Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1580458517

1580458517

Published by สกร.อำเภอพรรณานิคม, 2020-07-04 00:22:46

Description: 1580458517

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า การพฒั นาอาชีพให้มีความม่นั คง (อช31003) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาหน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็น ของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 32/2555

หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า การพฒั นาอาชีพให้มีความม่นั คง (อช31003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560 ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 32/2555

คาํ นํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เมื่อวันท่ี 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรที่พัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญาและ ความเช่ือพ้ืนฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนท่ีมีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและสั่งสม ความรู และประสบการณอยา งตอเนอื่ ง ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือน นโยบายทางการศึกษาเพ่ือเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพท่ี สามารถสรา งรายไดทีม่ ั่งค่ังและมน่ั คง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมี จิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง และเนื้อหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบาย กระทรวงศกึ ษาธิการ ซงึ่ สงผลใหตอ งปรับปรงุ หนังสือเรยี น โดยการเพิม่ และสอดแทรกเนื้อหาสาระเกยี่ วกับ อาชีพ คุณธรรม จรยิ ธรรมและการเตรยี มพรอมเพือ่ เขา สูประชาคมอาเซยี น ในรายวิชาที่มีความเก่ียวของ สมั พนั ธก ัน แตย ังคงหลักการและวธิ กี ารเดิมในการพัฒนาหนังสอื ท่ใี หผ เู รียนศกึ ษาคน ควา ความรูด ว ยตนเอง ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ทําแบบฝก หัด เพ่อื ทดสอบความรูความเขา ใจ มีการอภปิ รายแลกเปลย่ี นเรียนรูกับกลุม หรือ ศึกษาเพมิ่ เติมจากภมู ิปญญาทองถน่ิ แหลงการเรียนรู และส่อื อ่นื การปรบั ปรงุ หนงั สือเรยี นในครง้ั น้ี ไดร ับความรวมมืออยา งดยี งิ่ จากผูทรงคุณวฒุ ิในแตละสาขาวิชา และผูเ กยี่ วขอ งในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อ ตาง ๆ มา เรียบเรยี งเน้อื หาใหค รบถวนสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรยี นรูทีค่ าดหวงั ตัวช้ีวัดและกรอบเนื้อหาสาระ ของรายวิชา สํานักงาน กศน. ขอขอบคุณผมู สี วนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนังสือเรียน ชดุ นี้จะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเก่ียวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานกั งาน กศน. ขอนอ มรบั ดวยความขอบคุณย่ิง

สารบัญ หนา คาํ นํา 1 คาํ แนะนาํ การใชหนงั สอื เรยี น 2 โครงสรา งรายวิชา การพัฒนาอาชีพใหม ีความมน่ั คง 2 บทท่ี 1 ศกั ยภาพธุรกิจ 8 9 เรอื่ งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั และความจําเปน ของการพฒั นาอาชพี 12 เพื่อความมั่นคง 13 18 เรอ่ื งที่ 2 ความจาํ เปนของการวิเคราะหศกั ยภาพธรุ กจิ 20 เรื่องที่ 3 การวเิ คราะหตําแหนง ธรุ กจิ 22 เรอื่ งท่ี 4 การวเิ คราะหศ ักยภาพธรุ กจิ บนเสน ทางของเวลาตามศกั ยภาพ 23 25 ของแตละพ้ืนที่ 27 บทที่ 2 การจัดทําแผนพฒั นาการตลาด 29 31 เรื่องที่ 1 การกาํ หนดทิศทางการตลาด เปาหมาย กลยทุ ธใ นการขยายอาชีพ 33 เร่ืองที่ 2 การวเิ คราะหกลยทุ ธ 34 เรื่องท่ี 3 การกําหนดกิจกรรม และแผนพัฒนาการตลาด 34 บทท่ี 3 การจัดทําแผนพัฒนาการผลติ หรือการบรกิ าร 37 เรอ่ื งที่ 1 การกาํ หนดคณุ ภาพผลผลิตหรือบรกิ าร 39 เรื่องท่ี 2 การวิเคราะหท นุ ปจจยั การผลิตหรือการบรกิ าร เรื่องที่ 3 การกําหนดเปา หมายการผลติ หรือการบรกิ าร เรื่องที่ 4 การกาํ หนดแผนกิจกรรมการผลิตหรอื การบรกิ าร เรอื่ งท่ี 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร บทท่ี 4 การพัฒนาธุรกิจเชิงรกุ เร่ืองที่ 1 ความจําเปนและคณุ คาของธุรกจิ เชิงรุก เรอ่ื งที่ 2 การแทรกความนิยมเขาสูความตอ งการของผูบ รโิ ภค เรื่องท่ี 3 การสรา งรูปลกั ษณค ณุ ภาพสินคา ใหม เรอ่ื งที่ 4 การพฒั นาอาชีพใหม ีความมนั่ คง

สารบญั (ตอ ) หนา บทท่ี 5 โครงการพฒั นาอาชพี ใหมีความมั่นคง 46 เรื่องท่ี 1 การวเิ คราะหความเปนไปไดข องแผนการผลติ หรือบรกิ าร 47 เร่ืองท่ี 2 การเขยี นโครงการพฒั นาอาชพี สูความมน่ั คง 54 เร่อื งท่ี 3 การตรวจสอบความเปน ไปไดแ ละปรับปรุงแกไ ขโครงการ 61 68 คณะผูจดั ทาํ

คาํ แนะนําการใชหนังสือเรยี น หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชา การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง (อช31003) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนังสือเรียนท่ีจัดทําขึ้นสําหรับผูเรียนท่ีเปนนักศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาการพัฒนาอาชีพใหมีความม่ันคง (อช31003) เลม น้ี ผเู รียนควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสรา งรายวิชาใหเขา ใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวัง และขอบขาย- เน้อื หาของรายวชิ าโดยละเอยี ด 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด แลว ตรวจสอบกับครหู รือผรู ใู นเรอ่ื งนนั้ ๆ ถา ยังไมเขาใจใหกลับไปศกึ ษาและทําความเขา ใจในเนอ้ื หานัน้ ใหม ใหเ ขา ใจ กอ นทจ่ี ะศึกษาเรื่องตอ ๆ ไป 3. หนงั สือเรยี นเลม น้มี ี 5 บทเรียน ประกอบดวย บทท่ี 1 ศกั ยภาพธรุ กจิ บทท่ี 2 การจดั ทําแผนพฒั นาการตลาด บทท่ี 3 การจดั ทาํ แผนพฒั นาการผลิตหรอื การบริการ บทท่ี 4 การพฒั นาธรุ กิจเชงิ รกุ บทที่ 5 โครงการพฒั นาอาชพี ใหม คี วามมัน่ คง

โครงสรา งรายวชิ าการพฒั นาอาชีพใหม คี วามม่ันคง (อช 31003) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สาระสาํ คญั การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง จําเปนตองศึกษาและวิเคราะหศักยภาพของธุรกิจแลวจัดทํา แผนพัฒนาการตลาด การผลติ หรอื การบริการ การพฒั นาธุรกจิ เชิงรกุ และการเขียนโครงการพัฒนาอาชีพ ใหม ีความม่นั คงพรอมท้งั กาํ หนดระบบกํากบั ดแู ลเพ่อื ใหอ าชีพสคู วามม่นั คง ผลการเรียนรูท ่ีคาดหวงั 1. อธบิ ายความหมาย ความสําคัญ ความเขา ใจในการพัฒนาอาชีพใหมีผลิตภัณฑหรืองานบริการ สรางรายไดพอเพยี งตอ การดํารงชวี ติ มเี งนิ ออม และมที นุ ในการขยายอาชพี 2. วเิ คราะหศ กั ยภาพธรุ กจิ การตลาด การผลติ หรือการบรกิ าร แผนธุรกจิ เชิงรกุ เพือ่ สรางธุรกิจ ใหมคี วามมน่ั คง 3. อธิบายวธิ ีการตรวจสอบการพัฒนาอาชีพใหเ ขา สูความมั่นคง 4. ปฏิบัติการจัดทาํ แผนโครงการพฒั นาอาชีพใหมคี วามม่นั คง ขอบขายเนอ้ื หาวิชา บทที่ 1 ศกั ยภาพธรุ กิจ บทท่ี 2 การจดั ทาํ แผนพัฒนาการตลาด บทท่ี 3 การจดั ทําแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ บทที่ 4 การพัฒนาธรุ กิจเชงิ รกุ บทท่ี 5 โครงการพฒั นาอาชีพใหมคี วามม่นั คง

1 บทที่ 1 ศักยภาพธรุ กิจ สาระสาํ คญั การพัฒนาอาชีพจําเปนตองมีการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ ตําแหนงธุรกิจในระยะตาง ๆ และ วิเคราะหศ ักยภาพของธุรกิจบนเสนทางของเวลา เพือ่ สรา งธรุ กจิ ใหม ีความมนั่ คง ผลการเรยี นรูท คี่ าดหวัง 1. อธบิ ายความหมาย ความสาํ คัญและความจาํ เปนของการพฒั นาอาชีพใหม คี วามม่นั คง 2. อธบิ ายความจําเปน ของการวเิ คราะหศ ักยภาพธุรกิจ 3. อธิบายการวิเคราะหต าํ แหนงธรุ กิจในระยะตาง ๆ 4. อธิบายการวเิ คราะหศักยภาพของธุรกจิ บนเสน ทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพน้ื ที่ ขอบขา ยเน้ือหา เร่อื งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพฒั นาอาชพี ใหมคี วามมนั่ คง เรอ่ื งท่ี 2 ความจาํ เปนของการวิเคราะหศกั ยภาพธรุ กจิ เร่อื งท่ี 3 การวเิ คราะหตาํ แหนงธุรกิจ เร่ืองที่ 4 การวเิ คราะหศกั ยภาพธุรกิจบนเสน ทางของเวลาตามศักยภาพของแตล ะพืน้ ท่ี

2 เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั และความจําเปน ของการพัฒนาอาชีพใหมคี วามมนั่ คง 1. ความหมาย ความสําคัญและความจาํ เปน ของการพฒั นาอาชพี การพัฒนาอาชีพ หมายถึง การประกอบอาชีพท่ีมีการพัฒนาสินคาหรือผลิตภัณฑใหตรงกับ ความตองการของลูกคาอยูตลอดเวลา โดยมีสวนครองตลาดไดตามความตองการของผูผลิต แสดงถึง ความมนั่ คงในอาชพี ความม่ันคง หมายถึง การเกิดความแนน และทนทาน ไมกลบั เปน อื่น 2. ความสาํ คัญและความจาํ เปนของการพัฒนาอาชพี ใหม คี วามมัน่ คง ผูประกอบอาชพี จะตอ งมีวสิ ัยทัศนกวางไกล เพอ่ื พจิ ารณาแนวโนมของตลาดและความตองการของ ผูบริโภคเขาสูการแขงขันในตลาดใหได จึงจําเปนตองมีการพัฒนาอาชีพ โดยใหถือวา ลูกคามีความสําคัญ ดังนัน้ การพฒั นาอาชีพใหม คี วามมน่ั คง จงึ มคี วามสําคญั และความจําเปน ดงั นี้ 1. เพ่อื ใหมีสนิ คาทดี่ ตี รงตามความตอ งการของผบู รโิ ภค 2. เพื่อใหผูผลติ ไดม กี ารคิดคนผลติ ภณั ฑหรือสินคา ไดต ลอดเวลา 3. มกี ารนาํ นวตั กรรมและเทคโนโลยเี ขามาใชใ นกระบวนการผลิต เพอ่ื ใหส ินคา มีคณุ ภาพยง่ิ ขึ้น 4. ทําใหเศรษฐกจิ ชุมชนและของประเทศดีขน้ึ 3. ขอ ควรพจิ ารณาในการพัฒนาอาชพี ปจจยั ท่ีทําใหการพฒั นาอาชพี ใหม คี วามมน่ั คงใหสามารถแขงขนั กบั ผูอื่นได มีดงั นี้ 1) ผปู ระกอบอาชีพ ซึง่ อาจจะเปน เจา ของธุรกจิ ผูจ ัดการ ทีมงาน จะตองมคี วามรูเกีย่ วกับการพัฒนา อาชีพน้ัน ๆ รวมถึงทักษะในอาชีพและประสบการณที่เปนประโยชนตอการพัฒนาอาชีพของตน นอกจากนย้ี งั เปนผูรกั ความกา วหนา ไมหยดุ น่งิ กาวทันกระแสโลก กลา คดิ กลา ทาํ ทันสมยั มองโลกในแงดี 2) ปจจัยการผลติ ไดแ ก เงินทุน วัตถดุ บิ แรงงาน สถานท่ียอมตองพัฒนาใหมีคุณภาพมากกวาเดิม แตกตา งและโดดเดนไปจากคูแ ขงอน่ื ๆ 3) โอกาสและสภาพแวดลอมทางธรุ กจิ เชน มตี ลาดรองรับตามนโยบายของรัฐบาลทสี่ ง เสริมจะ ทาํ ใหธรุ กิจเจรญิ กาวหนา 4) ผลกระทบตอ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอมและตองคํานึงถงึ ผลดกี ับทกุ ฝา ย เรือ่ งท่ี 2 ความจาํ เปน ของการวเิ คราะหศ ักยภาพธุรกจิ 1. ศักยภาพของธุรกิจ หมายถึง ธุรกิจท่ีทุกคนที่มีความสามารถพัฒนาสินคาน้ัน ๆ ใหอยูใน ตลาดไดอยางม่ันคง 2. ความจาํ เปน ทจ่ี ะตองวเิ คราะหศ ักยภาพของธรุ กจิ ไดแ ก 1) ทําใหส ามารถขยายตลาดไดก วา งขวางกวา เดิม

3 2) ทําใหล ดความเสย่ี งในการดาํ เนนิ ธรุ กิจ 3) มแี นวทางในการดาํ เนนิ งานอยา งรอบคอบ ปลอดภยั จากการขาดทุน 4) เปนการส่ือสารเกี่ยวกับทิศทางของธุรกิจใหแกผูเกี่ยวของหรือองคกรที่สนับสนุนเงิน ใหท ราบ เพอื่ ใหเ กิดความมัน่ ใจ 5) ในการขยายธุรกจิ มีความเปน ไปได 3. ความคิดรวบยอด 1) องคประกอบท่ีมีความสัมพันธกับความม่ันคงของอาชีพ จะตองมีความตรงกันกับ ปจจัยท่ีสงผลตอศักยภาพในอาชีพ หากมีองคประกอบที่ไมตรง จําเปนท่ีจะตองจัดการใหตรงกันหรือ สัมพันธก ันก็จะทําใหศักยภาพของอาชีพสงู ขนึ้ 2) ศักยภาพของอาชีพสามารถบอกเปนตัวเลขและอธิบายสภาพท่ีปรากฏไดจะทําให ผูป ระกอบการมองเหน็ ขอบกพรอ งและสามารถแกไขขอบกพรอ งพัฒนาอาชีพสูความมนั่ คงได 4. ความหมายของศกั ยภาพในอาชีพ ศักยภาพในอาชีพ หมายถึง ภาวะแฝงหรืออํานาจแฝงท่ีมีอยูในปจจัยดําเนินการอาชีพ ไดแก ทนุ บคุ ลากร วัสดอุ ปุ กรณ และระบบการจัดการนํามาจัดการใหตรงกับองคประกอบความม่ันคง ในอาชพี จะสามารถทาํ ใหอ าชีพมนั่ คงและปรากฏใหป ระจกั ษไ ด 5. ลกั ษณะโครงสรางของศักยภาพในอาชพี โครงสรางของศกั ยภาพในอาชีพ เปนความสมั พันธระหวา งการจัดปจจัยดาํ เนินการของ อาชพี กับองคป ระกอบของการพฒั นาอาชพี ใหม ั่นคง มีลกั ษณะโครงสรางของความสัมพันธตามแผนภูมิ ดังนี้ แผนภมู ิโครงสรางศกั ยภาพการขยายอาชพี ใหมีความมนั่ คง ปจจัยนาํ เขาเพื่อ  ตรงกัน การจัดองคประกอบ  ศกั ยภาพ  ความมน่ั คงของ  สมั พันธกัน การขยายอาชพี พัฒนาอาชีพ = การขยายอาชีพ การขยายอาชพี 1. ทนุ 1. การจดั การลดความเสยี่ งผลผลิต 2. บุคลากร 2. ขอตกลง/มาตรฐานพฒั นาอาชีพ 3. วสั ดุอปุ กรณ 4. การจดั การ

4 จากแผนภูมิแสดงโครงสรางศกั ยภาพการขยายอาชพี ใหมความม่ันคง มีรายละเอยี ด ดังนี้ 1. ปจจยั นําเขา เพอ่ื การขยายอาชีพในแตล ะปจ จยั จะมีตัวแปรรวม ดังนี้ 1.1 ทุน (1) เงนิ ทุน (2) ทดี่ ิน/อาคารสถานท่ี (3) ทุนทางปญญา ไดแ ก - การสรา งความสัมพนั ธก ับลูกคา - องคค วามรทู ีส่ รางข้ึน - ภาพลักษณข องผลผลติ และสถานประกอบการท่จี ะสรางความพอใจกบั ลูกคา 1.2 บคุ ลากร (1) หุนสว น (2) แรงงาน 1.3 วัสดอุ ุปกรณ (1) วตั ถุดิบ (2) อุปกรณเคร่ืองมอื 1.4 การจัดการ (1) การจดั การการผลติ (2) การจดั การการตลาด 2. การจัดองคประกอบพฒั นาอาชพี มปี จ จยั และตัวแปรรวม ดงั นี้ 1.1 องคประกอบดานการจัดการลดความเสีย่ งผลผลิต (1) ความหลากหลายทางชีวภาพ (2) การเพม่ิ ผลผลติ (3) การจัดการหมุนเวยี นเปล่ียนรูป (4) การจดั การรายไดใหหมนุ เวยี นกลบั มาสกู ารขยายอาชีพ 1.2 ขอตกลง/มาตรฐานพัฒนาอาชีพ (1) คุณภาพผลผลติ (2) การลดตนทุน (3) การสง มอบ (4) ความปลอดภยั

5 3. ศักยภาพการขยายอาชพี เปนตัวเลขบง ชค้ี วามตรงกนั หรอื ความสมั พันธร ะหวา งปจ จัย- นําเขา กบั การจดั องคประกอบพฒั นาอาชพี ดงั น้ี 3.1 ประสิทธิภาพรวมของการดําเนนิ การขยายอาชีพ ซึง่ เปนตัวเลขผนั แปร ระหวาง -1 ถงึ 1 โดยมีเกณฑก ารประเมินดงั นี้ ต่ํากวา 0.5 = การขยายอาชพี มศี กั ยภาพตํา่ ตอ งแกไ ข สงู กวา 0.5 – 0.75 = การขยายอาชพี มศี กั ยภาพ สงู กวา 0.75 = การขยายอาชีพมีศักยภาพสงู 3.2 ประสิทธภิ าพแตละปจ จัย ตอ งมคี า 0.5 ขน้ึ ไปถึงจะยอมรับได แตถาหากต่าํ กวา ก็ควรดาํ เนินการแกไขพัฒนา 3.3 ในการวิเคราะหศักยภาพในธุรกิจดานการวิเคราะหค วามตรงกนั หรือความสัมพันธกัน ระหวางปจจัยนําเขาดําเนินการขยายอาชีพกับองคประกอบการพัฒนาอาชีพ ของผูเช่ียวชาญและ ผเู กี่ยวขอ งกับการประกอบการขยายอาชีพ จํานวน 3 – 5 คน ดําเนินการวิเคราะหแลวนํามาประมวลผล ตามตารางวิเคราะห ดังนี้ ตารางที่ 1 ตารางวเิ คราะหศ กั ยภาพธุรกจิ ปจ จยั นาํ เขา ทุนดาํ เนินการ บุคลากร วัดสุอปุ กรณ การจัดการ ศักยภาพ ขยายอาชีพ รายขอ องคประกอบ พัฒนาอาชีพ 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1. ความหลากหลาย ทางชีวภาพ 2. การเพิม่ ของผลติ 3. การหมนุ เวยี น เปล่ียนรูป 4. การจัดการรายได 5. คณุ ภาพผลผลิต 6. การลดตน ทนุ 7. การสงมอบผลผลิต 8. ความปลอดภยั รวม

6 3.4 ดําเนินการวิเคราะหเพ่ือสรุปศักยภาพการขยายอาชีพดวยการใชผูเชี่ยวชาญ จาํ นวน 3 – 5 คน ตรวจสอบพจิ ารณาความตรงกนั หรอื สมั พนั ธก นั ระหวา งองคป ระกอบพัฒนาอาชีพใน แตล ะขอ กบั ปจจยั นําเขา ขยายอาชพี โดยมเี กณฑพิจารณา ดงั นี้ ใหคะแนน 1 หมายถึง มคี วามตรงกนั หรือความสัมพนั ธก ัน ใหค ะแนน 0 หมายถึง เฉย ๆ ไมม ีความเห็น ใหคะแนน – 1 หมายถึง ไมต รงกนั 3.5 ดําเนนิ การประมวลผล เพอ่ื สรุปผลและอภปิ รายผลศกั ยภาพการขยายอาชีพดวย การนาํ ผลการวเิ คราะหของทุกคนมาคิดหาคาเฉล่ีย ดงั น้ี ตารางที่ 2 ตารางสรุปผลศกั ยภาพการขยายอาชพี ปจจัยนาํ เขา ขยายอาชีพ ทุนดําเนนิ การ บคุ ลากร วดั สอุ ุปกรณ การจดั การ ศักยภาพ องคป ระกอบ 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 รายขอ พัฒนาอาชพี 23 - 1. ความหลากหลาย 4 - 13 - 2 4 1 - 0.50 ทางชวี ภาพ 2. การเพิม่ ของผลิต 5 - - 2 3 - 2 3 - 4 1 - 0.65 3. การหมนุ เวียน 5 - -23- 14 - 41 - 0.60 เปลี่ยนรูป 4. การจดั การ 1 4 - 2 3 - 2 3 - 4 - 1 0.40 รายได 5. คณุ ภาพ 4 1 - 3 2 - 3 2 - 4 1 - 0.70 ผลผลติ 6. การลดตน ทนุ 5 - - 5 - - - 1 4 3 - 2 0.35 7. การสงมอบ 1 - 4 2 - 3 1 - 4 2 - 3 -0.40 ผลผลติ 8. ความปลอดภัย 2 3 - 5 - - 3 2 - 5 - - 0.75 รวม 0.55 0.45 0.225 0.60 0.36

7 ผลการวิเคราะหส ามารถอธิบายไดว า (1) ภาพรวมของศกั ยภาพ มคี ะแนน 0.36 อาจบอกไดว า การขยายอาชีพมศี ักยภาพไมถึงเกณฑ (2) เมื่อพิจารณาดา นปจจัยนาํ เขา พบวา ปจจัยดานบุคลากรและวสั ดอุ ปุ กรณมศี ักยภาพไมถ ึงเกณฑ (3) เมอ่ื พิจารณาดา นองคประกอบพฒั นาอาชีพ พบวา องคประกอบดานการจัดการรายไดการลด ตน ทุนและการสงมอบผลผลิตมศี กั ยภาพไมถงึ เกณฑ (4) ผลการวเิ คราะหอาจสรุปไดว าการขยายอาชีพของผูประกอบการรายน้มี ีศกั ยภาพตํ่ากวา เกณฑที่ กาํ หนดจาํ เปน ตองทบทวนพฒั นาใหม การระบุปจ จัยและองคประกอบทม่ี ีและไมม ีศกั ยภาพ การระบุปจ จยั และองคประกอบทีม่ แี ละไมม ีศักยภาพได จากการนาํ ผลการวเิ คราะหและประเมิน ศกั ยภาพในธรุ กจิ มาพจิ ารณา อภปิ รายเหตุ และผลที่นาํ ไปสกู ารพฒั นา มีขน้ั ตอนดงั นี้ 1) ตรวจสอบผลการวิเคราะหองคป ระกอบท่ีมคี ะแนนต่าํ กวาเกณฑ วามีองคประกอบอะไรบาง 2) พจิ ารณาองคป ระกอบท่พี บวาตํา่ กวา เกณฑแ ลว นาํ มาพิจารณาสภาพภายในวา ความตรงกนั กบั ปจ จัยนําเขาขยายอาชีพ มีสภาพเปน อยางไรแลว คดิ ทบทวนหาเหตุ หาผลวามาจากอะไร ตารางท่ี 3 องคประกอบของการพฒั นาอาชีพ ปจ จยั นาํ เขา ทุนดาํ เนินการ บุคลากร วดั สอุ ุปกรณ การจดั การ ศักยภาพ ขยายอาชพี 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 รายขอ องคป ระกอบ 0.40 พัฒนาอาชพี 4. การจดั การรายได 1 4 - 2 3 - 2 3 - 4 - 1 จากตารางแสดงตัวอยางขางตนพบวา องคประกอบของการพัฒนาอาชีพในรายการท่ี 4 เรื่อง การ จัดการรายได มีคะแนนศักยภาพ 0.40 ตํ่ากวาเกณฑท่ียอมรับได จึงจําเปนที่เราตองพัฒนา ดังนั้น จึงตอง มาพิจารณาดา นปจจัยนําเขาซ่ึงเปนตัวท่ีมีภาวะแฝง สามารถทําใหอาชีพพัฒนาและปรากฏใหประจักษได ดังนี้ 1. ดา นทุนดาํ เนนิ การ ทจ่ี ะใชข บั เคลือ่ นการจดั การรายได ขาดความชัดเจน 2. บคุ ลากรดาํ เนนิ การ ผเู ช่ยี วชาญมองเหน็ วา ไมชดั เจน 3. วัสดอุ ปุ กรณ ผเู ชี่ยวชาญมองเห็นวา ไมชัดเจน ท้ัง 3 ปจจัยสงผลตอศักยภาพการจัดการรายได จึงจําเปนตองมีการทบทวนกําหนด แนวทางพัฒนาอาชพี ใหมคี วามมัน่ คง

8 ใบงานท่ี 1 คําส่ัง ใหผูเรียนวิเคราะหศักยภาพธุรกิจของตนเอง หรือธุรกิจของผูประสบความสําเร็จในอาชีพตาม รูปแบบตารางการวเิ คราะหท กี่ าํ หนด และประเมนิ ผลดังน้ี 1. ภาพรวมของศกั ยภาพธุรกิจอยรู ะดบั ใด 2. ศกั ยภาพใดบา งท่ีถึงเกณฑ และศกั ยภาพใดบางท่ีไมถ งึ เกณฑ 3. ศักยภาพท่ไี มถงึ เกณฑทานมแี นวทางในการพัฒนาอยางไร เร่ืองท่ี 3 การวเิ คราะหตําแหนงธรุ กจิ การเขาสูอาชีพเมื่อดําเนินธุรกิจไปจนประสบผลสําเร็จ มักจะถูกจับตามองและทําตามกันมา สวน แบง การตลาดจงึ มขี นาดเลก็ ลงโดยลาํ ดบั จนถึงวันที่จะเกิดวิกฤติ จึงมีความจําเปนตองพัฒนาหรือขยาย ขอบขา ยอาชีพออกไปหรือเรียนรูทาํ ในสิ่งท่คี นอื่นทาํ ไมได เพอื่ ใหอยูไดอ ยางมั่นคงยงั่ ยนื การพัฒนาหรือ ขยายอาชพี จะตอ งวเิ คราะหแ ละประเมินศักยภาพของธุรกจิ วาอยูในตําแหนงธรุ กจิ ระดับใด ดงั นี้ 1. ธุรกิจระยะเรม่ิ ตน 4. ธุรกจิ ตกตา่ํ หรือสงู ขึ้นถา ไมมี การพัฒนา การพฒั นาธรุ กิจจะเปน ขาลง จาํ เปนตอ งขยายขอบขา ย จงึ มีความตองการตองการ ใชนวตั กรรม/เทคโนโลยเี ขา มาใช งาน 3. ธุรกิจทรงตวั จะมผี คู นเขา มาเรยี นรูท ําตาม ทาํ ใหเกดิ วกิ ฤติสวนแบงตลาด 2. ธุรกจิ อยูในระยะสรา งตวั จะมคี นจบั ตามองพรอมทํา แผนภูมกิ ารวเิ คราะหต ําแหนง ธุรกิจ

9 จากแผนภมู กิ ารวิเคราะหต ําแหนงธุรกจิ มีรายละเอียด ดงั นี้ 1. ระยะเริ่มตน เปนระยะเริ่มตนของการทําธุรกิจ จึงตองมีการพัฒนาใหธุรกิจอยูไดเปน ระยะที่ผูประกอบการจะตอ งประชาสัมพนั ธสนิ คาและบริการใหลูกคารูจัก 2. ระยะสรา งตัว เปน ระยะที่ธุรกิจเตบิ โตมาดวยดี มกั จะมีคนจับตามองพรอมคาํ ถาม 3. ระยะทรงตวั เปน ระยะทีธ่ รุ กจิ อยนู ่ิง ไมม ีการขยายตลาด ไมม กี ารพัฒนาสบื เนื่องมาจาก ระยะที่ 3 ทมี่ ผี ูป ระกอบการอ่ืน ๆ ทาํ ตาม จงึ ทาํ ใหม ีสวนแบงของตลาด 4. ระยะตกต่ําหรือสงู ข้นึ เปนระยะท่ถี า ไมมกี ารพัฒนาธุรกิจก็จะอยูในขาลง ถามีการพัฒนา ธุรกจิ จากระยะทรงตวั ก็จะทาํ ใหธรุ กจิ อยใู นขาขน้ึ เรอื่ งท่ี 4 การวเิ คราะหศ กั ยภาพธรุ กิจบนเสน ทางของเวลาตามศกั ยภาพของแตล ะพ้นื ท่ี 1. เสนทางของเวลา หมายถงึ วัฎจักรของการประกอบอาชีพ ธุรกิจ สินคาหรือบริการ ในชว งระยะเวลาหน่งึ ของการดําเนนิ การ 2. การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพ้ืนท่ี คือ การแยกแยะกระบวนการทางธุรกิจ หรือการดําเนินการดานอาชีพหรือการประกอบอาชีพ โดยแบงตาม ชวงระยะเวลาดําเนินกิจกรรม และมีเปาหมาย คือ ผลการประกอบการในชวงเวลา ทําใหมองเห็น ความกาวหนา ความสําเร็จในแตล ะภารกิจ ดว ยการกําหนดกิจกรรมพรอมกํากับเวลาที่ตองใชจริง เขียน เปนผงั การไหลของงาน เพอื่ ใชเฝา ระวังการดําเนนิ งาน การจัดทําผังการไหลของงานในแตละภารกิจให กาํ หนดดงั นี้ 1) กําหนดงาน/อาชีพออกเปน เรื่องสาํ คัญ 2) นํากจิ กรรมออกมาจัดลําดับขัน้ ตอนกอ นหลงั 3) นาํ ลกั ษณะบง ชค้ี วามสาํ เรจ็ ออกมากําหนดเปนผลการดาํ เนนิ งาน 4) จัดทาํ ผงั ของงานในรูปแบบใดกไ็ ดใหผปู ระกอบอาชีพมีความเขา ใจดี

การบรหิ าร วางแผน ผงั การไหลของปลกู มะละกอ จดั จําหนา ย 10 จดั การ การผลติ เตรียม สรุป ขยายอาชพี ปจ จัยปลูก ยอดขาย ปลกู มะละกอ ปลกู มะละกอ 5 ไร การผลติ ทํา บํารงุ ปลกู บํารงุ เกบ็ เกีย่ ว มะละกอ ปุยหมัก ดิน มะละกอ รกั ษา ชว งเวลา (สัปดาห) 1 2 3 4-14 15 16-24 25 26 การปลูกผกั อินทรียใ ชเวลา 8 สัปดาห การทํางาน มี 2 ลักษณะ คือ การบริหารจดั การ และการปลูกผกั ตอ งจดั ผงั การไหลของงานใหเ หน็ การทํางานกอนหลงั ตงั้ แตเ ร่ิมตน จนจบ เพื่อใหม องเหน็ เสนทางของการปลูกพืช ซึง่ เราสามารถใชผ ังการไหลกํากบั ดูแลการขยายอาชพี ได ดงั นี้ 1) นาํ ผังการไหลของงานติดผนังใหม องเหน็ 2) ตดิ ตามระยะเวลาตามผังการไหลของงาน วันทก่ี าํ หนดกจิ กรรมดาํ เนินการเสร็จหรือไม ถาเสร็จกท็ ําเคร่อื งหมายบอกใหรูว าเสรจ็ 3) ถาไมเ สร็จผูประกอบการจะตอ งติดตาม คน หาสาเหตุแลวปฏบิ ตั ิการแกไขขอบกพรอง 4) ดาํ เนนิ การปรบั ระยะเวลาในผงั การไหลของงานใหเ ปนความจรงิ ประเมินผลและกาํ กับ ดแู ล วา มีงานสว นใดประสบผลสาํ เรจ็ บา ง และสําเร็จไดเ พราะอะไร เปน เหตุ จากน้นั ดวู า สว นใดทไ่ี มป ระสบผลสําเรจ็ และมอี ะไรเปนเหตุ นําผลท้ังความสําเรจ็ และความเสียหาย มาสรุปผล เพื่อนาํ ผลกลับมาแกไขแผนกลยทุ ธและแผนปฏบิ ัติการใหมปี ระสิทธิภาพได 3. ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพ้นื ท่ี ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถงึ สิ่งที่เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ ซึง่ มนษุ ยสามารถนําไปใชใ หเกิด ประโยชนต อชีวติ ประจาํ วนั และการประกอบอาชีพได เชน การวางแผนปลูกมะละกอ มแี หลงนาํ้ เพียงพอตอ ระยะเวลาในการปลูกหรือไม และความอุดมสมบูรณข องดินมีมากนอ ยเพยี งใด ซึ่งจะสงผลตอการปรับปรุงดิน และการใสปยุ มะละกอ

11 4. ศกั ยภาพของพืน้ ทตี่ ามลกั ษณะภูมอิ ากาศ ลกั ษณะภมู ิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจาํ ทองถ่ินในชว งระยะเวลาหนง่ึ ซึ่งมีอิทธิพล ตอการประกอบอาชพี ในแตล ะพ้นื ทีม่ ีสภาพอากาศท่ีแตกตางกนั เชน การเตรียมปจจัยการปลูกมะละกอ เก่ียวกับเมล็ดพันธุ ควรเลือกพันธุใหเหมาะสมกับฤดูกาล เพราะจะทําใหมะละกอเจริญเติบโตดี และ ใหผ ลผลติ ตรงตามสายพันธุ 5. ศกั ยภาพของภมู ิประเทศ และทําเลทีต่ ง้ั ของแตล ะพน้ื ท่ี ภมู ิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผนดนิ ทม่ี ลี กั ษณะเปนพื้นท่ีประกอบการท่ีมี ความสงู ต่าํ ทรี่ าบลมุ ที่ราบสูง ภเู ขา แมน ํา้ ทะเล เปนตน โดยเฉพาะในการปลกู มะละกอ ควรเลอื กพ้ืนที่ท่ีสูง ใกลแหลง นํ้า และน้ําไมทว มขงั 6. ศกั ยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชวี ติ ของแตล ะพื้นท่ี ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หมายถึง ความเชือ่ การกระทาํ ท่ีมกี ารปฏิบัติสบื เนอ่ื งกนั มาเปน เอกลักษณ และมคี วามสาํ คัญตอ สงั คม ในแตล ะภาคของประเทศไทย มวี ิถีชีวติ การเปน อยู การประกอบอาชพี และการบรโิ ภคที่ แตกตา งกัน เชน บางแหง ปลูกมะละกอเพือ่ สง โรงงาน หรอื บางแหง ปลูกมะละกอเพ่ือบริโภค เปนตน 7. ศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ยใ นแตล ะพน้ื ที่ ทรัพยากรมนุษยใ นแตล ะพ้นื ที่ หมายถึง ความรู ความสามารถของมนษุ ยท เ่ี ปนภูมิรู ภมู ปิ ญ ญา ทง้ั ในอดีตและปจจบุ นั ตา งกัน ในแตละทอ งถิน่ มคี วามถนดั และความชาํ นาญในการบาํ รุงรักษา เก็บเกีย่ ว และจดั จาํ หนายทีไ่ มเหมือนกันสง ผลใหผลผลิตและรายไดต างกัน ใบงานที่ 2 คําสัง่ ใหผูเ รียนจัดทาํ ผงั การไหลของงานการขยายอาชพี ของตนเอง หรอื อาชพี ของผปู ระสบความสําเร็จ จากการประกอบอาชพี

12 บทท่ี 2 การจดั ทําแผนพฒั นาการตลาด สาระสาํ คัญ การจัดทําแผนพัฒนาการตลาดของสินคาใหสามารถแขงขันได โดยการกําหนดเปาหมายและ กลยุทธต าง ๆ เพือ่ ใหบ รรลเุ ปา หมายของกจิ กรรมทางการตลาดที่กําหนดไว ลักษณะบง ชี้ความสาํ เร็จของการเรียนรู 1. อธบิ ายการกําหนดทศิ ทางและเปา หมายการตลาดของสนิ คา หรอื บรกิ ารได 2. อธบิ ายการกาํ หนดและวิเคราะหกลยุทธส ูเ ปาหมายการตลาดได 3. อธิบายการกําหนดกิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาดได ขอบขา ยเนอื้ หา เรอ่ื งท่ี 1 การกําหนดทศิ ทางการตลาด เปาหมาย กลยุทธในการขยายอาชพี เรือ่ งที่ 2 การวเิ คราะหก ลยุทธ เรื่องที่ 3 การกําหนดกจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาด

13 เร่ืองท่ี 1 การกาํ หนดทิศทางการตลาด เปา หมาย กลยุทธใ นการขยายอาชีพ ความคดิ รวบยอด การทําธรุ กิจไมว าจะทําระดับใด จําเปนตองมีทิศทางใหมองเห็นผลสําเร็จ ภาระงานท่ี จะตองทําและกลยุทธสูความสําเรจ็ ใชเ ปนความคิดสกู ารปฏิบัตจิ ริง เปนการกําหนดอนาคตของธุรกิจให เดนิ ไปในทศิ ทางทตี่ อ งการอยา งมน่ั คงและยัง่ ยืนได 1. ขัน้ ตอนการดําเนนิ งาน 1. ทศิ ทางการตลาด 2. เปาหมายการตลาด 3. แผนกลยทุ ธ วสิ ยั ทศั น กลยุทธ แผนกลยุทธ พนั ธกิจ จากแผนภมู ิ ทาํ ใหม องเหน็ วาการกาํ หนดทิศทางการตลาด กลยทุ ธ การขยายอาชพี ประกอบดว ย 1. การกําหนดทิศทางธุรกิจ ประกอบดวย วิสัยทัศนที่ตองการใหเกิดอยางมีความพอดี และ พันธกิจสาํ คญั ท่ีจะนําไปสูความสาํ เร็จ 2. การกําหนดเปาหมายการตลาดหรือวิธีการสรางความสําเร็จตามพันธกิจ จะตองมีเปาหมาย อยางชัดเจน 3. การกําหนดแผนกลยุทธดวยการนําเปาหมายการตลาดมาวิเคราะหใหมองเห็นตัวบงชี้ ความสําเร็จ ปจ จัยนําเขาที่สําคัญและกิจกรรมที่จําเปนตองทําเปนแผนทิศทางไปสูความสําเร็จของการ ดําเนนิ ธรุ กิจ 2. รายละเอยี ดการดาํ เนินงาน 2.1 การกาํ หนดทศิ ทางการตลาด เปน การคดิ ใหม องเห็นอนาคตของการขยายอาชพี ใหมีความพอดี จะตอ งกําหนดใหไดวาแตล ะ ชวงระยะควรจะไปถึงไหน อยางไร ซ่ึงประกอบดวย ขอความวิสัยทัศนวาจะไปถึงไหน และขอความ พันธกจิ วา จะไปอยา งไร โดยมีวธิ ีการคิดและเขยี นดงั น้ี

14 1) การเขียนขอความวิสัยทัศน การขยายอาชีพ มีลักษณะโครงสรางการเขียนมีลักษณะที่ ประกอบดวย ก. ชวงระยะเวลาท่สี ้นิ ไปสดุ ทางของการขยายอาชพี ในชว งน้ี จะเปนระยะเวลา ก่ปี  พ.ศ. อะไร ข. ความคดิ เปาหมาย ลักษณะความสาํ เรจ็ ผูประกอบอาชพี จะไปถึงอยางมีความพอดี และ ทาทายความสามารถของเรา คืออะไร ตัวอยา งขอความวสิ ยั ทัศน “ พ.ศ. 2551 ไรท นเหน่ือยผลิตผกั สดผลไมเ กษตรอินทรยี เขาสูต ลาดคณุ ภาพประเทศสงิ คโปร จากขอความวสิ ัยทัศนต ามตวั อยางขางตน โครงสรา งการเขยี นมลี ักษณะ ดงั นี้ ก. ชวงระยะเวลาทจ่ี ะไปสุดทาง คือ ป พ.ศ. 2551 ข. ขอ ความความคดิ ลักษณะความสําเรจ็ ท่จี ะไปถึงอยางมีความพอดีและทาทาย คือไรทนเหน่ือย สามารถผลติ ผักสด ผลไม เกษตรอินทรียเขาสูตลาดคุณภาพประเทศสิงคโปรได จึงอาจสรุปไดวา การ กําหนดวิสัยทัศน ไมใชเปนการกําหนด เพื่อความนาสนใจแตเปนการกําหนดใหมองเห็นทิศทางของ ธุรกจิ ที่จะดาํ เนินการในอนาคตได 2) การเขยี นพันธกิจ เปนการดําเนินการตอเน่ืองจากการกาํ หนดวิสัยทศั นว า เราจะตอ งมีภารกิจท่ี สําคญั อะไรบาง โดยมีแนวทางการคดิ และเขยี นดังนี้ 2.1 การวเิ คราะหว า หากจะใหเกิดความสาํ เรจ็ ตามวิสัยทศั นจะตอ งมพี นั ธกจิ อะไรบา งในทาง ธุรกิจมีภาระทสี่ ําคญั 4 ประการ คือ ก. ภารกิจดา นทนุ ดําเนนิ การ ข. ภารกิจดานลกู คา ค. ภารกิจดานผลผลติ ง. ภารกิจดา นการเรยี นรูพ ฒั นาตนเองและองคก ร ดงั น้นั การดาํ เนนิ การขยายอาชพี อาจใชพ ันธกิจ ทั้ง 4 กรณี มาคดิ เขียนพันธกจิ นาํ ไปสคู วามสาํ เร็จได 2.2 โครงสรางการเขยี นพนั ธกจิ มอี งคป ระกอบรว ม 3 ดาน คอื ก. ทาํ อะไร (บอกภารกิจสําคญั ทก่ี ระทบตอความสาํ เรจ็ ) ข. ทาํ ไมตองทาํ (บอกเหตุผลหรือจุดประสงค) ค. ทําอยางไร (บอกวิธดี ําเนินการทีส่ าํ คญั และสง ผลตอความสาํ เรจ็ จรงิ )

15 ง. ตัวอยางขอ ความพนั ธกจิ ของไรท นเหนอื่ ย 1. ขยายพื้นที่การผลิต 20 ไร เพื่อใชผลิตผักสดอินทรียดวยการพัฒนาคุณภาพดินดวยปุยพืชสด เพ่มิ แรงงาน 10 คน จดั หานา้ํ ใหไดวนั ละ 300 ลกู บาศกเมตร 2. สรา งความเชอ่ื ถอื ใหก บั ลูกคา เพ่อื ขยายการตลาดดวยการจัดทําเว็บไซตของตนเอง จัดทําสารคดี เผยแพร สัปดาหละ 1 เรื่อง และเว็บบอรด แลกเปล่ียนเรยี นรูก ับลูกคาและผูสนใจ 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตใหเปนไปตามมาตรฐานเกษตรอินทรียยุโรป เพ่ือใหสามารถสงออก ตา งประเทศได ดวยการพฒั นาคณุ ภาพดินไมใ หป นเปอ นโลหะหนกั และจัดการแปลงเกษตรให เปน ระบบนิเวศธรรมชาติ 4. พัฒนาคนงานใหท าํ งานตามข้นั ตอนเพื่อติดตามหาขอ บกพรองและปฏบิ ตั กิ ารแกไ ขขอ บกพรองได ดวยการสรางความตระหนักใหเห็นความสําคัญของมาตรฐานคุณภาพและรวมเขียนเอกสาร ขั้นตอนการทาํ งาน จากตัวอยางขอความพันธกจิ ของไรท นเหนื่อยขางตนสามารถนํามาจําแนกขอความตามลักษณะ โครงสรางการเขียนไดด งั น้ี ทาํ อะไร ทาํ ไมตอ งทาํ ทําอยา งไร 1. ขยายพ้นื ทก่ี ารผลิต 20 ไร เพอ่ื ใชผ ลิตผักสดอินทรีย โดยการพัฒนาคุณภาพดนิ ดว ยปุย พืชสด เพ่มิ แรงงาน 10 คน จดั หา นํ้าวันละ 300 ลูกบาศกเมตร 2. สรา งความเชอื่ ถอื ใหกบั ลูกคา เพอ่ื ใหลกู คามัน่ ใจวาไดบริโภค ดวยการจัดทําเวบ็ ไซตของตนเอง อาหารคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย จดั ทาํ สารคดีเผยแพรส ัปดาหล ะ 1 เรอื่ ง และเว็บบอรด แลกเปลย่ี น เรียนรูก ับลกู คา 3. ยกระดบั คุณภาพผลผลติ ให เพอ่ื ใหส ามารถสงออกไปสู ดวยการพัฒนาดินไมใ หปนเปอน เปน ไปตามมาตรฐานเกษตร ประเทศสิงคโปรได โลหะหนักตามมาตรฐานพฒั นา อินทรียย โุ รป ระบบนเิ วศแปลงเกษตรใหเ ปน ระบบนเิ วศธรรมชาติ 4. พัฒนาคนงานใหทํางานตาม เพื่อใหสามารถตดิ ตามหา ดว ยการสรางความตระหนกั ให ขัน้ ตอนได ขอ บกพรอ งและปฏิบัติการแกไข เหน็ ความสําคญั ของมาตรฐาน ขอบกพรอ งได คุณภาพผลผลติ และรวมเขยี น เอกสารขนั้ ตอนการทาํ งาน

16 จงึ สรปุ ไดว า การขยายอาชพี ใหเ กดิ ความพอดี ตองเปนไปตามศักยภาพของผูประกอบอาชีพ แตก ารกําหนดทิศทางขยายอาชีพ นัน้ ตอ งมองเห็นทศิ ทางทจ่ี ะไปถึงและรูวามีภารกิจอะไรบางตองทําอยางไร ใหม องเห็นรปู ธรรมของการขยายอาชพี ทกี่ า วออกไปขางหนา 2. การกาํ หนดเปาหมายการตลาด เปา หมายการตลาด เพอ่ื การขยายอาชพี คอื การบอกใหทราบวา สถานประกอบการ น้ัน สามารถทาํ อะไรไดภ ายในระยะเวลาเทา ใด ซง่ึ อาจจะกําหนดไวเปนระยะส้ัน หรือ ระยะยาว 3 ป หรือ 5 ป ก็ได การกาํ หนดเปาหมายของการขยายอาชีพ ตองมีความชัดเจนสามารถวัดและประเมินผลได การกําหนด เปาหมาย หากสามารถกําหนดเปน จาํ นวนตัวเลขไดก จ็ ะยงิ่ ดี เพราะทาํ ใหมีความชดั เจนจะชว ยใหการวางแผน มีคุณภาพยง่ิ ขนึ้ และจะสงผลในทางปฏบิ ตั ไิ ดดยี ิง่ ข้ึน 3. การกําหนดกลยุทธ การท่จี ะขยายอาชีพใหบรรลุตามวิสัยทัศน ตอ งมีแนวทางปฏิบัติสูความสําเร็จเพ่ือชัยชนะ เราเรียกวา กลยทุ ธ ดงั น้นั การกาํ หนดกลยุทธ เพอื่ ใหก ารขยายอาชีพสูความสําเร็จ จึงกําหนดกลยุทธจาก ภารกจิ จากพนั ธกจิ ของไรทนเหนื่อยท่ีจะทําท้งั 4 ดา นโครงการนาํ ขอความพันธกิจในสวน “ทําอยางไร” มาพจิ ารณาวามกี จิ กรรมท่ีจะตองทําอะไรบาง ตวั อยาง การพจิ ารณาในสวน “ ทําอยางไร” ของพนั ธกจิ ท่ี 1 จากพนั ธกิจของไรท นเหนื่อย มกี จิ กรรมทด่ี งั น้ี 1. พัฒนาคณุ ภาพดนิ ดวยปุย พชื สด 2. เพิม่ แรงงาน 10 คน 3. จัดใหม นี า้ํ ใชเ พมิ่ วนั ละ 300 ลกู บาศกเ มตร 3.1 พจิ ารณาวา กิจกรรมใด เปนกิจกรรมที่ยุงยากและเปนแกนหลักสําคัญของความสําเร็จใน พนั ธกจิ นี้ จะตองใชเทคนิควธิ ีอะไรเขามาเปน กลยุทธใ นการทาํ งานดงั ตัวอยา ง ลาํ ดบั เทคนคิ วธิ ีการท่ีจะใช กิจกรรม สรปุ ผลการพจิ ารณา ความสาํ คัญ เปน กลยทุ ธ 1. พฒั นาคณุ ภาพดนิ เปนกจิ กรรมทต่ี อ งทํากรอบการ 1 ใชจ อบหมนุ ฟน ดนิ และ วัชพืชเขา ดว ยกนั ดว ยปุยพชื สด ผลติ เปน ระยะ ๆ อยา งตอเนอื่ ง 2. เพมิ่ แรงงาน 10 คน เพียงประกาศรบั สมคั รแลว ชแ้ี จง 3 - ใหทาํ งานตามขัน้ ตอน 3. จดั น้ําเพิ่มวนั ละ จา งผูรับเหมา สาํ รวจและเจาะหานํา้ 2 - 300 ลูกบาศกเมตร ทาํ เสร็จแลวก็ใชไ ดเลย

17 3.2 สรุปผลการวิเคราะหกําหนดเทคนิควิธีการมาเปนกลยุทธ และนําขอความสวนที่บอกวา ทําอะไรมาเปน เปา หมายกลยทุ ธ ดังตวั อยางน้ี 3.2.1 กลยทุ ธดาํ เนนิ การ คอื การใชจอบหมนุ พฒั นาคุณภาพดินและวัชพชื เขาดวยกัน 3.2.2 เปาหมายกลยทุ ธ คอื การพฒั นาคุณภาพดนิ 20 ไรด ว ยปุยพชื สด ตวั อยาง ผลการพจิ ารณากําหนดกลยทุ ธขยายอาชพี เกษตรอินทรียข องไรทนเหน่ือย ดังนี้ ผลการพจิ ารณาขอ ความทาํ อยางไร ขอความภารกจิ ในสว นทําอยา งไร ขอความกลยทุ ธสูค วามสําเร็จของ และกาํ หนดเทคนคิ วธิ ใี น นํามาใชก าํ หนดเปาหมาย การขยายอาชพี กจิ กรรมท่ีสาํ คญั สง ผลตอ กลยุทธ ความสําเรจ็ ของภารกิจ 1. ใชจ อบหมนุ พฒั นาคณุ ภาพดนิ ขยายพน้ื ทก่ี ารผลิต 20 ไร ใชจอบหมนุ พัฒนาคณุ ภาพดนิ และวัชพืชเขา ดว ยกนั และวัชพชื เขา ดว ยกนั ในการขยาย พื้นท่ีการผลติ จาํ นวน 20 ไร 2. ใชเ วบ็ ไซตเผยแพร สรา งความเช่ือถอื ใหกบั ลกู คา ใชเ วบ็ ไซตเผยแพรและ แลกเปลย่ี นความรูและความเขา ใจ เก่ยี วกบั เกษตรอินทรยี  3. ใชองคค วามรูระบบนิเวศ ยกระดบั คุณภาพผลผลติ ใหได ใชองคค วามรรู ะบบนเิ วศ ธรรมชาติ พัฒนาระบบนเิ วศ ตามมาตรฐานคณุ ภาพเกษตร ธรรมชาตยิ กระดับคณุ ภาพ แปลงเกษตร อินทรยี ยุโรป ผลผลิตเขา สูมาตรฐานเกษตร อินทรยี ยโุ รป 4. พฒั นาคณะทํางานใหรูเทา กนั พฒั นาคนงานใหทาํ งานตาม ใชเ ทคนคิ การบริหารคณุ ภาพให ขนั้ ตอนได คณะทํางานรเู ทาทันกนั รว มกัน ทาํ งานตามขั้นตอนได

18 เรอื่ งที่ 2 การวเิ คราะหก ลยทุ ธ แผนภาพรวมของการขยายอาชีพ เปนเครื่องมือควบคุมการจัดการขยายอาชีพที่ประกอบดวย เหตผุ ลที่ทาํ ใหการขยายอาชพี ประสบความสําเร็จ องคประกอบดา นการควบคมุ เชิงกลยุทธ ทําใหเกิด 16 ตาราง บรรจเุ งอื่ นไขสคู วามสําเรจ็ ไวสําหรับจัดทําแผนปฏิบัตกิ าร และควบคมุ ภาพรวมของการดาํ เนนิ งาน ก. องคป ระกอบดา นเหตุผลสูความสาํ เร็จ ประกอบดวย (1) ดานการลงทุน (2) ดา นลกู คา (3) ดานผลผลติ (4) ดานการเรยี นรูพฒั นาตนเอง ข. องคประกอบดา นการควบคุมเชิงกลยุทธ ประกอบดว ย (1) เปา หมายกลยทุ ธ (2) ตัวบง ชี้ความสาํ เรจ็ (3) ปจ จัยนําเขา ดาํ เนนิ งาน (4) กิจกรรม / โครงการทต่ี อ งทํา 1. ตัวอยา งการเขียนแผนกลยุทธ การเขยี นแผนกลยทุ ธท ง้ั หมด จะตอ งบรรจอุ ยูในเอกสารหนาเดียว เพือ่ ใหมองเหน็ ความสัมพนั ธรวมระหวา งตารางทั้ง 16 ตาราง ตามตวั อยางแผนกลยทุ ธ ดังน้ี วิสัยทัศน “ป พ.ศ. 2551 ไรทนเหน่ือยผลิตผักสด ผลไมเกษตรอินทรียเขาสูตลาดอาหาร คุณภาพประเทศสิงคโปรได”

19 แผนกลยุทธ จะเหน็ สาระสาํ คญั ทเ่ี ปน เหตุเปนผลตอความสําเร็จของการขยายอาชีพเกษตรอินทรียของ ไรท นเหน่อื ย ดงั นี้ เง่อื นไข ภารกจิ ดา นการลงทนุ ภารกิจดานลกู คา ภารกจิ ดา นผลผลิต ภารกจิ ดา นการ พฒั นาตนเอง เปาหมายกลยุทธ ขยายพน้ื ทก่ี ารผลิต 20 ไร สรางความเชื่อถือใหก บั ยกระดบั คุณภาพ พฒั นาคนงานใหทาํ งาน ลกู คา ผลผลติ ใหไดต าม ตามข้นั ตอนได ตวั บงชี้ความสาํ เร็จ - พัฒนาคณุ ภาพเปน ดนิ มาตรฐานการเกษตร อนิ ทรียครบ 20ไร - ยอดส่งั ซือ้ เพ่มิ ขึ้นจนเตม็ อินทรียยุโรป - คนงานยึดการทําตาม ปริมาณการผลติ เอกสารคูมือ - โครงสรางดินเปนเมลด็ กลม - ผลการวเิ คราะห ดําเนินงาน สนี า้ํ ตาล - ลูกคาเขา มาแลกเปล่ียน ผลผลติ ไมพบธาตุ ความเขาใจเกษตรอินทรยี  โลหะหนักท่ีระบใุ น - คนงานรูเ ทา ทันกัน ปจจยั นาํ เขา - จอบหมุนขนาดหนา ในเวบ็ ไซต มาตรฐาน ดาํ เนนิ งาน กวา ง 120 ซม. - เอกสารข้ันตอน - สารคดีการผลิตเกษตร - ปราศจาก การทํางาน กิจกรรมโครงการ - เมล็ดพนั ธปุ ุยพชื สด อนิ ทรยี ไ รท นเหนอื่ ยภาค จุลินทรียบูดเนา - จุลินทรีย พด.1 พด.2 และ ภาษาอังกฤษและไทย - เอกสารตรวจติดตาม เมล็ดพนั ธุผกั คณุ ภาพ พด.3 ออรแกนคิ - กิจกรรมการพฒั นาดนิ ดา น - จดั ทําสารคดีความรูและ - ผลติ เมล็ดพันธพุ ืชผกั - ฝก อบรมคณะทํางาน ปุยพืชสด แสดงผลงานเกษตร ทส่ี ามารถทาํ ได เพอ่ื ใหม คี วามสามารถ อนิ ทรีย เดือนละ 1 เรอื่ ง เทา ทนั กัน - สาํ รวจขดุ เจาะบอน้ําบาดาล ขนาด 300 ม3/วนั - จดั ทาํ เว็บไซต - จดั ทาํ เอกสารข้นั ตอน - จา ยแจก DVD ความรู การทํางานในแตล ะ กจิ กรรม เกษตรอินทรียของ ไรท นเหนอ่ื ย - ฝกการใชเ อกสาร ขนั้ ตอนการทํางาน

20 เร่ืองท่ี 3 การกําหนดกจิ กรรมและแผนการพัฒนาการตลาด 1. การกาํ หนดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการตลาด การตลาดมีความสําคัญมีผลตอการบรรลุเปาหมายสุดทายของการดําเนินธุรกิจ ธุรกิจ ตองเริม่ ดวยการศึกษาความตองการทีแ่ ทจริงของลูกคา จากนั้นจึงทําการสรางสินคาหรือบริการท่ีทําให ลูกคา เกดิ ความพอใจสงู สดุ ดว ยการออกแบบกจิ กรรม โดยยดึ หลกั 4P ดงั น้ี 1. กจิ กรรมการพฒั นาสินคา (Product) ใหต รงกับความตอ งการของลูกคา 2. กิจกรรมดานราคา (Price) ผูผลิตตองกําหนดราคาท่ีเหมาะสมกับกําลังซื้อของผูบริโภค และเหมาะสมกับคณุ ภาพของสนิ คา 3. กิจกรรมดานสถานท่ี (Place) ตองคิดวาจะสงของสินคาใหกับผูบริโภคไดอยางไร หรอื ตอ งมีการปรับสถานทข่ี ายหรอื ทาํ เลทีต่ งั้ ขายสินคา 4. กจิ กรรมสง เสรมิ การขาย (Promotion) จะตอ งศกึ ษาวิธกี ารใดที่ทาํ ใหล กู คา รูจ กั สินคา 2. การวางแผนพฒั นาการตลาด ผูผลิตสินคา ตอ งนํากจิ กรรมทต่ี องดาํ เนนิ การทางธรุ กจิ มาวางแผนเพ่ือพัฒนาตลาด เพ่ือ นําสกู ารปฏิบตั ติ ามตวั อยา งแผนการพฒั นาการตลาดสนิ คา ผงซกั ฟอก ดังน้ี แผนการพัฒนาการตลาดสนิ คา ผงซกั ฟอก ป 2554 ที่ กิจกรรมที่ตองดาํ เนนิ การ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1 กาํ หนดทิศทางการพัฒนา การตลาด - วสิ ยั ทศั น - พนั ธกจิ 2 กําหนดเปาหมายการตลาด 3 กาํ หนดกลยทุ ธส ูเปาหมาย 4 วเิ คราะหก ลยทุ ธ 5 ดําเนนิ การ - การโฆษณา - การประชาสมั พันธ - การทําฐานขอ มลู ลูกคา - การสงเสริมการขาย - การกระจายสินคา ฯลฯ

21 ใบงานที่ 1 คําสั่ง ใหผูเรียนกําหนดทิศทาง เปาหมาย กลยุทธในการขยายอาชีพ และกําหนดกิจกรรมและวางแผน การพัฒนาตลาดสินคาของผเู รียนหรือสนิ คาทสี่ นใจ ลงในตารางท่ีกาํ หนดขน้ึ 1. ทิศทางธรุ กจิ ในการขยายอาชพี .................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. เปา หมายธุรกิจในการขยายอาชีพ................................................................................ ..................................................................................................................................................................... 3. กลยุทธในการขยายอาชีพ............................................................................................. ..................................................................................................................................................................... กิจกรรมและแผนการพฒั นาการตลาด อาชพี /สินคา .......................................................................... แผนการพัฒนาการตลาด ป 2554 ท่ี กจิ กรรมที่ตอ งดาํ เนนิ การ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

22 บทท่ี 3 การจัดทําแผนพฒั นาการผลิตหรอื การบรกิ าร สาระสําคญั การพัฒนาการผลิตหรือการบริการ เกิดจากการกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ วเิ คราะหทนุ ปจจยั กําหนดเปา หมาย และการกาํ หนดแผนกจิ กรรม เปนการพัฒนาระบบการผลติ หรอื การ บรกิ าร ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวัง 1. อธบิ ายการกําหนดคณุ ภาพผลผลติ หรือการบริการ 2. อธิบายการวิเคราะห ทนุ ปจ จยั การผลติ หรอื การบริการ 3. อธบิ ายการกําหนดเปา หมายการผลิตหรือการบรกิ าร 4. อธิบายการกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลิตหรือการบรกิ าร 5. อธิบายการพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบริการ ขอบขา ยเนอื้ หา 1. การกําหนดคณุ ภาพผลผลติ หรอื การบริการ 2. การวเิ คราะหท นุ ปจ จัยการผลิตหรอื การบรกิ าร 3. การกาํ หนดเปา หมายการผลติ หรอื การบรกิ าร 4. การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลิตหรือการบริการ 5. การพัฒนาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร

23 เรอ่ื งท่ี 1 การกําหนดคุณภาพผลผลติ หรอื การบริการ 1. การกาํ หนดคณุ ภาพผลผลติ ความหมายของคุณภาพ ถูกกําหนดข้ึนตามการใชง านหรือตามความคาดหวงั ของผูกําหนด เชน มีความเหมาะสมกับการใชงาน มีความทนทาน ใหผลตอบแทนสูงสุด บริการดีและประทับใจหรือ เปน ไปตามมาตรฐานท่ีต้ังใจไว แบงเปน 2 ลกั ษณะ ดงั นี้ 1. คณุ ภาพตามหนา ที่ หมายถึง ประสิทธิภาพการทาํ งาน ความเหมาะสมในการใชงาน ความทนทาน เชน พัดลมเครอ่ื งนม้ี ีมอเตอรท่ีสามารถใชไดอ ยางตอ เนื่องถงึ 24 ช่ัวโมง 2. คุณภาพตามลักษณะภายนอก หมายถงึ รูปรา งสวยงาม สสี ันสดใส เรียบรอย เหมาะกับ การใชงาน โครงสรางแขง็ แรง ผลิตภณั ฑสว นใหญ มกั เนนคุณภาพภายนอก โดยเนนที่สีสันสดใส หรือ รูปลักษณใหโ ดดเดน เพ่อื ดึงดูดความสนใจของผบู ริโภคสนิ คา ปจจุบันสภาพ การแขงขันในตลาดมีมาก หากคุณภาพไมตรงกับความตองการของ ผบู รโิ ภคสนิ คา การผลติ สนิ คาและบริการ อาจจะตองลมเลกิ กจิ การไป ดงั ท่ีไดเ กิดข้นึ มาในปจ จุบนั สินคา บางประเภทแขง ขันกนั ทค่ี ุณภาพบางประเภทแขงขนั กันทีร่ าคา แตบ างประเภทแขง ขนั กนั ที่ความแปลกใหม ดงั นัน้ การผลติ หรอื ใหบริการ จะตอ งมกี ารศกึ ษาสภาพตลาดอยา งรอบคอบเพ่ือกําหนดคุณภาพ 2. ข้ันตอนการกาํ หนดคณุ ภาพ การกาํ หนดคุณภาพ มีความสําคญั อยา งยิ่ง เพราะการกําหนดคุณภาพไมไดกําหนดจาก บุคคลใด บุคคลหนึง่ หรอื กลมุ คน หรอื สถาบัน เทา นัน้ แตก ารกาํ หนดคณุ ภาพ ตอ งคาํ นงึ ถงึ คนหลายกลมุ หลายสถาบัน การกาํ หนดคณุ ภาพสินคา และบรกิ าร มขี น้ั ตอนดําเนนิ การ 3 ขัน้ ตอน ไดแ ก 1. การศึกษาความตองการของผูใชสินคาและบริการอยางกวางขวางและครอบคลุม ผูบรโิ ภคสินคา หรอื ผูใชบริการทมี่ คี วามหลากหลาย 2. การออกแบบผลติ ภัณฑห รือพฒั นาผลิตภัณฑใหสอดคลองกับความตองการที่ศึกษา มาอยางจรงิ จงั 3. จดั ระบบการผลิตและควบคมุ ระบบการผลติ ใหไดผลผลติ ท่มี ีคุณภาพ 3. การกําหนดคณุ ภาพการบริการ การบรกิ าร หมายถึง การใหความชวยเหลือหรือการดําเนินการเพ่ือประโยชนของผูอื่น การบริการที่ดี ผรู ับบริการก็จะไดรับความประทับใจและช่ืนชมองคกร ซ่ึงเปนส่ิงดีส่ิงหนึ่งอันเปนผลดี กับองคกร เบ้ืองหลังความสําเร็จเกือบทุกงาน พบวางานบริการเปนเคร่ืองมือสนับสนุนงานดานตาง ๆ เชน งานประชาสัมพนั ธ งานบริการวิชาการ เปน ตน ดงั นน้ั ถาบริการดที าํ ใหผ รู ับบรกิ ารเกดิ ความประทบั ใจ และเกิดภาพลกั ษณทด่ี ีตอองคกร

24 4. คณุ ภาพของงานบรกิ าร (Service Quality) ปจ จัยท่บี ง ชค้ี ณุ ภาพของการบรกิ าร ไดแก 4.1 สามารถจับตองได โดยปกติงานบริการเปนส่ิงที่จับตองไมได ทําใหการรับรูใน คุณภาพคอนขางไมชัดเจน ดังน้ัน บริการท่ีดีควรสรางหลักฐานใหเห็นชัดเจนวา บริการนั้นมีคุณภาพ หลักฐานทีจ่ ะสรา งน้ัน ไดแ ก อาคาร อุปกรณ เคร่ืองอํานวยความสะดวกและบุคลากร เชน การจัดท่ีนั่ง สําหรบั รอรับบริการ เปนตน 4.2 นา เชื่อถือ ในทน่ี ้ีหมายถงึ ความถูกตองในการคดิ คาบรกิ าร เชน รานอาหารท่ีคดิ ราคา ตรงตามจํานวนอาหารท่ลี กู คา ส่ัง ลูกคายอ มใหความเช่ือถือ และจะกลับไปรับประทานอาหารที่รานน้ันอีก ตรงกันขามกับรานอาหารที่คิดเงินเกินกวาความเปนจริง ยอมทําใหลูกคาหมดความเช่ือถือ และ ไมก ลับไปใชบ ริการท่ีรานอาหารนั้นอกี เปน ตน 4.3 มคี วามรู ผใู หบรกิ ารท่มี คี ณุ ภาพ ตอ งเปน ผมู คี วามรูในเร่ืองน้ัน เชน ชางซอมรองเทา ตองมีความรูในเร่ืองการซอมรองเทา ทาทางขณะซอมรองเทา ตองดูวามีความสามารถ มีความ กระฉบั กระเฉง คลองแคลว ซึง่ ทําใหผรู ับบริการเกิดความมนั่ ใจ เปนตน 4.4 มีความรับผิดชอบ เชน อูซอมรถยนตสัญญากับลูกคาวา จะซอมรถยนตใหเสร็จ ภายใน 3 วนั อแู หงนัน้ จะตองทําใหเ สรจ็ ภายในเวลา 3 วัน หรือชางซอมโทรทัศนที่ซอมผิดพลาด ทําให โทรทศั นของลูกคาเสีย ตองรับผิดชอบใหอ ยูในสภาพท่ดี ี โดยไมปดความผิดใหลูกคา 4.5 มีจิตใจงาม ผใู หบรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพ ตองเปนผูมีจิตใจงาม จึงจะเปนผูกระตือรือรน ในการใหบรกิ ารผูอ นื่ เตม็ ใจชวยเหลือโดยไมร งั เกยี จ ใบงานท่ี 1 คําสัง่ ใหผ ูเรยี นกาํ หนดคณุ ภาพผลผลติ หรือการบรกิ ารท่สี อดคลองกับความตองการ ของกลุมลูกคาของ อาชีพที่ผเู รียนดําเนินการหรอื อาชพี ท่ีสนใจลงในแบบบนั ทึก

25 เรอ่ื งท่ี 2 การวเิ คราะหท นุ ปจจยั การผลิตหรือการบรกิ าร ปจจัยสําคญั ในการผลติ สินคา หรือบรกิ าร คอื ทุน หรอื ตน ทุน สําหรับเปนคาใชจายในการดําเนิน ธุรกิจใหสามารถผลิตสินคาและบริการออกสูตลาดไดอยางมีคุณภาพ และตรงตามความตองการของ ลกู คา ตนทุนการผลิต หมายถึง ทุนหรือคาใชจายท่ีจายออกไป เพื่อใหไดมาซึ่งสินคาหรือบริการที่ ตองการหรอื คาใชจา ยทท่ี าํ ใหม ูลคา ของสินคา หรอื บริการเพ่ิมขนึ้ แบง ได 2 ประเภท คอื 1. ทุนคงที่ คือ การที่ผูประกอบการจัดหาทนุ เพื่อใชในการจดั หาสินทรพั ยถ าวร เชน ดอกเบ้ียเงินกู ท่ดี ิน อาคาร เครอ่ื งจักร เปนตน ทนุ คงท่ี สามารถแบง ได 2 ลกั ษณะ คือ 1.1 ทนุ คงท่ที ่เี ปนเงนิ สด เปนจาํ นวนเงนิ ท่ีตองจา ยเปนคาดอกเบี้ยเงินกู เพ่อื นํามาใช ในการดาํ เนนิ งานธุรกจิ 1.2 ทนุ คงทท่ี ไ่ี มเปน เงินสด ไดแก พน้ื ท่ี อาคารสถานท่ี โรงเรอื น รวมถึงคาเสื่อมราคา ของเครื่องจกั ร 2. ทุนหมนุ เวยี น คอื การทผี่ ปู ระกอบการจัดหาทุนเพอ่ื ใชใ นการดําเนนิ การจดั หาสินทรัพย หมุนเวียน เชน วัตถุดิบในการผลิต ผลผลิตหรือการบริการ วัสดุส้ินเปลือง คาแรงงาน คาขนสงคาไฟฟา คา โทรศพั ท เปน ตน ทนุ หมนุ เวียน แบง ออกเปน 2 ลักษณะ คอื 2.1 ทุนหมุนเวยี นที่เปน เงินสด ไดแ ก 2.1.1 คา วสั ดอุ ุปกรณใ นการประกอบอาชีพ ดงั นี้ 1) วัสดุอุปกรณอ าชพี ในกลมุ ผลติ ผลผลติ เชน งานอาชีพเกษตรกรรม เชน คาปุย พนั ธุพชื พันธสุ ัตว คาน้ํามนั เปนตน 2)วัสดอุ ปุ กรณอาชพี ในกลมุ บรกิ ารเชน อาชีพรบั จา งซักรดี เสอ้ื ผา เชน คาผงซักฟอก คา นํ้ายาซักผา เปน ตน 2.1.2 คา จา งแรงงาน เปน คา จางแรงงานในการผลิตหรือบริการ เชน คาแรงงานใน การเพาะปลูก คาจา งลูกจางในรานอาหาร 2.1.3 คาเชาท่ดี ิน/สถานที่ เปน คาเชา ท่ดี นิ /สถานทใ่ี นการประกอบธุรกจิ 2.1.4 คาใชจา ยอื่น ๆ เปนคาใชจ า ยในกรณอี ื่นทีน่ อกเหนอื จากรายการ 2.2 ทนุ หมนุ เวยี นท่ีไมเปน เงินสด ไดแก 2.2.1 คา ใชจา ยในครวั เรือน เปนแรงงานในครวั เรือนในการประกอบการธุรกิจ จะไม นํามาคิดเปนตนทนุ เปนสวนใหญ ทาํ ใหไมทราบขอมูลการลงทุนทีช่ ัดเจน จึงควรคิดคาแรงในครัวเรือน โดยการกาํ หนดคดิ เปนตนทนุ ในอัตราคาแรงข้นั ตํา่ ของทอ งถน่ิ นนั้ ๆ

26 2.2.2 คา เสียโอกาสทดี่ ิน กรณเี จา ของธรุ กจิ มีท่ดี นิ เปน ของตนเอง จึงตองคดิ ตนทุน ใหค ดิ เปน ทนุ ตามอัตราคาเชา ที่ดนิ ในทองถ่นิ หรอื บริเวณใกลเ คยี ง ในการดําเนินกิจการงานอาชพี การบริหารเงินทุนหรือดานการเงินน้ัน เปนสิ่งท่ีผูประกอบการ ตองใหความสําคัญเปนอยางมาก เพราะมีผลตอความมั่นคงของอาชีพวาจะกาวหนาหรือลมเหลวได ดงั นน้ั การใชทนุ แตล ะชนดิ ตองผานการวเิ คราะหว า จะตอ งใชชนดิ ใด คณุ ภาพอยา งไร ปรมิ าณเทาไร จึง จะเหมาะสมกบั อาชพี ใบงานที่ 2 คาํ สง่ั ใหผเู รียนกําหนดปจจยั การผลิต พรอ มวเิ คราะหถ งึ เหตผุ ลในการใชป จจัยแตละชนดิ ในงาน อาชีพทีผ่ เู รียนดาํ เนนิ การเองหรืออาชพี ทสี่ นใจ ปจ จยั การผลิต จาํ นวน เหตุผลในการใชป จ จยั นัน้ ๆ รายการ

27 เร่อื งที่ 3 การกาํ หนดเปาหมายการผลิตหรอื การบรกิ าร 1. การกาํ หนดเปา หมายการผลติ หรือการบรกิ าร เปาหมายการผลิตหรือการบริการ เปนคําตอบสําหรับผูประกอบการตองการมากที่สุดโดยมี ปจ จัยทท่ี าํ ใหประสบความสําเร็จ ประกอบดว ย 1) การกําหนดกลมุ ลกู คาเปา หมายใหช ดั เจน 2) เสริมสรา งสว นประสมทางการตลาด 3) คาํ นึงถงึ สภาวะแวดลอมที่ควบคมุ ไมได 4) สามารถจําแนกเปน ปจจยั ลูกคา และผลผลิตหรือบริการ ดังนี้ ลกู คา ประกอบดวย (1) ใครคือ กลมุ ลูกคาเปา หมายสําหรบั ผลผลิตที่ผลิตขน้ึ หรือการบริการ (2) ลูกคา เปา หมายดังกลา วอยู ณ ที่ใด (3) ในปจ จุบนั ลูกคาเหลา นีซ้ ื้อผลผลติ หรือการบริการไดจากท่ใี ด (4) ลูกคา ซื้อผลผลติ หรือการบริการบอยแคไหน (5) อะไรคอื สิง่ จงู ใจทท่ี าํ ใหลกู คาเหลาน้ันตัดสนิ ใจใชบริการ (6) ลกู คา ใชอ ะไร หรือทําไมลูกคา ถึงใชผ ลผลิตหรือบรกิ ารของเรา (7) ลกู คา เหลาน้นั ชอบและไมชอบผลผลติ หรือบริการอะไรที่เรามีอยูบา ง ผลผลิตหรือการบรกิ าร ประกอบดว ย (1) ลูกคา ตองการผลผลิตหรอื บริการอะไร (2) ลกู คาอยากจะใหม ผี ลผลติ หรือบริการในเวลาใด (3) เฉพาะการบริการ ควรตง้ั ช่ือวา อะไร เพอ่ื เปน สิ่งดงึ ดดู ใจไดมากทีส่ ดุ 2. องคป ระกอบท่ีเก่ยี วของ ผปู ระกอบการตอ งคํานึงและพิจารณาถึงความเปนไปได และองคประกอบดานอื่น ๆ ท่ีสําคัญ ที่เกยี่ วขอ งตา ง ๆ ดังนี้ 1) แรงงาน ตอ งใชแ รงงานมากนอยเทาไร ปจจุบันมีแรงงานเพียงพอหรือไม ถาไมเพียงพอจะ ทําอยา งไร 2) เงินทนุ ตองใชเงินทุนมากนอยเพยี งไร ถาไมเพยี งพอจะทาํ อยางไร 3) เครื่องมือ/อุปกรณ ตองใชเครื่องมือ/อุปกรณอะไร จํานวนเทาไร เพียงพอหรือไม ถาไม เพียงพอจะทําอยา งไร 4) วัตถุดิบ เปนสิ่งสาํ คญั มากตองพจิ ารณาวา จะจดั หาจัดซื้อวัตถุดิบจากท่ีใด ราคาเทาไร จะหาได จากแหลง ไหน และโดยวธิ ีใด 5) สถานท่ี ใหม ีความเหมาะสม สะอาด และเดนิ ทางสะดวก เปน หลัก

28 ใบงานที่ 1 คาํ สั่ง ใหผ เู รียนกรอกขอมูลเก่ียวกับการกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ ที่ผูเรียนดําเนินการเอง หรอื อาชพี ท่ีสนใจ 1. ลักษณะงานอาชีพ…………………………………….……………………………………… 2. ประเภทของผลผลติ หรือการบรกิ าร………………………………………………………… 3. ช่อื เจา ของธรุ กิจ……………………………………………………………………………… 4. ทต่ี งั้ ของธรุ กจิ ……………………………………………………………………………….. 5. เปา หมายการผลิตหรือการบรกิ าร…………………………………………………………… 6. เหตุผลในการกําหนดเปา หมายการผลติ หรอื การบริการ เพราะ .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

29 เรือ่ งที่ 4 การกําหนดแผนกจิ กรรมการผลติ หรอื การบริการ การกําหนดแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ เพ่ือพัฒนาอาชีพ เปนการกําหนดกิจกรรมท่ี เกีย่ วกับการขยายอาชพี เชน ตอ งการเปดรา นขายขา วแกง สาขาที่ 2 ตอ งดาํ เนินกจิ กรรมอะไรบา ง ดังแผนภูมิ ดงั นี้ จัดหาทาํ เล จดั เตรยี มวัสดุ ศกึ ษาเกย่ี วกบั เปด จัดบรกิ าร ทต่ี ้งั รา นที่ 2 ลกู คา อปุ กรณ เมนูอาหารใหม ๆ รา นอาหาร 1 5 234 แผนภูมแิ สดงความตอ งการเปดรานขายขา วแกงสาขาท่ี 2 ส่ิงที่สาํ คัญตอการขยายอาชีพคอื การตดั สินใจ โดยมขี ั้นตอนในการดําเนนิ การ ดงั น้ี 1. ตรวจสอบตัวเองเพ่อื ใหรถู งึ สถานภาพในปจจุบันเก่ียวกับ แรงงาน เงินทุน เคร่ืองมือ/อุปกรณ วตั ถุดบิ และสถานที่วา มีสภาพความพรอมหรอื มปี ญ หาอยา งไร รวมถงึ ผลผลติ หรอื บรกิ ารของตนเองวา มีสวนใดท่ีไมสมบรู ณห รือไม 2. สํารวจสภาพแวดลอม เปนการตรวจสอบขอมูลภายนอกเก่ียวกับการประกอบการประเภท เดียวกนั ในชมุ ชน และความตองการของลกู คาทองถน่ิ (การดาํ เนินงานตามข้ันตอนที่ 1 และ 2 เปน การศกึ ษาขอ มูล เพือ่ ระบถุ งึ ปญ หาทเ่ี กิดขน้ึ และควรแกไ ข) 3. การกําหนดทางเลอื ก หลงั จากหาสาเหตุของปญ หาไดแ ลว เพื่อใหก ารวางแผนมคี วามชัดเจน เจาของธุรกจิ ตองตัดสนิ ใจพิจารณาหาทางเลอื ก เพอื่ ใหไดทางเลือกหลายทางสกู ารปฏิบตั ิ 4. การประเมินทางเลือก เมื่อสามารถกําหนดทางเลือกไดหลากหลายแลว เพื่อไดทางเลือกสู การปฏิบัติที่เหมาะสมท่ีสุด ในการวางแผนกลยุทธทางการตลาด ผูประกอบการตองพิจารณาประเมิน ทางเลอื กในแตล ะวธิ ี เพอื่ ใหส ามารถบรรลเุ ปาหมายใหดีท่สี ุด 5. การตดั สนิ ใจ เม่ือไดทางเลอื กหลายทางเลอื กในการตัดสินใจสามารถใชหลัก 4 ประการใน การตัดสนิ ใจคอื 1) ประสบการณ 2) การทดลอง 3) การวิจัยหรอื การวิเคราะห และ 4) การตัดสินใจเลือก 6. กําหนดวตั ถปุ ระสงค เปนการกําหนดเปา หมายของการดาํ เนินงานวา ตอ งการใหเกิดอะไร 7. พยากรณสภาพการณในอนาคต เปนการคิดผลบรรลุลวงหนาวา หากดําเนินการตามแผน กิจกรรมการผลิตหรือการบรกิ ารแลว ธุรกจิ ทีด่ ําเนนิ งานจะเกดิ อะไรข้ึน 8. กําหนดแนวทางการปฏิบตั ิ เปน การกําหนดรายละเอียดข้ันตอนการปฏิบัติวาจะทําอยางไร เมื่อไร เพอ่ื ใหเกิดผลตามวตั ถุประสงคท ่กี าํ หนดไว 9. ประเมินแนวทางการปฏิบัติท่ีวางไว เปนการตรวจสอบความสมบรู ณข องแผนกิจกรรมการผลิต หรือการบรกิ ารวา มคี วามสอดคลอ งกันหรือไมอ ยางไร สามารถทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอน วิธีการท่ีกําหนด

30 ไวไดหรือไมอ ยา งไร หากพบวาแผนกิจกรรมการผลติ หรอื การบริการ ทจ่ี ดั ทาํ ขน้ึ ยังไมมีความสอดคลอง หรอื มีขัน้ ตอนวธิ ีการใดทีไ่ มม ั่นใจ ใหจ ัดการปรบั ปรงุ ใหมใ หม คี วามสอดคลองและเหมาะสม 10. ทบทวนและปรับแผน เมือ่ สถานการณเ ปลย่ี นแปลงไป และผลลัพธไมเปนไปตามที่กําหนด เปนการพัฒนาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการในระหวางการปฏิบัติตามแผน เมื่อมีสถานการณ เปล่ียนแปลงไป หรอื มขี อมูลใหมท สี่ าํ คญั ใบงานที่ 1 คาํ ส่ัง ใหผูเรยี นเขยี นแผนกิจกรรมการผลิตหรือแผนบรกิ าร ท่ีตองการขยายอาชีพ เปนอาชีพของผูเรียน ดาํ เนินการเอง หรอื อาชพี ที่สนใจ ลักษณะงานอาชพี ……………………………………………………………………………. ประเภทของผลผลิตหรอื การบรกิ าร…………………………………………………………… ชอ่ื เจา ของธุรกิจ………………………………………………………………………………… ท่ตี ั้งของธุรกิจ…………………………………………………………………………………… แผนกจิ กรรมการผลติ หรอื การบริการ คือ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ เหตผุ ล เพราะ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................

31 เร่อื ง 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร การดําเนินธุรกิจใหมีความกาวหนาและม่ันคง ผูประกอบการธุรกิจตองคํานึงถึงการพัฒนา ระบบการผลิต หรือการบริการอยางตอเนื่อง เพ่ือใหทันตอการเปลี่ยนแปลงตามความนิยมของลูกคา ทง้ั ดา นการผลิตสินคา หรอื การใหบริการตาง ๆ ท้ังนี้ความกา วหนา และม่นั คงของสินคา และบริการตองมี คุณภาพและมาตรฐานดว ย การพฒั นาระบบการผลิตหรอื การบริการในภาพรวม สามารถดําเนนิ การไดดงั นี้ 1. ปรับแผนพฒั นาระบบการผลิตหรอื การบริการ โดยพิจารณาจากปจจัยท่ีเกี่ยวของตาง ๆ เชน ตนทุนการผลติ แรงงาน การขาดดุลการคา คณุ ภาพและมาตรฐานของสินคาและบริการ ราคา การบรรจุ หีบหอ เปน ตน 2. ปรบั แผนการดาํ เนนิ งาน โดยเนนการปรบั กลยุทธแ ละแนวทางพฒั นาใหม เพ่ือปรับโครงสรา ง การผลติ หรือการบริการใหเ ชอื่ มโยงทางการตลาดอยา งเปน ระบบ สอดคลองกับสถานการณเ ศรษฐกจิ ทาง การตลาดทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ 3. ปรับการเช่ือมโยงการผลิตหรือการบริการกับการตลาด โดยปรับแนวคิดจาก “การขายตามผลิต” มาเปน “การผลติ เพ่อื ขาย” โดยเฉพาะในดานตลาดตางประเทศ ซึ่งจะสัมพันธกับกลยุทธ “การกระจาย การผลิตหรือการบริการ” ซ่ึงใชตลาดภายในเปนตัวช้ีนํา เพ่ือใหมีการกระจายการผลิตสินคาหรือการ บรกิ ารในทอ งถน่ิ ใหม ากชนิดย่งิ ขนึ้ 4. การปรับแนวการพัฒนาดังกลาวขางตนกับ “การพัฒนาการตลาด” เปนสําคัญซ่ึงการพัฒนา การตลาดท้ังภายในและตา งประเทศ อยา งมีประสิทธิภาพจําเปนตอ งมีกระบวนการท่ีเปนระบบ และเปน การผนึกกําลังรวมกนั ระหวา งภาครัฐและเอกชน โดยมีขอมูลขาวสารการผลิตและการตลาด เปนกลไก การเชอื่ มโยง และมกี ารกําหนดรายการสินคาขึ้นเปนระยะ ๆ ตามความเหมาะสม เพื่อท่ีจะเปนเคร่ืองมือ สนบั สนุนใหแผนงานนี้เกดิ ผลทางปฏบิ ตั ใิ นการกระจายการผลิตหรือการบริการ การผลิตเพื่อขาย และ เพ่มิ การจา งงาน 5. ภายใตข อจาํ กัดของทรัพยากรทีม่ ีอยูจํากดั แผนพัฒนาระบบการผลิต การตลาด และการสรางงาน ตองขอความชวยเหลือจากภาครัฐและเอกชนใหการสนับสนุนในเรื่องตาง ๆ เชน การวิจัยและพัฒนา และการสนับสนนุ ทางวิชาการ การเพิ่มมูลคาทางการตลาด 6. ปรับการพัฒนาโดยใชระบบแผนงานเปน เคร่อื งมอื จําเปน ตองมหี นว ยงานท่เี กี่ยวของโดยตรง และโดยออมเขาไปรวมดําเนินการอยางเปนระบบ ควรเนนการมีแผนประจําป โดยประสานงานกับ หนวยงานทเ่ี กย่ี วของ เพอ่ื กําหนดแผนงานและโครงการทีจ่ ะดาํ เนนิ การในแตละปล ว งหนา เพือ่ ใหท ันกบั กําหนดการงบประมาณและสอดคลอ งกับสถานการณท างดา นการตลาดท่ีผันแปรไปอยา งรวดเร็ว

32 อยางไรกต็ าม คุณภาพของการผลติ หรือการบริการ เปน สง่ิ สําคัญท่ผี ูประกอบการธรุ กจิ ตองรักษา ระดบั คุณภาพและพฒั นาระดบั คุณภาพการผลติ หรือการบริการใหเหนือกวา คูแขง ขนั โดยเสนอคุณภาพ การผลติ หรือการใหบริการตามลูกคา คาดหวงั หรอื เกนิ กวาสิ่งท่ีลูกคาคาดหวังไวเ สมอ ใบงานท่ี 1 คําสั่ง ใหผูเรียนบันทกึ เกี่ยวกบั การพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ ารท่ีผูเรียนดําเนินการเอง หรืออาชีพ ท่สี นใจ 1...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 2...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 3...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 4...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 5...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ 6...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

33 บทที่ 4 การพัฒนาธรุ กจิ เชิงรุก สาระสําคัญ การพัฒนาอาชพี ใหม ีความมั่นคง จาํ เปนจะตอ งเหน็ ถงึ คุณคาของธุรกิจเชิงรุก การแทรกความนิยม เขา สคู วามตองการของผูบรโิ ภคการสรา งรปู ลกั ษณคณุ ภาพสินคาใหมและการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง- เขมแขง็ ยัง่ ยืน คือ พออยพู อกนิ มีรายได มกี ารออม และมที ุนในการขยายอาชพี ผลการเรยี นรูท่คี าดหวงั 1. อธบิ ายความจําเปนและคุณคาของธรุ กิจเชิงรุก 2. อธบิ ายการแทรกความนยิ มเขาสคู วามตอ งการของผบู ริโภคไดอยางแทจรงิ 3. อธิบายการสรา งรูปลักษณคณุ ภาพสนิ คา ใหม 4. อธบิ ายการพัฒนาอาชีพใหม คี วามมน่ั คง ขอบขา ยเนือ้ หา 1. ความจําเปน และคณุ คาของธรุ กจิ เชงิ รกุ 2. การแทรกความนิยมเขา สคู วามตองการของผบู รโิ ภค 3. การสรางรูปลักษณคณุ ภาพสินคาใหม 4. การพัฒนาอาชพี ใหมคี วามมั่นคง

34 เร่อื งที่ 1 ความจําเปนและคณุ คาของธุรกจิ เชิงรกุ การพฒั นาธรุ กจิ เชิงรกุ เปน การกําหนดวธิ ีการหรือแนวทางในการดําเนินงานและกิจกรรมของ องคกร เพอื่ ใหบ รรลถุ ึงวัตถุประสงคที่กําหนด การกําหนดแนวทางในการดําเนินงานน้ี ผูประกอบการ ตองทําการวิเคราะหและประเมินปจจัย ท้ังภายในและภายนอกองคกร เพ่ือคิดหาแนวทางในการ ดาํ เนนิ งานท่ีเหมาะสมท่สี ุด ทามกลางการเปลี่ยนแปลงของปจจัยนําไปสูการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง- เขม แข็ง ย่ังยนื คอื พออยูพอกิน มีรายได มกี ารออม มีทุนในการขยายอาชีพ และเกดิ ความมั่นคง โลกของเราเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วทุกขณะท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี ซงึ่ สง ผลกระทบตอสภาวะการแขงขันระหวางธุรกิจ จึงมีความจําเปนท่ีตองใชธุรกิจเชิงรุก เขามาใชในการพฒั นาอาชีพ ซ่งึ มีการเปลยี่ นแปลงทผ่ี ูประกอบการคา ท่ีควรรู ดงั น้ี 1. การแขงขันท่ไี รพ รมแดน การแขงขันที่ไรพรมแดน เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นเม่ือสินคาแรงงาน เทคโนโลยี ระบบ การสอ่ื สาร เปน ตน สามารถเคลอ่ื นยา ยไปมาระหวางประเทศไดอ ยางเสรีมากขึ้น มีผลทาํ ใหมีการแขงขันท่ีมี ความรุนแรงมากข้ึน 2. การเปลี่ยนแปลงทางนวตั กรรม เทคโนโลยี โลกยุคใหมม ีความกา วหนาทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีมากขึ้น อัตราการเปลี่ยนแปลงและ การใชเ ทคโนโลยี จะเพิ่มข้ึนในอัตราที่รวดเร็วขึ้น ทําใหวงจรของสินคาและการบริการมีระยะเวลาส้ันลง เทคโนโลยีสมัยใหมสามารถทดแทนเทคโนโลยีเดิมไดอยางรวดเร็ว การปรับปรุงสินคาใหทันสมัยเปนที่ ตองการของลูกคาตลอดเวลา เปนปจจัยทําใหมีการแขงขันทางการตลาดสูง ทําใหเกิดสวนแบงการตลาด มากขน้ึ จาํ เปนตอ งมีการทบทวนปรบั ปรงุ และพฒั นาตนเองอยูตลอดเวลา แนวคิดหรือวิธีการในการบริหาร แบบเดมิ ไมสามารถนาํ องคกรไปสูความสาํ เร็จไดเหมือนในอดีต เรื่องที่ 2 การแทรกความนยิ มเขาสูค วามตองการของผูบริโภค 1. ความสาํ คัญและความตอ งการของผบู รโิ ภค การวางแผนการขายสนิ คาหรอื บรกิ าร ผูบรหิ ารจะตอ งมีขอมลู มาประกอบการตดั สนิ ใจขอมลู เก่ยี วกบั ผบู รโิ ภคจะถูกนํามาใชเ ปน ขอมลู ในการวิเคราะหและการวางแผนการตลาด และผูประกอบการ จาํ เปน ตองใหค วามสนใจเกยี่ วกับผูบริโภคและความตองการของผบู รโิ ภค เพราะผูผ ลิตสวนใหญจะผลิต สนิ คาที่คลายคลงึ กันและขายใหกับผูบริโภคกลุมเดียวกัน การกําหนดรูปแบบผลิตภัณฑ หรือตราย่ีหอ โดยยึดถอื ความตอ งการของผูบรโิ ภค จะเปนเคร่อื งชวยใหผ ูบ รโิ ภคตดั สนิ ใจไดง า ยขึ้น ผูบริโภคทุกคนมี รสนิยมไมเหมือนกันซ่ึงมีความแตกตางกัน ผูประกอบการตองมีความเขาใจถึงความตองการของ ผูบรโิ ภค ซึ่งความตองการของผูบรโิ ภคแบงออกได 2 ประเภทใหญ ๆ คอื

35 1. ความตอ งการทางดานรา งกาย คอื ความหวิ การนอน การพกั ผอ น การอบอนุ 2. ความตองการดานอารมณหรือจิตวทิ ยา คอื ความปลอดภยั ความรัก การยอมรับ ความพอใจ ความงาม ผูประกอบการ จงึ ตองเขา ใจลึกซง้ึ ถึงรายละเอียดของความตอ งการ เพอ่ื เอามาเปนจดุ ขายสินคา และเปนสวนหนง่ึ ของกลยุทธทางการตลาดโดยเฉพาะดานการโฆษณาสนิ คา 2. การแทรกความนิยมเขา สูความตอ งการของผบู ริโภค สินคาแตละชนิด จะตองมีเอกลักษณเฉพาะ เชน ความนิยมของอาหารไทยในตางประเทศ เปน ท่นี ยิ มแบบดาวรงุ พุงแรงมาตลอดระยะเวลานาน ไมเพียงแตในสหรัฐอเมริกาเทานั้น แตรวมท้ังใน ยโุ รป ออสเตรเลีย ญ่ีปนุ ตะวันออกกลางละอินเดีย อาจจะเปนเพราะอาหารไทยมีเอกลักษณที่มีรสชาติ ถกู ปากไดร ับการยอมรบั ตัวอยา ง การแทรกความนิยมเขาสคู วามตองการของผบู ริโภค ดังนี้ 1. เอกลักษณด า นรสชาติ ท่ีมีความกลมกลอ มทัง้ 3 รส คอื เปรี้ยว หวาน เผ็ด ไดอยางลงตัวพอดี โดยไมเนน หนักไปในรสใดรสหนึ่ง สรางความประทับใจใหก ับผบู ริโภค ทําใหรูสึกอยากกลบั มาทานอีก อาหารบางชนิดมีเอกลกั ษณข องกลิ่นสมุนไพรที่เปนพืชผักในเมืองไทย เคร่ืองเทศท่ีใชปรุงอาหารถือวา โดดเดน ไมฉ นุ เกินไป แตมีกลิ่นหอมออน ๆ ของเคร่ืองเทศท่ีสอดแทรก บางคร้ังมีการปรับรสชาติบาง เพอ่ื ใหต รงกบั ผบู ริโภค เชน ไมเ ผด็ เกินไป เพราะตางชาตจิ ะไมนิยมรับประทานอาหารรสจดั 2. ความหลากหลายของอาหารไทย อาหารไทยน้ันมีทั้งอาหารคาวหวาน สารพัดชนิดท่ี สามารถเลอื กมานาํ เสนอไดไ มรูจบ มีการแขง ขันกนั นอกจากจะรสชาติแลว ยังมีการนําวัสดุมาดัดแปลง ใหเปนประโยชนใชแ ทนกนั ได หรือการจดั ตกแตง อาหารกเ็ ปน ท่ดี ึงดูดลูกคาขึ้นอยูกับการเขาถึงรสนิยม ของผบู ริโภค 3. อาหารไทยไมเลยี่ นและไมอ ว นทั้งน้ีเพราะอาหารไทยมกั มผี ักปนอยเู สมอพรอมกบั เครือ่ งเคยี ง จนเปน ทเ่ี ลื่องลือวา อาหารไทยเปนอาหารสุขภาพ เชน เมี่ยงคาํ นํา้ พรกิ กะป จงึ เปนอาหารทีเ่ หมาะกับยุคน้ี และแนวโนม ของการบริโภคอาหารเพ่อื สุขภาพ 4. การบรกิ ารท่ีประทับใจ ซ่ึงเปน สวนเสริมที่สําคัญมากของธุรกิจการเปดรานขายอาหารไทย จงึ เปนอีกมติ ิหนง่ึ ทีม่ ีภาพลกั ษณทีด่ ีใหก ับอาหารไทย ดวยการบริการแบบมมี ารยาทอนั ดีงามของคนไทย จึงเปน การชว ยสงเสริมใหอ าหารไทยยังคงครองความนิยมตอไป จากกรณตี ัวอยางในการแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภคไดเปนอยางดีโดย ผปู ระกอบการตอ งรบั รูความตองการของผูบริโภค แลวจึงมีการพยายามดัดแปลงสินคาใหสอดคลองกับ ความตองการของผบู ริโภคหรอื ผูรับบริการ

36 ใบงานท่ี 1 คําสงั่ ใหผ ูเรยี นกาํ หนดแนวทางการแทรกความนยิ มลงในสินคา/บริการของตนเองหรอื อาชีพทสี่ นใจ แลว นําเสนอแลกเปลย่ี นเรยี นรูซงึ่ กนั และกัน แลว สรุปเปน องคความรู .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................

37 เรอื่ งท่ี 3 การสรางรูปลกั ษณค ณุ ภาพสนิ คา ใหม William H.Davidow กลา ววา “เครือ่ งมอื ที่เย่ียมท่สี ุด ประดษิ ฐม าจากหอ งปฏบิ ัติการ ผลิตภัณฑ ทเี่ ยย่ี มท่สี ดุ มาจากฝา ยการตลาด” การทําธุรกิจทุกขนาด จะตองทําการแบงสวนตลาดเปาหมายได เม่ือถึงเวลาที่จะพัฒนาและ นําผลิตภัณฑออกสูตลาด ฝายการตลาด ตองแสดงบทบาทสําคัญในกระบวนการน้ี ไมใชฝายวิจัยและ พฒั นาอยา งเดียว เปนผูรับผิดชอบการพัฒนาผลิตภัณฑใหม ซึ่งฝายการตลาดมีสวนเกี่ยวของอยางมาก ทกุ ข้นั ตอนในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ ธุรกิจทุกธุรกิจ มีการพัฒนาผลิตภัณฑอยูตลอดเวลา การออกแบบผลิตภัณฑใหมแทนที่ ผลติ ภัณฑเ ดิม จะทําเพื่อเพิม่ ยอดขายในอนาคต และลูกคาเองกต็ องการผลิตภณั ฑใหม ซึ่งธรุ กิจคแู ขง กใ็ ช ความพยายามที่จะผลติ สินคา ทีต่ รงกบั ความตองการของลูกคา ออกจําหนายและจะออกผลิตภัณฑใหมได จากการเขา ครอบครองสว นแบง ตลาดจากการพฒั นาผลิตภัณฑใ หม - การพฒั นาผลิตภณั ฑใ หม หมายถึง ผลติ ภณั ฑใ หมใ นสายผลติ ภัณฑเดิมเปนการนําผลิตภัณฑ ใหมเ ขามาแทนผลิตภัณฑใ นสายผลติ ภณั ฑเ ดิม เชน เปลีย่ นขนาดบรรจุภัณฑ เปลี่ยนรสชาติ - การปรับปรุงผลติ ภณั ฑเ ดิม คือ การปรับปรงุ ผลิตภณั ฑเดิมใหเปนผลิตภณั ฑใหม - การวางตาํ แหนง สินคาใหม เปน การนําผลิตภัณฑเดิมท่มี อี ยูออกขายใหล ูกคาเปา หมายกลุมใหม - การลดตนทุน คอื การทาํ ผลติ ภัณฑใหมท ่ีมีคุณสมบตั เิ หมอื นเดมิ แตต น ทุนตา่ํ ลง ข้ันตอนการพัฒนาผลติ ภณั ฑ มี 8 ขั้นตอน 1. การสรางความคิดใหม 2. การเลอื กความคดิ 3. การทดสอบความคดิ 4. การวางกลยุทธทางการตลาด 5. การวิเคราะหธ รุ กิจ 6. การพฒั นาผลิตภณั ฑ 7. การทดสอบตลาด 8. การนําผลติ ภัณฑอ อกสตู ลาด

38 ใบงานท่ี 1 คําสงั่ ใหผูเรียนศกึ ษาพิจารณาวา จะสรา งรปู ลกั ษณคณุ ภาพสนิ คาใหม/ บริการใหมไ ดอ ยางไร และ ใหอ ธิบายกระบวนการพฒั นาการสรางรูปลกั ษณดว ย

39 เรอื่ งท่ี 4 การพัฒนาอาชีพใหม ีความม่ันคง 1. การพัฒนาอาชพี ใหมีความมนั่ คง ในชวงการดําเนินแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 7 – 8 แมจะปรากฏผลเปน รูปธรรม สวนหน่งึ เปนการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ทีต่ รวจวัดดว ยอตั ราเพ่ิมของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (จดี ีพ)ี แตผ ลรปู ธรรมอกี สวนหน่งึ กลับเปนความตอเนอ่ื งของสภาพปญหาการกระจายรายไดไ มเทาเทียมกัน ระหวา งชนบทกบั เมือง และระหวางผผู ลิตภาคเกษตรกรรม (ระดบั ครัวเรือนรายยอย) กับภาคอุตสาหกรรม และการบรกิ าร ผลรูปธรรมสวนหลังขางตนปรากฏสะสมปญหา จนกลายเปนอุปสรรคสําคัญของการพัฒนา ประเทศชัดเจนมากขน้ึ ตามลําดบั จนถกู ระบเุ ปนขอสงั เกตเร่ือง “ความยากจน” ของประชากรสวนใหญ ของประเทศ ทีม่ ีสดั สว นการถอื ครองทรพั ยส นิ รายไดตา่ํ สุด เมอื่ เปรียบเทียบกับสัดสวนการถือครองของ ประชากรรํา่ รวยจาํ นวนนอยของประเทศ รายงานของคณะกรรมการการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ (สภาพัฒน) ยอมรับผลสรุปของ การพฒั นาขา งตนไวใ นชวงปลาย แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 8 ดวยเชนกัน ปญหา ความยากจน (รายไดไมเ พียงพอตอ รายจาย) แพรร ะบาดจากชนบท ชมุ ชนเกษตรกร เขาสูสังคมเมืองมากขึ้น รวมท้งั แพรระบาดเขา สแู วดวงอาชพี อน่ื ๆ นอกเหนือจากเกษตรกรรายยอยมากขนึ้ ตามลําดบั ในชว งกอ น และหลังวิกฤติเศรษฐกิจ 2540 โดยสภาพัฒน ไดพยายามปรับกลยุทธการพัฒนา เชน การพัฒนาท่ีถือ “มนษุ ย” เปน ศูนยกลางจนกระทั่งไดเร่ิมปรบั และกาํ ลงั จะปรบั ปรงุ ใหเ กดิ กลยทุ ธการพัฒนาแบบเศรษฐกิจ- พอเพยี งมากขน้ึ ตามลาํ ดบั โดยถือตามหลกั ปรชั ญา แนวทฤษฎี และโครงการตนแบบ ตามแนวพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ไดรับการยอมรับนับถือจากองคการสหประชาชาติ ดังทม่ี ีรายงานขาวเผยแพรไปยังประชาคมโลกแลว เพราะเหตุทป่ี ระชาชนจํานวนมากยังคงอยูในภาวะยากจน คือ รายไดไมพอเพียงตอการใชจาย เพ่ือดาํ รงชีวติ ครอบครวั ในขนั้ พ้ืนฐาน โดยเฉพาะอยางย่ิงชาวชนบทที่ดํารงอาชีพเกษตรกร ดังน้ัน การ แกไขปญหาความยากจนดวยการยกระดับรายไดของประชากรกลุมนี้ใหสูงข้ึนสูภาวะพอเพียง จึงเปน สวนสาํ คญั ของยุทธศาสตรก ารพฒั นาแบบเศรษฐกจิ พอเพยี งในขั้นตนสวนหนึ่ง โดยไมยุติกระบวนการ ทางเศรษฐกจิ สวนอื่นที่จาํ เปนเชน การแลกเปลยี่ นทางการคา ระหวางประเทศ และการลงทุนทีอ่ ยใู นขอบเขต เหมาะสมภายใตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจําแนกข้ันตอนดําเนินการพัฒนาไวตอเนื่อง เปนลําดับ ชดั เจน โดยไมปด กน้ั ความสัมพันธระหวา งประเทศ และไมมุงหมายจะใหเกิดการหยุดชะงัก หรือถอยหลัง เขาคลองทางเศรษฐกิจ รวมทง้ั มไิ ดม ุง หมายใหป ระเทศมแี ตก ารผลิตแบบเกษตรกรรมเพียงสว นเดียว โครงการตามแนวพระราชดํารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช จํานวนมากท่ี สรางความรูตามทฤษฎีใหมและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนโครงการท่ีมีลักษณะผูกพันกับวิถีชีวิต ชมุ ชนของชาวชนบทในภาคเกษตรกรรม เนื่องจากตลอด 3 – 4 ทศวรรษที่ผานมา ชุมชนเกษตรกรรม

40 โดยท่วั ไปในประเทศเผชิญกับปญหารายไดไ มเ พียงพอตอรายจา ยอยา งกวา งขวางรนุ แรง แตโครงการที่มี ลักษณะเปน การพัฒนาผลผลิตทางการเกษตรจํานวนมากเหลานั้น เชน โครงการหลวงดอยอางขาง และ โครงการหลวงดอยอินทนนท ฯลฯ มีความชัดเจนในแนวคิดเร่ืองการผลิตท่ีมีคุณภาพเพียงพอ สําหรับ การขายออกสตู ลาดภายนอกชุมชน เพอ่ื สรา งรายไดทเี่ พียงพอและยงั่ ยืนแทนการปลูกฝน ในอดีต แนวคิดท่ีชัดเจนเกี่ยวกับการผลิตทางการเกษตรท่ีพอเพียง สําหรับการจัดจําหนายสูตลาด ภายนอกชุมชนดังกลาว ทาํ ใหเ ห็นวา ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สงเสรมิ การแลกเปลย่ี นแบบเก้ือกลู กนั ทาง เศรษฐกิจ(ระหวา งเกษตรกร พอคา และผบู รโิ ภค) ระหวางประชาชนที่มีอาชพี ตา ง ๆ กนั และไมใชแ นวคิดท่ี ปดก้ันไวเฉพาะชุมชนชนบท และแวดวงเกษตรกรตามลําพังตามท่ีคนในสังคมเมืองท่ีมิใชเกษตรกร จํานวนหน่ึงพากันวิตกกังวลวา ตนเองจะไมไดรับประโยชนจากการดําเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง นอกเหนอื ไปจากนั้น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักความคิดที่สงเสริม “พลวัต” มากกวา แนะนําใหป ระชากรทางเศรษฐกิจ ตงั้ อยใู นภาวะ “สถิต” หรอื “หยุดน่ิง” อยกู ับสภาพการณท างเศรษฐกิจ ในขณะหน่ึง ๆ แตก ารท่ปี ระชาชนพ่ึงตนเองได จําเปน ตองปรับเปลย่ี นวถิ กี ารดาํ รงชีวติ จากแผนการกินดี อยดู ี เปน แผนอยูพอดกี ินพอดตี ามแนวพระราชดํารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช “การปรับเปลย่ี นแผนการผลิต” จากการผลิตเพ่ือการพาณิชยมาเปน การ “ผลิตเพื่อยังชีพ” เนื่องจาก การผลติ เพอื่ การพาณชิ ย ทาํ ใหป ระชาชนตองพ่งึ ระบบทนุ นยิ ม ชะตาชีวิตของประชาชนขึ้นอยูกับกลไก ของตลาด ทาํ ใหเกดิ การเอารดั เอาเปรยี บประชาชน “เพือ่ ลดผลกระทบ” ที่เกดิ จากความผนั ผวนของตลาด เปา หมายการผลิต ตองปรับไปเปนผลิตเพื่อกินเพื่อใช เม่ือมีสวนเกิน จึงจะนําออกขาย การผลิตเพ่ือกิน เพือ่ ใช จําเปนตองกระจายการผลติ ในครัวเรอื น เพื่อลดความเส่ียงและเพิม่ ความมน่ั คงในชีวติ อยางย่ังยืน

41 ใบงานท่ี 1 คําส่ัง ใหผูเ รียนแบงกลมุ กนั คนควาเก่ยี วกับความหมาย ความสําคัญของคําเหลานี้แลวใหแตละกลุมมา นําเสนอ เพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรูซึ่งกันและกันแลวบันทึก 1. อยพู อดกี ินพอดี หมายถงึ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 2. การพ่งึ ตนเอง หมายถึง .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 3. ความย่งั ยนื หมายถงึ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 4. ความคมุ คา หมายถงึ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

42 2. องคประกอบการพฒั นาอาชีพสคู วามมนั่ คง เสน ทางชวี ิตของอาชีพ เราเร่ิมตน จากการเรียนรเู ขา สูอาชีพ ทําใหอาชีพขับเคลื่อนไปสูการขยายอาชีพ เราผา นประสบการณ เรยี นรูแ กปญหา ตอ สกู ับการแขง ขันมากมาย จนถงึ จดุ จุดหนึง่ ทีเ่ ราตองการมากกวา นน่ั คอื ความมัน่ คง เราจงึ มีความจําเปนท่จี ะตอ งจัดระบบพัฒนาอาชีพเขา สูความมัน่ คง การพัฒนาอาชีพเขา สูความมั่นคงของผูประสบความสําเร็จ มีมากมาย จะมีลักษณะการกระทําที่ สอดคลอ งกนั เปนสว นใหญวา ความม่ันคงของอาชีพขนึ้ อยกู บั องคประกอบ อยางนอ ย 3 ประการ คอื (1) การลดความเสี่ยงในผลผลติ (2) ความมุง มน่ั พฒั นาอาชพี และ(3) การยึดหลักคณุ ธรรม ลดความเสยี่ งผลผลิต สูความม่นั คง มงุ มนั่ พฒั นาอาชีพ ยั่งยืน ยึดหลกั คณุ ธรรม จากแผนภมู ิ จะพบวา องคประกอบรวม ทง้ั 3 องคประกอบ เปน ตวั สงผลตอ ความม่ันคงยัง่ ยนื ใน อาชีพท่เี ราจะตองนํามาบรู ณาการใหเปนองครวมเดียวกัน การลดความเส่ยี งผลผลิต การประกอบอาชพี ในกิจกรรมเชงิ เด่ยี ว มกั จะเสีย่ งตอโอกาส ผลผลติ ไมไ ดต ามเปา หมาย ผลผลิต ราคาตกตํา่ ดังน้ัน การลดความเส่ียง จึงจําเปนที่จะตองมีปจจัยรวมที่สําคัญมาทําใหอัตราการเส่ียงของ ผลผลติ ลดลง ดังน้ี 1. การสรา งความหลากหลาย เปนการสรางกิจกรรมอาชีพใหไดผลผลิตที่หลากหลายรองรับ การเส่ยี งดว ยการแขงขนั และราคาของตลาด 2. การเพิ่มผลผลติ เปนภารกจิ ควบคุมดแู ลบาํ รงุ รกั ษาใหผ ลผลิตเพม่ิ ขึน้ มา 3. การหมุนเวียนเปลี่ยนรูป เปนกิจกรรมทําใหผลผลิต และขอเสียใหมีมูลคาเพ่ิมขึ้นดวยการ หมนุ เวียน เปลี่ยนรปู เปนผลติ ภัณฑใหมเ ขาสูตลาด 4. การจดั การรายได จากการซือ้ ขายผลผลิต ผลิตภณั ฑแปรรูป ใชลงทุนดําเนินอาชีพตอไปใช ดํารงชีวิต และเกบ็ ออมเพม่ิ ทุนขยายการทํางาน ผูประสบผลสําเร็จในอาชีพจะมุงม่ันจัดการปจจัยทั้ง 4 ประการใหมีประสิทธิภาพสูงข้ึนโดย ลําดบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook