรรม ๒.๑ ควำมดคี อื อะไร ? เราทุกคนล้วนได้รับการส่ังสอนให้ทาความดี ละเว้นความช่ัว แต่จะสามารถตอบตัวเอง ได้หรือไม่ว่าความดีคืออะไร สถานการณท์ ี่๑ เร่ืองการเข้าห้องเรียน ของศรรามและงามตาซ่ึงเป็นนักเรียนห้องเดียวกัน ใน วิชาท่ีครูผู้สอนเข้มงวด ทั้งศรรามและงามตา ต่างก็เข้าห้องเรียนตรงเวลาเหมือนกัน แต่เหตุผลในการ ตัดสนิ ใจเขา้ เรยี นตรงเวลาของท้งั ๒ คนตา่ งกนั คอื ศรรำมเข้าห้องเรยี นตรงเวลา เพรำะกลวั ถูกครูตี งำมตำเข้าหอ้ งเรียนตรงเวลา เพรำะอยำกให้เพ่ือนๆมเี วลำเรียนอยำ่ งเต็มท่ี คาถามกค็ อื ใครทท่ี าความดี ศรรามหรืองามตา สถานการณ์ท่ี๒ เย็นวันนัน้ ศรรามและงามตา ไปนั่งรับประทานอาหารอยู่ข้างโรงเรียน ในขณะท่ี รบั ประทานอาหารอยู่นั้นกม็ ีสุนัข ๒ ตัวมากดั กนั ขา้ งโตะ๊ ท่ี ๒ คนนงั่ อยู่ ดังนน้ั ศรรามและงามตา จึงช่วยกันใช้น้าสาด เพื่อให้สุนัขทั้ง ๒ แยกจากกัน แต่เหตุผลในการ กระทาต่างกนั คอื ศรรำม ทาเพราะรำคำญเสยี งสุนัข งำมตำ ทาเพราะเกรงว่ำสุนัขท้ัง ๒ ตัวจะบำดเจบ็ คาถามกค็ อื การกระทาของใครเรยี กไดว้ า่ ทาความดแี ละเพราะอะไร ซ่ึงทุกคนยอ่ มรสู้ ึกตรงกนั ไดว้ ่า งำมตำ ทาความดี เพราะเธอทำเพอื่ สนุ ัข ศรรำมน้ัน ไมส่ ามารถเรียกไดว้ า่ ทาความดี เพราะศรรามทำเพ่ือตนเอง จากเหตุการณ์ดงั กล่าวจงึ สรุปได้ว่า “ควำมดคี ือกำรกระทำเพือ่ ประโยชน์ของผู้อนื่ หรือ สว่ นรวม” แต“่ กำรทำเพ่อื ตนเองนั้น ไมส่ ำมำรถเรยี กได้ว่ำควำมดี”

7 ๒.๒ ระดับของกำรกระทำ มอี ะไรบ้ำง ? จากข้อสรปุ ที่วา่ “ควำมดี คอื กำรกระทำเพ่ือประโยชน์ของผ้อู ่นื หรือส่วนรวม แต่กำรกระทำ เพ่ือตนเองนั้น ไม่สำมำรถเรียกได้ว่ำควำมดี” นั้น เมื่อกลับมาพิจารณาเรื่องที่ศรรามกับงามตา เขา้ หอ้ งเรียนตรงเวลาเหมือนกัน แต่เหตุผลในการเข้าหอ้ งเรยี นต่างกนั จะได้ข้อสรุปดังน้ี งำมตำ เข้าห้องเรียนตรงเวลา เพรำะอยำกให้เพ่ือนๆมีเวลำเรียนอย่ำงเต็มท่ี เป็นการกระทาเพ่ือผอู้ ่ืนหรือส่วนรวม ยอ่ มสามารถเรยี กไดว้ า่ ทำควำมดี ศรรำม เข้าห้องเรียนตรงเวลา เพรำะกลัวครูตีเป็นกำรทำเพ่ือตัวเอง ไม่สำมำรถ เรยี กได้วำ่ ทำควำมดี แต่ศรรามก็ไม่ได้ทาให้ใครเดือดร้อน จึงไม่ได้ทำควำมชั่ว ดังนั้นการกระทาของ ศรราม จงึ ไม่เปน็ ท้งั ควำมดแี ละควำมช่วั เมื่อเป็นดังน้ีแล้วจะเรียกการกระทาของศรรามว่าอย่างไรเพรำะศรรำม ไม่ได้ทำทั้งควำมดี และควำมช่ัว ซ่งึ สงั คมไทยมกั เข้าใจว่า กำรกระทำมีเพียง ๒ ระดบั คือควำมดีหรือควำมช่วั ในกรณีของศรรำมซ่ึงไม่ได้ทำท้ังควำมดีหรือควำมชั่ว เป็นตัวอย่างให้สรุปได้ว่าการกระทา ของคนเราไม่ไดม้ ีเพียง ๒ ระดบั คือควำมดหี รือควำมชัว่ เทำ่ นั้น แต่สำมำรถแบง่ ได้ถงึ ๓ ระดับคือ ระดบั ท่ี ๑ ควำมดี คือ การกระทาเพือ่ ประโยชน์ของผ้อู นื่ หรอื ส่วนรวม ระดับที่ ๒ ปกติ (กำรละเวน้ ควำมช่วั ) คือ การทาเพ่อื ตนเอง แตก่ ไ็ ม่ไดท้ าใหผ้ ้อู ่นื หรือ สว่ นรวมเดอื ดรอ้ น ระดบั ที่ ๓ ควำมชว่ั คือ การทาให้ผู้อืน่ หรอื ส่วนรวมเดือดรอ้ น ดงั น้ัน การท่ีศรรามเขา้ หอ้ งเรยี นตรงเวลา เพราะกลัวครูตเี ป็นการกระทาเพื่อตนเอง แต่ก็ไม่ทา ใหใ้ ครเดอื ดรอ้ น จงึ เรียกได้ว่าเป็นการกระทา ในระดับปกติคอื กำรละเว้นควำมช่วั สรุป คือ กำรกระทำแต่ละครั้งของคนเรา ไม่ได้แบ่งได้เพียง ๒ ระดับ คือ ควำมดี หรือ ควำมช่ัวเท่ำนั้น หากแต่สามารถแบ่งได้เป็น ๓ ระดับ คือ ควำมดี ปกติ (ละเว้นควำมช่ัว) และ ควำมช่ัว

8 ๒.๓ เบญจศีลไมบ่ กพรอ่ งถือว่ำทำควำมดีหรือยัง ? เย็นวันหน่ึง ศรรามกาลังกลับบ้าน ขณะท่ีเดินถึงปากซอยก็เห็นเด็กคนหน่ึง โดนโจรรุมทาร้าย อยู่กลางซอย แต่ศรรำมยืนดูอยู่เฉยๆโดยไม่ให้ความช่วยเหลือ คาถามก็คือเบญจศีลของศรราม บกพรอ่ งหรอื ไม่ ศรราม ไมไ่ ด้ทาร้ายเดก็ ศรราม ไม่ได้ขโมยทรพั ยส์ นิ ของเด็ก ศรราม ไมไ่ ดป้ ระพฤติผิดในกาม ศรราม ไม่ได้โกหก ศรราม ไมไ่ ดเ้ สพสุรา สรุปได้ว่าเบญจศีลของศรรามไม่ได้บกพร่องเลย แต่ถามว่าศรรามทาความดีหรือยัง ทุกคนคง ตอบไดว้ ่าแม้เบญจศีลของศรรำมไม่บกพร่องกจ็ ริง แตศ่ รรำมกย็ ังไม่ได้ทำควำมดี สิ่งท่ีศรรามควรทา คือการช่วยเหลือเด็กตามความเหมาะสม เช่น ตะโกนเรียกให้คนอื่นๆ มาช่วยหรอื โทรศพั ท์แจ้งเจา้ หน้าทตี่ ารวจ ซง่ึ หำกศรรำมช่วยเหลือเด็ก ไม่ว่าจะด้วยวิธีใดก็ตาม จึงจะ เรยี กไดว้ ่า ทำควำมดี การรักษาเบญจศีลไม่ให้บกพร่องนน้ั ยังไม่ถือวา่ เป็นการทาความดี แต่เป็นเพียงการละเว้นกำร ทำควำมชวั่ หรือเปน็ เพยี งการกระทาในระดับ “ปกติ” เทา่ นนั้ เพราะ “ศลี แปลวำ่ ปกติ” หลายคนอาจสงสัยว่า หลักการที่แบ่งการกระทาเป็น ๓ ระดับคือ ดี ปกติ และชั่วน้ัน จะสอดคลอ้ งกับคาสอนของศาสนา ในส่วนของการประพฤติตนระหว่างมนุษย์กับมนุษย์หรือไม่ จึงขอ ยกโอวำทปำติโมกข์ ซ่ึงมีหลัก ๓ ประการ เพื่อเปน็ ตวั อยา่ งในการวเิ คราะห์ ดังน้ี ประการท่ี ๑ พึงละเว้นความชั่ว ประการท่ี ๒ พึงทาความดี ประการที่ ๓ พึงทาจติ ใจใหผ้ อ่ งแผว้ จากหลักการดังกล่าวจะสังเกตได้ว่า กำรละเว้นควำมช่ัว กับกำรทำควำมดีนั้น เป็นคนละ เรื่องกัน เพราะการละเว้นความชั่ว ก็ยังไม่ใช่การทาความดี ดังนั้นจึงยืนยันได้ว่าการกระทาแต่ละคร้ัง ของบคุ คลสามารถแบ่งได้เป็น ๓ ระดับ คอื

9 กำรทำควำมดี หมายถึง การทาเพื่อประโยชนใ์ ห้ผอู้ ่นื หรอื ส่วนรวม กำรทำปกติ (กำรละเว้นควำมชั่ว) หมายถึง การทาเพ่ือตนเอง แต่ไม่ทาให้ผู้หรือ ส่วนรวมเดือดรอ้ น ซึง่ ตรงกับการละเว้นความช่ัว กำรทำควำมชัว่ หมายถงึ การทาความเดอื ดร้อนใหผ้ ้อู ื่นหรือส่วนรวม เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจชัดเจนย่งิ ข้นึ จึงขอยกตัวอย่างดงั ต่อไปนี้ โอ ต้ังใจเรียน เพ่ือให้พ่อแม่ช่ืนใจ เป็นการทำเพื่อผู้อื่น จึงสามารถเรียกได้ว่า “ควำมดี” บี ต้ังใจเรียน เพื่อให้ตนเองมีอนาคต เป็นการทำเพ่ือตนเอง แต่ก็ไม่ได้ทำให้ใคร เดือดร้อนน้ัน ไม่สามารถเรียกได้ว่า ความดี และ เป็นการทาในระดับ “ปกติ” หรือ “ละเว้นควำมชวั่ ” เอ ไมต่ งั้ ใจเรยี น เป็นการทาเพ่อื ตนเอง แต่ทาให้พ่อแม่เสียใจ เป็นการทา “ควำมชั่ว” เพราะ ทำให้ผูอ้ ่นื เดอื ดร้อน เม่ือพิจารณาแล้ว จะเห็นว่า ท้ัง โอ และ บี มีคุณธรรม แม้การกระทาของ บี จะอยู่เพียงระดับ ปกติ หรือ ละเว้นควำมชั่ว ก็ตาม เพราะคุณธรรมมีหลักสองประการคือ พึงละเว้นควำมชั่ว และ พึงทำควำมดี ดังนั้น แม้เพียงกำรละเว้นควำมช่ัว หรือ กำรทำในระดับปกติ ท่ีไม่ทา ให้ผู้อื่นหรือส่วนรวม เดือดร้อนน้ัน ก็ย่อมส่งผลให้สังคมเกิดควำมสันติสุข ซ่ึงเป็นวัตถุประสงค์ของคุณธรรม ในระดับการ ปฏิบัติระหวา่ งมนุษยก์ บั มนุษย์ ของทุกศาสนาแล้ว ๒.๔ ควำมดเี ปน็ เรื่องของผลลพั ธ์หรอื เปน็ เรอ่ื งของเจตนำ ? เพ่ือให้สามารถวิเคราะห์ได้ว่า ความดีเป็นเร่ืองของผลลัพธ์จากการกระทา หรือเป็นเรื่องของ เจตนาทีอ่ ยู่เบ้ืองหลังการกระทา จึงขอยกตัวอยา่ งดงั ต่อไปน้ี เหตกุ ำรณ์ที่ ๑ ศรรามบังเอิญทาหว่ งยางทีเ่ ตรียมไปเลน่ นา้ ทะเล ปลิวตกลงไปในแม่น้า ระหวา่ งที่ขับรถข้ามสะพาน ซ่ึงขณะนน้ั มเี ด็กคนหนึ่งกาลงั จะจมนา้ ตาย แตบ่ งั เอิญคว้าห่วงยางน้ันไว้ได้ จงึ ทาใหเ้ ด็กคนนนั้ รอดตำย

10 เหตุกำรณ์ที่ ๒ งามตาเห็นเด็กกาลังจะจมน้าตาย เธอมีความต้ังใจจะช่วยเด็ก จึงกระโดดลงไปช่วย ดึงเด็กขึ้นมาบนชายฝั่ง และพยายามผายปอดช่วยชีวิตเด็กอย่างเต็มท่ี แต่ก็ไม่ สาเรจ็ เดก็ เสยี ชวี ิต คาถามกค็ ือใครทาความดี เหตกุ ารณท์ ๑ี่ ศรรามทาเพรำะควำมบังเอิญ แต่เด็กรอดตำย หรือ กรณที ี่ ๒ งามตาท่ีตง้ั ใจช่วยเด็ก แตเ่ ด็กตำย ทุกคนคงตอบได้ว่าเหตุกำรณ์ท่ี๒ ซ่ึงเด็กตำย เพราะงามตามีเจตนาท่ีจะช่วยเด็ก แม้ผลลัพธ์ จะไมเ่ ปน็ ไปตามทตี่ งั้ ใจก็ตาม จึงสรุปได้วา่ “ควำมดีเป็นเรื่องของเจตนำ ไมใ่ ชเ่ รื่องของผลลพั ธ์” ๒.๕ ควำมดเี ป็นเร่อื งของเจตนำจรงิ หรอื ไม่ ? เพือ่ วเิ คราะห์วา่ ความดีเป็นเรอ่ื งของเจตนำ จริงหรือไม่ จงึ ขอสมมุติเหตุการณ์ ดงั นี้ เด็กหนมุ่ ประสบอุบัตเิ หตุ ตอ้ งไดร้ ับการผ่าตดั ด่วน โรงพยาบาลโทรแจง้ นายแพทย์ชาตรเี วลาตี ๒ นายแพทยช์ าตรรี บี เดินทางมาทโี่ รงพยาบาล เพอื่ ช่วยชีวติ คนเจ็บ การผ่าตดั ดาเนินไปจนถงึ ๘ โมงเช้า แตไ่ ม่สามารถชว่ ยชีวติ คนเจ็บได้ คาถามกค็ อื นายแพทยช์ าตรีทำควำมดีหรือไม่ เพราะไมส่ ามารถช่วยชวี ติ คนเจ็บได้ ซึง่ ทุ ก ค น ย่อมตัดสินได้ว่านายแพทย์ชาตรีทำควำมดี เพรำะมีเจตนำท่ีจะช่วยคนเจ็บจนสุดความสามารถ จาก ตวั อย่างท่ีกล่าวมา จึงสามารถยืนยนั ไดว้ ่า ควำมดเี ป็นเรือ่ งของเจตนำ ๒.๖ กำรทำประโยชน์เพ่อื ผอู้ ื่น หรอื ส่วนรวม เป็นกำรกระทำทถี่ ูกตอ้ งทกุ กรณีหรือไม่? เนื่องจากมนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคมใหญ่ ดังน้ันการทาประโยชน์เพื่อตนเอง เพื่อคนบางคน หรอื บางกลมุ่ กอ็ าจลว่ งล้าสิทธิอันพงึ มพี งึ ไดข้ องคนอ่ืนๆ ซงึ่ อาจทาให้เกิดปัญหาเรื่องผลประโยชน์ทับ ซ้อน (Conflict of Interest) หรือควำมขัดแย้งเชิงคุณธรรม (Moral Dilemma) ได้ดังตัวอย่าง ตอ่ ไปน้ี เหตุกำรณ์ที่ ๑ โรงเรียนมัธยมศึกษาประจาจังหวัดเลย จะจัดตัวแทนนักเรียนไปเท่ียว ทะเลห้องละ ๑ คน สมชายจับฉลากได้เป็นผู้มีสิทธิไปเท่ียวทะเล ในฐานะตัวแทนของห้อง ม.๕/๑ แต่สมชายมีคุณยายอยู่ท่ีหัวหิน จึงเคยไปเที่ยวทะเลบ่อย ดังนั้นจึงสละสิทธิให้วันชัยเพ่ือนรักของตน ซง่ึ ไมเ่ คยเหน็ ทะเลไดม้ ีโอกาสไปเท่ียวทะเลแทนตน

11 เหตุกำรณ์ที่ ๒ วันชัยเข้าแถวรอซื้ออาหารอยู่ในโรงอาหารของโรงเรียน ซึ่งแถวยาว มาก เมื่อเหน็ สมชายเดินมา วันชยั จงึ มนี ำ้ ใจให้สมชำยแซงคิว โดยเขา้ มายนื ขา้ งหนา้ ของตนเอง ทั้งสองเหตุการณ์ล้วนเป็นกำรกระทำเพ่ือผู้อ่ืนทั้งสิ้น แต่ส่งผลกระทบต่อส่วนรวม ตา่ งกนั เหตุกำรณ์ที่ ๑ ท่ีสมชายสละสิทธิการไปทะเลให้วันชัยน้ัน เป็นเร่ืองท่ีสามารถกระทา ได้ เพราะไมส่ ง่ ผลเสยี ใดๆ แกผ่ ู้อืน่ หรือส่วนรวม การกระทาของสมชายนน้ั จึงเรียกไดว้ ่าทำควำมดี เหตุกำรณ์ท่ี ๒ วันชัย ซึ่งมีน้ำใจให้สมชายแซงคิว กลับเป็นเรื่องที่ไม่สมควรทาเป็น อย่างย่ิงเพราะล่วงล้ำสิทธิอันพึงมีพึงได้ของคนอ่ืนอีกหลายคน ซ่ึงเป็นปัญหาเรื่องผลประโยชน์ ทับซ้อน (Conflict of Interest) หรือควำมขัดแย้งเชิงคุณธรรม ( Moral Dilemma ) ดังน้ัน การกระทาของวันชยั ในครง้ั น้ี คือการทำควำมช่ัว ดังน้ัน การทาประโยชน์เพ่ือผู้อื่นหรือส่วนรวม จึงไม่ได้ถูกต้องเสมอไป แต่ต้องพิจำรณำระดับ ของสว่ นรวมดว้ ยว่า การกระทาดังกลา่ วจะทาให้ส่วนรวมในระดับที่ใหญ่กว่ำเสียหำยหรือไม่ ซ่ึงเป็น เรือ่ งของคุณธรรมเชงิ สมั พทั ธท์ ่จี ะกล่าวต่อไป ๒.๗ คณุ ธรรมเชิงสมั พทั ธ์ (Relative Moral) คืออะไร? เม่ือเกดิ สถานการณท์ ่ีเปน็ ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น (Conflict of Interest) ซงึ่ หมายความว่า การ ทาเพื่อตนเอง เพื่อคนบางคนหรอื บางกล่มุ แตก่ ลับส่งผลให้คนอีกกลุม่ หน่ึงเสยี ประโยชน์ ทาให้เกิด ปญั หาควำมขัดแย้งเชงิ คุณธรรม (Moral Dilemma) ที่ยากตอ่ การตดั สนิ ใจนน้ั ควรมีหลกั การใน การตดั สินใจอยา่ งไร โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงสาหรับเยาวชน ซ่ึงมักจะให้ความสาคัญกบั เพ่ือนมาก จน บางครงั้ อาจสง่ ผลเสยี แก่สังคม ดงั น้ัน จึงได้กาหนดหลักการท่ีเรียกว่า คณุ ธรรมเชิงสัมพทั ธ์ (Relative Moral) ขนึ้ มา คณุ ธรรมเชิงสมั พัทธ์ คือการเปรียบเทียบระดับของส่วนรวม โดยมีหลักการว่า “กำรทำเพ่ือ ตนเอง ผู้อ่ืน หรือส่วนรวมในระดับที่เล็กกว่ำ ต้องไม่ทำให้ส่วนรวมในระดับที่ใหญ่กว่ำเสียหำย” เช่น

12 เด่น เข้าหุ้นกับเพ่ือนๆ ทาโรงงานย้อมผ้าซึ่งตั้งอยู่ริมคลอง เด่นเป็นคนท่ีรักและซ่ือสัตย์กับ เพื่อนๆ มาก กบั ทงั้ อยากทากาไร เพอ่ื แบ่งให้เพอ่ื นๆ ไดม้ ากทสี่ ุด แต่ปัญหาก็คือ โรงงานย้อมผ้าของเด่นมีน้าเสียท่ีต้องบาบัดจานวนมาก จึงทาให้เด่นต้อง ตัดสินใจเลอื กแนวทางในการปฏิบตั ิ ดังนี้ แนวทำงที่ ๑ ปล่อยน้าเสียลงคลองโดยไม่บำบัด จะทาให้โรงงานมีกำไรมำกซ่ึงจะ สามารถแบ่งรายได้ให้กับเพื่อนๆ ท่ีเด่นรักได้มาก แต่จะส่งผลเสีย แก่ประชำชนที่อยู่ริมคลองจานวน นับพันคน แนวทำงท่ี ๒ ลงทุนทำกำรบำบัดน้ำเสียซ่ึงมีค่ำใช้จ่ำยสูง จะทาให้กำไรลดลงซ่ึง เพอ่ื นๆ จะไดร้ ับส่วนแบ่งนอ้ ย แตป่ ระชำชนริมคลองจะไม่เดือดร้อน ผลประโยชน์ทับซ้อนหรือควำมขัดแย้งเชิงคุณธรรม ระหว่างผลประโยชน์ส่วนรวมของคน ใกลช้ ิดคือเพื่อนๆ กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมของประชำชนที่อยู่ริมคลองนั้น เด่นควรตัดสินใจอย่างไร ซ่ึงหลกั กำรของคณุ ธรรมเชิงสมั พทั ธ์ จะเปน็ กรอบแนวคดิ ให้ตัดสินใจไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เพื่อขยายคาว่า “ส่วนรวม”ให้เป็นรูปธรรม เข้าใจได้ง่าย เหมำะสมกับเยำวชน จึงกาหนดคาว่า “คุณธรรมเชิงสัมพัทธ์” โดยแบ่งระดับผลประโยชน์ท่ีทับซ้อนกัน ๕ ระดับ จากตนเองจนถึงมวล มนุษยชาติและสิง่ แวดล้อม ภำพคุณธรรมเชงิ สัมพัทธ์ มนุษยชาต,ิ สิง่ แวดล้อม (Earth) อาณาเขต,ประเทศ (Territory) หนว่ ยงาน,องคก์ าร (Unit) ญาติ,พวกพ้อง (Relative) ตนเอง (Self)

13 คุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ คือ กำรตัดสินใจเลือกผลประโยชน์ทับซ้อนในระดับท่ีต่างกัน โดยต้อง เลือกผลประโยชน์ของส่วนรวม ในระดับที่ใหญ่กว่าเสมอ ซ่ึงสามารถแบ่งระดับผลประโยชน์ออกเป็น ๕ ระดบั ดงั นี้ ระดบั ที่ ๑ เพอ่ื ประโยชนข์ องตนเอง(Self) ระดบั ที่ ๒ เพ่อื ประโยชนข์ องญาตสิ นิท มิตรสหาย พวกพ้อง หรือคนใกลช้ ดิ (Relative) ระดับที่ ๓ เพอ่ื ประโยชน์ของหน่วยงานหรือองค์กรท่ีตนเป็นสมาชิกอยู่(Unit) ท้ังในส่วน องคก์ รท่เี ป็นทางการ และองค์กรทไี่ ม่เปน็ ทางการ องค์กรที่เป็นทางการ เช่น ห้องเรียน โรงเรียน สมาคม มูลนิธิ กองร้อย กองทัพ แผนก และบริษัท หรือในส่วนขององค์กรที่ไม่เป็นทางการ เช่น กลุ่มเพื่อน กลมุ่ คนท่ีร่วมชมภาพยนตรอ์ ยู่ในโรงภาพยนตร์ และกลมุ่ คนท่ีเข้าแถวรอรถประจาทาง ระดับที่ ๔ เพ่ือประโยชน์สุขของสังคมในอาณาเขตดินแดนท่ีตนเองเป็นสมาชิกอยู่ (Territory) เชน่ คอนโดมิเนียม หมบู่ า้ น ตาบล อาเภอ จงั หวัด และประเทศ หรืออาเซยี น ระดบั ที่ ๕ เพื่อประโยชน์ของมวลมนุษยชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ซงึ่ มผี ลต่อมนุษยชาต(ิ Earth) ความแตกต่างของผ้มู หี ลักการคณุ ธรรมเชิงสัมพัทธ์กับผู้ท่ีไม่มีหลักการฯ จะส่งผลถึงการตัดสินท่ีใจ ต่างกัน เช่น พวกสมาชิกแก๊งมาเฟีย อาจรักองค์กรคือแก๊งของตน จนถึงขั้นที่ยอมตายเพื่อแก๊งได้ เช่นเดียวกับทหารเรือที่ยอมตายเพ่ือเรือรบของตนเองได้ แต่มาเฟียท้ังแก๊งจะไม่มี วันยอมตายเพื่อ ประเทศชาติ ตา่ งกบั ทหารเรือท่ียอมตายทั้งลาเพ่อื บ้านเมืองได้ จะเห็นวา่ ระดับผลประโยชน์ของมาเฟีย จะหยุดอยู่เพียง ระดับประโยชน์ของพวกพ้อง (Relative) หรือองค์กร (Unit) เท่าน้ัน ส่วนระดับผลประโยชน์ของทหารเรือ จะก้าวข้ึนสู่ระดับผลประโยชน์ของ ประเทศชาติ(Territory) ท้งั นกี้ เ็ พราะทหารเรือยึดม่ันในหลกั การ “คุณธรรมเชงิ สัมพทั ธ์” จากตัวอย่างท่ีได้อภิปรายดังกล่าวจะเห็นได้ว่า คุณธรรมท่ีเหมาะสมสาหรับเยาวชนหรือกับคน ทั่วไปก็ตามนั้น หากเกิดสถานการณ์ท่ีเป็นปัญหำเร่ืองผลประโยชน์ทับซ้อน หรือควำมขัดแย้ง เชิงคณุ ธรรม ควรใช้คณุ ธรรมเชงิ สัมพทั ธ์ ซ่งึ เป็นการขยาย “ส่วนรวม”ของคุณธรรมสากล เป็น ๕ ระดับ ดังทไี่ ดอ้ ภปิ รายมาแลว้ เป็นกรอบแนวคิดในกำรตดั สนิ ใจ

14 ๒.๘ ชุดคำถำม ที่ใชป้ ระเมินระดบั ของกำรกระทำคอื อะไร? เพอ่ื ป้องกันปัญหาผลประโยชน์ทับซอ้ นและปฏิบัติตามหลักการของคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ ดังนั้นทุก ครั้งก่อนจะตัดสินใจกระทาหรือละเว้นการกระทาใดๆ พงึ ถามตนเองดว้ ยคาถาม ๓ ข้อ ดังน้ี ขอ้ ๑. ทำเพือ่ ใคร (เพ่อื ดเู จตนา ๑. ทาเพอื่ ตนเอง หรือ ๒. ทาเพอื่ ผอู้ ่ืน/ ส่วนรวม) ขอ้ ๒. ใครอืน่ เดอื ดร้อน (เพื่อดูผลกระทบต่อผู้อ่นื /สว่ นรวม ๑. ไม่มีใครเดอื ดร้อน หรอื ๒. ผ้อู นื่ /สว่ นรวมในระดับท่ีใหญก่ ว่า เดือดรอ้ น) ขอ้ ๓. เป็นกำรกระทำระดบั ใด (๑. ดี ๒. ปกติ/เวน้ ชั่ว ๓. ช่วั ) ๒.๙ สมกำรคุณธรรม ทไ่ี ดจ้ ำกชดุ คำถำมตำมขอ้ ๕ จำนวน ๔ สมกำร คืออะไร? สมการที่ ๑ ทาเพือ่ ตนเอง + ผู้อ่นื /ส่วนรวม ไมเ่ ดือดร้อน = ปกติ ตัวอย่าง เอ จ่ายเงนิ ซอ้ื กว๋ ยเตยี๋ วกินเอง เพราะหวิ เอ ทาเพ่อื ตนเอง + ผ้อู นื่ /ส่วนรวม ไมเ่ ดือดร้อน = ปกติ สมการที่ ๒ ทาเพอื่ ตนเอง + ผ้อู ่นื /สว่ นรวม เดือดร้อน =ชัว่ ตัวอย่าง บี กินก๋วยเตยี๋ วกินแล้วไม่จ่ายเงนิ ทาให้เจา้ ของร้านเดือดร้อน บี ทาเพื่อตนเอง + เจ้าของร้านเดือดร้อน = ช่ัว สมการท่ี ๓ ทาเพ่ือผู้อื่น/ สว่ นรวมเล็ก + ส่วนรวมใหญ่ ไมเ่ ดือดรอ้ น = ดี ตวั อย่าง สม้ ทาความสะอาดหอ้ งหลังเลิกเรยี น เพราะอยากให้หอ้ งสะอาด ส้ม ทาเพอื่ ห้องเรียน + โรงเรียน ไมเ่ ดือดรอ้ น = ดี สมการท่ี ๔ ทาเพ่ือผ้อู นื่ / ส่วนรวมเล็ก + สว่ นรวมใหญ่ เดือดรอ้ น = ช่ัว ตัวอยา่ ง แดง แอบเอาถงั ขยะของโรงเรียนมาให้เพ่ือนในห้องใช้ เพราะอยากให้ หอ้ งสะอาดแตท่ าใหโ้ รงเรียนสกปรก แดง ทาเพอ่ื ห้องเรียน + โรงเรยี นเดือดร้อน = ชัว่

15 ๒.๑๐ หลักวชิ ำหรอื ทฤษฎคี ณุ ธรรมคืออะไร? ดังท่ีกล่าวมาแล้วว่าคุณธรรมเป็นเคร่ืองมือสาคัญ เพื่อลดโอกาสท่ีจะเกิดภัยจากการกระทาของ มนษุ ย์ เปา้ หมายคือความสันติสขุ สถาพรของสังคม หลักการของคุณธรรมสากล ๒ ประการ คือ พึงละเว้นความช่ัว และพึงทาความดีน้ัน หาก ปราศจากการใคร่ครวญอย่างรอบคอบ ก็อาจเกิดปัญหำเร่ืองผลประโยชน์ทับซ้อน หรือปัญหำควำม ขดั แยง้ เชิงคณุ ธรรม ซ่ึงปัญหาดังกล่าวจะสามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง โดยใช้หลักกำรของคุณธรรม เชงิ สัมพัทธ์ ทต่ี ้องเปรียบเทียบและเลือกผลประโยชน์ของสว่ นรวมในระดบั ที่ใหญก่ ว่ำเสมอ ดังนั้น ทฤษฎีคุณธรรมจึงเป็นการบูรณาการหลักการของคุณธรรมสากล และหลักการของ คณุ ธรรมเชิงสัมพัทธ์เข้าดว้ ยกัน เม่ือพดู ถงึ คาว่าหลักวิชาหรือทฤษฎี ย่อมหมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเหตุกับปัจจัยผล ซ่ึง หลักวิชาหรือทฤษฎีคุณธรรมจะแสดงถึงปัจจัยเหตุ ที่จะทำให้เกิดปัจจัยผล อันได้แก่ ควำมสันติสุข สถำพรของสังคม ภำพหลกั วิชำหรือทฤษฎีคุณธรรม พึงละเวน้ การทาให้ผูอ้ ื่นหรือส่วนรวมเดอื ดรอ้ น สังคมทส่ี ันติสขุ สถาพร (พงึ ละเวน้ ความชัว่ ) + พึงทาประโยชนใ์ หผ้ อู้ ่ืนหรือส่วนรวม (พงึ ทาความด)ี + เปรยี บเทียบและเลอื กระดบั ของสว่ นรวม

16 จากภาพของหลักวิชาหรือทฤษฎีคุณธรรมดังกล่าว จะเห็นว่าปัจจัยเหตุที่จะส่งผลถึงความสันติ สขุ สถาพรของสังคมอันเป็นเป้าหมายทีท่ ุกสังคมต้องการน้ันมี ๓ ประกำร คอื ๑. พงึ ละเว้นการทาใหผ้ อู้ ่ืนหรือส่วนรวมเดือดร้อน ซง่ึ กค็ อื ละเวน้ กำรทำควำมชว่ั ๒. พึงทาประโยชนเ์ พื่อผอู้ ื่นหรือส่วนรวม ซึ่งก็คือ กำรทำควำมดี ๓. พึงใช้หลักคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ ซึ่งก็คือ กำรเปรียบเทียบระดับของส่วนรวมโดยคานึง ว่าต้องเลือกผลประโยชน์ของส่วนรวมในระดับที่ใหญ่กว่ำเสมอ เพื่อป้องกันปัญหำเรื่องผลประโยชน์ ทบั ซอ้ น ๒.๑๑ ควรใช้คำง่ำยๆเพอื่ อธิบำยควำมหมำยของคณุ ธรรมว่ำอยำ่ งไร? มคี าถามว่าจะใชค้ าง่ายๆเพื่ออธิบายความหมายของคุณธรรมไดอ้ ย่างไร ดงั นั้นจึงขอเสนอคา ดังตอ่ ไปน้ี “ เกรงใจ น้ำใจ ใครค่ รวญสว่ นรวม ” เกรงใจ หมายถึง การระมัดระวังตนเองอยู่เสมอ ที่จะไมท่ าความเดอื ดรอ้ นแก่ผู้อื่นหรือ ส่วนรวม ซ่ึงตรงกับคาว่า “ละเว้นควำมช่ัว” ตวั อย่างเช่น การระมัดระวังที่จะไม่ส่งเสียงดังในห้องสมุด เพราะเกรงว่าจะทาใหผ้ ู้อ่ืนเสียสมาธิในการอ่านหนังสือ น้ำใจ หมายถึง การมุ่งมั่นท่ีจะทาประโยชน์แก่ผู้อ่ืนหรือส่วนรวมในโอกาสที่เหมาะสม ซ่ึงตรงกับคาว่า “กำรทำควำมดี” ตัวอย่างเช่น สุภาพบุรุษท่ีสละที่น่ังให้แก่เด็กหรือคนชราบนรถไฟฟ้า เพราะมนี ้าใจ เออ้ื เฟ้ือแก่ผูอ้ น่ื ใคร่ครวญส่วนรวม หมายถึง การพิจารณาอย่างรอบคอบว่าการทาเพื่อผู้อื่นหรือ ส่วนรวมในระดับท่ีเล็กกว่า ต้องไม่ทาให้ส่วนรวมในระดับท่ีใหญ่กว่า เสียหาย ท้ังนี้เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิด ปัญหาเรื่อง “ผลประโยชน์ทับซ้อน” ตัวอย่างเช่น การมีน้าใจช่วยให้เพื่อนแซงคิวนั้น แม้จะเป็นการ กระทาเพ่ือผู้อ่ืนก็ตาม แต่ก็ทาให้ส่วนใหญ่ท่ียืนเข้าแถวรอต่อจากตนเสียสิทธิอันพึงมีพึงได้ ดังน้ันการ ช่วยให้เพือ่ นแซงคิวจึงไม่ควรกระทำ ๒.๑๒ กำรละเว้นกำรทำควำมชว่ั น้ัน สำคัญเพียงใด? คุณธรรมย่อมมุง่ ไปสู่การคานึงถงึ ผ้อู ่ืนหรอื ส่วนรวม ซึง่ ตอ้ งครอบคลมุ ทั้ง ๒ ระดับ คือ ระดับที่ ๑ พึงละเว้นควำมช่ัว (หรือการกระทาระดับปกติ) หมายถึงการไม่ทาให้ผู้อ่ืน หรือสว่ นรวมเดอื ดร้อน

17 ระดบั ที่ ๒ พึงทำควำมดีหมายถงึ การทาประโยชน์ใหผ้ ้อู ื่นหรอื ส่วนรวม โครงการเสริมสร้างคุณธรรมต่างๆ มักจะเน้นเร่ืองการทาความดี ซ่ึงในความเป็นจริงแล้วการละ เวน้ ความชั่วมีความสาคญั อย่างยง่ิ ดังที่หลวงปู่ชำ สุภัทโท ได้กล่ำวไว้ว่ำ “ กำรทำบุญ โจรมันก็ทำได้ มันเป็นแค่ปลำยเหตุ กำรไม่ทำบำปทั้งหลำยท้ังปวงน้ันคือต้นเหตุ ” เพ่ือให้เกดิ ความเข้าใจในคากล่าวของหลวงปู่ชา ไดช้ ดั เจนข้ึนจึงขอยกตัวอย่าง ดังน้ี กรณที ี่ ๑ เอ ทาบุญ ๕ คร้ัง และปลน้ ๑ ครั้ง กรณที ี่ ๒ บี ไม่เคยทาบญุ เลย แต่ก็ไม่เคยปล้น คาถามคือ ถ้าต้องเลือกระหว่าง เอ หรอื บี มาอยู่ที่บ้าน ๑ คน เราทกุ คนคงเลือก บี เพราะ เอ แม้ จะทาความดแี ต่ก็ไม่เว้นชวั่ สว่ น บี แม้ไม่เคยทาความดีแต่ก็ไมเ่ คยทาชั่ว การท่ีเราเลือก บี กแ็ สดงว่าการละเว้นความชั่วตลอดเวลาเป็นต้นเหตุแหง่ ความสันติสขุ ในสังคม ๒.๑๓ ต้องทำควำมดที ุกคร้ังหรือไม่? เพื่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน จึงขอสมมติเหตุการณ์ว่า ขณะท่ีแดงขับรถยนต์บนถนนราชวิถี ก็เห็นรถยนต์คันหน้าโยนขวดลงบนถนน ซ่ึงขวดน้ันอาจเป็นอันตรายแก่ยวดยานอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิง จักรยานยนต์ คำถำม คือ แดงจะทำควำมดีหรือทาประโยชน์เพื่อผู้อื่นหรือส่วนรวม โดยกำรจอด รถยนต์เกบ็ ขวดทตี่ กอยู่บนถนนหรือไม่ คำตอบ คือ แดงจะทำควำมดี โดยหยุดรถยนต์ลงเก็บขวดหรือไม่ก็ได้ แล้วแต่ความ เหมาะสมของสภาพแวดล้อมขณะน้ัน แต่ส่ิงที่แดงต้องทำแน่ๆ คือต้องละเว้นควำมชั่ว โดยไม่โยนขวด ลงบนพ้นื ถนนในทกุ โอกาส หมำยควำมว่ำ“กำรทำควำมดี ย่อมทำเมื่อมีโอกำสท่ีเหมำะสม แต่กำรละเว้นควำมชั่วน้ัน ต้องทำตลอดเวลำ” เพราะทุกคนล้วนทำเพ่ือตนเองอยู่ตลอดเวลำ เช่น นักศึกษาที่อยู่ในหอพัก เม่ือตื่นเช้าข้ึนมา กต็ ้องเขา้ ห้องน้า การเข้าห้องน้าน้ีเป็นการทาเพ่ือตนเอง แต่เม่ือเสร็จธุระก็ควรทาความสะอาดห้องน้าให้ เรยี บรอ้ ย เพอื่ ไมใ่ ห้เพอ่ื นๆ ทีต่ อ้ งใชห้ ้องนา้ ต่อไปตอ้ งเดือดร้อน การประพฤติตนดังกลา่ วเป็น กำรละเว้นควำมชั่ว (กำรปฏิบัติตนในระดับปกติ) ซึ่งก็คือไม่ทาให้ ผ้อู ืน่ หรือสว่ นรวมเดือดร้อน ผลกค็ อื จะไมเ่ กิดความขัดแย้งขนึ้ สงั คมก็จะเกิดควำมสันติสุขสถำพร

18 การละเว้นความชั่วหรือการปฏิบัติตนในระดับปกตินั้น ไม่โดดเด่นและไม่สามารถนาไปแสดงให้ สังคมเห็นได้ แต่เป็นรากฐานของความสันติสุขของสังคม ซึ่งคนส่วนใหญ่มักไม่ให้ความสาคัญ จึงสังเกต ไดว้ ่าโครงการเสริมสร้างคุณธรรมต่างๆ มักจะมุ่งไปสู่การทาความดี โดยไม่ค่อยให้ความสาคัญท่ีจะส่งเสริม การละเว้นความชั่ว ดงั นน้ั จงึ สรุปไดว้ า่ พงึ ละเวน้ ควำมช่ัวตลอดเวลำ และ ทำควำมดเี ม่ือมโี อกำสท่เี หมำะสม ๒.๑๔ วินัยคืออะไร? หน่วยงานต่างๆ พยายามสร้างค่านิยมเร่ืองวินัย เพราะต้องการให้คนเคารพกฎระเบียบ คาถามก็ คือควำมหมำยทแ่ี ท้จริงของคำว่ำวนิ ยั คืออะไร แก่นแท้ หรือหัวใจของคาว่าวินัย คือ “ ควำมเต็มใจในกำรเคำรพกฎระเบียบ” ซึ่งคนเราจะเต็ม ใจเคารพกฎระเบียบนั้น จะตอ้ งจะตอ้ งเกิดเงอ่ื นไขท้ัง ๒ ประการ คือ ประกำรท่ี ๑ คนผนู้ ัน้ เป็นคนทีค่ านึงถึงประโยชน์ของผูอ้ ื่นหรือส่วนรวมเสมอ (เห็นแก่สว่ นรวม) ประกำรท่ี ๒ กฎระเบียบนน้ั เปน็ ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม (เห็นชอบกับกฎระเบียบ) หมายความว่าคนท่ีมีวินัยเป็นคนที่มุ่งม่ันจะประพฤติตน โดยคำนึงถึงผู้อื่นหรือส่วนรวม ตลอดเวลำ ดังตัวอย่างต่อไปน้ี เวลาตี ๒ มีรถยนต์ ๒ คัน ขับมาทางเดียวกัน เม่ือถึงสี่แยกไฟแดง ทง้ั ๒ คนั เหน็ สัญญาณไฟแดง คนั ที่ ๑ คนขับเป็นทหาร ขบั รถฝ่ำไฟแดง คันที่ ๒ คนขบั เป็นนักดนตรจี อดรถรอสญั ญำณไฟ คาถามกค็ ือ คนขบั รถคันไหนมีวินัย ซึง่ ทกุ คนย่อมตอบไดว้ ่า คนท่จี อดรถรอสญั ญาณไฟเป็นผู้ทม่ี ีวินัย การนาคนมาฝึกให้เกรงกลัวผู้บังคับบัญชา หรือเกรงกลัวกฎหมายนั้น ไม่ใช่เครื่องประกันว่าจะมี วินัย แต่การทาให้คนมีเจตจานง ท่ีจะประพฤติตน โดย คำนึงถึงผู้อ่ืนหรือส่วนรวมตลอดเวลำต่ำงหำก คอื รำกฐำนของกำรเกดิ วนิ ยั ซงึ่ ขอยกตัวอย่างเพม่ิ เตมิ ดังน้ี นกั เรียนชนั้ ม.๕/๑ เขา้ หอ้ งเรียนตรงเวลา เพราะครูท่ีสอนวิชานั้นดุ ทาให้นักเรียนทุกคน กลัวถกู ลงโทษ นักเรียนชนั้ ม.๕/๒ เข้าโรงเรียนตรงเวลาเพราะนักเรียนทุกคนคานึงถึงประโยชน์ของผู้อ่ืน หรือสว่ นรวม เกรงวำ่ เพ่อื นๆ จะเสยี เวลำและเรียนไมไ่ ด้เต็มที่

19 จากเหตุการณ์ดังกล่าวจะเห็นได้ว่าถ้าวิชาใดที่ครูประจาวิชาไม่ดุ นักเรียนชั้น ม.๕/๑ บางคนอาจ เข้าห้องเรียนไม่ตรงเวลา แต่สาหรับนักเรียนช้ัน ม.๕/๒ แล้ว ไม่ว่าครูประจาวิชาจะดุหรือไม่ก็ตาม ทุก คนกจ็ ะเขา้ ห้องเรียนตรงเวลา เป็นการสนับสนุนว่า“คุณธรรมเปน็ บ่อเกิดของวินัย” ๒.๑๕ ภูเขำน้ำแข็งแห่งคณุ ธรรมคืออะไร? ธรรมชาติของภูเขาน้าแข็งนั้นย่อมจมอยู่ใต้น้า ๙ ส่วน โผล่พ้นน้าเพียง ๑ ส่วน และความจริง ประการหน่ึงก็คือ หากส่วนที่จมอยู่ใต้น้ามีปริมาณมาก ย่อมส่งผลให้ ส่วนที่อยู่เหนือน้า มีปริมาณมาก ด้วยเช่นกนั คุณธรรม - เกรงใจ - นำ้ ใจ - ใคร่ครวญสว่ นรวม เมื่อเปรียบเทียบกับภูเขาน้าแข็ง หากส่วนที่อยู่ใต้น้าคือคุณธรรม ส่วนที่โผล่เหนือน้าก็จะเป็น คุณธรรมเชิงเด่ียวหรือค่านิยมต่างๆ เช่น การไร้คอรัปชั่น การมีวินัย การมีจิตอาสา ความ รักชาติ ความกตัญญู หรือความสามัคคี เป็นต้น ซึ่งค่ำนิยมต่ำงๆ ดังกล่ำว ล้วนอยู่ภำยใต้หลักกำรของ คุณธรรมท้ังสิ้น คือเกรงใจ หมายถึง พึงละเว้นการทาความช่ัว น้ำใจ หมายถึง พึงทำควำมดี และใครค่ รวญส่วนรวม หมายถงึ การพิจารณาและเลือกระดับของสว่ นรวมทใี่ หญ่กว่ำ เรื่องสาคัญประการหนึ่งก็คือ การยึดมั่นในคุณธรรมเชิงเด่ียวหรือค่านิยมบางประการ โดย ปราศจากการไตร่ตรองน้ัน อำจเกิดปัญหำผลประโยชน์ทับซ้อน หรือควำมขัดแย้งเชิงคุณธรรม

20 และสร้างความเสียหายแก่สังคมได้ เช่น ประเด็นความกตัญญู หากผู้รักษากฎหมาย เลือกท่ีจะตอบ แทนบุญคุณ โดยใช้อานาจหน้าท่ีช่วยเหลือผู้มีพระคุณซ่ึงทาผิดกฎหมายให้พ้นผิด ก็ย่อมส่งผล เสยี หายต่อสังคม ดังนั้น หากทุกคนยึดหลักการของคุณธรรมทั้ง ๓ ประการ คือ เกรงใจ น้ำใจ และ ใคร่ครวญ ส่วนรวม เปน็ กรอบในการตัดสินใจแล้ว ย่อมจะเกดิ ประโยชน์ตอ่ สงั คมเพม่ิ ขน้ึ จากแนวคดิ เรื่องภูเขาน้าแขง็ แห่งคณุ ธรรมดังกล่าว จึงสรปุ ไดว้ า่ “ กำรประพฤตติ นโดยคำนงึ ถงึ ผ้อู ืน่ หรอื ส่วนรวมเสมอ คือรำกเหงำ้ แหง่ คณุ ธรรมทงั้ ปวง ” หมายความว่า ในการเสริมสร้างคุณธรรมเฉพาะประเด็น หรือการสร้างค่านิยมต่างๆ น้ัน หาก ต้องการความย่งั ยนื ควรสร้ำงหลักกำรพื้นฐำนของคณุ ธรรม เพ่ือเป็นรำกฐำนในจิตใจก่อน ๒.๑๖ จริยธรรมคืออะไร? สังคมไทยมักใช้คาว่า คุณธรรม (Moral) และจริยธรรม (Ethics) ควบคู่กัน คาท้ัง ๒ แตกต่างกันหรือไม่ เม่ือคุณธรรมหมำยถึงเจตจำนง ท่ีจะประพฤติตนโดยคานึงถึงผู้อื่นหรือส่วนรวม เสมอ แลว้ คาวา่ จรยิ ธรรมจะหมายความวา่ อย่างไร จึงขอยกตัวอยา่ งเพ่ือการวเิ คราะห์ ดงั นี้ หมอสมชาย นำอำกำรป่วยของคนไขไ้ ปเล่ำให้ผู้ท่ีไม่เก่ียวข้องฟงั ครูสมศรี ซึ่งสอนคณิตศาสตรเ์ หน็ ว่าวชิ าของตนสาคญั จงึ สอนเกินเวลำไป ๒๐ นาที ทาให้ นกั เรียนไปเรียนวิชาต่อไปไม่ทัน จากเหตุการณ์ทั้ง ๒ กรณีข้างต้น แม้หมอสมชายไม่ได้มีเจตนามุ่งร้ายต่อคนไข้ และครูสมศรี มีเจตนาที่จะทาประโยชนแ์ กน่ ักเรยี นก็ตาม แต่ท้งั สองคนก็ทำใหผ้ ้อู ื่นเสยี หำย ดงั น้นั จงึ จาเป็นต้องมีข้อกาหนดความประพฤติของคนในสังคมหน่ึงๆ หรือสาขาวิชาชีพหน่ึงๆ ซ่ึงเรยี กว่าประมวลจรยิ ธรรมหรือจรรยำบรรณ เพื่อป้องกันความเสียหายและเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ สงั คม ประมวลจริยธรรม (Ethics) หรือจรรยำบรรณ หมายถงึ กฎกติกาทตี่ ราขน้ึ เพื่อขยายหลักการ ของคุณธรรม ซ่ึงเป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม โดยจัดทาเป็นประมวลข้อกำหนดควำมประพฤติ

21 (Code of Conduct) ของบุคคลในแต่ละสถานภาพหรือวิชาชีพนั้นๆ ซ่ึงองค์กรหรือสภาวิชาชีพ กาหนดขน้ึ เพือ่ ให้สมาชิกประพฤติตนอยู่ในกรอบของคุณธรรม คาสอนของทุกศาสนา ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการกาหนดความประพฤติ ระหว่างมนุษย์กับ มนษุ ย์ เชน่ ทกี่ าหนดใน หลกั ธรรมอิหซาน บัญญตั ิ ๑๐ ประการ รวมท้งั เบญจศลี และเบญจธรรม ก็คือ ประมวลจริยธรรม ซง่ึ เปน็ ข้อกาหนดความประพฤติพื้นฐาน สาหรับมนุษย์ทุกคน ไม่ว่าจะมีสถานภาพ หรอื อาชีพใด เช่น เบญจศลี คือ ประมวลจริยธรรมที่มุ่งสู่คณุ ธรรมดำ้ นพงึ ละเว้นกำรทำควำมช่ัว เบญจธรรม คือ ประมวลจรยิ ธรรมที่มุ่งสู่คุณธรรมด้ำนพึงทำควำมดี ผู้ที่อยู่ในสถานภาพท่ีจะให้คุณให้โทษแก่บุคคลอ่ืนและสังคมได้มาก ย่อมต้องมีจริยธรรมท่ี เข้มงวดมาก เช่น ประมวลจริยธรรมข้าราชการการเมือง จรรยาบรรณครู หรือจรรยาบรรณแพทย์ เป็นต้น ซึง่ ประมวลจริยธรรมทุกชนิดล้วนมคี วามมงุ่ หมาย ๒ ประการ คอื ประการท่ี๑ เพือ่ กาหนดความประพฤติที่ พงึ ละเวน้ ควำมช่ัว ประการที่๒ เพ่ือกาหนดความประพฤตทิ ่ี พงึ ทำควำมดี คนบางคนอาจมีสถานภาพหลายสถานภาพ เช่น ในกรณีของ นายแพทย์วิชัย ผู้อานวยการ โรงพยาบาลประจาจังหวดั ย่อมมีจรยิ ธรรม ซ่งึ ตอ้ งปฏบิ ัตติ ามหลายชดุ คอื ๑. เบญจศีล และเบญจธรรม ในฐานะทีเ่ ปน็ มนุษย์ ๒. จรรยาบรรณแพทย์ ในฐานะทเี่ ป็นแพทย์ ๓. จรยิ ธรรมข้าราชการ ในฐานะที่เปน็ ข้าราชการ ๔. ทศพธิ ราชธรรม ในฐานะทเ่ี ปน็ ผู้นาองคก์ ร

22 ๒.๑๗ ควำมสมั พันธ์ระหวำ่ งคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม เป็นอยำ่ งไร? คุณธรรม จริยธรรมองค์กร จรรยำบรรณวชิ ำชีพ หลกั กำรประพฤติตนระหวำ่ งมนุษย์ กบั มนุษย์ของทุกศำสนำ ซึ่งเปน็ จรยิ ธรรมส้ำหรับมนุษย์ทุกคน คุณธรรม (Moral) คือ จิตสำนึกหรือเจตจำนง (Will) ท่ีจะควบคุมตนเอง ให้ประพฤติตน อย่างเหมาะสม เพื่อความสันติสุขของสังคม ประกอบด้วยหลักการ ๒ ประการ คือ พึงละเว้นความชั่ว และพึงทาความดี ซงึ่ มนษุ ย์ทกุ คนควรมีเจตจานงนี้เหมอื นกัน ส่วนจริยธรรม (Ethics) หรือจรรยำบรรณ คือข้อกำหนดควำมประพฤติ (Code of Conduct) ของบุคคล เพื่อขยายหลักการของคุณธรรมให้เป็นรูปธรรม ผู้ที่มีสถานภาพหรือมีอาชีพ ต่างกัน ย่อมมีข้อกาหนดความประพฤติท่ีต่างกัน แต่จริยธรรมทุกประเภทล้วนมุ่งไปสู่คุณธรรม เชน่ เดยี วกัน ดังนน้ั หากเปรียบ คุณธรรมเปน็ ดวงจนั ทร์ จริยธรรมหรอื จรรยำบรรณ คือนิ้วท่ีช้ีไปยังดวง จนั ทร์ เพ่ือใหท้ กุ คนมองไปสู่ดวงจันทร์ ดวงเดยี วกันน่ันเอง การเสริมสร้างคุณธรรมจึงสาคัญย่ิง เพราะไม่ว่าจะอยู่ในสถานภาพใด บุคคลย่อมต้องมี คณุ ธรรมทเ่ี หมือนกัน แม้จรยิ ธรรมจะตา่ งกนั ก็ตาม เช่นเมื่อเป็นพนักงานธนาคาร ซึ่งมีจิตใจท่ีทรงคุณธรรม ก็ย่อมเป็นพ่อ ผู้มีจิตใจที่ทรง คุณธรรมด้วย หากเปรียบเทียบกับการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ เม่ือฉีดวัคซีนในฐานะท่ีเป็น พนักงานธนาคารแล้ว ก็ย่อมมผี ลต่อบุคคลผูน้ นั้ ในฐานะท่ีเปน็ พอ่ ด้วย ที่กล่าวมานี้เพ่ือจะช้ีให้เห็นว่า การเสริมสร้างคุณธรรมให้กับโรงงานที่มีพนักงาน ๑๐๐ คน ย่อมส่งผลถึงสมาชิกครอบครัวอีก ๑๐๐ ครอบครัวด้วย ซ่ึงแน่นอนท่ีสุด การจัดกิจกรรมเสริมสร้าง คุณธรรมให้โรงงานเพียง ๑ โรงงาน ย่อมสะดวกกว่าการจัดกิจกรรมฯ ให้ครอบครัวจานวน ๑๐๐ ครอบครวั

23 ๒.๑๘ ทฤษฎีหิน กรวด ทรำย คอื อะไร? ทฤษฎีหิน กรวด ทราย คือ การอธิบายความสัมพันธ์เช่ือมโยงระหว่างกฎหมายหรือ กฎระเบียบ จริยธรรม และคุณธรรม ซ่ึงทั้ง ๓ ประการล้วนเป็นเครื่องมือในการควบคุมความ ประพฤตขิ องมนษุ ย์ เพอ่ื ให้อยู่ร่วมกันอย่างสนั ติสขุ หากเปรียบน้าเน่าเหมือนความประพฤติอันช่ัวร้ายของมนุษย์แต่ละคน และพ้ืนท่ีในอ่างน้า เหมือนโอกาสที่แต่ละคนจะทาความช่ัวได้ ถ้าอ่างน้านั้นว่างเปล่า ปราศจากส่ิงกีดขวาง น้าเน่าก็มี โอกาสแทรกตัวเข้ามาในอ่างอยา่ งเต็มท่ี ดังน้ัน ทุกรัฐ ทุกองค์กรจึงมีเคร่ืองมือ ๓ ประเภท ท่ีจะขัดขวางน้าเน่าหรือความประพฤติ ช่ัวร้ายเหล่านั้น เครื่องมือดังกล่าวคือ กฎหมายหรือกฎระเบียบเปรียบเหมือนหินก้อนใหญ่ จริยธรรมเปรียบเหมอื นกรวดกอ้ นกลางและคุณธรรมเปรียบเหมือนทรายละเอียด หินก้อนใหญ่ หมายถึงกฎหมายหรือกฎระเบียบท่ีรัฐหรือผู้มีอำนำจเป็นผู้กำหนดและเป็นผู้ ควบคมุ เพ่อื ป้องกนั ไม่ให้บุคคลใดๆกต็ ามประพฤติตนสร้างความเสียหายแกอ่ งค์กรนน้ั ๆ อย่างไรก็ตาม แม้จะมีหินก้อนใหญ่จานวนมากมายเรียงตัวกันป้องกัน แต่ก็ยังเกิดช่องว่างระหว่างหินก้อนใหญ่ เหล่านน้ั เปดิ โอกาสให้น้าเนา่ แทรกตวั เขา้ มาได้ กรวดก้อนกลำง หมายถึงประมวลจริยธรรมขององค์กรหรือธรรมนูญหมู่บ้าน ซ่ึงสมำชิก ในสังคมนั้นๆ ร่วมกันกำหนดและร่วมกันควบคุม หินก้อนกลางเหล่าน้ีจะทาหน้าท่ีอุดช่องว่าง ระหวา่ งหินกอ้ นใหญ่ ให้ลดลง แต่อยา่ งไรกต็ ามช่องวา่ งกย็ ังคงเหลืออยู่ ทรำยละเอียด หมายถึงคุณธรรมประจาใจที่สมำชิกในสังคมทุกคน ใช้ควบคุมตนเองให้ ประพฤติตนโดยคานึงถึงผู้อื่นและส่วนรวมเสมอ ซ่ึงทรายละเอียดเหล่าน้ีเองจะทาหน้าท่ีเติมเต็ม ช่องวา่ งทีเ่ หลอื อยู่ เพ่ือให้เห็นภาพของหินก้อนใหญ่ กรวดก้อนกลางและทรายละเอียดว่าทาหน้าที่ในสังคม อย่างไร จงึ ขอสมมตุ เิ หตกุ ารณด์ ังต่อไปนี้ หนิ กอ้ นใหญ่ : ครปู ระจาชน้ั ม.๕/๑ ไดอ้ อกกฎและควบคมุ สัง่ หา้ มนกั เรียนทุกคนใส่ รองเท้าเข้าหอ้ งเรียน กฎดงั กลา่ วเปรยี บเหมือนหินก้อนใหญ่ เพราะถูกกาหนดและถูกควบคุมโดยผู้มี อานาจ คือครูประจาช้ัน ดังนั้นหากนักเรียนคนใดจะใส่รองเท้าเข้าห้องเรียน ก็ต้องคอยระวังไม่ให้ ครเู หน็ ซ่งึ ไม่ยากเพราะเป็นการระวังครเู พยี งคนเดียว

24 กรวดก้อนกลำง : นักเรียนชั้น ม.๕/๒ ได้ร่วมกันกำหนดและร่วมกันควบคุม ประมวลจริยธรรมประจาชั้น ม.๕/๒ ซ่ึงห้ามนักเรียนใส่ร้องเท้าเข้าห้องเรียน เพื่อสุขภาพของทุกคน ดังนั้น หากนกั เรยี นคนใดจะใส่รองเทา้ เขา้ ห้องเรียน ก็ตอ้ งคอยระวังไม่ให้เพื่อนคนหนึ่งคนใดเห็น ซ่ึง ยากกวา่ การระวงั ครเู หน็ เพยี งคนเดียว ทรำยละเอียด : แดงเป็นนักเรียนซึ่งมีคุณธรรมควบคุมจิตใจของตนเอง ให้ประพฤติตนโดยคานึงถึงผู้อื่นและส่วนรวมเสมอ เย็นวันศุกร์ท่ีเพื่อนๆกลับบ้านหมดแล้ว แดงลืม หนังสอื ไว้ในหอ้ งเรยี นจงึ ต้องกลับไปเอา แมจ้ ะไมม่ ีใครเหน็ แต่แดงกไ็ มใ่ ส่รองเทา้ เขา้ หอ้ งเรยี น จากเรื่องสมมุติดังกล่าวจะเห็นว่า หินก้อนใหญ่ซ่ึงหมายถึงการกาหนดและการควบคุมโดย รัฐหรือผู้มีอานาจ กรวดก้อนกลางซ่ึงหมายถึงการกาหนดและการควบคุมโดยสังคม และทราย ละเอียดซ่ึงหมายถึงการควบคุมตนเอง จะร่วมกันป้องกันน้าเน่า หรือพฤติกรรมอันช่ัวร้าย ไม่ให้ เกดิ ขึน้ ในสงั คมได้อยา่ งไร คาถามก็คือ จะทาอย่างไรที่จะทาให้จริยธรรมและคุณธรรม หรือกรวดก้อนกลางและ ทรายละเอยี ด เกดิ ขน้ึ อยา่ งมปี ระสิทธิผลและประสทิ ธภิ าพ

25 ส่วนท่ี ๓ กำรเสริมสร้ำงคุณธรรมและจริยธรรมในสังคม ๓.๑ กำรเสริมสรำ้ งคุณธรรมควรมหี ลกั กำรอยำ่ งไร ? เป้าหมายสาคัญในการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม คือการทาให้ทุกคนในสังคมเป็นผู้ทรงคุณธรรม ซึ่ง หมายความว่า ควรประพฤติตนในส่ิงท่ีพึงกระทาและละเว้นในสิ่งท่ีพึงละเว้น เพื่อให้สังคมเกิดควำม สนั ตสิ ุข หนังสือเรือ่ ง ยูไทรโฟ (สุลักษ์ ศิวรักษ์) ได้กล่าวถึง พงศาวดารกรีกโดยเล่าว่า เมื่อมีการแข่งขัน กฬี าโอลิมปิกคราวหน่ึง พวกกรีกท้ังหลายน่ังดูอย่างคับคั่ง ผู้เฒ่าคนหน่ึงเดินข้ึนมาบนอัฒจันทร์เพ่ือจะ หาที่นั่ง แต่ที่น่ังเต็ม จะมีใครลุกให้น่ังก็หาไม่ พอผู้เฒ่าเดินมาถึงแถบท่ีพวก สปาต้านั่งอยู่พวกสปาต้า ทง้ั หมดยืนขึน้ ล้วนเชิญให้ผู้เฒ่านั่งที่น่ังของตน กรีกอ่ืนๆ เห็นจึงปรบมือให้แก่สปาต้าผู้เฒ่าผู้นั้นจึงพูดว่า “กรกี ท้ังหลำยรู้ว่ำสิ่งใดดี แตส่ ปำต้ำเทำ่ นั้นทป่ี ฏบิ ตั ิ” จากเร่ืองราวดังกล่าวจะเห็นได้ว่า ผู้ทรงคุณธรรมย่อมจะต้องมีคุณลักษณะ ๒ ประการ คือ “ปญั ญำ”และ “ศรัทธำ” ปัญญำ ในทน่ี ีห้ มายถงึ ควำมรทู้ ี่ว่าสง่ิ ใดพึงกระทาและส่ิงใดพงึ ละเว้น ศรัทธำ ในท่ีน้ีหมายถึง ความเช่ือ ความเล่ือมใสและมุ่งมั่นที่จะประพฤติตนตามสิ่งที่รู้น้ัน คอื ทาในส่ิงท่ีพงึ ทาและละเวน้ ในสิง่ ที่พึงละเว้น เช่นเดียวกับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในสังคมไทย กรณีเด็กแว้นซ่ึงเด็กแว้นทุกคนก็รู้ว่า การกระทา ดังกล่าวสร้างความเดือดร้อนราคาญแก่สังคม แต่ก็ยังทา จึงเกิดคาถามว่าในการเสริมสร้างคุณธรรม ทีจ่ ะต้องสร้างท้งั “ปญั ญำ” และ “ศรทั ธำ” นั้น สมควรดาเนนิ การอยา่ งไร ๓.๒ กระบวนกำรเสรมิ สร้ำงคณุ ธรรมและจริยธรรมควรเปน็ อย่ำงไร ? การเสริมสร้างคุณธรรมท่ีต้องการให้เกิดทั้งปัญญำและศรัทธำนั้น ควรใช้กรอบแนวความคิด เร่ืองกำรเรียนโดยกำรลงมือทำ (Learning by Doing) ซ่ึงสอดคล้องกับทฤษฏีกำรเรียนรู้ของพุทธ ศำสนำ ซึ่งประกอบด้วย ๓ ข้ันตอน คือ ขั้นที่ ๑ สุตตมัยปัญญำ หมายถึง การเรียนรู้จากการฟัง การดู และการอ่านข้ันที่ ๒ จินตมัยปัญญำ หมายถึง การเรียนรู้จากการคิดวิเคราะห์ และข้ันที่ ๓ ภำวนำมัยปัญญำ หมายถงึ การเรียนรู้จากการลงมือปฏบิ ัติ

26 เม่ือบูรณาการหลักการ หลักวิชาหรือทฤษฎีการเรียนรู้ จากแหล่งต่างๆแล้ว จึงได้กาหนด กระบวนการเสริมสร้างคุณธรรม โดยแบง่ ออกเป็น ๓ ขน้ั ตอน ดงั นี้ ข้ันตอนท่ี ๑ กำรเรียนรู้ ควำมหมำย หลักวิชำ หมายถึง การเรียนรู้เพื่อให้เข้าใจถึง ความหมาย หลกั การและ หลกั วชิ าหรือ ทฤษฏีคุณธรรม ซงึ่ เปน็ สากล ข้ันตอนท่ี ๒ กำรฝึกคิดวิเครำะห์ หมายถึง การเรียนรู้จากการคิดวิเคราะห์เรื่อง ผลประโยชน์ทับซ้อน โดยใช้ความหมาย หลักการ หลักวิชาหรือ ทฤษฏีคุณธรรม ตามขั้นตอนที่ ๑ เป็นกรอบแนวความคิด เพ่อื ใหต้ ดั สนิ ใจไดว้ า่ สง่ิ ใดพงึ กระทาหรือส่งิ ใดพึงละเว้น ขั้นตอนท่ี ๓ กำรร่วมกำหนดจริยธรรม หมายถึง การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติโดยการ ร่วมกนั กาหนดประมวลจริยธรรมของหน่วยงานของตน หรอื รว่ มกนั จดั ทาโครงการจติ อาสาต่างๆ ข้ันตอนที่ ๑ ขัน้ ตอนท่ี ๒ ขั้นตอนท่ี ๓ การเรียนรู้ความหมาย การฝึกคิดวิเคราะห์เร่ือง การร่วมกาหนด หลักวชิ า ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น จริยธรรมและ โครงการจิตอาสา “เปำ้ หมำยของกำรเสริมสร้ำงคุณธรรมคือต้องกำรใหค้ ำนงึ ถึงผู้อ่นื หรือสว่ นรวมเสมอ” ขนั้ ตอนที่ ๑ กำรเรียนรู้ ควำมหมำย หลกั วิชำ ทฤษฏีคุณธรรมควรทำอยำ่ งไร ? กกกกกกแนวทางในสร้างความรเู้ รื่อง ความหมาย หลักวิชา หรือทฤษฏีคุณธรรมควรใช้การเรียนรู้ด้วย วธิ ีวภิ ำษ หรือ Dialectic ซ่งึ พินจิ รตั นกลุ ได้กลา่ วไวว้ ่า เป็นวิธีที่ โสกราติสใช้อย่างได้ผล และเป็นจุดกาเนิดของปรัชญาตะวันตก วิธีการนี้จะเร่ิมต้น ด้วยการตั้งคาถามคู่สนทนา ว่าส่ิงท่ีคู่สนทนาพูดน้ัน หมายความว่าอย่างไร หลายคร้ังที่ผู้พูดเองก็ไม่ กระจ่ำงชัดถึงคำศัพท์บำงคำที่ตนเองใช้ว่ำมีควำมหมำยอย่ำงไรและเป็นสำกล ครอบคลุมสิ่งท่ี

27 ตอ้ งกำรจะสอ่ื ควำมหมำยหรือไม่ คาถามน้ันจะทาให้ผ้พู ดู รูต้ ัวว่า ส่ิงทตี่ นเองเคยคิดวา่ รู้จริงนั้น อาจ ไม่เป็นจรงิ กไ็ ด้ ผลทีต่ ามมาคอื คู่สนทนาจะเกิดความตอ้ งการทจี่ ะมีความรเู้ พิ่มขน้ึ กกกกกกวิธีวิภาษ (Dialectic) มีความมุ่งหมายท่ีจะสร้างความเคล่ือนไหว เปลี่ยนแปลงปัญญำของ มนษุ ย์จำกควำมไม่รไู้ ปสคู่ วำมต้องกำรจะรู้และเครื่องมือหลักท่ีใช้ให้เกิดความเปล่ียนแปลงนี้ คือการ สนทนาโตต้ อบ (Dialogue) กกกกกกโสกราติสเช่ือว่า กำรสนทนำโต้ตอบ (Dialogue) จะทำให้ควำมรู้ของคนแตกฉำนได้ผลดี ยิ่งกว่ำกำรอ่ำนหนังสือ เพราะวิธีวิภาษ คือการใช้เหตุผลถกแถลงในปัญหาที่มีความเห็นขัดแย้งกัน การถกแถลงด้วยเหตุผล จะเพิ่มปัญญาให้แก่คู่สนทนาได้มองปัญหาได้ชัดเจน ลึกซ้ึงยิ่งข้ึน หากเร่ืองที่ นามา ถกแถลงนนั้ เป็นเร่อื งคุณธรรมกจ็ ะสรา้ งความรเู้ รือ่ งคุณธรรมเพ่ิมข้ึนดว้ ย ความรู้ที่ได้รบั จากวภิ ำษวธิ ีน้ี เป็นควำมรู้ทรี่ ะเบิดจำกภำยในของผู้เรียน หากเปรียบกับการ คลอดบุตร จะเห็นว่า ทารกน้ันเป็นของมารดาอยู่แล้ว หมอตาแยเพียงทาหน้าท่ีบีบนวดให้ทารกน้ัน คลอดออกมาจากครรภม์ ารดาเทา่ นนั้ เอง ในสว่ นของความรกู้ เ็ ช่นกนั ผูเ้ รยี นหรือมนุษย์ทุกคน ย่อมมีควำมรู้สึก เรื่องควำมดีควำมช่ัว ซ่อนอยู่ในใจทุกคนอยู่แล้ว แต่ยังไม่อำจอธิบำยควำมหมำยอันเป็นสำกลได้ ผู้สอนเป็นเพียงผู้ใช้ คำถำม เพื่อบีบนวดควำมรู้ ใหร้ ะเบิดออกมำจำกใจของผเู้ รียนเองเทำ่ นน้ั จดุ มงุ่ หมำยของขัน้ ตอนท่ี ๑ เพื่อต้องการให้ค่สู นทนาหรอื ผรู้ บั ฟังกระจ่างในเรื่องต่อไปน้ี ประการท่ี ๑ คณุ ธรรม ยอ่ มครอบคลมุ ทั้งในดา้ น “ละเว้นควำมชว่ั ” และ“ทำควำมดี” ประการที่ ๒ กำรกระทำ แตล่ ะครั้งของบคุ คลสามารถแบง่ ได้เป็น ๓ ระดับ คือ ดี ปกติ และชวั่ ความดีเป็นเร่ืองของเจตนำ ประการท่ี๓ การทาเพื่อส่วนรวมนั้นต้องเปรียบเทียบระดับของส่วนรวมโดยคานึงว่า เมอ่ื ทาประโยชนแ์ กส่ ว่ นรวมในระดบั ท่เี ลก็ กวา่ ต้องไมท่ าให้ส่วนรวมระดบั ทีใ่ หญก่ ว่าเสียหาย กกกก ความรู้ในข้ันตอนนี้ จะเป็นการสร้าง “ปัญญำ” เพื่อเป็นกรอบแนวความคิดว่า สิ่งใดพึง กระทำหรอื ส่งิ ใดพงึ ละเว้น ซ่ึงกรอบความคดิ ดงั กล่าวจะเปน็ เคร่ืองช่วยในการตัดสินใจ เม่ือเกิดปัญหา เรื่องผลประโยชนท์ บั ซ้อน หรอื ความขัดแย้งเชงิ คณุ ธรรม ซง่ึ จะตอ้ งฝึกคิดวิเคราะห์ในขัน้ ตอนต่อไป

28 ขนั้ ตอนที่ ๒ กำรฝึกคดิ วเิ ครำะห์เรอ่ื งผลประโยชนท์ บั ซ้อน ควรทำอยำ่ งไร ? กกกกกกเม่ือมีความรู้เรื่องความหมาย หลักการ หลักวิชาหรือทฤษฏีเชิงคุณธรรมในขั้นตอนที่ ๑ แล้ว จะตอ้ งให้กล่มุ เปา้ หมายได้ฝึกคดิ วิเคราะห์ เรือ่ งผลประโยชน์ทับซ้อน บ่อยๆ เพื่อให้มีความจัดเจนใน กำรตัดสินใจไดว้ ่ำส่งิ ใดพึงกระทำ หรอื สงิ่ ใดพงึ ละเวน้ และเกิดทกั ษะ ทจ่ี ะใช้ในชีวติ ประจาวัน การฝึกคิดวิเคราะห์เรื่องผลประโยชน์ทับซ้อนดังกล่าว อาจเป็นเรื่องที่สมมุติข้ึนเองเป็นเรื่อง จากละคร จากภาพยนตร์ นวนิยาย หรือเหตุการณ์จริงท่ีเกิดขึ้น ดังที่ปรากฏตามสื่อมวลชนก็ได้ เช่นเรอ่ื งสมมตุ ิดังต่อไปนี้ เหตกุ ำรณท์ ี่ ๑ แดงท้งิ กระดาษเชด็ ปากลงในถังขยะเพราะราคาญกระดาษในมือ เหตกุ ำรณ์ที่ ๒ ดาทงิ้ กระดาษเชด็ ปากนอกถังขยะเพราะราคาญกระดาษในมือ เหตุกำรณ์ที่ ๓ ส้มเก็บกระดาษเช็ดปากท่ีดาท้ิงไว้นอกถังขยะ ใส่ในถังขยะ เพราะ อยากให้ห้องเรยี นสะอาด จากเหตกุ ารณ์ทง้ั ๓ เม่ือใช้กรอบแนวความคิดเรื่องดี ปกติ หรือช่ัวและเจตนามาวิเคราะห์ก็จะ สามารถได้ขอ้ สรุปดังนี้ เหตุกำรณท์ ่ี ๑ แดงท้ิงกระดาษเช็ดปาก เป็นการทาเพื่อตนเอง แต่ท้ิงลงถังขยะจึงไม่ทำให้คน อ่นื หรือสว่ นรวมเดือดรอ้ น ถอื ไดว้ ่าเป็นการปฏบิ ัติตนในระดบั ปกติ คอื การละเวน้ การทาความช่ัว เหตุกำรณ์ที่ ๒ ดาทิ้งกระดาษเช็ดปาก เป็นการทาเพ่ือตนเอง แต่ทิ้งกระดาษลงนอกถังขยะ ทาใหห้ อ้ งสกปรก ผ้อู นื่ หรอื ส่วนรวมเดือดรอ้ น ถอื ไดว้ ่าเปน็ การปฏบิ ัติตน ในระดับกำรทำควำมชั่ว เหตกุ ำรณ์ที่ ๓ ส้มเก็บกระดาษเช็ดปาก ที่อยู่นอกถังขยะท้ิงลงถังขยะเพราะอยากให้ห้องเรียน ซง่ึ เปน็ สมบตั ิของส่วนรวมสะอาด เปน็ การทำเพือ่ สว่ นรวม ถือได้วา่ เปน็ กำรทำควำมดี กกกกกกการฝึกคิดวิเคราะห์เร่ืองผลประโยชน์ทับซ้อนดังกล่าว ควรดาเนินการบ่อยๆและต่อเนื่อง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ สาหรบั นักเรียน ควรทาทุกวนั ซ่ึงใชเ้ วลาเพยี งเลก็ น้อยเท่านั้น กกกกกกในข้ันตอนนี้จะเป็นการเพิ่มความรู้หรือเพิ่ม“ปัญญำ”เพ่ือให้เข้าใจในความหมาย หลักการ หลักวิชาหรือทฤษฏีคุณธรรมมากย่ิงข้ึน นอกจากน้ัน ยังเป็นการเพ่ิมความมุ่งมั่นท่ีจะทาตามสิ่งที่รู้น้ัน ซึ่งเป็นการเพิ่ม “ศรัทธำ”ด้วย

29 ขนั้ ตอนที่ ๓ กำรรว่ มกำหนดจรยิ ธรรมควรเป็นอย่ำงไร ? กกกก ดังทกี่ ลา่ วมาแลว้ วา่ คุณธรรมไม่ใชเ่ ร่อื งของความรู้ หรือปัญญำเพียงอย่างเดียว แต่ยังหมาย รวมถึงศรทั ธำคอื ความมุ่งม่ันท่ีจะประพฤติตนตามส่ิงท่ีรู้นั้น คือการทาในสิ่งท่ีพึงทาและการละเว้นใน ส่ิงที่พึงละเว้นอีกด้วย ดังน้ันในแต่ละสังคมจึงควรมีข้อกาหนดร่วมกันว่าสิ่งใดพึงกระทาหรือสิ่งใดพึง ละเว้น ซ่งึ ขอ้ กาหนดนเี้ องคอื จริยธรรม กฎหมำยรฐั ธรรมนูญปี ๒๕๖๐ มำตรำที่ ๗๖ ไดก้ าหนดไวว้ า่ รัฐพึงจัดให้มีมำตรฐำนทำงจริยธรรม เพ่ือให้หน่วยงำนของรัฐใช้เป็นหลักในการ กำหนดประมวลจริยธรรม สาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานน้ันๆ ซึ่งต้องไม่ต่ากว่ามาตรฐาน จรยิ ธรรมดงั กลา่ ว ดังนั้นทุกหน่วยงานของรัฐจึงต้องจัดทาประมวลจริยธรรม แต่โดยท่ัวไปประมวลจริยธรรม ของหน่วยงานต่างๆ มักถูกกำหนดโดยหน่วยเหนือ ซ่ึงเปรียบเหมือนหินก้อนใหญ่ตามทฤษฎี หิน กรวด ทราย อีกก้อนหน่ึง ส่งผลให้สมาชิกในองค์กรระดับรองๆ ขาดการมีส่วนร่วม แต่ถ้าเปิด โอกาสใหส้ มาชิกในหนว่ ยงานยอ่ ยๆ เหลา่ นน้ั มีโอกำสร่วมกันกำหนดและควบคุมประมวลจริยธรรม (Code of Conduct) ในหน่วยงำนของตนเอง ซึ่งเปรียบเหมือนกรวดก้อนกลำง จะทาให้ สมาชิกในองค์กรทกุ คนเตม็ ใจที่จะปฏิบัติตนตามกตกิ านั้น ความมุ่งหมายที่สาคัญของประมวลจริยธรรม คือการกาหนดความประพฤติของสมาชิกใน องค์กรเพ่ือให้เกิดความพึงใจต่อผู้อื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ซ่ึงจะเกิดข้ึนได้ ก็ต่อเม่ือ ประพฤตติ นท่จี ะไมท่ าให้ผู้อื่นเดอื ดรอ้ น หรอื ทาให้ผูอ้ ่ืนได้ประโยชน์ . การกาหนดประมวลจริยธรรมของหน่วยงานต่างๆ จะต้องคานึงถึงมาตรฐานจริยธรรมของ หนว่ ยงานในระดบั ที่เหนอื กว่า เชน่ โรงพยาบาล กาหนดวา่ เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลพึงประพฤติตน โดยคานึงถงึ เรอ่ื งดงั ตอ่ ไปน้ี - ความสามัคคีของบคุ ลากรในหน่วยงานและองค์กร - ผลประโยชน์ของหนว่ ยงานและองค์กร - ชื่อเสียงของหนว่ ยงานและองค์กร แผนกขนส่งอาจกาหนดให้บุคลากรของตนขับรถด้วยความสุภาพ รักษากฎจราจรและมีน้าใจ ส่วนแผนกจา่ ยยา อาจกาหนดใหบ้ รกิ ารคนไขด้ ้วยความสภุ าพและแนะนาคนไข้ด้วยความหวงั ดี

30 ประมวลจริยธรรมขององค์กรกาหนดว่า ข้าราชการพึง ประพฤติตนโดยคานึงถึงศักด์ิศรี ของข้าราชการและชื่อเสียงของหน่วยงาน แผนกขนส่งอาจกาหนดในส่วนของตนให้พนักงานขับรถ รักษากฎจราจร และมีน้าใจ ส่วนแผนกจ่ายยาอาจกาหนดว่า ให้จ่ายยาด้วยความสุภาพและแนะนา คนไข้ดว้ ยความหวงั ดี เปน็ ตน้ ประมวลจริยธรรมดังกล่าว จึงเป็นข้อกาหนดสิ่งท่ีพึงกระทาและส่ิงท่ีพึงละเว้น ซ่ึงควรแบ่ง ควำมสัมพันธ์กับผู้เกี่ยวข้องเป็น ๔ ระดับ เช่น แผนกขนส่งของโรงพยาบาลอาจร่วมกันกาหนด ประมวลจริยธรรมของแผนกดงั น้ี ระดับท่ี ๑ ความสัมพนั ธ์กับเพอื่ นรว่ มงำนในหน่วยงำนเดยี วกนั เชน่ แผนกขนส่ง ของโรงพยาบาล อาจมีข้อกาหนดว่าพนักงานขับรถจะต้องทาความสะอาดรถยนต์ทั้งภายนอกและ ภายในรถยนตก์ อ่ นที่จะนารถยนตส์ ่งคนื ส่วนกลาง เพ่ือให้เพ่ือนพนักงานขับรถดว้ ยกันพอใจ ระดบั ท่ี ๒ ความสัมพันธ์กับผู้ที่อยู่ในหน่วยงำนอ่ืนภำยในองค์กร เช่น แผนก ขนสง่ ของโรงพยาบาล อาจมกี ตกิ าวา่ พนกั งานขับรถทุกคนทจี่ ะไปรบั ผู้อน่ื ในองคก์ รไปประชุม ต้องถึง ทน่ี ัดหมายก่อนเวลา ๕ นาที และต้องขับรถอยา่ งสุภาพมไี มตรีจิต เพื่อชื่อเสยี งของแผนกขนส่ง ระดบั ที่ ๓ ควำมสัมพันธ์กับผู้ท่ีมำติดต่อกับองค์กรของเรา เช่น แผนกขนส่ง ของโรงพยาบาลแม้ไม่มีหน้าที่ติดต่อกับคนไข้หรือญาติโดยตรง แต่หากมีผู้มาสอบถามเรื่องสถานท่ีใน โรงพยาบาล ก็ให้ทุกคนปฏิบัติด้วยความสุภาพ มีน้าใจ เพื่อช่ือเสียงของโรงพยาบาล การปฏิบัติใน ระดับที่ ๓ น้ี รวมถึงการไม่เอาเปรียบผู้ที่มาทาธุรกิจกับองค์กรด้วย เช่น ห้างสรรพสินค้าจะต้อง ชาระเงินกับผ้ขู ายสง่ ท่ีนาสนิ ค้ามาขายตรงเวลาเปน็ ตน้ ระดบั ที่ ๔ ควำมสัมพันธ์กับสำธำรณชน เช่น แผนกขนส่งของโรงพยาบาลอาจ มีกติกาว่าพนักงานขับรถจะต้องรักษากฎจราจร และมีน้าใจในการใช้รถใช้ถนน เพ่ือช่ือเสียงของ โรงพยาบาล เพราะเหตุท่ีหน้าที่ของหน่วยงานต่างกัน การให้คุณให้โทษต่อสังคมย่อมต่างกัน ดังนั้น ประมวลจริยธรรมของหน่วยต่างๆ จึงต่างกัน เช่น แผนกขนส่งย่อมมีจริยธรรมต่างกับแผนกบัญชี แต่อยา่ งไรกต็ ามจรยิ ธรรมของทกุ หน่วยย่อมมุง่ ไปสู่ข้อกาหนด ๒ ประการ คือ ข้อพึงละเว้นและข้อ พึงกระทา เพ่ือผลประโยชนข์ องผอู้ ื่นและสว่ นรวมทัง้ ส้นิ ความแตกตา่ งระหว่างโครงการจิตอาสากบั ประมวลจริยธรรม คือ

31 โครงกำรจิตอำสำ คือ การรวมตัวกันของสมาชิกในองค์กร เพื่อจะไปทาประโยชน์แก่ ผู้อื่นหรือส่วนรวม เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมกำรทำควำมดี ซ่ึงจะดาเนินการเป็นครั้งครำวเมื่อมีโอกาส ท่เี หมาะสมและทาเฉพำะเร่อื ง เช่น โครงการเก็บขยะในชุมชน ประมวลจริยธรรม เป็นข้อกาหนดความประพฤติของทุกคนในสังคมนั้นๆ ซ่ึงครอบคลุมท้ังในเร่ืองกำรทำควำมดี และกำรละเว้นควำมชั่ว ไม่ใช่การปฏิบัติเฉพาะในเร่ืองใด เร่อื งหน่งึ หรือปฏิบัติเปน็ คร้งั คราว แต่ตอ้ งปฏิบัติตนตามประมวลจรยิ ธรรมตลอดเวลำ จะมีประโยชนอ์ ะไรหากนักเรียนมีโครงการจิตอาสาไปเก็บขยะในชุมชน แต่ยังท้ิงขยะ เกล่ือนโรงเรียน ดังน้ันจึงควรฝึกให้นักเรียนร่วมกันกาหนดและควบคุมจริยธรรมประจาห้องก่อน จากนั้นจึงขยายเป็นโครงการจิตอาสานอกห้องเรียนต่อไป เช่น นักเรียนชั้น ป.๖ หลังจากได้ร่วมกัน กาหนดและควบคุมประมวลจริยธรรมประจาห้อง จนทุกคนเต็มใจที่จะประพฤติตนโดยคานึงถึง ประโยชน์ของส่วนรวมเสมอแล้ว จากนั้นอาจจัดทาโครงการจิตอาสา โดยผลัดเวรหมุนเวียนไปรับ น้องๆ ช้ันอนบุ าลท่หี นา้ โรงเรยี นต่อไป กกกกกก เมอื่ ทุกคนในองค์กรเป็นผู้ร่วมกาหนดกติกาคุณธรรม กาหนดประมวลจริยธรรมหรือกาหนด โครงการจิตอาสาต่างๆด้วยกันแล้ว ย่อมทาให้ทุกคนมุ่งมั่นท่ีจะปฏิบัติตนตามกติกานั้น เป็นกำรเพ่ิม ศรัทธำ ในที่สดุ เพราะกตกิ าต่างๆ ระเบดิ จำกภำยในของสมำชิกองค์กรทุกคน การร่วมกาหนดกติกา คุณธรรมหรือประมวลจริยธรรมน้ี เป็นท้ังเรื่องที่ครอบคลุมท้ัง “กำรละเว้นควำมชั่ว” และ “กำรทำควำมดี” แม้จะทาถึงขั้นตอนที่ ๓ แล้ว ก็ยังต้องกลับไปดาเนินการตามขั้นตอนท่ี ๒ คือ การฝึกคิด วิเคราะห์ อย่างต่อเน่ือง ซึ่งเรื่องที่นามาถกแถลงนั้น อาจเป็นเรื่องท่ีเกิดข้ึนรอบๆ ตัว เร่ืองในองค์กร หรอื ผลจากการปฏบิ ัตติ ามกตกิ าคุณธรรมก็ได้ กระบวนการเสริมสร้างคุณธรรมน้ี เป็นหลักการพื้นฐานท่ีสามารถนาไปปรับใช้ กับ กลุ่มเปา้ หมายต่างๆ ได้ โดยอาจปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมกับสภาพแวดลอ้ ม กระบวนการเสริมสร้างคุณธรรม เพ่ือให้สมาชิกในองค์กรมีความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซ้ึง เกิดท้ัง “ปัญญำ”และ “ศรัทธำ” ที่ระเบิดออกมาจากภายในน้ัน ควรดำเนินกำรตำมลำดับขั้นตอน ก่อนและหลัง ซ่ึงหากจะเปรียบเทียบกับการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ที่จะต้องทาให้นักเรียนเข้าใจเรื่อง การบวก ลบ คณู และหารเสียก่อน จากนัน้ จึงจะใหน้ กั เรียนฝึกทาแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ได้ หรือหากจะเปรียบเทียบกระบวนการเสริมสร้างคุณธรรม กับกระบวนการก่อสร้างอาคาร แล้ว ก็อุปมาได้ว่าประมวลจริยธรรม โครงการคุณธรรม หรือโครงการจิตอาสา ซึ่ งเป็นรูปธรรม สามารถมองเห็นได้นัน้ เปรียบไดก้ ับตวั อาคารบนพ้ืนดินทสี่ ามารถมองเห็นจบั ต้องสัมผัสได้

32 สว่ นการสรา้ ง “ปัญญำ” และ “ศรทั ธำ”ท่ีฝังลึกในจิตใจ เพื่อให้สามารถตดั สินใจได้ว่าส่ิงใด พึงกระทาหรือส่ิงใดพึงละเว้นนั้น ก็เหมือนเสำเข็มที่อยู่ใต้ดินและไม่อาจจะมองเห็น แต่เป็นปัจจัยชี้ ขาดในดา้ นความมนั่ คงแข็งแรง ดงั พระบรมรำโชวำทของพระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อย่หู วั รชั กำลที่ ๙ ทวี่ า่ “ ...ส่ิงก่อสร้ำงจะม่ันคงได้ก็อยู่ที่เสำเข็ม แต่คนส่วนมำกมองไม่เห็นเสำเข็ม และลืม เสำเข็มไปด้วยซ้ำ...”

33 บทสรุป ๑. คุณธรรมสำกล (Moral) คือจิตสานึก หรือเจตจำนง (Will) ที่จะควบคุมตนเองให้ ประพฤติตนอย่างเหมาะสม เพือ่ ความสันติสุขของสงั คม ซึ่งสอดคล้องกับคาสอนของทุกศาสนาในส่วน ของการปฏบิ ตั ริ ะหว่างมนษุ ยก์ บั มนษุ ย์ โดยมหี ลักกำร ๒ ประกำร คอื ประการที่ ๑ พึงละเว้นกำรทำควำมช่ัว หมายถึง พึงละเว้นการทาความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น หรอื สว่ นรวม ประการท่ี ๒ พึงทำควำมดี หมายถงึ พึงทาประโยชน์แกผ่ ู้อนื่ และสว่ นรวม ๒. กำรกระทำแต่ละคร้ังของบุคคล แบ่งได้เป็น ๓ ระดับ คือ “ดี” หมายถึงการกระทาเพ่ือ ประโยชน์ผู้อื่น หรือส่วนรวม “ปกติ” (พึงละเว้นควำมช่ัว) หมายถึง การทาเพ่ือตนเอง แต่ก็ไม่ทาให้ ผอู้ ืน่ หรอื ส่วนรวมเดอื ดรอ้ น และ “ชั่ว” หมายถงึ การทาใหผ้ ู้อืน่ หรือสว่ นรวมเดอื ดรอ้ น ควำมดีเป็นเรื่องของ “เจตนำ” หมายความว่า การที่แพทย์รักษาโดยเจตนาจะช่วยชีวิต คนไข้น้นั แมค้ นไข้จะเสยี ชวี ิต การกระทาของแพทยก์ ็ยังเรียกไดว้ ่า “ควำมดี” แต่ถา้ แพทยร์ ักษาเพราะตอ้ งการได้ทรัพย์สินเงินทอง หรือต้องการช่ือเสียง แม้คนไข้จะรอด ชีวิต ก็ยังเป็นเจตนำที่แพทย์ทำเพ่ือตนเอง จึงไม่สำมำรถเรียกได้ว่ำควำมดี การกระทาดังกล่าว จะ อยู่ในระดบั ปกติ หรอื ละเว้นควำมช่วั เท่านัน้ ๓. ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interest) หมายถึง การทาเพ่ือตนเอง เพ่ือคน บางคน หรือบางกลุ่ม แต่กลับส่งผลเสียให้คนกลุ่มอ่ืนนั้น เป็นสถานการณ์ท่ีอาจเกิดข้ึนได้ตลอดเวลา และก่อให้เกิดปัญหำควำมขัดแย้งเชิงคุณธรรม (Moral Dilemma) ซึ่งยากต่อการตัดสินใจ ดังนั้น จึงต้องใช้หลักการของคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ (Relative Moral) โดยเปรียบเทียบระดับของส่วนรวม และพจิ ารณาเลือกประโยชนข์ องส่วนรวมในระดบั ทใ่ี หญ่กวำ่ เสมอ ๔. กำรประเมินระดับกำรกระทำ ๓ คำถำม (เพ่อื ประเมินว่าเปน็ การกระทาในระดับ ดี ปกติ หรือ ชั่ว) คาถามท่ี ๑ ทาเพอ่ื ใคร คาถามที่ ๒ ใครอน่ื เดือดร้อน คาถามที่ ๓ เปน็ การกระทาระดบั ใด ๕. สมกำรคณุ ธรรม สมการที่ ๑ ทาเพ่อื ตนเอง + ผ้อู ่นื /สว่ นรวม ไมเ่ ดอื ดร้อน = ปกติ สมการที่ ๒ ทาเพือ่ ตนเอง + ผู้อื่น/ส่วนรวม เดือดร้อน =ชวั่ สมการท่ี ๓ ทาเพอ่ื ผูอ้ ื่น/ สว่ นรวมเลก็ + ส่วนรวมใหญ่ ไมเ่ ดอื ดร้อน = ดี สมการที่ ๔ ทาเพ่อื ผูอ้ น่ื / สว่ นรวมเล็ก + สว่ นรวมใหญ่ เดอื ดรอ้ น = ช่ัว

34 ๖. ทฤษฎีคณุ ธรรม เกดิ จากกำรบรู ณำกำรหลักการของคุณธรรมสำกล ๒ ประการ คือ พงึ ละเว้นกำรทำควำมชั่ว และ พึงทำควำมดี รวมกับหลักการของคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ เร่ืองการ เปรียบเทียบและเลือกผลประโยชน์ของส่วนรวมในระดับที่ใหญ่กว่าเสมอเข้าด้วยกัน เพ่ือป้องกัน ปัญหำเรือ่ งผลประโยชน์ทบั ซ้อน ทฤษฎีคุณธรรมจึงรวบรวมปัจจัยเหตุที่จะส่งผลถึงความสันติสุขของสังคม ซึ่งมี หลักการ ๓ ประกำร คือ ประการท่ี ๑ พึงละเว้นความช่วั ประการท่ี ๒ พึงทาความดี ประการที่ ๓ พงึ เปรยี บเทียบและเลือกผลประโยชน์ของสว่ นรวมในระดับทีใ่ หญก่ วา่ เสมอ ๗. คำงำ่ ยๆท่ใี ชอ้ ธบิ ำยควำมหมำยของคุณธรรมคือ “เกรงใจ น้ำใจ ใคร่ครวญส่วนรวม” เกรงใจ หมายถงึ การระมัดระวงั ตนเองอยู่เสมอ ที่จะไม่ทาความเดือดร้อนแก่ผู้อ่ืนและ ส่วนรวม ซึ่งตรงกับคาว่า “พึงละเว้นควำมช่วั ” น้ำใจ หมายถึงการมุ่งมั่นที่จะทาประโยชน์แก่ผู้อ่ืนและส่วนรวมเมื่อมีโอกาสท่ี เหมาะสม ซึง่ ตรงกบั คาวา่ “พึงทำควำมดี” ใคร่ครวญส่วนรวม หมายถึงการพิจารณาอย่างรอบคอบว่าการกระทาเพ่ือผู้อ่ืนและ สว่ นรวมในระดับท่ีเล็กกว่า ต้องไม่ทาให้ส่วนรวมในระดับที่ใหญ่กว่าเสียหาย เพ่ือป้องกันปัญหาเร่ือง “ผลประโยชน์ทับซ้อน” ๘. จริยธรรม (Ethics) หรือจรรยำบรรณ คือ ข้อกำหนดควำมประพฤติ (Code of Conduct) ท่ีองค์กรหรือสภาวิชาชีพกาหนดข้ึน (จรรยาบรรณ) เพื่อขยำยหลักกำรของคุณธรรมให้ เป็นรูปธรรม ซ่ึงรวมถึงคาสอนของศาสนาต่างๆ ในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการกาหนดความประพฤติ ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ เช่น หลักเบญจศีล และเบญจธรรม ก็เป็นประมวลจริยธรรมประเภทหน่ึง ที่ กาหนดความประพฤติสาหรับมนุษย์ทุกคน แต่จริยธรรมทุกประเภทล้วนมุ่งสู่คุณธรรม ๒ ประการ คือ พึงละเว้นควำมช่วั และพงึ ทำควำมดี ๙. ทฤษฎีหิน กรวด ทรำย คือการเปรียบเทียบว่าน้าเน่าเหมือนความช่ัวร้ายที่จะแทรก ตวั เข้ามาสร้างความเสียหายแก่สังคม ดังนั้นรัฐและองค์กรต่างๆ จึงมีเคร่ืองมือทางสังคมเพ่ือป้องกัน ๓ ประเภท คอื

35 หินก้อนใหญ่ หมายถึงกฎหมายหรือกฎระเบียบ ท่ีรัฐหรือผู้มีอำนำจเป็นผู้กำหนด และเป็นผคู้ วบคมุ แม้จะมหี นิ ก้อนใหญ่หลายก้อนเรียงตัวกันเพือ่ ปกปอ้ ง แต่ก็ยังคงมีช่องว่างระหว่าง หนิ กอ้ นใหญเ่ หล่านน้ั อยู่ดี กรวดก้อนกลำง หมายถงึ ประมวลจริยธรรมหรอื ธรรมนูญหมู่บ้าน ที่สมำชิกในสังคม ร่วมกันกำหนดและร่วมกันควบคุม กรวดก้อนกลางเหล่านี้จะช่วยอุดช่องว่างระหว่างหินก้อนใหญ่ แต่กย็ ังมีช่องว่างเหลอื อยู่ ทรำยละเอยี ด หมายถงึ คณุ ธรรมที่ใชค้ วบคมุ ตนเอง ให้ประพฤติตนโดยคานึงถึงผู้อื่น และส่วนรวมเสมอ ไม่ว่าจะมีผพู้ บเห็นหรอื ไมก่ ต็ าม ซงึ่ ทรายละเอียดนีเ้ องจะเตมิ เตม็ ชอ่ งว่างที่เหลอื ๑๐. การสร้างคุณธรรมเชิงเด่ียว หรือการสร้างค่ำนิยมบางประการ เช่น ความซื่อสัตย์ ความมีวินัย หรือความกตัญญูนั้น หากปราศจากการไตร่ตรองอย่างรอบคอบ ก็อาจเกิดปัญหำเร่ือง ผลประโยชน์ทบั ซอ้ นได้ เช่น กรณีท่ีผู้รักษากฎหมายเลือกท่ีจะตอบแทนบุญคุณโดยใช้อานาจหน้าที่ ชว่ ยเหลือผูม้ ีพระคณุ ที่ทาผิดกฎหมายใหพ้ น้ ผดิ น้ัน ย่อมเกิดความเสยี หายต่อสังคม ดังนั้น ควรสร้ำงหลักกำรของทฤษฎีคุณธรรม ๓ ประกำร ให้เกิดขึ้นเป็นรำกฐำน ในใจก่อนเสมอ ๑๑. กำรเสริมสร้ำงคุณธรรม (Moral Development) ควรดาเนินการท้ังในด้าน “ปัญญำ”และ “ศรัทธำ” เพ่ือนาไปสู่ความประพฤติ ทีค่ รอบคลมุ ท้งั ด้าน “ละเวน้ ควำมชัว่ ” และ “ทำควำมดี” ๑๒. กระบวนกำรเสริมสร้ำงคุณธรรม ประกอบด้วย ๓ ขนั้ ตอน คอื ขั้นตอนท่ี ๑ เป็นการ เรยี นรูเ้ ร่อื งความหมาย หลกั การ หลักวิชา หรือทฤษฎขี องคุณธรรม ขั้นตอนท่ี ๒ เป็นการฝกึ วเิ คราะห์ เร่ืองผลประโยชน์ทับซ้อนโดยใช้ความรู้ในข้ันที่ ๑ เป็นกรอบแนวความคิด ข้ันตอนที่ ๓ เป็นการ รว่ มกันกาหนด ประมวลจริยธรรม และโครงการจิตอาสาต่างๆ การเสริมสร้างคุณธรรมน้นั ควรดาเนนิ การให้เป็นไปตามลาดับข้ันตอน ซึ่งเปรียบได้กับการ กอ่ สรา้ งอาคารทจ่ี ะต้องดาเนินการในขั้นตอนของเสาเข็มก่อน แล้วจึงจะดาเนินการในข้ันตอนของตัว อาคารตอ่ ไป

36 บรรณำนกุ รม กระมล ทองธรรมชาติ และ พรศกั ดิ์ ผ่องแพ้ว. (๒๕๕๑). ข้ำรำชกำรไทย สำนึก และอุดมกำรณ.์ กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . กีรติ บญุ เจอื . (๒๕๕๑). คู่มอื จริยศำสตร์ตำมหลักวิชำสำกล. กรุงเทพฯ : ศูนย์คุณธรรม. พินจิ รัตนกลุ . (๒๕๑๔). เพลโตและปญั หำเกย่ี วกบั คณุ ธรรม. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ ธรรมศาสตร์ .(๒๕๔๓). ปรัชญำควำมรัก. กรุงเทพฯ : สานักพิมพด์ บั เบิ้ลนายน์. ฟน้ื ดอกบัว. (๒๕๔๙).ปวงปรัชญำจนี . กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พ์ศยาม. ราชบณั ฑิตสถาน. (๒๕๔๒).พจนำนุกรม. กรงุ เทพฯ : นานมีบคุ๊ ส์พับลเิ คช่ันส์ ศรุต นาควัชระ. (๒๕๕๘).การเสริมสรา้ งคุณธรรมสาหรบั เยาวชนท่จี ะเปน็ ผนู้ า: โรงพมิ พ์ มหาวิทยาลยั สยาม ศูนย์คุณธรรม. (๒๕๕๑).เปดิ ขอบฟำ้ คุณธรรมจริยธรรม. กรงุ เทพฯ : เชนปริ้นติง้ . . (๒๕๕๐).หนังสอื คมู่ อื กำรจดั กจิ กรรมศำสนสมั พันธใ์ นสถำนศกึ ษำ. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค. สญั ญา สญั ญาววิ ัฒน์. (๒๕๔๒). สงั คมวิทยำปัญหำสังคม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. .(๒๕๔๙).สังคมวิทยำองคก์ ร. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุลกั ษณ์ ศิวรกั ษ.์ (๒๕๔๓). ไครโต. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พ์ศยาม. .(๒๕๔๓).เฟรโด. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพศ์ ยาม. .(๒๕๔๓).ยไู ทโฟร. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์ศยาม. สุวมิ ล ว่องวาณชิ . (๒๕๔๙). นวัตกรรมคุณลกั ษณ์ของผเู้ รยี น. กรุงเทพฯ : ศนู ยค์ ณุ ธรรม. .และคณะ. (๒๕๕๐). รำยงำนวิจยั โครงสร้ำงกำรเรง่ สร้ำงคณุ ลักษณะท่ีดขี องเด็กและ เยำวชนไทย : ศนู ย์คณุ ธรรม. _________________________________________________________

37 คำแนะนำสำหรบั จดั กจิ กรรมเสรมิ สรำ้ งคุณธรรม คำแนะนำ ข้นั ท่ี ๑ : กำรเรยี นรู้ ควำมหมำย หลกั วิชำ วัตถปุ ระสงค์: ในขัน้ นี้ ต้องการสรา้ งความร้คู วามเข้าใจ เรอ่ื งความหมาย และหลกั การของ คณุ ธรรม ในประเด็นต่อไปนี้ ๑. ความดี คือ การกระทาเพ่ือประโยชน์ของผู้อื่น หรือส่วนรวมการกระทาเพื่อตนเอง ไมส่ ามารถเรียกได้วา่ ความดี ๒. การกระทาแต่ละครงั้ แบง่ ไดเ้ ป็น ๓ ระดับ คือ ดี ปกติ และชัว่ ๓. ศีล ๕ ไม่บกพร่อง ก็ยังไม่ได้ทาความดี แต่อยู่ในระดับละเว้นความช่ัว หรือระดับปกติ เทา่ นนั้ ๔. ความดี เป็นเรือ่ งของเจตนา ๕. การทาประโยชน์เพ่ือผู้อ่ืนหรือส่วนรวม ไม่ได้ถูกต้องเสมอไป แต่ต้องพิจารณาระดับ ของส่วนรวมด้วยวา่ การกระทาดงั กลา่ วทาให้สว่ นรวมในระดับทใี่ หญก่ ว่า เสยี หายหรอื ไม่ ประเด็นที่ ๑ ควำมดี คอื กำรกระทำเพ่ือประโยชนข์ องผู้อน่ื หรือสว่ นรวม กำรกระทำเพอ่ื ตนเอง ไม่สำมำรถเรยี กได้ว่ำ ควำมดี พ่ี : นอ้ งๆคะ ทราบไหมวา่ ความดคี อื อะไร ( ใหน้ ้องๆลองออกความเห็น ๒-๓ คน แตไ่ มส่ รปุ ) พ่ี : พ่จี ะเลา่ เร่ืองใหน้ อ้ งๆฟงั แลว้ เรามาชว่ ยกันวเิ คราะห์นะคะ ว่าความดีคืออะไร พ่ี : เอ กับ บี เปน็ นกั เรยี นหอ้ งเดยี วกัน ในวนั นัน้ วิชาของคุณครทู ่ีดุมาก ทั้งคู่ก็เข้าห้องเรียนตรงเวลา แต่เหตผุ ลต่างกนั คือ - เอ เข้าเรียนตรงเวลา เพราะกลัวถกู ครูลงโทษ - สว่ น บี เขา้ เรียนตรงเวลา เพราะอยากให้เพื่อนๆมเี วลาเรยี นอยา่ งเต็มที่ พ่ี : ทงั้ เอ และ บี เขา้ ห้องเรยี นตรงเวลาท้งั สองคนหรอื เปลา่ คะ ( นอ้ งๆจะตอบว่าท้งั สองคน ) พ่ี : เอ และ บี คดิ เหมอื นกนั หรือเปลา่ คะ ( นอ้ งๆจะตอบว่า ไม่ ) พ่ี :เอ เข้าหอ้ งเรยี นตรงเวลาเพราะ.... ( น้องๆจะตอบว่า เพราะกลวั ครลู งโทษ ) พ่ี : แต่ บี เข้าห้องเรียนตรงเวลาเพราะ.... ( น้องๆจะตอบวา่ เพราะอยากให้เพอื่ นมเี วลาเรยี นเยอะๆ) พ่ี : แล้วน้องๆคดิ ว่า ใครทาความดคี ะ เอ หรอื บี ( พอนอ้ งจะตอบ กบ็ อกว่า หยุด อย่าเพงิ่ ตอบ ) พ่ี : กอ่ นทีน่ ้องๆจะตอบ พี่มีเรือ่ งสมมติอกี เรอื่ งหนง่ึ มาเล่าใหน้ อ้ งๆฟงั นะคะ

38 พ่ี : เย็นวันนัน้ ทัง้ เอ และ บี ไปกินกว๋ ยเตยี๋ วกันสองคนขา้ งๆโรงเรียน - ระหว่างท่กี ินกันอยู่นั้น กม็ ีสุนขั สองตวั มากดั กัน ขา้ งโตะ๊ ทที่ ั้งสองคนนงั่ อยู่ - ทัง้ คู่ กช็ ่วยกนั เอานา้ สาดใหส้ นุ ัขแยกจากกนั แตด่ ว้ ยเจตนาตา่ งกัน - เอ ทาเพราะ หนวกหรู าคาญเสยี งสนุ ขั - ส่วน บี ทาเพราะ เกรงวา่ น้องสุนัขจะบาดเจ็บ พ่ี : ทัง้ เอ และ บี ช่วยกนั สาดน้า เพื่อให้สุนัขเลิกกดั กนั ทั้งคู่หรอื เปล่าคะ ( นอ้ งๆจะตอบวา่ ใช่ ) พ่ี : แล้วท้งั สองคน คดิ เหมือนกันหรือเปลา่ คะ ( นอ้ งๆจะตอบว่า ไมใ่ ช่ ) พ่ี :เอ ทาเพราะ.... ( น้องๆจะตอบว่า เพราะราคาญเสียงสุนัข ) พ่ี :บี ทาเพราะ.... ( นอ้ งๆจะตอบวา่ เพราะสงสาร กลวั วา่ สนุ ขั จะบาดเจ็บ ) พ่ี : น้องๆคิดว่าการกระทาของใคร เรยี กไดว้ ่าทาความดคี ะ พ่ี : ใครคิดวา่ เอ ทาความดี ยกมอื (ให้นอ้ งยกมอื ) พ่ี : ใครคิดว่า บี ทาความดี ยกมือ(ให้น้องยกมือ) พ่ี : ( ถามนอ้ งทย่ี กมือ วา่ บี ทาความดี ) ทาไมนอ้ งคิดว่า บี ทาความดีคะ ( น้องจะตอบว่า เพราะ ทาเพือ่ สุนขั ) พ่ี : ก็แสดงวา่ บี ทาความดี เพราะเป็นการทาเพ่ือผอู้ ่นื ใชห่ รอื ไมค่ ะ ( นอ้ งจะตอบว่า ใช่ ) พ่ี : ส่วน เอ นั้น ทาเพราะราคาญเสียงสุนัข เป็นการทาเพื่อตนเอง ไม่สามารถเรียกได้ว่าความดี นอ้ งๆเหน็ ดว้ ยหรือเปล่าคะ ( น้องๆจะตอบว่า เหน็ ด้วย ) พ่ี : ก็สรุปได้ว่า ควำมดี คือ กำรกระทำเพ่ือประโยชน์ของผู้อื่น หรือส่วนรวมกำรกระทำเพ่ือตนเอง น้ัน ไมส่ ำมำรถเรียกได้วำ่ ควำมดี ประเด็นท่ี ๒ กำรกระทำแต่ละคร้ัง แบง่ ไดเ้ ป็น ๓ ระดบั คอื ดี ปกติ และชว่ั พ่ี : กลบั มาทห่ี ้องเรยี น บี เข้าหอ้ งเรียนตรงเวลา เพราะทาเพ่ือเพื่อนๆ เป็นความดีใช่ไหมคะ (น้องๆจะ ตอบว่า ใช่ ) พ่ี : แต่ เอ เข้าห้องเรียนตรงเวลา เพราะกลัวครูลงโทษ เอ ทาเพ่ือใครคะ ( น้องๆจะตอบว่า เพ่ือ ตัวเอง ) พ่ี : จากบทสรุปท่ีแล้ว ว่า การทาเพ่ือตนเอง ไม่สามารถเรียกได้ว่าความดี เอ ทาเพ่ือตัวเอง เรียกว่า ความดหี รอื เปลา่ คะ ( นอ้ งๆจะตอบว่า ไม่ได้เรียกว่าความดี )

39 พ่ี : แล้วน้องคิดว่า เอ ทาความชั่วหรือเปล่าคะ ( น้องๆก็จะตอบว่า ไม่ได้ทาความชั่ว ตอนน้ีน้องจะ แสดงท่างงๆ เพราะเคยร้วู า่ การกระทาของคนเรา มีเพยี ง ๒ แบบ คือ ดีหรือชัว่ เท่าน้นั ) พ่ี :เอ ไมไ่ ด้ทาทัง้ ความดี และความช่ัว ถ้าอยา่ งนั้น เอ ทาอะไร พ่ี : สังคมไทย ที่เคยเช่ือว่า การกระทาของคนเราในแต่ละคร้ัง สามารถแบ่งได้เพียง ๒ ระดับ คือ ดี หรือชั่วเท่านนั้ ก็คงไม่ใช่แลว้ เพราะ น้องๆก็เหน็ แลว้ วา่ เอ ไม่ได้ทาท้งั ความดแี ละความชว่ั พ่ี : ถ้าอย่างนน้ั ก็แสดงวา่ การกระทาของคนเราในแตล่ ะคร้ัง แบ่งได้เปน็ ๓ ระดับ คอื ๑. ดี คือการกระทาเพอ่ื ประโยชน์ของผอู้ ื่นหรือส่วนรวม ๒. ปกติ หรือการละเว้นความช่ัว คือการทาเพื่อตนเอง แต่ก็ไม่ทาให้ผู้อ่ืน หรือส่วนรวม เดอื ดรอ้ น ๓. ช่ัว คอื การทาใหผ้ อู้ ่นื หรอื สว่ นรวมเดอื ดรอ้ น พ่ี : เพราะฉะน้นั การกระทาของ เอ อยูใ่ นระดบั ใดคะ ดี ปกติ หรือชั่ว ( น้องๆจะตอบวา่ ปกติ ) พ่ี : สรุปได้ว่า กำรกระทำแตล่ ะครง้ั แบ่งไดเ้ ป็น ๓ ระดับ คอื ดี ปกติ และชวั่ ประเด็นที่ ๓ ศลี ๕ ไมบ่ กพร่อง ก็ยงั ไมไ่ ด้ทำควำมดี แต่อยใู่ นระดับละเวน้ ควำมช่วั หรือระดับปกตเิ ทำ่ นนั้ พ่ี : น้องๆคะ การที่เรา ถอื ศีลห้าโดยสมบูรณเ์ รยี กได้วา่ ทาความดีหรือยังคะ พ่ี : นอ้ งๆรูใ้ ชไ่ หมคะ ว่าศีล ๕ มอี ะไรบา้ ง(ลองให้น้องๆ ท่องศีล ๕ ใหฟ้ ัง) พ่ี : พีข่ อสมมตเิ หตุการณอ์ ีก ๑ เร่ือง นะคะ พี่ : สมมติว่า ค่าวันหน่ึง น้องเดินไปในซอยเปล่ียวแห่งหน่ึง ก็เห็นผู้ร้าย ๒ คน กาลังรุมทาร้ายเด็กตัว เลก็ ๆคนหนึง่ อยู่ พ่ี : ถ้าน้องยนื ดอู ย่เู ฉยๆ โดยไม่ทาอะไรเลย นอ้ งผิดศีล ๕ หรอื เปลา่ คะ ๑. หา้ มฆ่าสัตว์ นอ้ งก็ไมไ่ ดท้ า ๒. หา้ มลกั ทรัพย์ นอ้ งก็ไม่ไดท้ า ๓. ห้ามประพฤตผิ ิดทางเพศ นอ้ งกไ็ มไ่ ดท้ า ๔. หา้ มพูดปด น้องก็ไม่ไดท้ า ๕. ห้ามดืม่ สุราและของมนึ เมา นอ้ งกไ็ มไ่ ด้ทา พ่ี : เห็นไหมคะ น้องยืนดูเด็กถูกทาร้ายเฉย โดยไม่ได้ทาอะไรเลย น้องไม่ผิดศีล ๕ แม้แต่ข้อเดียว แต่ ถามวา่ นอ้ งทาความดีหรือยังคะ (นอ้ งๆจะตอบวา่ ยงั )

40 พี่ : ยังไม่ได้ทาความดีใช่ไหมคะ หากน้องจะทาความดีต้องให้ความช่วยเหลือในทางท่ีเป็นไปได้ เช่น ตะโกนใหค้ นมาช่วย หรอื รบี แจ้งความแต่คงไมใ่ ช่เข้าไปให้โจรทุบหัวอกี คนนะคะ พ่ี : เพราะแม้ศีล ๕ ไม่บกพร่อง น้องก็แค่ละเว้นความช่ัว หรืออยู่ในข้ันปกติเท่าน้ัน เพราะศีล แปลวา่ ปกตินะคะ พ่ี : หลายคนคงอยากจะถามว่า แลว้ ไมข่ ัดกบั คาสอนของพุทธศาสนาหรอื คะ พ่ี : พุทธศาสนาไดร้ ะบไุ ว้ในโอวาทปาติโมกข์ ๓ ขอ้ คือ ๑. ไมท่ าความชัว่ ๒. ทาความดี ๓. ทาจิตใจให้ผ่องแผ้ว พ่ี : เห็นหรือไม่คะ การละเว้นความชั่วกับการทาความดีน้ัน เป็นคนละเรื่องกัน เพราะถ้าเป็นเร่ือง เดียวกัน ท่านคงไมแ่ ยกเปน็ ๒ ประเด็นว่า ไม่ทาความชั่วกับทาความดี หรอกนะคะ พี่ : การถือศีล ๕ อยู่ในข้ันไม่ทาความชั่วแต่การทาความดีน้ันจะต้องเน้นเพื่อประโยชน์ของผู้อ่ืนเช่น ธรรมะ ๕ ประการ คอื เมตตา กรุณา ตอ่ ผอู้ ่นื เช่นการพดู จาไพเราะเป็นต้น พ่ี : สรุปว่า ศีล ๕ ไม่บกพร่อง ก็ยังไม่ได้ทำควำมดี แต่อยู่ในระดับละเว้นควำมช่ัว หรือระดับปกติ เทำ่ นัน้ ประเด็นท่ี ๔ ควำมดี เปน็ เรอ่ื งของเจตนำ พ่ี : พข่ี อสมมตเิ หตุการณ์อีกเรอ่ื งนะคะ พ่ี : กรณที ่ี ๑ สมมตวิ ่าพข่ี ับรถพาน้องไปเที่ยวทะเลบางแสน ขณะที่แล่นผ่านสะพานข้ามแม่น้าบางปะ กง บังเอิญน้องทาห่วงยางท่ีจะนาไปเล่นน้าทะเล ปลิวตกลงไปในแม่น้า และบังเอิญอีกเช่นกันมีเด็ก กาลังจะจมนา้ ตาย ควา้ หว่ งยางไวไ้ ด้ เดก็ กเ็ ลยรอดตาย พ่ี : กรณีท่ี ๒ คราวนพ้ี ่ีขบั รถเลยไปจอดรมิ สะพานอีกสะพานหน่ึง น้องลงมาเดินเล่นท่ีเชิงสะพาน แล้ว เหน็ เดก็ กาลงั จะจมนา้ ตาย คราวน้ีน้องกระโดดลงไปช่วยอย่างเต็มที่ แต่ช่วยไม่ทันเด็กจมน้าตายไปต่อ หน้าต่อตา พี่ : น้องๆคิดว่ากรณีไหนคะ ท่ีเรียกได้ว่า ทาความดี กรณีที่ ๑ เด็กรอด กรณีที่ ๒ เด็กตาย กรณีไหน นอ้ งทาความดี (น้องๆตอบวา่ กรณีท่ี ๒) พ่ี :เพราะอะไรคะ น้องถงึ ได้คดิ วา่ กรณที ี่ ๒ ทาความดี (น้องๆจะตอบว่า เพราะมีเจตนา) พ่ี :จะสรุปว่า ความดีเปน็ เร่ืองของเจตนาในการกระทา ไม่ใชเ่ รือ่ งผลลพั ธข์ องการกระทา

41 พ่ี :เพื่อวิเคราะหว์ า่ ความดเี ปน็ เรอ่ื งของเจตนาจริงหรอื ไม่ พจ่ี งึ ขอสมมตเิ ร่ืองเพอ่ื ร่วมกันวิเคราะห์ ดังน้ี เดก็ หนุ่มประสบอุบตั ิเหตุตอ้ งได้รับการผ่าตัดดว่ น โรงพยาบาลโทรแจ้งนายแพทย์ชาตรเี วลาตี ๒ นายแพทย์ชาตรีรีบเดินทางมาท่โี รงพยาบาลเพอื่ ช่วยชีวติ คนเจ็บ การผ่าตัดดาเนินไปจนถงึ ๘ โมงเช้าแต่ไม่สามารถช่วยชีวติ คนเจ็บได้ พ่ี : คาถามก็คือนายแพทยช์ าตรที าความดีหรือไม่เพราะไม่สามารถช่วยชีวิตคนเจ็บได้ (น้องๆ จะตอบ ว่าทาความดี) พ่ี : ซึ่งทุกคนย่อมตัดสินได้ว่านายแพทย์ชาตรีทาความดีเพราะมีเจตนาท่ีจะช่วยคนเจ็บจนสุด ความสามารถ พ่ี : จากกรณดี งั กล่าว จงึ สามารถยืนยนั ได้วา่ ความดีเป็นเรื่องของเจตนา พ่ี : สรุปไดว้ า่ ควำมดี เป็นเรือ่ งของเจตนำไมใ่ ชเ่ รื่องของผล ประเด็นที่ ๕ กำรทำประโยชนเ์ พ่ือผูอ้ ื่นหรอื ส่วนรวม ไมไ่ ดถ้ กู ตอ้ งเสมอไป แตต่ ้อง พจิ ำรณำระดบั ของสว่ นรวมดว้ ยว่ำ กำรกระทำดังกล่ำวทำให้ส่วนรวม ในระดบั ท่ีใหญ่กว่ำเสียหำยหรอื ไม่ พ่ี : น้องๆคะ นอ้ งคิดว่าการทาเพื่อผู้อื่น หรือสว่ นรวมถูกต้องทกุ กรณีหรอื ไมค่ ะ พ่ี : พ่มี เี รอื่ งเล่าใหน้ อ้ งๆฟงั อีกหนง่ึ เรอื่ ง เมือ่ จบแลว้ เรามาชว่ ยกันวเิ คราะหน์ ะคะ - เอ ได้รับเลอื กใหเ้ ปน็ ประธานเชยี ร์ ของสเี ขยี ว - เอ ตอ้ งการให้ทีมเชยี รส์ ีเขยี วเด่นกวา่ สอี ่ืน โดยจะใชเ้ สยี งกลอง ใหจ้ ังหวะ - แต่โรงเรยี น ไมย่ อมให้นากลองเข้ามาในโรงเรียน - เอ จึงแอบไปเอาถังขยะหนา้ ห้องเรียนตา่ งๆ มาแทนกลอง - โรงเรียนจงึ ไม่มถี งั ขยะ ทาให้ขยะเกลื่อน แต่สเี ขียวของเธอ โดดเดน่ กวา่ สีอ่ืน พ่ี : การที่ เอ ทาเพ่ือส่วนรวม สเี ขียวของเธอในครั้งนี้ คดิ ว่าถูกตอ้ งหรือไมค่ ะ (นอ้ งจะตอบว่าไม)่ พ่ี : น้องๆเห็นหรือไม่คะว่า แม้ส่วนรวมในระดับสีจะได้ประโยชน์ แต่ส่วนรวมในระดับโรงเรียนกลับ เสียหาย พ่ี : น้องๆคดิ วา่ อยา่ งไรคะ ( ให้โอกาสน้องๆแสดงความคิดเหน็ )

42 พ่ี : สรปุ ไดว้ ่า กำรทำประโยชน์เพื่อผู้อ่ืนหรือส่วนรวม ไม่ได้ถูกต้องเสมอไป แต่ต้องพิจำรณำระดับ ของส่วนรวมดว้ ยว่ำ กำรกระทำดังกลำ่ วทำให้ส่วนรวมในระดับทใ่ี หญก่ ว่ำ เสียหำยหรือไม่ ประเด็นท่ี ๖ คณุ ธรรมเชงิ สัมพทั ธ์ พ่ี : คุณธรรมเชิงสัมพัทธ์คือการเปรยี บเทยี บและเลอื กระดับของสว่ นรวม โดยมีหลักการวา่ การทา เพ่ือตนเองหรือส่วนรวมในระดับท่ีเล็กกวา่ ต้องไมท่ าใหส้ ่วนรวมในระดับท่ีใหญ่กว่าเสยี หาย พี่ : เพื่อขยายคาว่า “ส่วนรวม”ให้เป็นรูปธรรม เข้าใจได้ง่าย เหมาะสมกับเยาวชน จึงกาหนดคาว่า “คณุ ธรรมเชงิ สัมพัทธ”์ โดยแบง่ ระดับผลประโยชน์ท่ีทับซ้อนกัน ๕ ระดับ จากตนเองจนถึงมวลมนุษยชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม พ่ี : พ่ีขอเสนอภาพคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ให้นอ้ งดูนะคะ มนษุ ยชาต,ิ สิง่ แวดลอ้ ม (Earth) อาณาเขต,ประเทศ (Territory) หน่วยงาน,องคก์ าร(Unit) ญาติ,พวกพ้อง(Relative) ตนเอง(Self) พ่ี : คุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ คือ การตัดสินใจเลือกผลประโยชน์ทับซ้อนในระดับที่ต่างกัน โดยต้องเลือก ผลประโยชน์ของส่วนรวม ในระดับท่ีใหญ่กว่าเสมอ ซ่ึงสามารถแบ่งระดับผลประโยชน์ออกเป็น ๕ ระดับ ดงั น้ี ระดับที่ ๑ เพอ่ื ประโยชนข์ องตนเอง(Self) ระดบั ที่ ๒ เพอื่ ประโยชน์ของญาติสนิท มิตรสหาย พวกพอ้ ง หรอื คนใกล้ชดิ (Relative) ระดับที่ ๓ เพื่อประโยชน์ของหน่วยงานหรือองค์กรทตี่ นเป็นสมาชกิ อยู่(Unit) เช่น ห้องเรยี น โรงเรียน แผนก หรอื บรษิ ัท

43 ระดับท่ี ๔ เพอื่ ประโยชนส์ ุขของสังคมในอาณาเขตดินแดนท่ตี นเองเป็นสมาชิกอยู่ (Territory) เชน่ คอนโดมิเนียม หมบู่ า้ น ตาบล อาเภอ จงั หวดั และ ประเทศ หรอื อาเซยี น ระดบั ที่ ๕ เพอ่ื ประโยชน์ของมวลมนษุ ยชาติ และสง่ิ แวดล้อม ซึง่ มีผลตอ่ มนุษยชาติ (Earth) พ่ี : เพอ่ื ให้ง่ายในการทาความเขา้ ใจ พีข่ อสรปุ เรอื่ งคณุ ธรรมเชงิ สัมพทั ธด์ ังนี้ - การทาเพอื่ ตนเอง ต้องไม่ทาให้เพอื่ นๆเดอื ดร้อน - การทาเพือ่ เพือ่ นๆ ต้องไมท่ าให้โรงเรียนเดือดรอ้ น - การทาเพอื่ โรงเรียน ต้องไมท่ าให้จงั หวัดหรอื ประเทศเดือดรอ้ น - การทาเพอื่ ประเทศ ต้องไมท่ าใหโ้ ลกเดือดร้อน พ่ี : หมายความวา่ ตอ้ งคานึงถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนรวมทีใ่ หญ่กวา่ เสมอ พ่ี : พขี่ อยกเรอื่ งตวั อยา่ ง เพอื่ ใหน้ ้องๆร่วมกันวเิ คราะห์ดงั นี้ พ่ี : กรณที ่ี ๑ เอ ซ้อื ซาลาเปา ๒ ลูก กินเอง ๑ ลกู - กรณนี ี้เอทาเพื่อตนเอง แต่ก็ไม่ได้ทาให้คนอนื่ เดือดรอ้ น จึงเป็นการกระทาใน ระดับปกติ พ่ี : กรณที ่ี ๒ บเี พอ่ื นรักบน่ วา่ หวิ เอจงึ แบง่ ซาลาเปาที่เหลือให้บี - กรณีน้ีเอทาเพ่ือผู้อื่น แต่ก็ไม่ได้ทาในระดับที่เหนือกว่าเดือดร้อน จึงเป็นการ กระทาในระดับดี พ่ี : กรณีที่ ๓ บีบ่นว่าเม่ือคืนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีบ้านเสีย จึงเตรียม power point ท่ีจะนาเสนอใน การสอบวันน้ีไม่ทันต้องถูกตัดคะแนนแน่ กังวลมาก เอจึงแอบไปทาให้เคร่ืองฉาย power point ในห้อง สอบเสยี ใชก้ ารไมไ่ ด้จะได้ไมม่ ีการสอบและบีไมถ่ ูกตัดคะแนน - กรณีนี้ แม้เอจะทาเพื่อประโยชน์ของผ้อู น่ื แตก่ ็ทาให้สว่ นรวมที่ใหญ่กว่า เสียหาย จงึ เปน็ การกระทาในระดับชว่ั พ่ี : น้องๆ ต้องระลึกไว้เสมอนะคะ ว่าการมีน้าใจอย่างเดียวไม่พอ แต่ต้องคานึงผลกระทบของส่วนรวม ในระดบั ที่ใหญก่ ว่าเสมอ พ่ี : จากการทเ่ี ราคุยกันมาแล้ว พี่ขอสรุปดังนี้

44 ๑. การกระทาในแตล่ ะคร้ัง แบง่ ไดเ้ ปน็ ๓ ระดับ คอื - ดี คือการกระทาเพื่อประโยชนข์ องผู้อ่ืนหรอื สว่ นรวม - ปกติ หรอื การละเวน้ ความชว่ั คอื การทาเพอื่ ตนเอง แต่ก็ไม่ทาใหผ้ ู้อ่นื หรือสว่ นรวมเดอื ดร้อน - ชัว่ คอื การทาใหผ้ ู้อื่น หรอื ส่วนรวมเดือดรอ้ น ๒. ความดี เป็นเรอ่ื งของเจตนาไมใ่ ชเ่ ร่ืองของผล นะคะ ๓. ข้อสุดทา้ ยสาคญั มากนะคะ คือ การทาเพ่ือตนเอง เพอ่ื ผ้อู ืน่ หรอื ส่วนรวมในระดบั ที่ เล็กกว่าต้องไม่ทาใหส้ ว่ นรวมในระดับทีใ่ หญ่กว่าเดอื ดร้อน ๔. เพือ่ ความชดั เจนขอทบทวนความเขา้ ใจด้วยคาถามดังนี้ - ทาเพือ่ ตนเอง แต่เพื่อนรักไมเ่ ดือดร้อน เป็นการกระทาในระดับใด (น้องๆ จะตอบวา่ ระดับปกติ) - ทาเพื่อเพอ่ื นรกั แตห่ อ้ งเรียนไมเ่ ดอื ดร้อน เปน็ การกระทาในระดับใด (น้องๆจะตอบวา่ ระดบั ดี) - ทาเพอื่ เพือ่ นรกั แตห่ อ้ งเรยี นเดอื ดร้อน เป็นการกระทาในระดบั ใด (นอ้ งๆ จะตอบวา่ ระดบั ชั่ว) ๕. คาถามเพอ่ื ประเมนิ ระดบั ของการกระทา ๓ คาถาม - ทาเพอ่ื ใคร - ใครอน่ื เดอื ดร้อน - เป็นการกระทาระดบั ใด ๖. เพ่อื ให้แน่ใจว่าน้องๆ เขา้ ใจหลกั การ พ่ขี อทดสอบดว้ ยเรอ่ื งตวั อยา่ งนะคะ - เอ ซ้อื ซาลาเปา ๒ ลูก กนิ เอง ๑ ลูก (๑.ทาเพอื่ ใคร/ตนเอง ๒.ใครอน่ื เดือดรอ้ น/ไมม่ ี ๓.เป็นการกระทาระดบั ใด/ปกต)ิ - เอ แบ่งซาลาเปาใหบ้ ี ๑ ลกู (๑.ทาเพ่อื ใคร/เพ่ือน ๒.ใครอ่นื เดอื ดรอ้ น/ ไมม่ ี ๓.เปน็ การกระทาระดับใด/ดี) - เอ แกล้งทาเครอ่ื งฉายในหอ้ งสอบใหเ้ สียเพื่อใหบ้ ไี ม่สอบตก (๑.ทาเพอ่ื ใคร/เพอ่ื น ๒.ใครอ่นื เดือดร้อน/เพ่ือนท้ังห้อง ๓.เปน็ การกระทาระดับใด/ช่ัว)

หมำยเหตุ : ๑. 45 ๒. พยายามใหผ้ ูฟ้ งั มสี ่วนรว่ มตลอดเวลาโดยการตงั้ คาถาม ๓. อาจถามและให้ออกความเหน็ เป็นรายบคุ คล เชน่ ความดีคืออะไร โดยถาม ๒ – ๓ คน แต่ยังไมส่ รุปวา่ ถกู หรือผิด ๔. อาจให้แสดงความเหน็ โดยยกมอื เชน่ ใครคดิ วา่ เอ ทาความดี ยกมอื หรอื ใครคดิ วา่ บี ทาความดี ยกมือ ๕. เลือกเฉพาะผูท้ ่ียกมือตอบถกู ให้แสดงเหตุผล เชน่ ที่นอ้ งคดิ วา่ บี ทาความดี เพราะอะไรคะ (ถามเฉพาะผูท้ ่ีตอบถูกให้แสดงความเหน็ ) สรปุ คาตอบของผู้ท่ตี อบถกู ให้ตรงกับทจี่ ะเสนอแก่ท่ปี ระชุม เช่น ที่น้อง บอกว่า บี ทาความดี เพราะ บี ทาเพ่ือสนุ ัข สรุปวา่ ความดคี ือการกระทา เพอื่ ผอู้ ืน่ ถกู ตอ้ งไหมคะ

46 คำแนะนำขนั้ ที่ ๒ : กำรฝึกวเิ ครำะหเ์ ร่ืองผลประโยชนท์ ับซ้อน วัตถุประสงค์: เพ่ือให้เกิดความจัดเจนและมีทักษะในการตัดสินใจเลือกว่า สิ่งใดพึงกระทา หรือสิ่งใด พึงละเว้น โดยใช้กรอบแนวความคิดจากข้ันที่ ๑โดยพิจารณาจากเจตนา และระดับของส่วนรวม/ คุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ เพื่อวิเคราะห์เรื่องตัวอย่างว่า การกระทาของใครอยู่ในระดับ ดี ปกติ หรือชั่ว พรอ้ มท้งั ใหเ้ หตุผล ในการวเิ คราะห์ ควรมีภาพคณุ ธรรมเชิงสัมพัทธ์ เพื่อประกอบการใช้เหตุผล ในการ ตดั สนิ ใจด้วยเสมอ ในทุกฐาน ก่อนจะนาเสนอเรือ่ งตวั อย่าง ควรทบทวนความเข้าใจ ดว้ ยคาถามดังน้ี คาถาม : ทาเพ่ือตนเอง แต่เพื่อนรักไม่เดือดร้อน เป็นการกระทาในระดับใด (น้องๆจะตอบว่า ระดบั ปกต)ิ คาถาม : ทาเพอื่ เพอ่ื นรัก แตห่ ้องเรียนไมเ่ ดือดรอ้ น เปน็ การกระทาในระดับใด (นอ้ งๆจะตอบว่า ระดับดี) คาถาม : ทาเพื่อเพ่อื นรัก แตห่ ้องเรยี นเดือดร้อน เปน็ การกระทาในระดับใด (น้องๆจะตอบวา่ ระดบั ช่ัว) เรือ่ งตัวอยำ่ งของผลประโยชนท์ บั ซ้อน จำนวน ๒๐เร่ือง ๑. เอ เกบ็ กระเปา๋ เงนิ ได้เอาไปใหค้ รู เพราะอยากใหเ้ พอ่ื นๆ เห็นว่าทาความดี บี เก็บกระเป๋าเงินไดเ้ อาไปใหค้ รู เพราะอยากใหเ้ จ้าของไดค้ ืน โอ เกบ็ กระเป๋าเงินได้แต่เอาเงินไปใชเ้ อง ๒. เอ จอดรถในท่จี อดรถของหา้ งเรยี บร้อย แลว้ ไปซ้ือของ บี จอดรถปิดทา้ ยรถของ เอ แต่ใส่เบรกแลว้ ไปเทยี่ ว จึงทาให้รถ เอ ออกไม่ได้ โอ มาช่วย เอ เข็นรถ แต่รถติดเบรก จึงชว่ ยใหร้ ถ เอ ออกไปไม่ได้ ๓. เอ กนิ กล้วย แล้วราคาญเปลือกกลว้ ย จึงท้งิ เปลือกกลว้ ยในถังขยะ บี กนิ กล้วย แลว้ ราคาญเปลือกกล้วย จึงท้ิงเปลือกกลว้ ยนอกถงั ขยะ โอ เห็นเปลือกกล้วยตกอยนู่ อกถัง กลัวคนอืน่ จะลื่นล้ม จึงเก็บใสถ่ งั ขยะ

47 ๔. เอ คยุ โทรศัพท์เสียงดงั ในหอ้ งสมุด เพอ่ื นราคาญ บี เตอื นให้ เอ หยดุ เพราะราคาญและตนเองอา่ นหนังสอื ไม่รู้เรื่อง โอ เตือนให้ เอ หยุด เพราะไม่อยากให้เพื่อนเดอื ดรอ้ น ๕. เจ ข้ีเกยี จไมย่ อมทาการบ้าน จึงทาใหพ้ ่อ แม่ เสียใจ ครูบี ลงโทษ เจ เพราะอยากให้ เจ มคี วามรู้ ครูโอ ไมล่ งโทษเจ เพราะอยากให้เจรกั เจจึงไมม่ ีความรู้ ๖. เอ เอาร่มใหส้ าวสวย โดยตนเองยอมตากฝน เพราะอยากให้เธอรัก บี เอาร่มใหเ้ ดก็ โดยตนเองยอมตากฝน เพราะเกรงว่าเด็กจะไมส่ บาย ซี แอบเอารม่ ของคนอน่ื ไปใช้ ทาให้เจ้าของร่มตอ้ งเดนิ ตากฝน ๗. เอ เข้าห้องสขุ ามัวแต่เลน่ ไลน์ เพอื่ นต้องคอย บี ปวดท้องจงึ เคาะเตือน เอ เพราะตนเองจะรบี ใชห้ ้อง โอ เคาะเตือน เอ เพราะไมอ่ ยากใหเ้ พื่อนๆ เดือนรอ้ น ๘. โรงงานเอ บาบัดน้าเสีย ยอมกาไรนอ้ ย เพราะกลัวถูกปรบั โรงงานบี บาบดั น้าเสีย ยอมกาไรน้อย เพราะอยากใหช้ มุ ชนสะอาด โรงงานโอ ไม่บาบดั นา้ เสยี เพราะอยากมีกาไรมาก เพื่อเปน็ โบนสั ให้พนกั งาน ๙. บี ตั้งใจเรยี น เพราะอยากมีอนาคต โอ ตง้ั ใจเรียน เพราะอยากให้พ่อแม่ชนื่ ใจ เอ ไม่ตัง้ ใจเรยี น เพราะขีเ้ กียจ จึงทาใหพ้ อ่ แมเ่ สียใจ ๑๐. บี จา่ ยเงิน ๕๐ บาท ซ้อื ก๋วยเต๋ียวกินเอง เพราะหวิ โอ จ่ายเงนิ ๕๐ บาท ซอื้ ก๋วยเตย๋ี วให้คนเรร่ ่อน เพราะสงสาร เอ กนิ กว๋ ยเต๋ียว แล้วไม่ยอมจา่ ยเงิน

48 ๑๑. เอ ไรว้ นิ ยั ขบั รถฝ่าไฟแดง เพราะใจร้อน อาจเกิดอบุ ตั ิเหตุ บี มีวินยั จอดรอไฟแดง เพราะกลัวใบสัง่ โอ มวี นิ ยั จอดรอไฟแดง เพราะอยากให้ทุกคนปลอดภัย ๑๒. โอ โกงการสอบ เพราะข้ีเกยี จอา่ นหนังสอื เอ สจุ รติ ไมโ่ กงการสอบ เพราะกลัวถูกลงโทษ บี สุจรติ ไมโ่ กงการสอบ เพราะอยากให้ทกุ คนสุจริต ๑๓. เอ ตกั บฟุ เฟต์ พอประมาณ เพราะเกรงถกู ตาหนิ โอ ตักบุฟเฟต์ พอประมาณ เพราะอยากให้คนอื่นได้กนิ บี ตักบุฟเฟต์ เหลอื ทง้ิ มากมาย ทาใหห้ ลายคนอดกนิ ๑๔. บี ร่วมจติ อาสา เพราะอยากได้หน้า แตข่ ี้เกียจ จงึ ทาให้ทุกคนเสยี เวลา โอ ร่วมจิตอาสา ทางานเรียบรอ้ ย เพราะอยากไดค้ ะแนน เอ รว่ มจติ อาสา ต้ังใจทางาน เพราะอยากใหบ้ ้านเมอื งสะอาด ๑๕. บี รับผิดชอบทาเวร เพราะกลัวถกู ตาหนิ โอ ขเ้ี กยี จและไมร่ ับผดิ ชอบทาเวร หอ้ งเรยี นจึงสกปรก เอ รบั ผิดชอบทาเวร เพราะอยากใหห้ ้องเรยี นสะอาด ๑๖. โอ รบั ผิดชอบ คืนหนังสอื ตามกาหนด เพราะกลวั โดนปรับ เอ รับผดิ ชอบ คืนหนังสอื ตามกาหนด เพราะอยากให้เพื่อนได้อ่านทันเวลา บี ไม่รบั ผดิ ชอบ คืนหนังสอื ช้า จงึ ทาให้เพ่อื นบางคนทารายงานไม่ทัน ๑๗. รมต.เอ สุจริต ใช้เงนิ เตม็ จานวนสร้างถนน เพราะอยากได้คะแนนเสยี งเลอื กตงั้ รมต.บี สจุ รติ ใชเ้ งินเตม็ จานวนสร้างถนน เพราะอยากใหป้ ระชาชนไดป้ ระโยชน์ รมต.โอ กนั เงนิ สร้างถนนบางสว่ น เพือ่ นามาบารุงพรรคการเมืองของตน

49 ๑๘. เอ ใชน้ า้ ยาเคมีในห้องแลบ็ พอประมาณ เพราะกลัวถกู ตาหนิ บี ใชน้ ้ายาเคมใี นห้องแล็บ พอประมาณ เพราะอยากให้เพอ่ื นมใี ช้ โอ ใชน้ ้ายาเคมีในห้องแลบ็ เหลอื ทง้ิ มาก เพือ่ นบางคนจงึ ไมม่ ีใช้ ๑๙. เอ มีวนิ ัย ส่งการบา้ นตามเวลา เพราะกลวั ถกู ลงโทษ โอ ส่งการบ้านช้า เพราะขี้เกียจ ครูจึงบ่น จึงทาให้เพอื่ นเสียเวลา บี มีวินยั ส่งการบ้านตามเวลา เพราะไม่อยากใหค้ รูบน่ และเพื่อนเสยี เวลา ๒๐. โอ สาวสวยทางานจิตอาสาในส่วนของตนเสร็จ จึงรีบกลับบ้าน เอ อยากเอาใจโอ จงึ อาสาไปส่ง แตง่ านของตนไม่เสรจ็ หอ้ งเรียนจึงสกปรก บี ทางานของตนเสรจ็ และอาสาทางานท่ีเหลือ เพราะอยากใหห้ อ้ งเรยี น สะอาด หมำยเหตุ ๑. เรือ่ งตัวอย่าง อาจเป็นเร่อื งทสี่ มมตขิ น้ึ เรือ่ งจากละคร จากภาพยนตร์ จากโทรทศั น์ จากขา่ วใน สือ่ มวลชน หรอื อาจเปน็ เหตุการณท์ ่ีเกดิ ขึ้นในองค์กรกไ็ ด้ ๒. การวิเคราะหเ์ รือ่ งตัวอยา่ ง จะทาได้หลงั จากทาในข้ันตอนที่ ๑ แล้ว ๓. ในการวิเคราะห์ ควรมภี าพคณุ ธรรมเชงิ สมั พัทธ์ประกอบเสมอและใหน้ ้องๆ เปน็ ผ้ชู ี้ ภาพประกอบเช่น ในเรอื่ งท่ี ๑๐ ซ่ึงจะตอ้ งถามดว้ ย ๓ คาถามเสมอ พ่ี : ๑.บี ทำเพื่อใคร (น้องๆ จะช้ไี ปท่ีระดับตนเองพร้อมกับตอบวา่ ทาเพื่อตนเอง) พ่ี : ๒.ใครอื่นเดอื ดรอ้ น (น้องจะตอบว่า ไมม่ ี) พ่ี : ๓.เป็นกำรกระทำระดบั ใด (น้องจะตอบวา่ ระดับปกตพิ รอ้ มแสดงสญั ญาณมอื ) พ่ี : ๑.โอทำเพ่อื ใคร (น้องจะตอบวา่ คนอื่น และช้ไี ประดับคนใกล้ชดิ ) พ่ี : ๒.ใครอ่ืนเดอื ดรอ้ น (น้องจะตอบวา่ ไมม่ )ี พ่ี : ๓.เป็นกำรกระทำระดับใด (น้องจะตอบว่าระดับทาความดี พร้อมแสดงสญั ญาณมือ) พ่ี : ๑.เอ ทำเพื่อใคร (น้องจะตอบวา่ เพอื่ ตนเอง พร้อมกับชีไ้ ประดับตนเอง) พ่ี : ๒.ใครอน่ื เดอื ดรอ้ น (นอ้ งจะตอบวา่ เจ้าของเดอื ดร้อนและช้ไี ปทีร่ ะดบั พวกพ้อง) พ่ี : ๓.เป็นกำรกระทำระดับใด (น้องจะตอบว่าระดับทาความชัว่ พร้อมแสดงสัญญาณมือ)

50 โครงกำรเสริมสร้ำงคุณธรรมในชัน้ เรียน 1. หลักกำรและเหตผุ ล การเสริมสร้างคุณธรรมมีความสาคัญยิ่งสาหรับสังคมไทย ซ่ึงจะเห็นได้จากการท่ี กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้เปลี่ยนคาขวัญจาก “ควำมรูค้ คู่ ุณธรรม” เปน็ “คณุ ธรรมน้ำควำมรู้” แสดงให้ เห็นว่า คุณธรรมมีความสาคัญสาหรับเยาวชน ดังน้ันการเสริมสร้างคุณธรรมให้เยาวชน จึงเป็นหน้าที่ อันศักดิ์สิทธิ์ที่ทุกภาคส่วนของสังคม ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนจะต้องร่วมกันเร่งรัด ดาเนินการ เพราะเยาวชนทุกคนมีโอกาสท่ีจะเป็นผู้นาในระดับต่าง ๆ กับทั้งมีโอกาสท่ีจะรับผิดชอบ สังคมและบา้ นเมอื งในอนาคต การเสริมสร้างคุณธรรมนั้น จะต้องประกอบด้วยหลักการ 2 ประการ คือ “ปัญญำ” และ “ศรัทธำ” ซ่ึง ปัญญำ หมายถึง ความรู้ว่าส่ิงใดพึงกระทาและส่ิงใดพึงละเว้น ส่วน ศรัทธำ หมายถึง ความเชอ่ื มัน่ ทีจ่ ะปฏบิ ัตติ ามสงิ่ ท่ีรนู้ ัน้ คุณธรรมเชิงเด่ียว เช่น ความซ่ือสัตย์ ความกตัญญู ความมีน้าใจท่ีปฏิบัติต่อคน ใกล้ชิด โดย ไม่คานึงถึงผลเสียที่อาจจะเกิดต่อส่วนรวมนั้น ไม่เพียงพอสาหรับเยาวชนอีกต่อไป เพราะเมื่อเป็น ผู้ใหญ่แล้ว ทุกคนมีโอกาสท่ีจะอยู่ในสถานการณ์ซ่ึงจะต้องตัดสินใจเลือก ผลประโยชน์ทับซ้อนระดับ ต่าง ๆ ตลอดเวลา เช่น ในฐานะผู้รักษากฎหมาย เม่ือผู้มีพระคุณทาผิดกฎหมายร้ายแรง และต้อง เลือกระหว่างความกตัญญู ช่วยเหลือผู้มีพระคุณ ซึ่งเป็นผลประโยชน์ระดับพวกพ้อง หรือจะเลือก รักษาความศักด์ิสิทธ์ิของกฎหมาย ที่เป็นผลประโยชน์ระดับประเทศ ดังนั้นเหตุผลเชิงคุณธรรม (Moral Reasoning)หมายถึง เหตุผลที่อยู่เบ้ืองหลังการตัดสินใจและคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ (Relative Moral) หมายถึงการท่ีจะต้องนึกถึงผลกระทบของส่วนรวมในระดับต่าง ๆ จึงจาเป็นสาหรับเยาวชน มากกวา่ คณุ ธรรมเชิงเดยี่ ว อยา่ งเช่นความกตัญญู เปน็ ต้น โครงการเสริมสร้างคุณธรรมในชั้นเรียนนี้ยึดถือตามหลักการ 2 ประการ คือ ประการแรก ทฤษฏีการพัฒนาเหตุผลเชิงคุณธรรมของ โคลเบิร์ก(Lawrence Kohlberg) ท่ีกล่าวไว้ว่าการพัฒนา เหตุผลเชิงคุณธรรม จะพัฒนาตามระดับสติปัญญาตามวัยหรืออายุและจะเกิดขึ้นจากการอภิปรายข้อ ขัดแย้งเชิงคุณธรรม (Moral Dilemma) บ่อย ๆ หลักการประการที่ 2 คือทฤษฏีการเรียนรู้ของพุทธ ศาสนาทก่ี ลา่ วไว้ว่าการเรยี นร้ตู ้องประกอบดว้ ย 3 ข้นั ตอน คือ ขั้นตอนท่ี 1 สุตตมัยปัญญา หมายถงึ การเรียนรู้จากการฟงั การดู การอา่ น ขั้นตอนท่ี 2 จินตมยั ปัญญา หมายถึงการเรยี นรู้โดยการคดิ พิจารณา ข้ันตอนที่ 3 ภาวนมัยปญั ญา หมายถึงการเรียนร้จู ากการลงมอื กระทา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook