Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002

Published by สกร.อำเภอพรรณานิคม, 2020-06-23 01:00:31

Description: ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002

Search

Read the Text Version

หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวิชา ศาสนาและหนาทพี่ ลเมือง (สค31002) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) สํานักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจําหนา ย หนังสอื เรยี นเลม นี้จัดพมิ พดว ยงบประมาณแผน ดนิ เพือ่ การศกึ ษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน ลิขสิทธิเ์ ปน ของ สํานกั งาน กศน. สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 43 /2557

หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ า ศาสนาและหนา ท่พี ลเมอื ง (สค31002) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ลขิ สิทธเ์ิ ปน ของ สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารทางวิชาการลาํ ดับที่ 43/2557

คํานาํ สาํ นักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยไดดําเนินการจัดทําหนังสือเรียน ชุดใหมนี้ข้ึน เพ่ือสําหรับใชในการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีมวี ัตถุประสงคใ นการพฒั นาผูเรียนใหม คี ุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา และศักยภาพ ในการประกอบอาชพี การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเ รยี นสามารถนําหนังสือเรียนไปใชในการศึกษาดวยวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมท้ังทาํ แบบฝก หดั เพอ่ื ทดสอบความรูใหก บั ผูเรยี น และไดมกี ารปรบั เพิม่ เติมเนอื้ หาเกยี่ วกับการมสี วนรวม ในการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต เพอื่ ใหส อดคลอ งกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ นน้ั ขณะนี้ คณะกรรมการรักษาความสงบแหง ชาติ (คสช.) มีนโยบายในการปลุกจิตสํานึกใหคนไทย มคี วามรกั ชาติ เทดิ ทนู สถาบันพระมหากษตั ริย เสริมสรางคุณธรรม จรยิ ธรรม คานยิ มในการอยูร ว มกันอยา ง สามคั คี ปรองดอง สมานฉนั ท สํานกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงไดมีการ ดําเนนิ การปรับเพ่ิมตวั ชี้วัดของหลักสตู ร และเน้อื หาหนังสอื เรียนใหส อดคลอ งตามนโยบายดังกลาว โดยเพม่ิ เน้ือหาเกี่ยวหลักอํานาจอธิปไตย หลักความเสมอภาค หลักนิติรัฐและนิติธรรม หลักเหตุผล หลักการ ประนีประนอม และหลักการยอมรับความเห็นตาง เพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสามัคคี ปรองดอง สมานฉันท และ คุณธรรม จริยธรรมในการอยูรวมกันอยางสันติ สามัคคีปรองดอง สามานฉันท เพื่อให สถานศึกษานาํ ไปใชในการจดั การเรยี นการสอนใหกับนักศึกษา กศน. ตอไป ท้ังนี้ สาํ นกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ไดรับความรวมมือดว ยดี จากผูทรงคณุ วฒุ ิและผูเ กี่ยวขอ งหลายทา นท่คี นควา และเรียบเรยี งเนื้อหาสาระจากสือ่ ตาง ๆ เพ่ือใหไดส่ือที่ สอดคลองกบั หลกั สูตร และเปนประโยชนตอ ผเู รียนทอ่ี ยนู อกระบบอยางแทจริง ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะผเู รียบเรยี ง ตลอดจนคณะผจู ัดทําทกุ ทานท่ีไดใ หความรว มมอื ดวยดไี ว ณ โอกาสน้ี สํานักงาน กศน. กันยายน 2557

สารบญั หนา คําแนะนําการใชห นงั สอื เรยี น โครงสรา งรายวชิ า ศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย บทที่ 1 ศาสนาในโลก............................................................................................................1 เรื่องท่ี 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนของศาสนา………………………................2 เรอ่ื งท่ี 2 พุทธประวัตแิ ละหลักธรรมคําสอนของพทุ ธศาสนา...................................3 เร่ืองที่ 3 ประวัติศาสดา และคาํ สอนของศาสนาอิสลาม .......................................20 เรื่องท่ี 4 ประวตั ิศาสดา และคําสอนของศาสนาครสิ ต..........................................22 เรอ่ื งที่ 5 ประวัตศิ าสนาพราหณ - ฮินดู และคาํ สอน ............................................25 เรื่องที่ 6 ประวัติศาสดาและคาํ สอนของศาสนาซกิ ซ.............................................34 เร่อื งที่ 7 การเผยแผศาสนาตา ง ๆ ในโลก.............................................................40 เรื่องท่ี 8 กรณตี วั อยางปาเลสไตน.........................................................................44 เรือ่ งท่ี 9 แนวปองกัน และแกไขความขดั แยงทางศาสนา......................................46 เร่อื งที่ 10 หลกั ธรรมในแตละศาสนาท่สี งผลใหอ ยูรวมกับ ศาสนาอื่นไดอยา งมีความสุข..................................................................47 เรือ่ งที่ 11 วธิ ีฝก ปฏิบัติพฒั นาจติ ในแตล ะศาสนา....................................................48 บทท่ี 2 วฒั นธรรม ประเพณีและคานิยมของประเทศของโลก .......................................... 52 เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของวฒั นธรรม .................................................53 เรอ่ื งที่ 2 เอกลักษณวฒั นธรรมไทย.......................................................................54 เรือ่ งท่ี 3 การเปลี่ยนแปลงทางวฒั นธรรมและการเลอื กรบั วัฒนธรรม ...................55 เรอ่ื งที่ 4 ประเพณีในโลก......................................................................................56 เรอื่ งที่ 5 ความสําคัญของคานยิ ม และคานิยมในสงั คมไทย ..................................56 เรอ่ื งที่ 6 คานยิ มทพ่ี งึ ประสงคข องสังคมโลก.........................................................59 เร่อื งที่ 7 การปอ งกนั และแกไขปญ หาพฤตกิ รรมตามคานิยม ที่ไมพ งึ ประสงคของสงั คมไทย................................................................61 บทท่ี 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย....................................................................... 63 เร่อื งที่ 1 ความเปนมาการเปลยี่ นแปลงรฐั ธรรมนญู ..............................................64 เร่อื งท่ี 2 สาระสาํ คญั ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย................................66 เร่ืองท่ี 3 บทบาทหนาทข่ี ององคก รตามรฐั ธรรมนูญ และการตรวจสอบการใชอาํ นาจรัฐ........................................................74 เร่ืองที่ 4 บทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนูญท่มี ีผลตอการเปลี่ยนแปลง ทางสงั คมและมีผลตอฐานะของประเทศไทยในสงั คมโลก.......................79 เรอื่ งท่ี 5 หนาทพี่ ลเมอื งตามรัฐธรรมนญู และกฎหมายอ่ืน ๆ.................................81

สารบญั (ตอ ) หนา เรอื่ งท่ี 6 หลักอํานาจอธิปไตย หลกั ความเสมอภาค หลักนติ ิรฐั และนติ ธิ รรม หลักเหตุผล หลักการประนปี ระนอมและ หลกั การยอมรับความคิดเหน็ ตางเพอื่ การอยูร ว มกัน อยา งสนั ติ สามคั คี ปรองดอง สมานฉนั ท...............................................83 เรื่องท่ี 7 การมีสว นรวมในการปอ งกนั และปราบปรมการทุจรติ .............................98 บทท่ี 4 สิทธมิ นษุ ยชน ...................................................................................................... 123 เร่ืองท่ี 1 หลกั สิทธิมนุษยสากล.......................................................................... 124 เรือ่ งที่ 2 สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย.............................................................. 129 เรอ่ื งท่ี 3 แนวทางการปฏบิ ัตติ นตามหลักสิทธิมนุษยชน..................................... 133 เฉลยกิจกรรม ........................................................................................................... 138 บรรณานุกรม ........................................................................................................... 141 คณะผูจัดทํา ........................................................................................................143

คําแนะนาํ ในการใชห นังสือเรียน หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนา ท่ีพลเมือง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนังสอื เรียนทจ่ี ดั ทําขนึ้ สาํ หรับผูเรยี นท่ีเปนนกั ศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าศาสนาและหนา ท่ีพลเมือง ผูเ รียนควรปฏิบัติ ดงั นี้ 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวิชาใหเขา ใจในหัวขอ สาระสําคัญ ผลการเรียนรูท ่ีคาดหวัง และขอบขาย เนอ้ื หา 2. ศึกษารายละเอยี ดเนื้อหาของแตล ะบทอยางละเอยี ด และทาํ กจิ กรรมตามท่ีกําหนดแลวตรวจสอบ กบั แนวตอบกจิ กรรมท่ีกาํ หนด ถา ผูเรยี นตอบผดิ ควรกลับไปศึกษาและทําความเขา ใจในเน้ือหาน้ันใหม ใหเขาใจ กอนท่จี ะศึกษาเรอื่ งตอ ไป 3. ปฏิบตั กิ จิ กรรมทา ยเรือ่ งของแตละเร่อื ง เพ่ือเปน การสรุปความรู ความเขา ใจของเนื้อหาในเรื่อง น้ัน ๆ อีกครัง้ และการปฏบิ ัติกิจกรรมของแตล ะเน้อื หาแตล ะเรอื่ ง ผูเรียนสามารถนาํ ไปตรวจสอบกบั ครูและ เพอ่ื น ๆ ทรี่ วมเรยี นในรายวชิ าและระดับเดียวกันได 4. หนังสือเรียนเลม นม้ี ี 4 บท คอื บทที่ 1 ศาสนาในโลก บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานยิ มของประเทศไทยและของโลก บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บทท่ี 4 สิทธมิ นษุ ยชน

โครงสรา ง รายวิชา ศาสนาและหนาท่ีพลเมือง (สค31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาระสําคัญ เปน สาระที่เกี่ยวกับศาสนาตาง ๆ ที่เกี่ยวขอ งกับกําเนิดศาสนาและศาสดาของศาสนาตาง ๆ หลักธรรมสําคัญของศาสนาตา ง ๆ การเผยแพรศาสนา ความขัดแยง ในศาสนา การปฏิบัติตนใหอยูรวมกัน อยางสนั ติสขุ การฝก จติ ในแตล ะศาสนา การพฒั นาปญ ญาในการแกไ ขปญ หา ตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสงั คม วัฒนธรรม ประเพณดี านภาษา การแตง กาย อาหาร ประเพณีสําคญั ๆ ของประเทศตา ง ๆ ในโลก การอนุรักษ และสืบทอดวฒั นธรรม ประเพณี การมสี วนรวมในการสืบทอดและปฏิบัติตนเปน แบบอยา งในการอนุรักษ วฒั นธรรมตามประเพณีของชาติ และการเลือกปรับใชว ัฒนธรรมตางชาติไดอยา งเหมาะสมกับตนเองและ สังคมไทย คานยิ มท่ีพึงประสงคของสงั คมไทยและประเทศตาง ๆ ในโลกการปฏิบัติตน เปนผูนําในการปอ งกัน และแกไ ขพฤตกิ รรมไมเ ปน ท่พี งึ ประสงคใ นสงั คมไทย ผลการเรียนรูท คี่ าดหวงั 1. อธิบายประวตั ิ หลักคาํ สอน และการปฏิบัตติ นตามหลกั ศาสนาทีต่ นนบั ถือ 2. เหน็ ความสาํ คญั ของวัฒนธรรม ประเพณี และมีสวนในการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม ประเพณี ทองถนิ่ 3. ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี 4. ยอมรับและปฏิบตั ิตนเพือ่ การอยูรว มกนั อยา งสนั ตสิ ขุ ในสังคมที่มีความหลากหลายทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี 5. วิเคราะหหลักการสําคัญของประชาธิปไตยและปฏิบัติตนตามคุณธรรม จริยธรรม คานิยมใน การอยรู ว มกันอยา งสันติ สามคั คี ปรองดอง สมานฉันท 6. วิเคราะหแนวทางการแกปญหาการทุจริต และมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม การทจุ รติ ขอบขา ยเนื้อหา บทที่ 1 ศาสนาในโลก เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนข องศาสนา เรอ่ื งที่ 2 พทุ ธประวตั ิและหลักธรรมคําสอนของพทุ ธศาสนา เรื่องท่ี 3 ประวตั ิศาสดา และคาํ สอนของศาสนาอสิ ลาม เรอื่ งท่ี 4 ประวตั ศิ าสดา และคําสอนของศาสนาครสิ ต เรอ่ื งท่ี 5 ประวิตศิ าสนาพราหมณ - ฮนิ ดู และคําสอน เรอ่ื งท่ี 6 ประวตั ิศาสดาของศาสนาซกิ ซและคําสอน เรื่องท่ี 7 การเผยแผศ าสนาตา ง ๆ ในโลก เรื่องที่ 8 กรณตี ัวอยางปาเลสไตน

เรือ่ งที่ 9 แนวทางปอ งกันและแกไขความขดั แยง ทางศาสนา เรอ่ื งท่ี 10 หลักธรรมในแตล ะศาสนาที่สง ผลใหอ ยูร วมกับศาสนาอนื่ ไดอ ยา งมคี วามสุข เรอื่ งที่ 11 วธิ ฝี ก ปฏิบัติพัฒนาจิตในแตล ะศาสนา บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของประเทศของโลก เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของวัฒนธรรม เร่ืองที่ 2 เอกลักษณวัฒนธรรมไทย เรื่องที่ 3 การเปลยี่ นแปลงทางวฒั นธรรมและรับวฒั นธรรม เรอ่ื งที่ 4 ประเพณใี นโลก เรือ่ งที่ 5 ความสําคัญของคานิยม และคานิยมในสงั คมไทย เรอื่ งที่ 6 คานยิ มทีพ่ งึ ประสงคข องสังคมโลก เรื่องท่ี 7 การปองกันและแกไขปญหาพฤตกิ รรมตามคา นยิ ม ท่ไี มพงึ ประสงคข องสังคมไทย บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย เรอื่ งที่ 1 ความเปนมาการเปล่ยี นแปลงรัฐธรรมนูญ เรือ่ งท่ี 2 สาระสาํ คญั ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย เรอ่ื งที่ 3 บทบาทหนา ทีข่ ององคก รตามรัฐธรรมนูญและการตรวจสอบการใชอ ํานาจรฐั เร่ืองท่ี 4 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีผลตอ การเปล่ียนแปลงทางสังคมและมีผลตอ ฐานะของประเทศไทยในสังคมโลก เรอ่ื งท่ี 5 หนา ทพ่ี ลเมืองตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอน่ื ๆ เรือ่ งท่ี 6 หลักอํานาจอธิปไตย หลักความเสมอภาค หลักนติ ริ ัฐและนติ ธิ รรม หลักเหตุผล หลักการประนีประนอมและหลกั การยอมรับความคิดเห็นตา ง เพือ่ การอยรู วมกันอยางสนั ติ สามัคคี ปรองดอง สมานฉนั ท เร่ืองที่ 7 การมีสว นรว มในการปอ งกันและปราบปรามการทุจริต บทท่ี 4 สทิ ธมิ นษุ ยชน เร่อื งที่ 1 หลักสทิ ธมิ นษุ ยสากล เรื่องที่ 2 สิทธิมนษุ ยชนในประเทศไทย เรอ่ื งที่ 3 แนวทางการปฏิบตั ติ นตามหลักสทิ ธมิ นษุ ยชน บรรณานกุ รม คณะทาํ งาน

ส่อื ประกอบการเรียนรู 1. หนังสือ ศาสนาสากล 2. ซีดี ศาสนาพทุ ธ ศาสนาครสิ ต ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาฮนิ ดู 3. หนังสอื วัฒนธรรม ประเพณีในสงั คมไทย 4. หนังสือวัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศตา ง ๆ ในโลก 5. คอมพิวเตอร อินเทอรเ นต็

ห น า | 1 บทท่ี 1 ศาสนาในโลก สาระสําคัญ ศาสนาตาง ๆ ในโลกมีคุณคาและเปนประโยชนตอชาวโลก เพราะกอใหเกิดจริยธรรมเปน แนวทางการดําเนินชีวิต ทําใหมนุษยสามารถปกครองตนเองได ชวยใหสังคมดีขึ้น สําหรับประเทศไทยมี ผูนับถือศาสนาพุทธมากท่ีสุด รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาฮินดู และศาสนาซิกข แตในโลกมีผูนับถือศาสนาคริสตมากที่สุด รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธ การศึกษาคําสอนศาสนาตาง ๆ ของศาสนิกชน เพ่ือนํามาประพฤติสงผลใหสังคมมีความสุข ศาสนา ทกุ ศาสนาลวนสั่งสอนใหค นเปน คนดี เมอ่ื สงั คมเกดิ ความขัดแยงควรรบี หาทางแกไข โดยการนําคําสอนทาง ศาสนามาประพฤตปิ ฏิบัตจิ ึงจะสง ผลใหสังคมเกิดความสงบสขุ ตลอดไป ผลการเรยี นทีค่ าดหวงั 1. มีความรูความเขา ใจศาสนาที่สําคญั ๆ ในโลก 2. มคี วามรูค วามเขา ใจในหลกั ธรรมสาํ คญั ของแตล ะศาสนา 3. เหน็ ความสําคญั ในการอยูรว มกบั ศาสนาอนื่ อยา งสันตสิ ุข 4. ประพฤติปฏบิ ตั ติ นสงผลใหสามารถอยรู วมกันกบั ศาสนาอื่นอยา งสันตสิ ุข 5. ฝกปฏิบัติพัฒนาจิตเพ่ือใหสามารถพัฒนาตนเองใหมีสติปญญาในการแกปญหาตาง ๆ และ พฒั นาตนเอง ขอบขายเน้อื หา บทท่ี 1 ศาสนาในโลก เรื่องที่ 1 ความหมายคณุ คาและประโยชนข องศาสนา เรอ่ื งท่ี 2 พุทธประวัติและหลกั ธรรมคําสอนของพทุ ธศาสนา เรือ่ งที่ 3 ประวัตศิ าสดาและคาํ สอนของศาสนาอสิ ลาม เรื่องที่ 4 ประวัติศาสดาและคาํ สอนของศาสนาครสิ ต เรือ่ งที่ 5 ประวตั ิศาสนาพราหมณ - ฮินดู และคาํ สอน เรอ่ื งท่ี 6 ประวัตศิ าสดาและคาํ สอนของศาสนาซกิ ข เรื่องท่ี 7 การเผยแพรศาสนาตาง ๆ ในโลก เรอ่ื งท่ี 8 กรณตี ัวอยา งปาเลสไตน เรื่องท่ี 9 แนวทางปอ งกนั และแกไขความขดั แยงทางศาสนา เร่ืองท่ี 10 หลักธรรมในแตล ะศาสนาทสี่ งผลใหอ ยรู ว มกบั ศาสนาอืน่ ไดอยา งมีความสขุ เรอ่ื งที่ 11 วิธฝี กปฏิบัตพิ ฒั นาจติ ในแตล ะศาสนา สอ่ื ประกอบการเรียนรู ซีดีศาสนาสากล เอกสารศาสนาสากลและความขัดแยงในปาเลสไตน

ห น า | 2 เรอื่ งท่ี 1 ความหมายคุณคา และประโยชนของศาสนา ความหมายของศาสนา ศาสนา คอื คําสอนทศ่ี าสดานาํ มาเผยแผ สงั่ สอน แจกแจง แสดงใหมนุษยเวน จากความชั่ว กระทํา แตค วามดี ซึ่งมนษุ ยย ดึ ถือปฏบิ ตั ติ ามคําสอน นั้น ดวยความเคารพเลอื่ มใสและศรัทธา คําสอนดังกลาวจะมี ลกั ษณะเปน สจั ธรรม ศาสนามคี วามสําคัญตอบุคคลและสังคม ทําใหมนุษยทุกคนเปนคนดีและอยูรวมกัน อยางสันติสุข ศาสนาในโลกน้ีมีอยูมากมายหลายศาสนาดวยกัน แตวัตถุประสงคอันสําคัญยิ่งของทุก ๆ ศาสนาเปนไปในทางเดียวกนั กลา วคือ จูงใจใหคนละความช่ัว ประพฤติความดีเหมือนกันหมด หากแตวา การปฏบิ ตั ิพธิ ีกรรมยอ มแตกตา งกันตามความเชอื่ ถอื ของแตละศาสนา คุณคา ของศาสนา 1. เปนทีย่ ดึ เหนี่ยวจติ ใจของมนุษย 2. เปนบอเกดิ แหงความสามัคคขี องหมูคณะและในหมมู นุษยชาติ 3. เปน เคร่อื งดบั ความเรารอ นใจ ทําใหส งบรมเย็น 4. เปน บอเกดิ แหงจรยิ ธรรมศลี ธรรมและคุณธรรม 5. เปน บอ เกิดแหงการศกึ ษาขนบธรรมเนียมประเพณอี ันดีงาม 6. เปน ดวงประทีบสองโลกท่ีมืดมดิ อวิชชาใหก ลับสวา งไสวดวยวิชชา ประโยชนข องศาสนา ศาสนามีประโยชนมากมายหลายประการ กลา วโดยสรปุ มี 6 ประการ คอื 1. ศาสนาเปนแหลงกําเนิดจริยธรรม ศาสนาทุกศาสนา สอนใหเราทราบวา อะไรคือความชั่ว ทีค่ วรละเวน อะไรคือความดีที่ควรกระทํา อะไรคือส่ิงที่บุคคลในสังคมพึงปฏิบัติ เพ่ือใหอยูรวมกันอยางมี ความสุข ดังน้ัน ทกุ ศาสนาจงึ เปนแหลง กาํ เนิดแหงความดที ั้งปวง 2. ศาสนาเปนแนวทางการดําเนินชีวิต ทุกศาสนาจะวางหลักการดําเนินชีวิตเปนข้ัน ๆ เชน พระพุทธศาสนาวางไว 3 ข้ัน คือ ขัน้ ตนเนนการพง่ึ ตนเองไดม คี วามสขุ ตามประสาชาวโลก ขั้นกลางเนน ความเจริญกา วหนาทางคุณธรรม และขน้ั สูงเนน การลด ละ โลภ โกรธ หลง 3. ศาสนาทําใหผูนับถือปกครองตนเองได หลักคําสอนใหรูจักรับผิดชอบตนเองคนท่ีทําตาม คาํ สอนทางศาสนาเครง ครัด จะมหี ิรโิ อตตัปปะ ไมทาํ ช่วั ทง้ั ที่ลบั และท่ีแจง เพราะสามารถควบคุมตนเองได 4. ศาสนาชวยใหสังคมดีขึ้น คําสอนทางศาสนาเนนใหคนในสังคมเวนจากการเบียดเบียนกัน เอารดั เอาเปรยี บกนั สอนใหเ อือ้ เฟอ เผื่อแผ มีความซื่อสัตยสุจริตตอกัน เปนเหตุใหสังคมมีความสงบสันติ ย่ิงข้นึ สอนใหอ ดทน เพียรพยายามทาํ ความดี สรา งสรรคผลงานและประโยชนใหก ับสงั คม 5. ศาสนาชวยควบคมุ สงั คมดีขึ้น ทุกสังคมจะมีระเบียบขอ บังคบั จารีตประเพณีและกฎหมายเปน มาตรการควบคุมสงั คมใหสงบสขุ แตส ่ิงเหลานี้ไมส ามารถควบคุมสังคมใหสงบสุขแทจริงได เชน กฎหมาย ควบคมุ ไดเ ฉพาะพฤติกรรมทางกายและทางวาจาเทานนั้ ไมส ามารถลึกลงไปถึงจิตใจได ศาสนาเทานั้นจึงจะ ควบคมุ คนไดท ้งั กาย วาจา และใจ

ห น า | 3 ศาสนาในประเทศไทย ศาสนาพทุ ธ เปนศาสนาประจําชาติไทย มีผูนับถือมากที่สุด รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณ - ฮินดู และศาสนาซิกข รายละเอียดของแตละศาสนา ดงั ตอไปนี้ คอื เรือ่ งที่ 2 พทุ ธประวตั แิ ละหลกั ธรรมคาํ สอนของพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเชือ่ เรอื่ งการเวยี นวา ย ตาย เกิด ในวัฏสงสาร ถา สตั วโลกยงั มกี เิ ลส คอื โลภ โกรธ หลง จะตองเกิดในไตรภูมิ คือ 3 โลก ไดแก นรกภูมิ โลกมนุษย และเทวโลก และในการเกิดเปนพระพุทธเจา เพอ่ื ทจ่ี ะโปรดสัตวโลกใหบารมีสมบรู ณ จึงจะเกิดเปนพระพุทธเจา ใหพระพุทธเจาไดบําเพ็ญบารมีมาทุกภพ ทกุ ชาตแิ ละบาํ เพ็ญบารมอี ยางย่ิงยวดใน 10 ชาติสดุ ทาย เรยี กวา ทศชาติ ซง่ึ ไดกลาวไวในพระสุตตันตปฎก โดยมคี วามยอ ๆ ดงั น้ี 1. เตมยี ชาดก เปนชาดกท่ีแสดงถึง การบําเพ็ญเนกขัมมบารมี คือ การออกบวช ความวา พระเตมียเกิดใน ตระกลู กษตั ริย แตท รงเกรงวา จะตองขึน้ ครองราชยเปนพระราชา เพราะทรงเห็นการลงโทษโจรตามคําส่ัง ของพระราชา เชน เฆีย่ นบาง เอาหอกแทงบา ง พระองคจ งึ ทรงแกลงเปน งอยเปล้ยี หหู นวก เปน ใบ ไมพดู จากับ ใครพระราชาปรึกษากบั พราหมณใ หน าํ พระองคไ ปฝง เสีย พระมารดาทรงคดั คาน แตไ มส ําเรจ็ จึงทรงขอให พระเตมยี  ครองราชย 7 วนั เผอื่ พระองคจ ะตรัสบา ง ครน้ั ครบ 7 วนั แลว พระเตมยี ก ็ไมต รัส ดังนั้น สารถีจึง นาํ พระเตมียไ ปฝงตามคําสง่ั ของพระราชา ขณะกําลังขุดหลุมพระเตมียลงจากรถ และตรัสปราศรัยแจงวา พระองคตองการจะบวช ไมตองการเปนพระราชา จากน้ันสารถีกลับไปบอกพระราชา พระราชาจึงเชิญ พระเตมียก ลับไปครองราชย พระเตมยี ก ลับเทศนาสัง่ สอนจนพระชนก ชนนี และบริวาร พากนั เลอ่ื มใสออก บวชตาม 2. มหาชนกชาดก ชาดกเร่ืองนแี้ สดงถึง การบําเพ็ญวิริยบารมี คือ ความเพียร ใจความสําคัญ คือ พระมหาชนก- ราชกุมาร เดินทางไปทางทะเล เรือแตก คนทั้งหลายจมน้ําตายบาง เปนเหยื่อของสัตวนํ้าบาง แตพระองค ไมท รงละความอตุ สาหะ ทรงวายนํ้า โดยกาํ หนดทิศทางแหง กรงุ มิถิลา ในทีส่ ุดก็ไดรอดชวี ติ กลบั ไปกรุงมิถิลาได ชาดกเรอื่ งนี้ เปนท่มี าแหงภาษติ ทีว่ า เปน ชายควรเพยี รรา่ํ ไปอยา เบ่ือหนา ย (ความเพียร) เสีย เราเห็นตัวเอง เปนไดอ ยางที่ปรารถนา ขึน้ จากน้ํามาสบู กได 3. สวุ รรณสามชาดก ชาดกเรอื่ งนแี้ สดงถึง การบําเพ็ญเมตตาบารมี คือ การแผไมตรีจิตคิดจะใหสัตวท้ังปวงเปนสุข ทว่ั หนา มีเร่ืองเลาวา สุวรรณสาม เลยี้ งมารดาบดิ าของตนซงึ่ เสยี จักษุในปา และเน่ืองจากเปนผูเมตตาปรารถนาดี ตอ ผูอืน่ หมูเ น้ือกเ็ ดนิ ตามแวดลอมไปในท่ีตาง ๆ วันหน่ึงถูกพระเจากรุงพาราณสี ชื่อ พระเจากบิลยักษ ยิงเอา ดวยธนู ดวยเขาพระทัยผิด ภายหลังเม่ือทราบวาเปนมาณพ ผูเล้ียงมารดา บิดา ก็สลดพระทัย จึงไปจูง มารดาของสุวรรณสามมา มารดา บิดาของสุวรรณสามก็ตั้งสัจจกริยาอางคุณความดีของสุวรรณสาม สุวรรณสามก็ฟน คนื สตแิ ละไดส อนพระราชา แสดงคติธรรมวา ผูใดเล้ียงมารดาบิดาโดยธรรม แมเทวดาก็

ห น า | 4 ยอมรักษาผูน้ัน ยอมมีคนสรรเสริญในโลกน้ี ละโลกนี้ไปแลวก็ไปเกิดในสวรรค ตอจากน้ัน เม่ือพระราชา ขอใหสงั่ สอนตอ ไปอีกกส็ อนใหทรงปฏบิ ตั ิธรรมปฏิบตั ชิ อบในบุคคลทัง้ ปวง 4. เนมริ าชชาดก ชาดกเร่ืองนี้แสดงถงึ การบาํ เพญ็ อธิษฐานบารมี คอื ความตง้ั ใจมัน่ คง มเี รื่องเลาวา เนมิราช ไดข้ึน ครองราชยต อจากพระราชบิดา ทรงบําเพญ็ คุณงามความดี เปนท่ีรักของมหาชน และในที่สุดเมื่อทรงมอบ ราชสมบัติแกพระราชโอรส เสด็จออกผนวชเชนเดียวกับท่ีพระราชบิดาของพระองคเคยทรงบําเพ็ญมา ทอดพระเนตรเหน็ เสนพระเกศาหงอกบางกส็ ลดพระทยั ในสงั ขารจึงทรงออกผนวช 5. มโหสถชาดก ชาดกเรือ่ งนีแ้ สดงถงึ การบําเพญ็ ปญ ญาบารมี คอื มีปญญาลา้ํ เลิศ มีเร่ืองเลาวา มโหสถบัณฑิต เปนทป่ี รึกษาหนุม ของพระเจาวิเทหะ แหง กรงุ มิถลิ า ทา นมคี วามฉลาดรู สามารถแนะนําในปญ หาตาง ๆ ได อยา งถกู ตองรอบคอบ เอาชนะที่ปรึกษาอนื่ ๆ ทรี่ ิษยาใสความดวยความดี ไมพยาบาท อาฆาตครั้งหลัง ใช อบุ ายปอ งกันพระราชาจากราชศตั รู และจับราชศัตรซู ่ึงเปนกษัตริยพ ระนครอน่ื ได 6. ภูริทัตชาดก ชาดกเร่ืองนแี้ สดงถึง การบาํ เพ็ญศีลบารมี คอื การรักษาศลี มีเรื่องเลาวา ภูริทตั ตนาคราช ไปจําศีล อยูริมฝงแมนํ้ายมุนา ยอมอดทนใหหมองูจับไปทรมานตาง ๆ ทั้งท่ีสามารถจะทําลายหมองูไดดวยฤทธ์ิ ดวยความทมี่ ีใจมนั่ ตอ ศีลของตนในทส่ี ดุ กไ็ ดอ ิสรภาพ 7. จันทกมุ ารชาดก ชาดกเรื่องน้แี สดงถงึ การบําเพญ็ ขันตบิ ารมี คอื ความอดทน จนั ทกมุ าร เปนโอรสของพระเจา- เอกราช พระองคทรงชวยประชาชนใหพ นจากคดี ซึง่ กัณฑหาลพราหมณราชปุโรหิต เปน ผรู ับสินบนตัดสนิ คดี ขาดความเปนธรรม สง ผลใหก ณั ฑหาลพราหมณผกู อาฆาตพยาบาท วนั หนึ่งพระเจาเอกราช ทรงพระสุบิน เหน็ ดาวดงึ สเ ทวโลก เมื่อทรงต่ืนบรรทม ทรงพระประสงคเดินทางไปดาวดึงสเทวโลก จึงตรัสถามกัณฑหาล- พราหมณ กัณฑหาลพราหมณ จงึ กราบทูลแนะนําใหตดั พระเศียรโอรส ธิดา มเหสี บูชายัญ แมใครจะทัดทาน ขอรองก็ไมเปนผล รอนถึงทาวสักกะ (พระอินทร) ตองมาช้ีแจงใหหายเขาใจผิดวา วิธีนี้ไมใชทางไปสวรรค มหาชน จึงรุมฆา กณั ฑหาลพราหมณ และเนรเทศพระเจาเอกราช แลว กราบทูลเชญิ จันทกุมารข้นึ ครองราชย 8. นารทชาดก ชาดกเรื่องนี้แสดงถึง การบําเพ็ญอุเบกขาบารมี คือ การวางเฉย พระพรหมนารถ ไดชวยให พระเจาองั คตริ าช แหง กรงุ มถิ ลิ ามหานคร พนจากความคิดเห็นผิดที่ไดรับคําสอนจากคุณาชีวก วารูปกาย ของคน สตั ว เปน ของเทีย่ ง แมตัดศรี ษะผอู ื่นแลวไมบ าป สขุ ทุกขเกิดไดเองไมมีเหตุ คนเราเวียนวา ยตายเกิด หนักเขาก็บริสุทธ์ิเอง เมื่อพระองคมีความเห็น ดังน้ัน พระเจาอังคติราชจึงส่ังใหร้ือโรงทาน และมัวเมาใน โลกีย รอ นถงึ พระธิดา คือ พระนางรจุ า ทรงหว งพระบดิ า จงึ สวดออนวอน ขอใหพระบิดาพนจากความมัวเมา รอนถงึ พระพรหมนาทร ทรงจาํ แลงกายเปนนักบวช ทรงสอนใหพระเจาอังคติราชใหกลับความเห็นท่ีผิดมา บาํ เพ็ญกศุ ลถือศีล ทาํ ทานปกครองเมอื งโดยสงบรม เย็น 9. วทิ รู ชาดก ชาดกเร่ืองนี้แสดงถงึ การบาํ เพญ็ สัจจบารมี คือ ความซ่ือสัตย บัณฑิต มีหนาที่ถวายคําแนะนํา แกพ ระเจา ธนัญชยั โกรพั ยะ ซ่ึงเปน พระราชาที่คนนบั ถอื มาก ครั้งหน่ึงปณุ ณกยักษมาทา พระเจา ธนญั ชัยโกทพั ยะ เลน สกา ถาแพจ ะถวายมณรี ตั นะอนั วเิ ศษ ถา พระราชาแพตอ งใหสง่ิ ทป่ี ณุ ณกยักษต อ งการ ในท่สี ุดพระราชาแพ ปณุ ณกยักษขอตัววิฑรู บัณฑติ พระราชาหนว งเหนี่ยวประการใดไมส าํ เร็จ วิฑูรบณั ฑติ รักษาสัจจะไปกับยักษ

ห น า | 5 ในท่สี ดุ แม แมยกั ษจะทาํ อยางไรวิฑูรบณั ฑติ ก็ไมตายกบั แสดงธรรม จนยกั ษเลื่อมใสและไดกลับคืนบานเมอื ง มีการฉลองรับขวญั เปน การใหญ 10. เวสสันดรชาดก เปนชาตสิ ุดทายของพระพทุ ธเจา ชาตติ อไปจึงจะเกิดเปน พระพทุ ธเจา ชาดกเรอ่ื งนี้ แสดงถึงการ บําเพญ็ ทานบารมี คือ การบริจาคทาน มีเรือ่ งเลาวา พระเวสสันดรผูใจดี บริจาคทุกอยางที่มีคนขอ ครั้งหน่ึง ประทานชางเผือกคูบ านคเู มอื งแกพ ราหมณ ชาวกาลิงคะ ซึ่งตอมาขอชา งไปเพือ่ ใหเ มืองของตนหายจากฝนแลง แตป ระชาชนโกรธ ขอใหเ นรเทศพระราชบิดา จึงจาํ พระทยั ตอ งเนรเทศพระเวสสนั ดร ซ่งึ พระนางมัทรีพรอม ดวยพระโอรสธิดาไดตามเสด็จไปดวย เม่ือชูชกไปขอสองกุมารก็ประทานใหอีก ภายหลังพระเจาสัญชัย พระราชบดิ าไดทรงไถส องกมุ ารจากชูชก และเสด็จไปรับพระเวสสันดรและพระนางมัทรีกลับกรุง (เรื่องนี้ แสดงการเสียสละสวนนอย เพ่ือประโยชนสวนใหญ คือ การตรัสรู เปนพระพุทธเจา อันจะเปนทางใหได บําเพญ็ ประโยชนส วนรวมได มิใชเ สยี สละโดยไมม จี ุดมงุ หมายหรอื เหตผุ ล) ประวตั พิ ระพทุ ธเจา พระพุทธเจา ทรงมพี ระนามเดิมวา “สทิ ธัตถะ” ทรงเปนพระราชโอรสของ “พระเจาสุทโธทนะ” กษตั รยิ ผ ูครองกรุงกบลิ พัสดุ แควน สักกะ และ “พระนางสิริมหามายา” พระราชธิดาของกษัตริยราชสกุล โกลิยวงศ แหง กรุงเทวทหะ แควน โกลิยะ ในคืนที่พระพุทธเจาเสด็จปฏิสนธิในครรภพระนางสิริมหามายา พระนางทรงพระสุบินนิมิตวา มีชา งเผือกมงี าสามคูไดเขามาสูพระครรภ ณ ที่บรรทม กอนที่พระนางจะมีพระประสูติกาลท่ีใตตนสาละ

ห น า | 6 ณ สวนลุมพินวี นั เมอ่ื วนั ศุกร ข้นึ สบิ หาคาํ่ เดือนวสิ าขะ ปจอ 80 ปก อนพทุ ธศักราช (ปจจุบันสวนลุมพินีวัน อยูในประเทศเนปาล) ทันทีที่ประสูติเจาชายสิทธัตถะ ทรงดําเนินดวยพระบาท 7 กาว และมีดอกบัวผุดขึ้นมารองรับ พระบาท พรอ มเปลง วาจาวา “เราเปนเลิศท่ีสดุ ในโลก ประเสรฐิ ทส่ี ุดในโลก การเกดิ ครง้ั น้ีเปนคร้ังสุดทาย ของเรา” แตหลังจากเจาชายสิทธัตถะประสูติกาลไดแลว 7 วัน พระนางสิริมหามายาก็เสด็จสวรรคาลัย เจาชายสิทธตั ถะ จึงอยูในความดแู ลของพระนางประชาบดีโคตมี ซง่ึ เปน พระกนษิ ฐาของพระนางสริ มิ หามายา ท้ังนี้ พราหมณทั้ง 8 ไดทํานายวา เจาชายสิทธัตถะมีลักษณะเปนมหาบุรุษ คือ หากดํารงตนใน ฆราวาส จะไดเปน จกั รพรรดิ ถาออกบวชจะไดเ ปนศาสดาเอกของโลก แตโกณฑัญญะพราหมณผูอายุนอย ท่ีสุดในจํานวนนั้นยืนยันหนักแนนวาพระราชกุมารสิทธัตถะ จะเสด็จออกบวชและจะไดตรัสรูเปน พระพทุ ธเจาแนน อน ชวี ิตในวยั เดก็ เจา ชายสิทธัตถะ ทรงศึกษาเลาเรียนจนจบศิลปศาสตรทั้ง 18 ศาสตร ในสํานักครูวิศวามิตรและ เนอ่ื งจากพระบดิ าไมป ระสงคใ หเ จา ชายสทิ ธตั ถะเปน ศาสดาเอกของโลก จึงพยายามทําใหเจาชายสิทธัตถะ พบเหน็ แตค วามสขุ โดยการสรางปราสาท 3 ฤดู ใหอ ยูป ระทบั และจดั เตรยี มความพรอ มสาํ หรับการราชาภเิ ษก ใหเจาชายข้ึนครองราชย เม่ือมีพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางพิมพาหรือยโสธรา พระธดิ าของพระเจากรงุ เทวทหะ ซึ่งเปนพระญาตฝิ า ยมารดา จนเมือ่ มีพระชนมายุ 29 พรรษา พระนางพิมพา ไดใ หป ระสตู ิพระราชโอรสมีพระนามวา “ราหลุ ” ซ่ึงหมายถงึ “บว ง” เสด็จออกผนวช

ห น า | 7 วันหน่งึ เจาชายสิทธตั ถะ ทรงเบื่อความจําเจในปราสาท 3 ฤดู จึงชวนสารถีทรงรถมาประพาสอุทยาน คร้ังน้ันไดทอดพระเนตรเห็นคนแก คนเจ็บ คนตาย และนักบวช โดยเทวทูต (ทูตสวรรค) ท่ีแปลงกายมา พระองคจงึ ทรงคิดไดว านี่เปน ธรรมดาของโลก ชวี ิตของทกุ คนตองตกอยูในสภาพ เชนน้ัน ไมมีใครสามารถ หลีกเลย่ี งเกดิ แก เจ็บ ตายได จึงทรงเหน็ วา ความสุขทางโลกเปนเพียงภาพมายา เทานั้น และวิถีทางท่ีจะ พนจากความทุกข คือ ตองครองตนเปนสมณะ ดังน้ัน พระองคจึงใครจะเสด็จออกบรรพชา ในขณะท่ีมี พระชนมายุ 29 พรรษา ครานนั้ พระองคไ ดเ สดจ็ ไปพรอ มกบั นายฉันทะ สารถีซึง่ เตรยี มมาพระที่นั่งนามวา กัณฑกะ มุงตรง ไปยังแมนํ้าอโนมานที กอนจะประทับน่ังบนกองทรายทรงตัดพระเมาลีดวยพระขรรคและเปลี่ยนชุด ผากาสาวพัตร (ผายอ มดว ยรสฝาดแหงตน ไม) และใหนายฉนั ทะนําเคร่ืองทรงกลบั พระนคร กอนท่ีพระองค จะเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ (การเสด็จออกเพื่อคุณอันยิ่งใหญ) ไปโดยเพียงลําพัง เพ่ือมุงพระพักตรไป แควนมคธ บําเพญ็ ทุกรกิรยิ า หลงั จากทรงผนวชแลว พระองคมุงไปท่ีแมนํ้าคยา แควนมคธ ไดพยายามเสาะแสวงทางพนทุกข ดวยการศึกษาคนควาทดลองในสํานักอาฬารดาบสกาลามโคตรและอุทกดาบสรามบุตร เมื่อเรียนจบทั้ง 2 สํานกั แลว ทรงเหน็ วานยี่ ังไมใ ชทางพนทกุ ข จากนั้นพระองคไดเ สดจ็ ไปทีแ่ มน้าํ เนรญั ชรา ในตาํ บลอรุ เุ วลาเสนานิคมและทรงบําเพ็ญทุกรกิริยา ดวยการขบฟนดว ยฟน กล้ันหายใจ และอดอาหารจนรางกายซูบผอม แตหลงั จากทดลองได 6 ป ทรงเห็นวา น่ียังไมใชทางพนทุกขจึงทรงเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยา และหันมาฉันอาหารตามเดิม ดวยพระราชดําริตามที่ ทา วสกั กเทวราชไดเ สดจ็ ลงมาดีดพิณถวาย 3 วาระ คือ ดีดพิณสาย 1 ขึงไวตึงเกินไป เมื่อดีดก็จะขาด ดีดพิณ วาระท่ี 2 ซึ่งขึงไวหยอน เสียงจะยืดยาด ขาดความไพเราะ และวาระที่ 3 ดีดพิณสายสุดทายที่ขึงไวพอดี จึงมเี สยี งกังวานไพเราะ ดังนั้น จึงทรงพิจารณาเห็นวา ทางสายกลาง คอื ไมตึงเกินไป และไมหยอนเกินไป น้ัน คือ ทางท่จี ะนําสกู ารพนทุกข หลงั จากพระองคเ ลกิ บําเพ็ญทกุ รกิริยา ทําใหพระปญ จวคั คยี ทงั้ 5 ไดแ ก โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อสั สชิ ทมี่ าคอยรับใชพ ระองคด ว ยความคาดหวังวา เมื่อพระองคคนพบทางพนทุกข จะไดสอน พวกตนใหบรรลุดวย เกิดเสื่อมศรัทธาที่พระองคลมเลิกความต้ังใจ จึงเดินทางกลับไปที่ปาอิสิปตน- มฤคทายวัน ตําบลสารนาถ เมืองพาราณสี

ห น า | 8 ตรสั รู คราน้นั พระองคท รงประทบั นั่งขัดสมาธใิ ตตน พระศรมี หาโพธิ์ ณ อรุ เุ วลาเสนานิคม เมืองพาราณสี หนั พระพักตรไปทางทิศตะวนั ออกและตงั้ จิตอธิษฐานดว ยความแนวแนวา ตราบใดที่ยงั ไมบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ ก็จะไมลกุ ขึ้นจากสมาธบิ ลั ลังก แมจะมีหมูมารเขามาขัดขวาง แตก็พายแพพระบารมีของพระองคกลับไป จนเวลาผา นไปในที่สดุ พระองคท รงบรรลรุ ูปฌาณ คือ ยามตน หรือ ปฐมยาม ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสตญิ าณ คือ สามารถระลึกชาติได ยามสอง ทรงบรรลจุ ุตูปปาตญาณ (ทิพยจักษุญาณ) คือ รูเ รื่องการเกิดการตายของสัตวท ง้ั หลายวา เปน ไปตามกรรมที่กําหนดไว ยามสาม ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ คือ ความรูที่ทําใหสิ้นอาสวะหรือกิเลสดวยอริยสัจ 4 ไดแก ทุกข สมทุ ัย นโิ รธ และมรรค และไดต รสั รดู วยพระองคเ องเปน พระสัมมาสมั พุทธเจาและเปนศาสดาเอกของโลก ซงึ่ วนั ท่พี ระสัมมาสัมพทุ ธเจา ตรสั รูตรงกับ วนั เพญ็ เดอื น 6 ขณะท่ีมีพระชนมายุ 35 พรรษา แสดงปฐมเทศนา หลงั จากพระสัมมาสมั พทุ ธเจาตรสั รแู ลว ทรงพิจารณาธรรมทพี่ ระองคต รสั รมู าเปนเวลา 7 สัปดาห และทรงเหน็ วาพระธรรมน้ันยากสําหรับบุคคลท่ัวไปท่ีจะเขาใจและปฏิบัติได พระองคจึงทรงพิจารณาวา บุคคลในโลกน้ีมีหลายจําพวกอยางบัว 4 เหลา ที่มีท้ังผูท่ีสอนไดงายและผูท่ีสอนไดยาก พระองคจึงทรง ระลึกถึงอาฬารดาบสและอุทกดาบสผูเปนพระอาจารยจึงหวังเสด็จไปโปรดแตทั้งสองทานเสียชีวิตแลว พระองคจ งึ ทรงระลึกถึงปญจวคั คยี ท ้ัง 5 ทเ่ี คยมาเฝา รับใช จงึ ไดเ สด็จไปโปรดปญจวคั คียท่ปี าอิสปิ ตนมฤคทายวนั

ห น า | 9 ธรรมเทศนากณั ฑแรกที่พระองคท รงแสดงธรรม คือ “ธมั มจักกัปปวตั ตนสตู ร” แปลวา สูตรของ การหมุนวงลอแหงพระธรรมใหเ ปนไป ซง่ึ ถอื เปน การแสดงพระธรรมเทศนาครั้งแรกในวันเพ็ญ 15 ค่ํา เดือน 8 ซึ่งตรงกับวนั อาสาฬหบูชา ในการนพ้ี ระโกณฑัญญะไดธรรมจกั ษุ คือ ดวงตาเห็นธรรมเปนคนแรก พระพุทธองคจึงทรงเปลง วาจาวา “อัญญาสิวตโกณฑัญโญ” แปลวา โกณฑัญญะไดรูแลว ทานโกณฑัญญะจึงไดสมญาวา อัญญา โกณฑญั ญะ และไดรับการบวชเปนพระสงฆองคแรกในพระพุทธศาสนา โดยเรียกการบวชที่พระพุทธเจา บวชใหวา “เอหิภกิ ขอุ ุปสัมปทา” หลังจากปญจวัคคียอุปสมบทท้ังหมดแลว พุทธองคจึงทรงเทศนอนัตตลักขณสูตร ปญจวัคคีย จงึ สาํ เรจ็ เปนอรหันตใ นเวลาตอ มา การเผยแผพระพทุ ธศาสนา ตอมาพระพุทธเจาไดเทศนพระธรรมเทศนาโปรดแกสกุลบุตร รวมท้ังเพ่ือนของสกุลบุตรจนได สําเร็จเปน พระอรหนั ตท งั้ หมดรวม 60 รปู พระพุทธเจา ทรงมพี ระราชประสงคจะใหมนษุ ยโ ลกพนทกุ ขพนกิเลส จึงตรัสเรียกสาวกทั้ง 60 รูป มาประชมุ กันและตรสั ใหสาวก 60 รูป จาริกแยกยายกันเดินทางไปประกาศศาสนา 60 แหง โดยลําพังใน เสนทางที่ไมซํ้ากัน เพือ่ ใหสามารถเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาในหลายพนื้ ท่อี ยางครอบคลมุ สว นพระองคเองได เสด็จไปแสดงธรรม ณ ตําบลอุรุเวลาเสนานคิ ม หลงั จากสาวกไดเ ดินทางไปเผยแผพระพทุ ธศาสนาในพืน้ ท่ีตาง ๆ ทําใหม ีผูเลื่อมใสพระพทุ ธศาสนา เปน จํานวนมาก พระองคจ ึงทรงอนญุ าตใหส าวกสามารถดําเนินการบวชไดโดยใชวิธีการ “ติสรณคมนูปสัมปทา” คือ การปฏิญาณตนเปนผูถึงพระรัตนตรัย พระพุทธศาสนาจึงหยั่งรากฝงลึกและแพรหลายในดินแดน แหง นัน้ เปนตน มา

ห น า | 10 เสดจ็ ดับขนั ธปรนิ ิพพาน พระสัมมาสัมพุทธเจา ไดทรงโปรดสัตวและแสดงพระธรรมเทศนาตลอดระยะเวลา 45 พรรษา ทรงสดบั วา อีก 3 เดอื นขา งหนา จะปรนิ ิพพาน จงึ ไดท รงปลงอายสุ งั ขาร ขณะนน้ั พระองคไดประทับจําพรรษา ณ เวฬคุ าม ใกลเ มอื งเวสาลี แควน วชั ชี โดยกอ นเสดจ็ ดับขนั ธปรนิ พิ พาน 1 วนั พระองคไดเสวยสุกรมัททวะ ทีน่ ายจุนทะทาํ ถวาย แตเกดิ อาพาธลง ทําใหพ ระอานนทโ กรธ แตพระองคต รสั วา “บิณฑบาตที่มีอานสิ งสทีส่ ุด” มี 2 ประการ คอื เมอ่ื ตถาคต (พุทธองค) เสวยบิณฑบาตแลวตรสั รูและปรินิพพาน” และมีพระดํารัสวา “โย โว อานนท ธมม จ วนิ โย มยา เทสิ โต ปญญตโต โส โว มมจจเยน สตถา” อันแปลวา “ดูกอนอานนท ธรรม และวนิ ัยอนั ท่ีเราแสดงแลว บัญญัติแลวแกเธอทั้งหลาย ธรรมวินัยจักเปนศาสดาของเธอท้ังหลายเม่ือเรา ลวงลบั ไปแลว ” พระพุทธเจาทรงประชวรหนักแตทรงอดกล้ันมุงหนาไปเมืองกุสินารา ประทับ ณ ปาสาละ เพื่อ เสด็จดับขันธปรินิพพาน โดยกอนที่จะเสด็จดับขันธปรินิพพานนั้น พระองคไดอุปสมบทแกพระสุภัททะ- ปรพิ าชก ซึ่งถอื ไดวา “พระสภุ ทั ทะ” คือ สาวกองคสุดทา ยที่พระพุทธองคท รงบวชใหใ นทามกลางคณะสงฆ ท้งั ท่ีเปนพระอรหนั ตและปุถชุ นจากแควน ตาง ๆ รวมท้งั เทวดาทมี่ ารวมตวั กนั ในวนั นี้ ในครานั้นพระองคท รงมีปจ ฉมิ โอวาทวา “ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย เราขอบอกเธอทั้งหลายสังขารท้ังปวง มีความเส่ือมสลายไปเปนธรรมดา พวกเธอจึงทําประโยชนตนเองและประโยชนของผูอ่ืนใหสมบูรณดวย ความไมประมาทเถดิ ” (อปปมาเทนสมปาเทต) จากนัน้ ไดเสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ พิ พานใตต น สาละ ณ สาลวโนทยาน ของเหลามัลลกษัตริย เมืองกุสินารา แควนมัลละ ในวันข้ึน 15 ค่ําเดือน 6 รวมพระชนมายุ 80 พรรษา และวันน้ีถือเปนการเร่ิมตนของ พุทธศกั ราช

ห น า | 11 สรปุ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเปนศาสนาประเภทเทวนยิ ม คอื ไมน บั ถอื พระเจา พระสัมมาสมั พทุ ธเจา ทรงตรัสรู ความจรงิ ของชวี ติ วา องคประกอบของชวี ติ มนษุ ยประกอบดวยรูปและนามเทานน้ั รปู และนามเมอื่ ขยายความกจ็ ะเปน รปู จติ และเจตสิก จากรูปจิตและเจตสิกกข็ ยายความดว ยขันธ 5 ไดแก รปู ขนั ธ วญิ ญาณขันธ เวทนาขนั ธ สญั ญาขนั ธ และสงั ขารขันธ สรุปไดด ังแผนภมู อิ งคป ระกอบของชวี ิต แผนภูมแิ สดงองคป ระกอบของชีวติ มนุษย จากแผนภูมิองคประกอบของชีวิตมนุษยดังกลาว ในทางพระพุทธศาสนาอธิบายวา ชีวิต คือ ความเปน อยขู องรา งกาย (รปู ) จิตและเจตสิก (นาม) โดยอาศัยความเปนผูนําเกิดและตามรักษาดํารงชีวิต และการกระทําตาง ๆ ไดโดยอาศยั จติ และเจตสิกเปนผูก าํ หนด รปู คือ รางกายเปน ธรรมชาตทิ ่ีไมมีความรสู ึกนึกคดิ ใด ๆ ทัง้ สน้ิ นาม คอื สว นท่ีเปนจติ และเจตสกิ เปนธรรมชาติท่รี ับรสู ิง่ ตาง ๆ และสามารถนึกคิดเร่ืองราวสง่ิ ตาง ๆ ได จิต คอื ธรรมชาติทร่ี ูอารมณ ทําหนาที่เห็น ไดยิน รูรส รูกล่ิน รูสึกตอการสัมผัส ถูกตองทางกาย และรูสกึ คิดทางใจ เจตสิก คือ ธรรมชาตทิ รี่ ูสกึ นกึ คิดเรอ่ื งราวสงิ่ ตา ง ๆ เมอื่ แยกรปู และนามใหละเอียดขึ้นกจ็ ะอธบิ ายดวยขนั ธ 5 คอื รปู ขนั ธ (รูป) หมายถึง อวยั วะนอ ยใหญ หรือกลุม รูปทม่ี ีอยใู นรางกายทัง้ หมดของเรา วิญญาณขนั ธ (จติ ) หมายถงึ ธรรมชาตทิ ่รี ับรูสิ่งตา ง ๆ ทมี่ าปรากฏทางตา หู จมูก ล้ิน กายใจ อีก ท้ังเปน ธรรมชาตทิ ีท่ าํ ใหเ กดิ ความรสู ํานกึ คดิ ตา ง ๆ เวทนาขนั ธ (เจตสกิ ) หมายถึง ความรูสึกเปนสขุ เปนทุกข ดใี จ เสียใจหรือเฉย ๆ สัญญาขันธ (เจตสิก) หมายถงึ ธรรมชาติท่มี ีหนา ทใ่ี นการจํา หรือเปน หนวยความจําของจติ นน่ั เอง

ห น า | 12 สังขารขันธ (เจตสกิ ) หมายถงึ ธรรมชาตทิ ปี่ รงุ แตงจิตใหมลี กั ษณะตา ง ๆ เปนกุศลบาง การเกิดข้นึ ของ จติ (วญิ ญาณขนั ธ) จะเกิดขึ้นโดยมีเจตสิก (เวทนาขันธ สญั ญาขันธ สงั ขารขนั ธ) เกิดขน้ึ รวมดวยเสมอเฉพาะจิต อยางเดยี ว ไมส ามารถรบั รหู รอื นกึ คดิ อะไรไดเลย จติ และเจตสกิ จะแยกจากกันไมไ ด ตอ งเกดิ รวมกนั อิงอาศยั กัน จิตแตละดวงทเ่ี กดิ จะตองมีเจตสิกเกิดรว มดวยเสมอ จากความจริงของชีวิตที่พระพุทธองคทรงคนพบวา ชีวิตเปนเพียงองคประกอบของรูปและนาม เทาน้ัน แตเหตุที่คนเรามีความทกุ ขอ ยู เพราะความรสู กึ นึกคิดท่ีเปนเร่อื งเปนราววา “มีเรามีเขา” ทําใหเกิด การยึดมั่นถอื มน่ั ดวยอวชิ ชา (ความไมร ู) วาสภาพธรรมเทานั้นเปนเพียงรูปและนามท่ี “เกิดข้ึน ตั้งอยู แลว ดับไป” เทา น้ัน 1. หลกั ธรรมเพอื่ ความหลดุ พนเฉพาะตวั คือ อรยิ สัจ 4 อริยสจั 4 แปลวา ความจรงิ อันประเสรฐิ มอี ยสู ปี่ ระการ คอื 1) ทุกข คือ สภาพที่ทนไดยากภาวะท่ีทนอยูในสภาพเดิมไมไดสภาพท่ีบีบคั้น ไดแก ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก การเกา ) มรณะ (การตาย การสลายไป การสญู สิ้น) การประสบกบั ส่ิงอนั ไมเปน ทีร่ ัก พลัดพรากจากส่งิ อนั เปน ท่รี กั การปรารถนาส่งิ ใดแลว ไมสมหวังในสิ่งน้นั กลา วโดยยอ ทกุ ข ก็คือ อุปาทานขันธ หรือขนั ธ 5 2) ทุกขสมุทัย คือ สาเหตุท่ีทําใหเกิดทุกข ไดแก ตัณหา 3 คือ กามตัณหา – ความทะยาน อยากในกาม ความอยากไดทางกามารมณ, ภวตัณหา – ความทะยานอยากในภพ ความอยากเปนโนนเปนน่ี ความอยากท่ีประกอบดวย ภาวทิฏฐิ หรือสัสสตทิฏฐิ และวิภวตัณหา – ความทะยานอยากในความปรารถนา จากภพ ความอยากไมเปนโนนไมเ ปน น่ี ความอยากท่ปี ระกอบดว ยวภิ วทฏิ ฐิ หรอื อุจเฉททฏิ ฐิ 3) ทุกขนิโรธ คือ ความดับทุกข ไดแก ดับสาเหตุท่ีทําใหเกิดทุกขกลาว คือ ดับตัณหาทั้ง 3 ไดอ ยางสน้ิ เชิง 4) ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา คือ แนวปฏิบัติที่นําไปสูหรือนําไปถึงความดับทุกข ไดแก มรรค อันมอี งคประกอบอยูแ ปดประการ คอื (1) สัมมาทฏิ ฐิ – ความเห็นชอบ (2) สัมมาสังกัปปะ – ความดําหริชอบ (3) สัมมาวาจา - เจรจาชอบ (4) สัมมากมั มนั ตะ - ทําการงานชอบ (5) สมั มาอาชวี ะ – เลี้ยงชพี ชอบ (6) สมั มาวายามะ - พยายามชอบ (7) สัมมาสติ - ระลึกชอบ และ (8) สัมมาสมาธิ – ตั้งใจชอบ ซง่ึ รว มเรียก อกี ชือ่ หนงึ่ ไดว า “มชั ฌิมาปฏปิ ทา” หรอื ทางสายกลาง 2. หลักธรรมเพอ่ื การอยรู ว มกันในสังคม 1) สัปปรุ ิสธรรม 7 สปั ปรุ สิ ธรรม 7 คอื หลกั ธรรมของคนดีหรอื หลกั ธรรมของสตั ตบุรษุ 7 ประการ ไดแก (1) รจู กั เหตุหรอื ธัมมัตุ า หมายถงึ ความเปน ผรู จู ักเหตุ รจู ักวเิ คราะหหาสาเหตขุ องส่ิงตาง ๆ (2) รูจ กั ผลหรอื อัตถญั ุตา หมายถึง ความเปน ผูรูจักผลที่เกิดขน้ึ จากการกระทาํ (3) รจู ักตนหรืออัตตัญุตา หมายถึง ความเปนผูรูจักตนทั้งในดานความรู คุณธรรมและ ความสามารถ (4) รจู กั ประมาณหรอื มัตตัญุตา หมายถึง ความเปนผูรจู กั ประมาณรจู กั หลกั ของความพอดี การดําเนนิ ชีวติ พอเหมาะพอควร (5) รูจกั กาลเวลาหรือกาลญั ตุ า หมายถงึ ความเปน ผรู จู กั กาลเวลา รจู ักเวลาไหนควรทาํ อะไร แลว ปฏิบัตใิ หเ หมาะสมกบั เวลาน้นั ๆ

ห น า | 13 (6) รูจักชมุ ชนหรือปริสญั ุตา หมายถึง ความเปน ผรู ูจักปฏบิ ัตกิ ารปรับตนและแกไขตนให เหมาะสมกบั สภาพของกลมุ และชมุ ชน (7) รจู ักบคุ คลหรอื ปุคคลัญุตา หมายถึง ความเปนผูรูจักปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับบุคคล ซ่งึ มคี วามแตกตา งกัน การท่บี ุคคลไดน าํ หลกั สัปปรุ ิสธรรม 7 มาใชในการดําเนนิ ชวี ิตพบกบั ความสขุ ในชวี ติ ได 2) อทิ ธิบาท 4 อิทธบิ าท 4 คือ หลักธรรมทน่ี าํ ไปสูความสาํ เร็จแหงกจิ การมี 4 ประการ คอื ฉนั ทะ วริ ยิ ะ จิตตะ วิมังสา (1) ฉันทะ คือ ความพอใจใฝร ักใฝหาความรแู ละใฝสรา งสรรค (2) วิริยะ คือ ความเพยี รพยายามมีความอดทนไมทอถอย (3) จติ ตะ คือ ความเอาใจใสแ ละตง้ั ใจแนว แนใ นการทํางาน (4) วมิ งั สา คือ ความหม่ันใชปญญาและสติในการตรวจตราและคิดไตรตรอง 3) กุศลธรรมบถ 10 กุศลกรรมบถ 10 เปน หนทางแหงการทําความดีงามทางแหงกุศล ซึ่งเปนหนทางนําไปสูความสุข ความเจริญ แบง ออกเปน 3 ทาง คือ กายกรรม 3 วจกี รรม 4 และมโนกรรม 3 1. กายกรรม 3 หมายถึง ความประพฤติดีท่แี สดงออกทางกาย 3 ประการ ไดแก (1) เวนจากการฆาสัตว คือ การละเวนจากการฆาสัตว การเบียดเบียนกัน เปนผูเมตตา กรณุ า (2) เวนจากการลักทรพั ย คือ เวนจากการลักขโมย เคารพในสิทธิของผูอื่น ไมหยิบฉวยเอา ของคนอืน่ มาเปน ของตน (3) เวน จากการประพฤติในกาม คอื การไมลวงละเมิดสามีหรือภรรยาผูอื่น ไมลวงละเมิด ประเวณีทางเพศ 2. วจีกรรม 4 หมายถึง การเปนผูมีความประพฤติดีซ่ึงแสดงออกทางวาจา 4 ประการ ไดแก (1) เวน จากการพดู เทจ็ คือ การพูดแตค วามจริงไมพดู โกหกหลอกลวง (2) เวนจากการพูดสอเสียด คือ พูดแตในสิ่งที่ทําใหเกิดความสามัคคีกลมเกลียว ไมพูดจาในสงิ่ ท่ีกอใหเกดิ ความแตกแยกแตกราว (3) เวนจากการพดู คาํ หยาบ คือ พดู แตคาํ สุภาพ ออ นหวาน ออนโยนกับบุคคลอื่นท้ังตอหนา และลับหลงั (4) เวนจากการพดู เพอเจอ คอื พูดแตค วามจรงิ มเี หตผุ ล เนนเน้ือหาสาระที่เปนประโยชน พูดแตส ่ิงทจ่ี าํ เปน และพูดถกู กาลเทศะ 3. มโนกรรม 3 หมายถึง ความประพฤติที่เกดิ ขึ้นในใจ 3 ประการ ไดแ ก (1) ไมอยากไดข องของเขา คอื ไมคิดโลภอยากไดของผอู ่ืนมาเปนของตน (2) ไมพ ยาบาทปองรายผูอ่ืน คือ มีจิตใจปรารถนาดีอยากใหผ ูอื่นมีความสขุ ความเจริญ (3) มีความเห็นที่ถูกตอง คือ ความเชื่อที่ถูกตองคือความเช่ือในเร่ืองการทําความดีไดดี ทาํ ช่วั ไดชัว่ และมคี วามเช่ือวา ความพยายามเปนหนทางแหงความสาํ เรจ็

ห น า | 14 สังคหวัตถุ 4 สงั คหวัตถุ 4 เปนหลกั ธรรมคําสอนทางพระพทุ ธศาสนาทเ่ี ปนวธิ ปี ฏบิ ัติเพ่อื ยึดเหน่ียวจิตใจของคน ท่ยี ังไมเคยรักใครน บั ถือใหมีความรักความนับถือ สังคหวัตถุเปนหลักธรรมท่ีชวยผูกไมตรีซึ่งกันและกันให แนน แฟน ยง่ิ ขึน้ ประกอบดว ย ทาน ปย วาจา อัตถจริยา สมานตั ตตา 1. ทาน คือ การใหเ ปนส่ิงของตนใหแกผอู น่ื ดวยความเต็มใจ เพ่อื เปนประโยชนแ กผูรบั การใหเปน การยดึ เหน่ียวน้าํ ใจกันอยางดียิ่ง เปนการสงเคราะหสมานน้าํ ใจกันผกู มิตรไมตรีกันใหยัง่ ยนื 2. ปย วาจา คือ การเจรจาดวยถอยคําไพเราะออนหวานพูดชวนใหคนอ่ืนเกิดความรักและนับถือ คําพูดท่ดี นี ้ันยอ มผกู ใจคนใหแ นนแฟน ตลอดไป หรือแสดงความเห็นอกเห็นใจใหกําลังใจรูจักพูดใหเกิดความ เขา ใจดสี มานสามัคคยี อมทาํ ใหเ กิดไมตรที ําใหร กั ใครน ับถอื และชว ยเหลือเกอ้ื กูลกนั 3. อัตถจริยา คือ การประพฤตสิ ่ิงทเี่ ปน ประโยชนแกกัน คือชวยเหลือดวยแรงกายและขวนขวาย ชวยเหลือกจิ กรรมตา ง ๆ ใหลุลวงไป เปน คนไมด ดู ายชว ยใหค วามผดิ ชอบชว่ั ดีหรือชว ยแนะนาํ ใหเกิดความรู ความสามารถในการประกอบอาชีพ 4. สมานัตตตา คือ การวางตนเปนปกติเสมอตนเสมอปลาย ไมถือตัว และการวางตนใหเหมาะสม กับฐานะของตนตามสภาพ ไดแก ผูใหญ ผูนอย หรือผูเสมอกัน ปฏิบัติตามฐานะผูนอยคาราวะนอบนอม ยาํ เกรงผูใหญ อบายมุข 6 คาํ วา อบายมขุ คอื หนทางแหง ความเส่ือมหรือหนทางแหงความหายนะความฉิบหาย มี 6 อยาง ไดแ ก 1. การเปนนักเลงผหู ญิง หมายถึง การเปนคนมจี ิตใจใฝในเรอื่ งเพศ เปนนักเจาชู ทําใหเสียทรัพยสิน เงนิ ทองสูญ เสียเวลาและเสยี สุขภาพ 2. การเปนนกั เลงสรุ า หมายถึง ผูทด่ี ่ืมสรุ าจนตดิ เปน นสิ ยั การดม่ื สุรานอกจากจะทําใหเ สียเงินเสียทอง แลว ยังเสียสขุ ภาพ และบนั่ ทอนสติปญญาอกี ดว ย 3. การเปนนักเลงการพนัน หมายถึง ผูที่ชอบเลนการพนันทุกชนิด การเลนการพนันทําใหเสีย ทรพั ยสนิ ไมเ คยทาํ ใครร่าํ รวยม่งั มีเงินทองไดเ ลย 4. การคบคนชว่ั เปนมิตร หมายถงึ การคบคนไมดีหรือคนชั่ว คนช่ัวชักชวนใหทําในสิ่งที่ไมถูกตอง และอาจนําความเดือดรอ นมาสตู นเองและครอบครวั 5. การเท่ยี วดกู ารละเลน หมายถึง ผทู ชี่ อบเทย่ี วการละเลน กลางคืน ทําใหเสียทรัพยสิน และอาจ ทําใหเ กดิ การทะเลาะเบาะแวงในครอบครัว 6. เกยี จครานทาํ การงาน หมายถงึ ผไู มช อบทาํ งาน ไมขยนั ไมทํางานตามหนาทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบ

ห น า | 15 เบญจศลี เบญจธรรม เบญจศีลเบญจธรรม คือ หลกั ธรรมทคี่ วรปฏิบตั ิควบคูกันมุงใหบ ุคคลทาํ ความดลี ะเวน ความช่ัว เบญจศลี (สิ่งที่ควรละเวน) เบญจธรรม (สิ่งที่ควรประพฤติ) 1. เวนจากการฆา สตั ว 1. มคี วามเมตตากรณุ า 2. เวน จากการลักทรัพย 2. ประกอบอาชีพสจุ ริต 3. เวน จากการประพฤติผดิ ในกาม 3. มคี วามสํารวมในกาม 4. เวน จากการพดู เทจ็ 4. พูดความจรงิ ไมพดู โกหก 5. เวนจาการเสพของมึนเมา 5. มสี ติสัมปชญั ญะ โลกบาลธรรมหรอื ธรรมคมุ ครองโลก โลกบาลธรรม หรือ ธรรมคุมครองโลก เปนหลักธรรมท่ีชวยใหมนุษยทุกคนในโลกอยูกันอยางมี ความสุข มีนาํ้ ใจเอ้ือเฟอ มคี ุณธรรม และทําแตส งิ่ ท่ีเปน ประโยชน ประกอบดว ยหลกั ธรรม 2 ประการ ไดแก หริ ิโอตตปั ปะ 1.หริ ิ คอื ความละอายในลักษณะ 3 ประการแลว ไมท ําความช่วั (บาป) คือ (1) ละอายแกใจหรือความรสู ึกท่ีเกดิ ขนึ้ ในใจตนเองแลว ไมทําความชว่ั (2) ละอายผูอ่ืนหรอื สภาพแวดลอ มตาง ๆ แลว ไมท ําความช่ัว (3) ละอายตอความช่ัวท่ตี นจะทาํ นน้ั แลวไมทาํ ความชัว่ 2.โอตตปั ปะ คือ ความเกรงกลัว หมายถงึ (1) เกรงกลัวตนเอง ตเิ ตียนตนเองได (2) เกรงกลัวผอู ืน่ แลว ไมก ลา ทาํ ความช่ัว (3) เกรงกลัวตอผลของความชั่วที่ทําจะเกิดขึ้นแกต น (4) เกรงกลวั ตอ อาญาของแผน ดนิ แลวไมก ลา ทําความชัว่ นกิ ายสาํ คัญของพระพทุ ธศาสนา หลังจากทพ่ี ระพทุ ธเจาปรินิพพานแลว ประมาณ 100 ป พระพุทธศาสนาก็เริ่มมีการแตกแยกใน ดานความคิดเห็นเก่ียวกับการปฏิบัติตามพระธรรมวินัย จนถึงสมัยพระเจาอโศกมหาราช ก็แตกแยกกัน ออกเปนนิกายใหญ ๆ 2 นิกาย คอื มหายาน (อาจาริยวาท) กบั หินยาน (เถรวาท) มหายาน “มหายาน” แปลวา “ยานใหญ” เปน ลัทธขิ องภิกษุฝายเหนือของอินเดยี ซึง่ มจี ุดมุงหมาย ที่จะเผยแพรพระพุทธศาสนาใหมหาชนเลือ่ มใสเสียกอนแลว จึงสอนใหระงับดับกิเลส ทั้งยังไดแกไขคําสอน ในพระพทุ ธศาสนาใหผันแปรไปตามลําดับ ลัทธินี้ไดเขาไปเจริญรุงเรืองอยูในทิเบต จีน เกาหลี ญ่ีปุนและ เวยี ดนาม เปน ตน

ห น า | 16 หินยาน คาํ วา “หนิ ยาน” เปนคําทฝ่ี า ยมหายานตงั้ ให แปลวา “ยานเลก็ ” เปนลัทธขิ องภิกษุฝายใต ที่สอนใหพระสงฆปฏบิ ัติ เพื่อดับกิเลสของตนเองกอน และหามเปล่ียนแปลงแกไขพระวินัยอยางเด็ดขาด นิกายน้มี ีผูนับถือในประเทศศรีลังกา ไทย พมา ลาว และกัมพูชา โดยเฉพาะประเทศไทย เปนศูนยกลาง นิกายเถรวาท เพราะมีการนับถือพระพุทธศาสนานิกายน้ีสืบตอกันมาตั้งแตบรรพชน พระพุทธเจาไมใช เทวดาหรือพระเจา แตเปนมนษุ ยที่มศี กั ยภาพเหมือนสามัญชนทั่วไป สามารถบรรลุสัจธรรมไดด วยความวิริยะ อุตสาหะ หลักปฏบิ ัติในชีวติ ที่ทกุ คนควรกระทํา คอื ทาํ ความดี ละเวนความชั่ว ทําจิตใจใหผองแผว และการที่ เราจะทําส่งิ เหลา นไี้ ดนนั้ จะตองมีศีล สมาธิ ปญญา เพื่อเปนพาหนะนําผูโดยสารขามทะเลแหงวัฏสงสาร ไปสพู ระนพิ พาน

ห น า | 17 ความแตกตางของนกิ ายหินยานกบั นกิ ายมหายาน นิกายหนิ ยาน นิกายมหายาน 1. ถือเร่อื งอรยิ สัจเปนสําคัญ 1. ถอื เร่อื งบารมเี ปนสําคัญ 2. คุณภาพของศาสนกิ ชนเปนสาํ คัญ 2. ถอื ปรมิ าณเปน สําคญั กอนแลว จงึ เขา ปรบั ปรุง คุณภาพในภายหลงั ดงั น้นั จงึ ตองลดหยอ น การปฏบิ ัตพิ ระวนิ ยั บางขอลง เขา หาบคุ คล และเพม่ิ เทวดาและพิธีกรรมสงั คตี กรรม เพ่อื จูงใจคนไดอธิบายพทุ ธมติอยางกวางขวางเกิน ประมาณ เพอื่ การเผยแพร จนทาํ ใหพระพทุ ธ- พจน ซงึ่ เปนสจั นิยมกลายเปน ปรชั ญาและ ตรรกวิทยาไป 2. มพี ระพทุ ธเจาองคเ ดยี วคือพระ- 3. มีพระพทุ ธเจา หลายองค องคเ ดมิ คอื อาทพิ ุทธ สมณโคดมหรือพระศากยมนุ ี (กายสีนา้ํ เงนิ ) เมอ่ื ทานบําเพญ็ ฌานกเ็ กิด พระฌานิพุทธอกี เปนตนวา พระไวโรจน พทุ ธะ- อกั โขภัย พุทธะรัตนสมภพ พทุ ธไภสัชชครุ ุ- โอฆสิทธิ และอมติ าภา เฉพาะองคน ้ีมมี าใน รางคนเปน (มานุษีพทุ ธะ) คือ พระศากยมุนี 4. มีความพน จากกเิ ลสชาติภพ 4. มีความเปนพระโพธิสัตวหรือพุทธภูมิเพื่อ เปนอตั กตั ถจริยแลวบาํ เพญ็ บําเพญ็ โลกตั ถจรยิ าไดเต็มทีเ่ ปนความ ประโยชนแ กผ อู ่ืนเปนโลกตั ถจริย มุงหมายของพระโพธ์ิสัตวหลายองค เชน เปน ความมุงหมายสาํ คญั พระอวโลกเิ ตศวรมชั ชุลี วชิ รปาณี กษติ คสร 3 สมันตภัทรอริยเมตไตร เปน ตน 5. มีบารมี 10 ประการ คือ ทาน ศีล 5. มีบารมี 6 ประการ คอื ทาน ศีล วนิ ยั ขนั ติ เนกขัมมะ ปญญา วริ ิยะ ขันติ สจั จะ ฌาน ปญญา อันใหถ งึ ความสาํ เรจ็ เปน อธษิ ฐาน เมตตา อุเบกขา อันใหถึง พระโพธสิ ัตวและเปนปฏปิ ทาของพระโพธิสตั ว ความเปน พระพทุ ธเจา 6. ถือพระไตรปฎกเถรวาท คือ 6. ถอื พระธรรมวินัยเกาและมพี ระสตู รใหม พระธรรมวนิ ยั ยตุ ิตามปฐม- เพม่ิ เตมิ เชน สุขวดียหู สูตรลงั กาวตาร สังคายนา ไมมพี ระวนิ ัยใหม ลัทธรรมปณุ ฑรกิ สูตร ปรัชญาปารมิตาสูตร เพ่มิ เตมิ เปนตน

ห น า | 18 นิกายหนิ ยาน นกิ ายมหายาน 7. รักษาวินัยเดมิ เอาไว 7. ปรับปรงุ พระธรรมวินัยใหเขากบั ภาวะแวดลอม 8. ถือวาพระอรหันตเม่ือนิพพานแลว 8. ถือวาพระอรหันตเมื่อปรินิพพานแลวยอม ไมเ กดิ ใหมอีก กลบั มาเกดิ ใหมสาํ เรจ็ เปนพระพุทธเจาอกี 9. ยอมรบั แตธ รรมกาย และนริ มานกาย 9. ถอื วาพระพทุ ธเจา มี 3 กาย คอื ธรรมกาย นอกน้นั ไมย อมรบั ไดแก กายธรรมสมั โภคกายหรือกายจําลอง หรือกายอวตารของพระพทุ ธเจา เปน กสั สปสัมพุทธะบา ง เปน พระศากยมุนบี า ง เปนพระกกสุ นั ธะบาง เปนตน นน้ั ลวนเปน สัมโภคกายของพระพทุ ธองคเดมิ (อาทพิ ทุ ธะ) ท้ังน้ัน และ นริ นามกาย คอื กายทต่ี องอยู สภาพธรรมดา คือ ตอ งแก เจบ็ และ ปรนิ ิพพาน ซงึ่ เปนกายท่พี ระพทุ ธเจาสรา งขึ้น เพ่ือใหคนเห็นความจรงิ ของชีวิต แตส าํ หรบั พระพทุ ธเจา องคท่แี ทน้นั ไมตองอยูในสภาพ เชน นี้ แบบเดียวกนั กบั ปรมาตมันของพราหมณ

ห น า | 19 บุคคลสาํ คัญในสมยั พทุ ธกาล พระสารบี ตุ ร เปนอัครสาวกเบอื้ งขวาของพระพุทธเจา ไดรับการยกยองจากพระพุทธเจาวา เปนเลิศ กวาพระสงฆท้ังปวง ในดานสติปญญา นอกจากนี้พระสารีบุตร ยังมีคุณธรรมในดานความกตัญู และการ บําเพ็ญประโยชนใ หแกพ ุทธศาสนาอกี ดวย ทานไดรับการยกยองวาเปน ธรรมเสนาบดีคูกับพระพุทธเจาที่ เปน ธรรมราชา เนอ่ื งจากทา นเปนผูมีปฏญิ าณในการแสดงพระธรรมเทศนา คอื ชี้แจงใหผ ูฟงเขา ใจไดช ัดเจน สาํ หรบั ในดา นความกตัญู นน้ั ทา นไดฟ ง ธรรมจากพระอสิ สชิเปน ทา นแรก และเกิดธรรมจักษุ คือ ดวงตา เห็นธรรม หมายความวา ส่ิงใดเกดิ เปนธรรมดา ยอ มดับเปนธรรมดา จากนั้นเม่ือกอนท่ีทานจะนอนทานจะ กราบทิศที่พระอสั สชิอยแู ละหันศีรษะนอนไปยังทศิ น้นั พระมหาโมคคัลลานะ เปนอัครสาวกเบือ้ งซายของพระพุทธเจา เปนผูมีเอตทัคคะในดานผูมีฤทธิ์ ทานเปนผฤู ทธานุภาพมาก สามารถกระทําอทิ ธิฤทธ์ิไปเยี่ยมสวรรคและนรกได จากน้ันนําขาวสารมาบอก ญาติมิตรของผทู ไี่ ปเกิดในสวรรคแ ละนรกใหไ ดท ราบ ประชาชนท้ังหลายจึงมาเลื่อมใสพระพุทธศาสนา ทําให ประชาชนเสอ่ื มคลายความเคารพเดยี รถีย (นกั บวชลัทธิหนึง่ ในสมยั พทุ ธกาล) พวกเดยี รถยี จ งึ โกรธแคน ทา นมาก จึงลงความเห็นวา ใหกําจัดพระโมคคัลลานะ นอกจากน้ันจึงจางโจรไปฆาพระเถระ พวกโจรจึงลอมจับ พระเถระทานรูตัวหนีไปได 2 ครั้ง ในคร้ังที่ 3 ทานพิจารณาเห็นวาเปนกรรมเกา จึงยอมใหโจรจับอยาง งา ยดาย โจรทบุ กระดกู ทา นจนแหลกเหลวไมม ชี ้ินดี กอ นทท่ี า นจะยอมนิพพาน เพราะกรรมเกา ทานไดไป ทลู ลาพระพทุ ธเจากอ นแลว จึงนิพพาน อนาถบิณฑิกเศรษฐี เปน ผูไ ดร ับการยกยองเปนนายกฝายอุบาสก ทานเปนเศรษฐีอยูเมืองสาวัตถี เปนผมู ีศรัทธาแรงกลาเปน ผสู รา งพระเชตวุ นั มหาวหิ ารถวายแกพระพุทธเจา พระพุทธเจาทรงประทับอยูท่ี วดั น้ถี ึง 19 พรรษา นอกจากทา นจะอปุ ถมั ภบาํ รงุ พระภกิ ษสุ งฆแลว ยังไดสงเคราะหคนยากไรอนาถาอยาง มากมายเปน ประจําจงึ ไดช อ่ื วา อนาถบิณฑิก ซึ่งแปลวา ผมู กี อ นขาวเพอ่ื คนอนาถา พระเจาพิมพิสาร เปนอุบาสกที่สําคัญอีกผูหน่ึง พระองคเปนพระเจาแผนดินครองแควนมคธ ครองราชยสมบตั ิอยูทีก่ รงุ ราชคฤห ทา นถวายพระราชอทุ ยานเวฬุวันแกพระพุทธเจานับวาเปนวัดแหงแรก ในพระพุทธศาสนา พระอานนท เปน สหชาติและพุทธอุปฏ ฐากของพระพุทธเจา ไดรับการยกยองวาเปนเอตทัคคะวา เปนผูมีพหูสูต เนื่องจากทรงจําพระสูตรที่พระพุทธเจาตรัสไว และเปนผูสาธยายพระสูตรจนทําให การปฐมสังคายนาสําเรจ็ เรยี บรอย นอกจากนนั้ ทา นยงั ทาํ หนาท่ีเปนพทุ ธอุปฏ ฐากของพระพุทธเจาไดอ ยางดี รวม 25 พรรษา ดวยความขยันขันแข็งท่ีเปนภารกิจประจําและไดรับการยกยองจากสมเด็จพระสัมมา- สมั พุทธเจาใหเปน เอตทัคคะ (เลิศ) 5 ประการ คอื 1. มีสติรอบคอบ 2. มีความทรงจาํ แมน ยํา 3. มคี วามเพยี รดี 4. เปนพหสู ูต 5. เปน ยอดของพระภกิ ษุผูอ ปุ ฏฐากพระพทุ ธเจา นางวิสาขา ผูเปนฝายอุบาสิกาเปนเลิศในการถวายทานและนางเปนผูมีความงามครบ 5 อยาง ซ่ึงเรยี กวา เบญจกลั ยาณี ไดแก เปนผมู ีผมงาม คือ มีผมยาวถงึ สะเอวแลว ปลายผมงอนข้ึน เปนผูมีเน้ืองาม คือ ริมฝปากแดง ดจุ ผลตําลึงสุกและเรยี บชิดสนทิ ดี เปนผมู ีกระดูกงาม คอื ฟน ขาวประดุจสังขแ ละเรยี บ

ห น า | 20 เสมอกัน เปนผมู ีผิวงาม คือ ผวิ งามละเอียด ถา ดาํ ก็ดาํ ดงั ดอกบวั เขยี ว ถาขาวกข็ าวดงั ดอกกรรณกิ าร เปน ผูมี วัยงามแมจะคลอดบุตรถึง 10 ครั้ง ก็คงสภาพรางกายสาวสวยดุจคลอดครั้งเดียว ปกตินางวิสาขาไปวัด วันละ 2 คร้ัง คอื เชา เย็น และมขี องไปถวายเสมอ เวลาเชาจะเปนอาหาร เวลาเย็นจะเปนน้ําปานะ นางเปน ผูส รางวดั บุปผารามถวายพระบรมศาสดา และเปน ผคู ิดถวายผา อาบน้ําฝนแกพระเณร เพราะพระเณรไมมี ผา อาบน้ํา เปลอื ยกายอาบนาํ้ ฝนดไู มเหมาะสม เรอ่ื งที่ 3 ประวตั ศิ าสดาและคําสอนของศาสนาอิสลาม ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัมหมัด ศาสนาอิสลามเกิดขึ้นในดินแดนทะเลทรายอาหรับ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ในยุคนั้นชาวอาหรับแตกออกเปนหลายกลุม ขาดความสามัคคี ยากแกการปกครอง มีการรบพงุ ฆา ฟนกนั ตลอดเวลา ไมมีศาสนาเปนแกน สาร คนสวนใหญน ับถือเทพเจา และรูปเคารพตาง ๆ ประชาชนไมม ีศีลธรรม สตรจี ะถูกขมเหงรงั แกมากทสี่ ดุ นบีมฮู ัมหมดั เกิดข้ึนทา มกลาง สภาพสังคมท่เี ส่ือมทรามเชน นี้ จงึ คดิ หาวิธีทจี่ ะชวยปรับปรงุ แกไ ขสถานการณน้ีใหดีขนึ้ นบมี ฮู มั หมัดเปน ผูท่ี ฝกใฝในศาสนาหาความสงบและบาํ เพ็ญสมาธิทีถ่ ํ้าฮรี อบนภูเขานูร ในคืนหน่ึงของเดือนรอมฎอนกาเบรียล ทตู ของพระเจาไดนําโองการของอัลลอฮมาประทาน นบีมูฮัมหมัดไดนําคําสอนเหลานี้มาเผยแผจนเกิด เปนศาสนาอิสลามข้นึ ในระยะแรกของการเผยแผศาสนาไดรับการตอตา นเปนอยางมากถึงกับถูกทํารายจน ตอ งหลบหนไี ปอยเู มืองมะดีนะฮ จนเปนท่ียอมรับและมีคนนับถือมากมายก็กลับมายึดเมืองเมกกะทําการ เผยแผศ าสนาอิสลามอยา งเต็มที่ การเผยแผศาสนาของอิสลามออกไปยังประเทศตา ง ๆ ในยุคหลังเปน ไป โดยไรสงครามเขา ยึดเมืองเพือ่ เผยแผศาสนา โดยมคี ัมภีรในศาสนาอิสลาม คือ คัมภรี อัลกุรอาน แนวประพฤตปิ ฏบิ ตั ิและหลกั คาํ สอนของศาสนาอิสลาม แนวประพฤติปฏิบัติและหลักคําสอนของศาสนาอิสลามประกอบดว ยรายละเอียดท่ีสําคัญ ๆ ดังตอ ไปนี้ คือ 1. ศรัทธาตออัลเลาะห ใหศรัทธาโดยปราศจากขอ สงสัยใด ๆ วา พระอัลเลาะหท รงมีอยูจริง ทรงดํารงอยดู ว ยพระองค ทรงมมี าแตดัง้ เดมิ โดยไมมีสิง่ ใดมากอนพระองค ทรงดํารงอยตู ลอดกาล ไมม สี งิ่ ใดอยู หลังจากพระองคทรงสรางทุกอยางในทอ งฟา เพยี บพรอ มดว ยคุณลกั ษณะอันประเสริฐ 2. ศรัทธาตอมลาอกิ ะฮุ ซึง่ เปน บา วอัลเลาะหป ระเภทหนึ่งทีไ่ มอ าจมองเห็นตัวตนหรือทราบรูปรา ง ที่แทจ ริง บรรดามลาอิกะฮุน้ีปราศจากความผิดพลาดบริสุทธิ์จากความมัวหมองท้ังปวง มีคุณสมบัติ ไมเหมอื นมนุษย คอื ไมกนิ ไมน อน ไมมเี พศ สามารถจําแลงรา งได 3. ศรทั ธาในพระคัมภีรข องพระเจา คือ ศรทั ธาวา อัลเลาะหท รงประทานคัมภีรใ หก ับบรรดาศาสนทูต เพอ่ื นําไปประกาศใหประชาชนไดท ราบหลักคําสอนซ่ึงมีอยู 2 ประเภท คอื 1) สอนถึงความสัมพันธร ะหวา งมนษุ ยก ับพระเจา 2) สอนถึงความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษยดวยกันโดยบรรดาคัมภีรที่ประทานมานั้น มีวิธปี ระทานตา ง ๆ กนั ดังนี้ (1) ถา ยทอดโองการตาง ๆ เขาจติ ใจของศาสนา (2) การไดย นิ เสียงในลักษณะอยใู นภวังคห รอื การฝน

ห น า | 21 (3) โดยมลาอกิ ะฮฺ มนี ามวา ญิบรลี ถูกสงมาพรอมกบั โองการของพระเจา นาํ มาใหศ าสดาดว ย คาํ พูดอนั ชดั เจน สําหรบั คัมภรี อัลกรุ อานไดถ ูกบันทกึ ต้งั แตศ าสดานบีมูฮัมหมัดยังมีชีวิตอยูแ ละไดท อ งจําโดย สาวกของทาน คัมภรี นีไ้ มเ คยปรับปรงุ แกไ ขแตอยางไร มใิ ชวรรณกรรมทีม่ นุษยป ระพันธข ึ้นมา แตถ ูกประทาน มาจากอลั เลาะหเ จา 4. ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต ใหศ รัทธาวา อลั เลาะห ทรงคัดเลือกบุคคลเปน ผูสง สารนําบทบัญญัติ ของพระองคมาส่ังสอนแกปวงชน อัลกุรอานสอนวา ศาสนทูตที่ปรากฏช่ือในคัมภีรอัลกุรอานมี 25 ทาน มุสลิมทกุ คนตอ งศรัทธาในบรรดาศาสนทตู ดังกลา วทงั้ หมด จะละเวน ทา นหน่ึงทา นใดมไิ ดแ ละถือวา ทุกทาน ทก่ี ลา วมาน้เี ปนมุสลิมและเปนบา วของอัลเลาะหเหมอื น ๆ กัน 5. ศรัทธาตอ วันปรโลก มหี ลกั การวา มีวันหน่ึงที่เปนวันพิจารณาผลกรรมของมนุษยท ั้งหมด ท้ังนี้ เพ่อื ทกุ สงิ่ ทกุ อยางในจกั รวาลไดพ ินาศแตกดับหมดแลว จากนั้นอัลเลาะหจะไดใ หท ุกคนคืนชีพมาชําระงาน ทีเ่ ขาประกอบไวใ นโลกดงั ขอ ความวา ผปู ระกอบความดจี ะไดร ับตอบสนองดวยส่งิ ดี ผปู ระกอบกรรมช่วั กจ็ ะ ไดรบั ผลตอบสนอง คือ การลงโทษดังขอ ความวา ผูใดประกอบกรรมดีแมเ พียงนอ ยนิดเขาก็จะไดเห็นมัน และผใู ดประกอบกรรมชัว่ แมเ พยี งนอยนิดเขาก็จะไดเห็นมัน 6. การศรัทธาตอกฎกําหนดสภาวะ คือ ระเบียบอันรัดกุมท่ีอัลเลาะหท รงกําหนดไวแ กโลก การศรทั ธาตอกฎกาํ หนดสภาวะ คือ การยอมรับในอาํ นาจของอัลเลาะหท ่ีทรงครอบครองความเปน ไปของ ทกุ สง่ิ แตล ะสง่ิ เปน ไปตามพระประสงคท พี่ ระองคท รงกาํ หนดไวท กุ ประการ เชน การถือกําเนดิ ชาตพิ นั ธุ เปนตน การนมัสการน้ีจะทําคนเดียวก็ได แตถ าจะรวมกันทําเปนหมูย ิ่งไดกุศลเพิ่มข้ึน มีขอ หา มในการ นมัสการเมอื่ เวลามนึ เมา 7. การถอื ศีลอด เปนหลักมลู ฐานของอิสลามขอหน่ึงที่มุสลิมทุกคนตองปฏิบัติ มกี าํ หนดขนึ้ ในทกุ ๆ ป ปละ 1 เดอื น คอื ตกเดอื นรอมฎอน อันเปน เดอื นที่ 6 แหงปอ สิ ลาม นบั แบบจนั ทรคติ การถือศีลอด คือ การงดเวน จากการบริโภคและอ่ืน ๆ ตามที่กําหนดไวแนนอน มีหลักเกณฑใ นการ ปฏบิ ตั ิ คือ 1. เปน มุสลิม 2. มอี ายุบรรลศุ าสนาภาวะ (ประมาณ 15 ป) 3. มสี ตสิ ัมปชัญญะ 4. มีพลงั ความสามารถที่จะปฏบิ ตั ไิ ด กิจกรรมที่กระทําในพธิ ีศลี อด คอื 1. ตั้งจติ ปรารถนา (นียะฮ) ไวแ ตก ลางคืน วาตนจะถอื ศีลอด 2. งดเวนการกนิ ดื่ม และอน่ื ๆ ตาม ขอกําหนด จดุ ประสงคข องการถือศลี อด 1. เพือ่ ทําใหจิตใจบรสิ ทุ ธ์ิ 2. ใหรจู ักควบคมุ จติ ใจและตดั กิเลส 3. ใหรูจักรสของการมขี ันติ 4. ใหรจู ักสภาพของคนยากจนอนาถา จะทาํ ใหเกดิ ความเมตตาแกค นทว่ั ไป จดุ เร่มิ ตนของการเขาถือศีลอดในเดอื นรอมฎอนตามศาสนาบัญญตั ิ

ห น า | 22 เรอื่ งที่ 4 ประวตั ศิ าสดาและคาํ สอนของศาสนาคริสต ศาสนาครสิ ต เปนศาสนาประเภทเอกเทวนิยม คือ เช่ือวา มพี ระเจา สูงสุดเพียงองคเดียวเปนผูส ราง โลกและสรรพสงิ่ พระเจาองคน ั้น คอื พระยะโฮวาห ศาสนาคริสตเช่ือวา มนุษยม ีบาปมาแตก ําเนิด พระเจา จึงสง พระเยซมู าไถบ าป เชือ่ วาวิญญาณเปน อมตะ เมอ่ื ถงึ วันตัดสินโลกมนุษยจะไปอยใู นสวรรค หรือในนรก ช่วั นริ นั ดร เชื่อวา มเี ทวดาอยมู ากมายทงั้ ฝายดแี ละฝายช่ัว ซาตานเปน หวั หนา ฝายชั่วในที่สุดก็จะถูกพระเจา ทําลาย ศาสนาครสิ ต เปนศาสนาท่มี ผี ูน บั ถือมากท่สี ุดในโลก คําวา Christ มาจากภาษาโรมันวา Christus และคําน้ีมาจากภาษากรีก อีกตอ หน่ึง คือ คําวา Christos ซ่ึงแปลมาจากคําวา Messiah ในภาษาฮิบรู คําวา messiah แปลวา พระผปู ลดเปลื้องทุกขภัย ศาสนาครสิ ต เกิดในปาเลสไตน เมื่อ พ.ศ. 543 โดยคํานวณจากปเ กิดของพระเยซูซึ่งเปนศาสดา ของศาสนาน้ี ศาสนาครสิ ต เปนศาสนาทพ่ี ฒั นามาจากศาสนายดู ายหรอื ยิว เพราะศาสนาคริสตน ับถือพระเจา องคเ ดียวกันกับศาสนายูดาย คือ พระยะโฮวาห พระเยซูเปน ชาวยิวมิไดปรารถนาท่ีจะตั้งศาสนาใหม แต ทรงตองการปฏิรูปศาสนายิวใหบริสุทธ์ิข้ึน ทรงกลา ววา “อยาคิดวา เรามาทําลายพระบัญญัติและคําของ ศาสดาพยากรณเสยี เรามไิ ดมาทาํ ลายแตม าเพอ่ื ทําใหสําเรจ็ ” กอ นหนาท่ีพระเยซูประสูติ ประเทศปาเลสไตน ไดตกเปนเมอื งข้นึ ของจกั รวรรดิใกลเ คียงติดตอ กัน เปนระยะเวลากวา 100 ป เริม่ ตงั้ แตศตวรรษที่ 1 กอนคริสตกาล ตกเปน เมืองข้ึนของอัสซีเรีย บาบิโลเนีย จักรวรรดิเปอรเซยี จักรวรรดกิ รกี ในสมยั พระเจาอเล็กซานเดอรม หาราช และในทีส่ ุดตกเปนของอาณานิคม จักรวรรดโิ รมนั ตลอดเวลาที่ตกเปนเมอื งข้นึ น้ี ผพู ยากรณหลายทานไดพยากรณถงึ พระเมสสิอา (Messiah) พระผูช ว ยใหรอด ซึ่งเปนพระบุตรของพระเจาที่จะเสด็จมาปลดแอกชาวยิวใหไดรับเสรีภาพและจะ ทรงไถบ าปใหช าวยิวพนจากความหายนะและไดรับความรอดช่ัวนิรันดร ในสมัยนั้นชาวยิวเชื่อใน คําพยากรณน ้ีมากและพระเยซูประสูติในชว งเวลาน้ันพอดี พระเยซูเกิดท่ีหมูบานเบธเลเฮม แขวงยูดาย กรงุ เยรูซาเลม็ มารดาชือ่ มาเรยี บดิ าชอ่ื โยเซฟ ตามประวัติมาเรียน้ันตั้งครรภมากอ นขณะที่ยังเปน คูหมั้น กบั โยเซฟ เทวทูตจงึ มาเขาฝนบอกโยเซฟวา บตุ รในครรภม าเรยี เปน บตุ รของพระเจา ใหตง้ั ช่ือวา เยซู ตอมา จะเปน ผูไถบ าปใหก บั ชาวยวิ โยเซฟจึงปฏบิ ตั ิตามและรบั มาเรียมาอยดู ว ยโดยไมส มสูเ ย่ียงภริยา พระเยซูได รบั การเลยี้ งดูอยา งดี เปน ศษิ ยของโยฮนั ศึกษาพระคมั ภีรเ กา จนแตกฉาน ทานมีนิสยั ใฝสงบชอบวิเวก เม่ืออายุ 30 ป ไดร บั ศลี ลา งบาปท่ีแมนํา้ จอรแดน ตงั้ แตน้นั มาถอื วาทา นสําเร็จภูมิธรรมสูงสุดในศาสนาพระองคมีสาวก 12 คน เปนหลักในศาสนาทําหนาท่ีสืบศาสนามีนักบุญเปโตร (SaintPeter) เปนหัวหนาผูสืบตําแหนง นักบุญเปโตรตอ ๆ มาจนถึงปจจุบัน เรียกวา สมเด็จพระสันตะปาปา พระเยซูเผยแผศาสนาท่ัวดินแดน ปาเลสไตน เ ปน เวลา 3 ป มีพวกปุโรหิตธรรมาจารยแ ละพวกซีซารเ กลียดชัง ขณะท่ีพระองคร ับประทาน อาหารมื้อคํ่ากับสาวก 12 คน เปนมอ้ื สดุ ทา ย ทหารโรมันจับตัวทา นในขอหาเปน กบฎและถูกตัดสินใหล งโทษ ประหารชีวิตโดยตรึงกับไมกางเขนไวจนส้ินพระชนม

ห น า | 23 วิธีการเผยแผคาํ สอนของพระเยซู พระเยซู ใชว ิธกี าร 3 วธิ ี ในการเผยแผค ําสอน คือ 1. การรกั ษาบุคคลท่ีเจ็บปวยใหห าย คนตายใหฟ น เปนการปลูกศรัทธาของปวงชนใหเ กิดมีข้ึนตออํานาจของ พระเจา 2. การแสดงความฉลาดในการแกปญหา เชน เมื่อ มีการใหตัดสินคดีหญงิ ผิดประเวณี พระเยซูตรัสวาลงโทษได แตผูลงโทษจะตอ งเปนผบู รสิ ุทธิ์ เปน ตน 3. การประกาศหลักการแหงความรัก ความเมตตา กรุณา และกลาววาจงรกั ศัตรู ทา นจงอธิษฐานเพื่อผูท ี่ขม เหง ทานทาํ ดังนี้แลว ทานจะเปนบุตรของพระบิดาของทานใน สวรรค หลกั ธรรมของศาสนาครสิ ต ศาสนาครสิ ตจ ารึกหลกั ธรรมไวใ นคมั ภรี ไ บเบ้ลิ หลักธรรมของพระเยซบู างขอตรงขามกบั ศาสนายิว บางขอใหก ารปฏริ ปู และประยกุ ตเสยี ใหม เชน 1. พระเจา ทรงเปน บดิ าทดี่ พี รอมทจ่ี ะประทานอภยั ใหแ กบ ุตรทก่ี ลบั ใจ แตขณะเดยี วกันก็ทรงเปน ผูทรงไวซ ง่ึ ความเดด็ เด่ียวลงโทษผูท่ไี มเ ชื่อฟง 2. พระเยซูทรงเปนผูป ระกาศขา วดีโดยแจง ใหทราบวา อาณาจกั รของพระเจา มาถงึ แลว ผูที่ศรัทธา จะไดรับมหากรุณาธคิ ุณจากพระเจา 3. หลกั การสาํ นกึ ผดิ ใหพิจารณาตนเองวาใหท าํ ผิดอะไร และตง้ั ใจทจี่ ะเลิกทาํ ความชั่วนน้ั เสีย 4. หลักความเสมอภาค คอื ความรกั ความเมตตาของพระเจา ท่ีมีตอ มนุษยท ้ังมวล โดยไมเ ลือกช้ัน วรรณะ ผูทท่ี ําความดแี ลวตองไดร ับรางวัลจากพระเจา โดยเสมอภาคกัน 5. ใหละความเคียดแคน พยาบาทการจองเวรซ่ึงกันและกัน ใครรักก็รักตอบ ใครอาฆาตมุง รา ย ก็ตองใหอ ภัย คําสอนของพระเยซูทีส่ ําคญั ๆ อีกคือ 1. พระเยซูเปนบุตรของพระเจา ทรงสง ใหม าเกิดในโลกมนุษยเ พ่ือไถบ าปใหมนุษย มิไดเสด็จมา ปราบศตั รดู ว ยอาวุธ แตทรงมาสรา งสนั ติ 2. ผทู ่เี ช่ือพระเยซจู ะไดร ับความรอดและชีวิตนริ นั ดรจะไมถ ูกพพิ ากษาวันสิ้นโลก สว นผูท ไ่ี มศรทั ธา จะถูกพิพากษาในวันส้นิ โลก 3. ทรงสั่งสอนใหชาวยิวกลับใจใหมมิใหนับถือเฉพาะในดา นประกอบพิธีกรรมหรือทองคําสวดดว ย ปากไมจ รงิ ใจ ทรงตเิ ตยี นพวกพระยวิ วา เปน พวกปากวาตาขยิบไมรจู กั พระเจาทแ่ี ทจรงิ 4. บัญญัติของพระเยซูที่สงู สุด คือ “การรักพระเจาสุดใจและรักเพ่ือนบา นเหมือนตัวเราเอง” ผูท่ี พระเจาโปรดปราน คอื ผูท ี่อยูในความดีความชอบธรรมทั้งกาย วาจา ใจ ผูท่ีผิดดา นจิตใจถือวา มีบาปเทากับ การกระทํา

ห น า | 24 5. สอนไมใหกังวลความสุขทางโลกอันไดจากวตั ถุใหแ สวงหาความสุขดานจิตใจผูท่ีหวงสมบัติจะไมได ขนึ้ สวรรค ไมไ ดพ บกบั พระเจา 6. ในดานการปฏิบัติตอ เพื่อนมนุษยทรงสอนวา การไมท ําช่ัวตอบแทนกรรมช่ัวหรือทําดี ตอบแทน ความดีเทานั้นยังไมเ พียงพอ ใหทําดีตอบแทนความชั่ว และใหรักศัตรูดังที่ไดเ ปรียบเทียบวา อยาตอสูค นชั่ว ถาผใู ดตบแกม ขวาของทานก็จงหันแกม ซา ยใหเขาดวย 7. ความดีสงู สดุ คือ การทําตวั ตามแบบพระเยซู คุณธรรมสูงสุด คือ ความรัก ความเมตตากรุณา ความออ นโยน ความถอมตน ความอดทนตอ ความทุกขทง้ั ปวง พธิ ีกรรมสําคญั ของศาสนาครสิ ต เรยี กวา พธิ ศี กั ด์ิสิทธ์ิ 7 ประการ คือ 1. ศีลลา งบาปหรอื ศลี จมุ (Baptism) กระทาํ เมอื่ เปนทารกหรือเม่ือเขาเปนคริสตศาสนิกชน พิธีนี้ กระทําตามแบบของพระเยซูเม่ือกอนทรงออกเทศนาใหนิกายคาทอลิก ปจ จุบันไมจุมตัวในนํ้าแตใช นํ้าศักดิส์ ิทธิ์เทบนศีรษะเพือ่ เปนสญั ลกั ษณข องการลางบาป ศีลนีส้ ําคัญที่สดุ ผูใ ดไมไดร บั ศลี ลา งบาปจะไมได ช่ือวาเปน บตุ รของพระเจา และจะไมไดชวี ติ นิรันดร 2. ศีลกําลัง (Confirmation) กระทําอีกครั้งหนึ่งเม่ือพนวัยเด็กและเปน ผูใ หญแลวเพ่ือเปน คริสตศาสนกิ ชนทสี่ มบูรณ 3. ศลี มหาสนิท (Holy Communion) สําหรับคริสตศาสนกิ ชนอาจทาํ ทกุ วัน ทุกสัปดาห ทุกเดือน หรอื อยางนอยปล ะ 1 คร้ัง โดยรบั ประทานขนมปงและเหลาองุน เปนสัญลักษณต ามแบบที่พระเยซกู ระทําแก อคั รสาวกในพระกระยาหารมอื้ สุดทา ยกอ นถกู ตรึงกางเขน ขนมปง คือ พระกาย เหลา องุน คือ พระโลหิต ของพระเยซู ฝายคาทอลกิ เชื่อวา การกระทาํ พิธนี ้ผี ูไ ดร บั ประกาศจะมีชวี ิตนิรันดร 4. ศีลแกบ าป (Penance) สําหรับคาทอลิกที่กระทําบาปประสงคจะไดร ับการอภัยบาปตองไป สารภาพบาปนน้ั ตอนกั บวชดว ยความสํานึกผิดอยางแทจ ริง ถือวา นักบวชไดร ับอํานาจในการยกบาปโดยตรง จากสนั ตะปาปา ซึง่ เปนผแู ทนของพระเยซูคริสต นกั บวชจะยกบาปและตกั เตือนสัง่ สอนไมใ หทาํ บาปอกี 5. ศีลเจิมคนไข (Extreme Unetion) กระทําเม่ือคนไขเ จ็บหนักใกลจ ะตายเม่ือชําระบาป ขั้นสดุ ทายจะชวยใหม ีสติกาํ ลังสามารถตอ สกู ับความตายจนถึงท่ีสุด วิธีทําบาทหลวงใชน ํ้ามันศักด์ิสิทธิ์เจิม ทาทห่ี ู จมกู ปาก มอื และเทา ของคนไข พรอ มกบั สวดอวยพรทุกคนในบานจะตองสวดพรอม 6. ศีลสมรสหรือศลี กลา ว (Matrimony) กระทําแกคบู าวสาวในพิธสี มรส ผรู บั ศลี สมรสโดยถูกตอง แลว จะหยา รา งกันไมไ ด และหา มสมรสใหมข ณะที่สามีภรรยายังมีชีวิตอยู การจดทะเบียนสมรสตาม กฎหมายโดยไมไดรับศีลสมรสไมถ ือวา เปนสามีภรยิ าโดยถกู ตอ งตามกฎหมายของศาสนา 7. ศีลอนุกรม (Holy Order หรือ Ordination) เปน ศีลบวชใหก ับบุคคลท่ีเปนบาทหลวง ผูม ี อํานาจโปรดศลี อนกุ รม คือ สังฆราช ซงึ่ ถือเปน ผแู ทนของพระเยซูครสิ ตเ ม่อื ไดรับศีลอนุกรมแลวไมอนุญาต ใหสมรส กฎขอนเ้ี กดิ ขนึ้ ภายหลังโดยศาสนาจักรเปน ผูอ อกกฎน้ี นิกายของศาสนาคริสต เดิมศาสนาคริสตมีนิกายเดียว คือ โรมันคาทอลิก มีศูนยกลางอํานาจอยูท่ีสํานักวาติกัน กรุงโรม ใชภ าษาละตนิ เปน ภาษาของศาสนา ประมขุ ของศาสนาคอื สนั ตะปาปา เนน วา เปนผูส ืบทอดศาสนาคําสอน ของพระเยซมู พี ระคือบาทหลวง เปนนิกายท่เี ช่ือเรอ่ื งบุญบาป รูปเคารพถือไมกางเขนที่พระเยซูถูกตรึงอยู ตอมาอาณาจกั รไบเซนไทนมีศูนยก ลางที่กรุงคอนสแตนติโนเปล ประเทศตุรกี ปจ จุบันมีความเปน อิสระ ไมย อมอยใู ตอ าํ นาจของสนั ตะปาปา จึงแยกนกิ ายมาช่อื วา กรีกออรธอดอกซ ไมม ีศนู ยกลางอํานาจท่ีใดโดย

ห น า | 25 เฉพาะใหความสําคัญของประมุขท่ีเรียกวา ปาตริอารค หรืออารคบิชอป ตอมามีบาทหลวงชาวเยอรมัน ชื่อมารตินลูเธอร ไมพอใจการปกครองของสํานักวาติกันและโดนขับออกจากศาสนาจักรในป ค.ศ.1521 จึงแยกตนเองออกมาตัง้ นกิ ายใหมคอื โปรเตสแตนต เนน คมั ภรี ไมม ีนกั บวช รับศลี ศกั ดิส์ ิทธิเ์ พียง 2 อยา งคือ ศีลลางบาปและศีลมหาสนิท เรือ่ งท่ี 5 ประวตั ศิ าสนาพราหมณ - ฮนิ ดแู ละคาํ สอน ศาสนาพราหมณ หรือ ฮินดู เกิดในเอเชียใต คือ ประเทศอินเดีย เมื่อประมาณ 1,400 ป กอ นคริสต ศกั ราช เกิดจากพวกอารยันที่อพยพเขา มาในประเทศอินเดีย ถือกันวาเปนศาสนาที่เกา แกท ี่สุดในโลกพระเวท เปนคมั ภรี ศ าสนาพราหมณไ ดร ับการยกยองวาเปนคมั ภรี ท เี่ กาแกท่ีสดุ ในโลก และเปนวรรณคดที ีเ่ กา แกท ่ีสดุ ในโลกช่ือของศาสนาเปล่ยี นไปตามกาลเวลา ในตอนแรกเร่มิ เรียกตัวเองวา “พราหมณ” ตอ มาศาสนาเส่อื มลงระยะหนง่ึ และไดมาฟนฟปู รบั ปรุง ใหเปนศาสนาฮินดู โดยเพิ่มบางสิ่งบางอยางเขา ไป มีการปรับปรุงเนื้อหาหลักธรรมคําสอนใหดีขึ้น คําวา “ฮินดู” เปนคาํ ทใี่ ชเรยี กชาวอารยันท่อี พยพเขาไปตงั้ ถิ่นฐานในลุม แมน ํ้าสินธุ และเปน คําท่ีใชเ รียกลูกผสม ของชาวอารยันกับชาวพ้ืนเมืองในชมพูทวีป และชนพื้นเมืองน้ีไดพ ัฒนาศาสนาพราหมณโดยการเพ่ิมเติม อะไรใหม ๆ ลงไปแลวเรยี กศาสนาของพวกน้วี า “ศาสนาฮนิ ดู” เพราะฉะนน้ั ศาสนาพราหมณจ งึ มีอีกชื่อใน ศาสนาใหมว า “ฮนิ ด”ู จนถงึ ปจ จุบนั ในอดีตศาสนาพราหมณหรือฮินดูจะมีการจัดคัมภีรออกเปน 3 พวก ตามการยกยองนับถือเทวะ ทั้ง 3 โดยแยกเปน 3 นิกายใหญ ๆ นิกายใดนับถือเทวะองคใ ดก็ยกยอ งวา เทวะองคน ้ันสูงสุด ตอมา นกั ปราชญชาวฮนิ ดูไดกาํ หนดใหเทวะท้งั 3 องค เปน ใหญสงู สดุ เสมอกัน เทวะท้ัง 3 องคน้ี รับการนํามารวมกัน เรยี กวา “ตรีมูรต”ิ ใชค าํ สวดวา “โอม” ซึง่ ยอมาจาก “อะอมุ ะ” แตล ะพยางคแทนเทวะ 3 องค คือ “อะ” แทนพระวษิ ณหุ รือพระนารายณ “อุ” แทนพระศวิ ะหรอื อศิ วร “มะ” แทนพระพรหม

ห น า | 26 ในประเทศอนิ เดยี ไดม ีการแบงชนชัน้ ออกเปน 4 วรรณะ คือ พราหมณ กษตั รยิ  แพศย คอื พอคา คหบฎี และศูทร กรรมกรคนใชแ รงงาน วรรณะพราหมณ ถอื วา เปน วรรณะสูงสุด เปนพวกทําหนา ที่ ทางศาสนา “พราหมณ” เปน คาํ ศพั ทที่เน่อื งมาจาก คาํ วา “พรหม” คนในวรรณะนถี้ ือวา ตนสืบเชื้อสายมา จากพรหม สามารถติดตอเกี่ยวของกับโองการตาง ๆ จากพรหมซึ่งเปนพระผูเปนเจามาแจงแกชาวโลก มนุษยได สามารถติดตอบวงสรวงออนวอนเทพเจาใหมาประสาทพรหรือบนั ดาลความเปน ไปตา ง ๆ ในโลก มนุษยไ ด พวกพราหมณจึงเปน ที่เคารพยําเกรงของคนทุกวรรณะ แมแตก ษัตริยผูเปนใหญใ นการปกครอง เมื่อพวกพราหมณมีอํานาจมากมคี นยําเกรงมากโอกาสท่จี ะแสวงหาลาภสกั การะจึงมีมาก พวกพราหมณแ ตละ พวกจะแขง ขนั ในการทาํ พธิ โี ดยถือวา การจดั ทําพิธีตา ง ๆ ใหถ ูกตองตามพธิ ที ี่กาํ หนดไวในพระเวทเปน ส่ิงสําคัญ ชนวรรณะพราหมณไดร วบรวมสรรพวิชาทั้งหลายที่ตนคน พบหรือเขาใจเรื่องประมวลความรู เรียกวา “ไสยศาสตร” ซ่ึงขน้ึ ตน ดว ยวิชาทส่ี ําคญั ทส่ี ุด คือ “พระเวท” อนั หมายถงึ วิชาการที่เก่ียวกับพรหม เทวดา และสิ่งศกั ดิส์ ิทธิท์ ั้งหลายท่มี นุษยต องเคารพบชู า สมยั น้ันยังไมมีหนงั สอื จงึ ตอ งใชว ธิ ที อ งจําและสอนตอ ๆ กันมา พระเวท ประกอบดว ย “มนตรี” คือ คาถาสําหรับทองจํากับ “พราหมณะ” ซ่ึงเปน คัมภีรคูม ือที่พวกพราหมณ แตละกลุมไดเ พิม่ เตมิ ในพธิ กี รรมของตนใหละเอียดพิศดารขน้ึ จนพราหมณเ องไมส ามารถทอ งจําได จงึ ตองมี คูมือ “พราหมณะ” คอื คําอธิบายลทั ธพิ ธิ ีกรรมตา ง ๆ ของพระเวท แตเ ดิมมี 3 อยาง เรยี กวา “ไตรเพท” ไดแ ก 1. ฤคเวท เปน คัมภีรเกาแกท่ีสุด ถือกันวา ออกจากโอษฐของพระพรหม ซึ่งพวกฤาษีไดสดับแลว นาํ มาอนุศาสนนรชนอีกตอหนึง่ กลาวดวยเทวดาตาง ๆ และการบนบานใหชวยขจดั ภัยทงั้ มวล 2. ยชรุ เวท กลา วดวยพิธกี รรมตาง ๆ เปนตาํ ราการทาํ พธิ ีกรรมของพราหมณโดยตรง 3. สามเวท กลา วดวยบทคาถาสังเวยสาํ หรับเหก ลอ มเทวดา บูชานํ้าโสมแกเทวะทั้งหลาย (“สาม แปลวา สวด”) ดังมีบทเหกลอ มพระนเรศร - พระนารายณ ห ลังพิธตี รยี มั ปวายเสร็จสิ้นแลว ตอ มาเพ่ิม “อาถรรพเวท” ซ่ึงเปนพระเวททเี่ กย่ี วกบั อาถรรพตา ง ๆ มีมนตรสําหรับใชในกจิ การท้ังปวงรักษาโรคภัยไขเจบ็ หรือกาํ จดั ผลราย อนั จะมมี าแตพยาธแิ ละมรณภยั และรวมทั้งสาํ หรับใชท ํารา ยแกห มูอ มติ ร โดยเสกสิง่ หนงึ่ สิ่งใดเขา ตวั หรอื ฝง รูป ฝง รอยหรอื ทําเสนห ย าแฝด นอกจากพระเวททง้ั 4 น้ีแลว ยงั มี “พระเวทรอง” อีก 4 อยา ง เรียก “อปุ เวท” เปนวิชาท่ีกลา วดวย วทิ ยาศาสตรตา ง ๆ อันเปนวทิ ยาการโดยเฉพาะ คอื 1. อยรุ เวท ไดแก ตาํ ราแพทยศาสตร กลาวดวยการใชส มุนไพร และมนตตา ง ๆ ในการรักษาโรค มีเทวดาประจาํ เปนเจาของ คือ ฤาษีทั้งแปด ซ่งึ ไมป รากฏนามแนนอน 2. คานธรรมเวท ไดแก ตาํ ราขับรอ งและดนตรีกับนาฏศาสตรหรอื การฟอ นรํา มีเทวดาประจํา คือ พระนารทฤๅษี หรือท่ีเรียกวา พระนารอท หรอื พระปรคนธรรพ 3. ธนรุ เวท ไดแก วชิ ายงิ ธนูและการใชอาวธุ สงคราม ซึ่งบัดนเ้ี รียก “ยุทธศาสตร” มีเทวดาประจํา คอื พระขันทกมุ าร 4. สถาปต ยเวท ไดแก วชิ ากอ สราง ซึง่ เรียกวา “สถาปต ยกรรม” เทวดาประจํา คือ พระวิษณุกรรม

ห น า | 27 วรรณะพราหมณในศาสนาฮนิ ดู ในประเทศอินเดยี ไดแบงออกเปน 4 วรรณะ คือ พราหมณ กษัตรยิ  แพศย ศทู ร ในท่ีนี้จะกลาวถึง วรรณะพราหมณห รอื ตระกลู นกั บวชเทา น้นั แบงออกเปน 4 ช้ัน คอื 1. พรหมจารี คอื พวกนักเรียน มีหนา ท่ีเปน ผูป ฏิบัติและศึกษาพระเวทในสํานักคณาจารยค นใด คนหน่ึง (เทยี บกับศาสนาพทุ ธ คือ สามเณร และนวกะ) 2. คฤหบดี คือ ผูค รองเรือน มีภรรยา มีครอบครัว เปนหัวหนา ในบาน อานและสอนพระเวท ทําการบชู าเอง หรอื ชว ยผูอ ่นื กระทาํ ยญั กรรม ใหท าน และรบั ทกั ษิณา 3. วานปรสั ถ คอื ผอู ยปู า ละเคหสถานและครอบครวั เขา ปาเพื่อทรมานตน มักนอยในอาหารและ เคร่ืองนุงหม กระทาํ ทุกรกริ ิยา สมาธิมนั่ คงในกจิ วตั ร ไดแ ก ฤๅษี แปลวา ผูแ สวง หมายถึง แสวงหาโมกษะ คอื การหลดุ พนจากการเวียนวา ย ตาย เกดิ โยคี แปลวา ผูบ ําเพ็ญโยคะ คือ ทรมานกายโดยวิธีแหงอิริยาบถตาง ๆ เพื่อหวังผลสําเร็จเปน ผูวเิ ศษ เชน ยืนขาเดยี วเหนย่ี วกินลมนานนับสบิ ป นั่งสมาธิโดยไมลุกข้นึ เลยเปนเวลาสบิ ป ดาบส แปลวา ผูบ ําเพ็ญตน คือ ความเพง เล็งในดวงจิตเพ่ือประโยชนใ หอาตมันเขา รว มอยูใน ปรมตั ถ (หรือปรพรหม) ใหเ กิดความบรสิ ุทธใ์ิ สสะอาด แมกระทบอารมณใด ๆ ก็ไมแ ปรปรวน มุนี แปลวา ผูสงบ ไดแก ผสู ําเร็จฌานสมาบัติ คือ ผกู ระทําตบะและโยคะจนถึงทีส่ ุดแลว สิทธา แปลวา ผูสาํ เร็จฌานสมาบัติ คือ ผูก ระทาํ ตบะและโยคะจนถงึ ที่สุดแลว นกั พรต แปลวา ผบู วชและถือพรตตามลัทธพิ ราหมณ ชฎิล แปลวา ฤๅษผี ูมนุ มวยผมสงู เปนชฎา นกิ ายและลทั ธิ มี 4 นิกายดวยกัน คือ 1. นิกายไศวะ ถอื พระอศิ วรเปน ใหญ และนบั ถือพระนารายณ พระพรหมกบั เทพอน่ื ๆ ดวย 2. นิกายไวษณพ ถอื พระนารายณเปน ใหญ และนับถอื พระศิวะ พระพรหม กบั เทพอ่ืน ๆ ดว ย 3. นิกายศากต ถือวาพระแมอ าทิศักตีหรือพระแมปราศักตีเปน ใหญ และนับถือพระพรหม พระนารายณก ับเทพอ่ืน ๆ ดว ย 4. นกิ ายสมารต ถือเทพหา องคดวยกัน คอื พระพฆิ เณศวร พระแมภ วานี คอื พระศักตี พระพรหม พระนารายณ พระศวิ ะ ไมม อี งคใดใหญกวา โดยเฉพาะ ลัทธิ ปรมาตมนั คือ พรหมนั แบง ออกเปน 2 ระดับ อปรหมันความเจรญิ สูงสุด (UltimateReality) ละปรพรหมัน คือ ความจริงขนั้ เทพเจา สงู สดุ (SupremeBeing) คําสอนในคมั ภีรอ ุปนษิ ัท ทาํ ใหศาสนาพราหมณ เปนเอกนิยม (Monoism) เช่อื วา สรรพสิ่งมาจากหนงึ่ และกลับไปสคู วามเปน หนึ่ง หลงั จากคัมภีรอ ุปนิษทั ได พัฒนาจนถงึ ขดี สดุ ทําใหเ กดิ ลทั ธปิ รัชญาอกี 6 สํานกั ดงั ตอ ไปน้ี 1. นยายะเจา ลัทธิ คือ โคตมะ 2. ไวเศษกิ ะเจาลทั ธิ คือ กนาทะ 3. สางขยะเจา ลัทธิ คอื กปล ะ

ห น า | 28 4. โยคะเจาลทั ธิ คือ ปตญั ชลี 5. มมี างสา หรอื ปรู วมมี างสา เจา ลัทธิ คอื ไชมนิ ิ 6. เวทานตะ หรืออุตตรมมี างสา เจาลัทธิ คอื พาทรายณะ หรือวยาส ลัทธนิ ยายะ นยายะ แปลวา การนําไป คือ นําไปสูก ารพิจารณา สอบสวน อยางละเอียดถี่ถว นหรือวิธีการหา ความจริงซึ่งอาศยั หลกั ตรรกวิทยา เพราะเหตนุ ้ชี ่อื เรียกสาํ หรบั ลทั ธนิ ยายะจงึ มหี ลายอยาง เชน ตรรกวิทยาบา ง วชิ าวา ดวยวาทะบาง โคตมะผูเปนเจา ของลัทธินี้เกิดประมาณ 550 ป กอน ค.ศ. หรือกอ นพระพุทธเจา ปรินิพพานประมาณ 7 ป วิธีท่ีจะไดค วามรู ความเขาใจท่ีถูกตองตามหลักของลัทธินยายะนั้นมีอยู 16 ประการ เชน 1. ประมาณหรือวิธีใหเ กิดความรูชอบนั้น มี 4 อยา งคือ 1. การรูประจักษ 2. การอนุมานหรือ คาดคะเน 3. การเปรียบเทยี บ 4. บรรยายถอยคาํ 2. ประเมยะ เรอื่ งทพี่ ง่ึ รูชอบมี 12 อยาง คือ 1. อา 9 มนั 2. สรรี ะ 3. อนินทรีย 4. อรรถ 5. พทุ ธิ 6. มนะ 7. พฤตกิ รรม 8. โทษ 9. การเกิดอกี (หลังตายไปแลว) 10. ผลแหง ความดีความชั่ว 11. ความทุกข 12. ความหลดุ พน 3. สงั สะยะ ความสงสยั เปน ตน ลัทธิไวเศษิกะ คําวา ไวเศษิกะ คอื วเิ ศษ หมายถึง ลักษณะท่ีทําใหส ิง่ หนง่ึ ตางไปจากอีกหน่ึง ฤๅษีกณาทะ ผูตั้งลัทธินี้ เกิดในศตวรรษที่ 3 กอนครสิ ตศักราช ลทั ธนิ สี้ อนเพือ่ ความหลุดพนไป การหลดุ พนนัน้ การรูอาตมนั ไดอยาง แจมแจง เปนวิธีการสาํ คัญยิง่ ลัทธินี้ใชวิธีตรรกวิทยา คือ ส่ิงท่ีมีอยูจริงช่ัวนิรันดร มีอยู 9 อยางคือ 1. ดิน 2. น้ํา 3. ไฟ 4. ลม 5. อากาศ 6. กาละ 7. ทิศ 8. อาตมนั 9. ใจ ดว ยการรวมตัวของสิง่ เหลานสี้ ่งิ อนื่ ๆ ยอ มเกดิ ขน้ึ มากมาย ลัทธสิ างขยะ ลทั ธิสางขยะนี้ถอื วา เปนปรชั ญาฮนิ ดทู ่เี กา แกท ีส่ ุด เพราะนบั เปนครัง้ แรกที่ไดมีการพยายามทําให ปรัชญาของพระเวทกลมกลืนกับเหตุผล ฤาษีกปล ะ เปนผูแ ตง คมั ภีรแหงลัทธนิ ี้ ทา นเกิดในสมยั ศตวรรษท่ี 6 กอ น ค.ศ. รวมสมยั กับพระพุทธเจา คาํ วา สางขยะ แปลวา การนับหรือจํานวน กลา วถึงความจริงแท 25 ประการ ยอ มลงเปน 2 คือ บุรษุ ไดแก อาตมัน หรอื วิญญาณสากล และประกฤติ (ปกต)ิ คือ ส่ิงทเี่ ปน เนือ้ หาหรือตนกําเนิดของสิ่งทัง้ หลาย ความมุง หมายของลัทธิน้ี เพ่ือสรา งปญญาใหเ กิดเพ่ือทําลายเหตุแหงความทุกขท ้ังปวงและ ปลดเปลอ้ื งอาตมันออกจากสิง่ ผกู พัน ความทุกขใ นความหมายของลทั ธนิ ้ีแบงออกเปน 3 ประการ ดังนี้ 1. ความทุกขทเ่ี กิดข้นึ จากเหตุภายใน เชน ความผดิ ปกตขิ องรา งกายและจิตใจ 2. ความทุกขท ่ีเกดิ ขึ้นจากเหตภุ ายนอก เชน มนุษย สตั ว หรอื ส่ิงไมมีชวี ิตอ่ืน ๆ 3. ความทกุ ขท่ีเกดิ ขึน้ จากเหตนุ อกอํานาจ หรือเหนือธรรมชาติ เชน บรรยากาศดาวพระเคราะห การแกท ุกขเ หลาน้ีตอ งใชปญญาท่ีสามารถปลดเปลื้องอาตมันออกจากส่ิงผูกพัน โดยหลักการแลวลัทธินี้ เปนอเทวนิยม ไมเ ชื่อเร่ืองพระเจา สรางโลก เปนทวินิยม คือ เช่ือวา ของจริงมีอยู 2 อยาง คือ 1. อาตมัน 2. เนอ้ื หาของสิ่งที่เขา มาผสมกับอาตมนั

ห น า | 29 ลัทธิโยคะ ลทั ธโิ ยคะ คาํ วา โยคะ เปนศาสตรเ ดมิ ทีม่ ีมานานแลว ปตัญชลีเปน ผรู วบรวมเรียบเรียงข้ึน ทา นจึง ไดรบั เกยี รติวา เปน ผูต้ังลัทธโิ ยคะ ประมาณ 3 หรอื 4 ศตวรรษกอน ค.ศ. โยคตะ แปลวา การประกอบหรือ การลงมือทาํ ใหเ กดิ ผล ลัทธินี้อาศยั ปรชั ญาของสางขยะเปน ฐานจดุ หมาย คือ จะชวยมนุษยใ หหลุดพนออก จากความทกุ ข 3 ประการ ดังกลาวในลัทธสิ างขยะ คอื 1. ในการทําใหห ลดุ พนจากความทุกขซ ่ึงเกิดจากเหตุภายใน เชน โรคภัยไขเ จบ็ หรอื ความประพฤติผิด ตองพยายามใหบรรลุความไมย ึดถอื โลก โดยไมจ าํ เปน ตองแยกตัวออกจากโลก 2. ในการทาํ ใหห ลุดพนจากความทกุ ข ซงึ่ เกดิ จากเหตภุ ายนอก เชน สัตวราย หรือโจรผูรา ย เปน ตน พึงสํารวมจิตใจใหบริสทุ ธิส์ ะอาด 3. ในการทาํ ใหหลุดพนจากเหตนุ อกอาํ นาจ หรือเหนือธรรมชาติ เชน ธาตุ หรืออํานาจอันเรนลับ ละเอยี ดออ นพึงบาํ เพ็ญสมาธซิ ่งึ เปนจดุ ประสงคอันแทจ รงิ ของลัทธินี้ โยคีหรอื ผูบําเพ็ญโยคะ ยอมพยายามที่จะเปนผูหลุดพน จากวงกลมแหงชีวิตและความตายอยาง เด็ดขาด โดยพิจารณาเห็นธรรมชาติวาเปนพลังอันเดียวแตทํางานสองแง คือ จากภายนอก พลังงานนี้ พยายามท่ีจะแยกส่ิงทั้งหลายออกจากกัน ท่ีเรียกวา ความตาย จากภายใน พลังงานน้ีพยายามที่จะรวม สงิ่ ทงั้ หลายเขาดว ยกนั ทเ่ี รียกวา ชวี ิต การบําเพ็ญโยคะกเ็ พื่อรวมพลังงาน 2 อยา งนี้เขาดวยกนั โยคะวางกฎ สําหรับปฏิบัติและวางพิธีเพื่อควบคุมหรือสํารวมระวังจิตของแตละบุคคลที่เรียกวา ชีวะ จนเปน อันหนึ่ง อนั เดยี วกนั จติ ใจสากลทีเ่ รียกวา ปุรุษะ เมือ่ ชวี ะบรรลถุ งึ สภาพดง้ั เดิมของตน คือ ปุรุษะ ก็ชื่อวา เปนอิสระ หรือหลุดพนจากสถานการณท้ังปวงแหงพายแุ ละความสงบ ความสุข ความทุกข และเช่ือวาพน จากความทุกข ทง้ั ปวง คําวา “โอม” เปน คาํ ศักดส์ิ ทิ ธใ์ิ นลทั ธโิ ยคะ ใชสําหรับรวมความหมายที่เน่ืองดวยพระเปน เจา แลว กลาวซา้ํ ๆ กนั เพอื่ ใหเ กดิ ความรถู งึ ส่งิ สูงสุด และเพ่ือปองกันอุปสรรคในการบําเพ็ญโยคะ อบุ ายวธิ ใี นการบาํ เพ็ญโยคะ มี 8 ประการ ดังนี้ 1. ยมะ สาํ รวจความประพฤติ 2. นยิ มะ การบาํ เพ็ญขอ วัตรทางศาสนา 3. อาสนะ ทา นงั่ ท่ีถูกตอ ง 4. ปราณายามะ การบงั คับลมหายใจไปในทางทต่ี องการ 5. ปรตั ยาหาระ การสาํ รวม ตา หู จมูก ลนิ้ กาย 6. ธารณา การทาํ ใจใหมั่นคง 7. ธยานะ การเพง 8. สมาธิ การทําใจแนวแน ต้งั มน่ั อยางลกึ ซ้งึ ลทั ธมิ ีมางสา คาํ วา มีมางสา แปลวา พิจารณา สอบสวน หมายถึง พิจารณาสอบสวนพระเวท ไดแก สอบสวน มนั ตระกับพราหณะ ไชมิณิ ผแู ตง คัมภีรม ีมางสาสตู ร เกดิ ขึน้ สมยั ระหวาง 600 - 2000 ป กอนครสิ ตศักราช ความมงุ หมายของลทั ธิมมี างสา คอื สอบสวนถงึ ธรรมชาติแหงการกระทําที่ถูกตอ ง ซ่ึงเรียกสั้น ๆ วา “ธรรม” ขอ เสนออันเปนฐานของลัทธิมีอยูว า หนา ท่ีหรือการกระทําเปน สาระอันสําคัญยิ่งของความเปน มนษุ ย ถาไมมกี ารทําปญ ญากไ็ มม ีผล ถา ไมม กี ารกระทําความสุขก็เปน สิ่งที่เปน ไปไมได ถาไมมีการกระทํา

ห น า | 30 จุดหมายปลายทางของมนษุ ยก ไ็ มม ีทางจะทําใหส มบรู ณได เพราะฉะน้นั การกระทาํ ทถี่ ูกตอ ง ซง่ึ เรียกวาสนั้ ๆ วา “ธรรม” จงึ เปนสงิ่ จาํ เปน ในเบื้องตนของชวี ติ การกระทําทุกอยา ง มีผล 2 ทาง คอื ผลภายนอกกับผลภายใน ผลภายนอก เปนผลหยาบเปน ส่ิงท่ี แสดงตัวออกมา ผลภายใน เปนผลละเอียดเปนสิ่งท่ีเรียกวา “ศักยะ” คือ ยังไมแ สดงตัว แตอ าจใหผลได เหมือนนาฬิกาทไ่ี ขลานไว ยอ มมีกําลังงานสะสมพรอ มท่จี ะแสดงผลออกมา ผลภายนอก เปน ของชั่วคราว ผลภายใน เปน ของชั่วนิรันดร เพราะฉะน้ัน การกระทําทั้งหลายจึง เทา กบั เปนการปลกู พชื ในอนาคต ในขอเสนอขน้ั มลู ฐานน้ี ลทั ธิมีมางสาสอบสวนถงึ การกระทําหรือกรรมท้งั ปวง อันปรากฏพระเวทแลว แบง ออกเปน 2 สวน คือ มนั ตระ กบั พราหมณะ มี 5 หวั ขอ ดงั นี้ 1. วิธีระเบยี บวิธี 2. มนั ตระหรือบทสวด 3. นามเธยะชือ่ 4. นิเสธะขอหาม 5. อรรถวาทะคาํ อธบิ ายความหมายหรือเนอ้ื ความ ลทั ธิเวทานตะ ลัทธิเวทานตะ สอบสวนถึงสว นสุดทายของพระเวท จึงมีรากฐานตั้งอยูบ นปรัชญาของอุปนิษัท ซ่ึงเปน ท่ีสุดแหง พระเวท และมีหลักการสวนใหญว า ดว ยเรื่องญาณหรือปญญาอันสอบสวนถึงความจริง ขน้ั สุดทา ยเกีย่ วกับ ปุรุษะ หรอื พระพรหม ผเู รยี บเรียงคมั ภีรเ วทานะ คอื พาทรายณะ กลา วกันวา ทา นเปน อาจารยข องทา นไชมิณิ ผูต้ังลัทธิ มมี างสา พาทรายณะอยใู นสมัยระหวาง 600 - 2000 ป กอ นครสิ ตศักราช ในการปฏบิ ัตเิ พื่อใหบ รรลุจดุ หมายปลายทางของลทั ธิน้ี มหี ลกั การอยู 4 ขอ ดังน้ี 1. วเิ วกะ ความสงดั หรือความไมเกย่ี วในฝา ยหนึ่ง ระหวางสิ่งอันเปนนริ นั ดรกับมใิ ชน ิรันดรระหวา ง ส่ิงแทก ับสงิ่ ไมแ ท 2. ปราศจากราคะ คอื ไมมีความกาํ หนดั ยินดหี รือความติดใจ ความตองการ เชน ความปรารถนา ท่ีจะอภริ มยใ นผลแหงการกระทําทัง้ ในปจ จบุ นั และอนาคต 3. สลัมปต ความประพฤตชิ อบ ซงึ่ แจกออกอีกหลายอยา ง เชน สมะ ความสงบ ทมะ การฝกตน อปุ รติ มใี จกวางขวาง ไมต ดิ ลทั ธินิกายติตกิ ษา ความอดทน ศรัทธา ความเช่ือ สมาธานะความต้งั ม่ันสมดลุ แหง จิตใจ 4. มมุ ุกษตุ วะ ความปรารถนาทชี่ อบเพอื่ จะรคู วามจริงขั้นสุดทา ยและเพือ่ ความหลดุ พน คําสอนทส่ี าํ คัญของศาสนาพราหมณ - ฮินดู หลักธรรมสําคญั ของศาสนาพราหมณ - ฮินดู หลักธรรม 10 ประการ 1. ธฤติ ไดแ ก ความมั่นคง ความเพียร ความพอใจในส่งิ ทีต่ นมี 2. กษมา ไดแ ก ความอดทนอดกล้นั และมเี มตตากรณุ า 3. ทมะ ไดแ ก การขมจิตมิใหหวนั่ ไหวไปตามอารมณ มสี ติอยเู สมอ 4. อสั เตยะ ไดแก การไมล ักขโมย ไมกระทาํ โจรกรรม

ห น า | 31 5. เศาจะ ไดแ ก การทาํ ตนใหสะอาดทง้ั กายและใจ 6. อินทรียนิครหะ ไดแ ก การขม การระงับอินทรีย 10 คือ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง มือ เทา ทวารหนกั ทวารเบา และลาํ คอ ใหเปนไปในทางที่ถกู ตองอยใู นขอบเขต 7. ธี ไดแก การมสี ติ ปญญา รูจักการดาํ เนินชวี ติ ในสังคม 8. วิทยา ไดแ ก ความรทู างปรัชญา 9. สตั ยา ไดแก ความจรงิ คอื ความซอ่ื สตั ยสจุ รติ ตอ กัน 10.อโกธะ คือ ความไมโกรธ หลกั อาศรม 4 1. พรหมจารี ศกึ ษาเลา เรียนและประพฤตพิ รหมจรรยจนถงึ อายุ 25 ป ศึกษาจบจึงกลับบา น 2. คฤหัสถ ครองเรือน จบจากการศึกษา กลับบา น ชว ยบิดามารดาทํางาน แตงงานเพื่อรักษา วงศต ระกูล ประกอบอาชีพโดยยึดหลักธรรมเปน เคร่ืองดําเนินชีวติ 3. วานปรัสถ สงั คมกาล มอบทรพั ยสมบัติใหบตุ รธดิ า ออกอยูปา แสวงหาความสงบ บําเพ็ญประโยชน ตอสังคม การออกอยปู า อาจจะทําเปนครงั้ คราวกไ็ ด 4. สันยาสี ปริพาชก เปน ระยะสุดทายแหงชีวิต สละความสุขทางโลกออกบวชเปน ปริพาชก เพ่ือ หลุดพน จากสงั สารวฏั การเผยแผข องศาสนาพราหมณในประเทศ ศาสนาฮนิ ดูท่ีมีอิทธิพลตอ วัฒนธรรมไทยน้ันคือ ชว งที่เปนศาสนาพราหมณ ไดเขามาที่ประเทศไทย เมือ่ ใดนั้นไมป รากฏระยะเวลาทีแ่ นนอน นักประวตั ิศาสตรส ว นมากสนั นษิ ฐานวา ศาสนาพราหมณน ้นี า จะเขา มา ยคุ สมัยสโุ ขทัย โบราณสถานและรปู สลกั เทพเจาเปน จาํ นวนมากไดแสดงใหเ ห็นถึงอิทธิพลของศาสนา เชน รูปลักษณะนารายณ 4 กร ถือสังข จักร คทา ดอกบัว สวมหมวกกระบอก เขา ใจวา นา จะมีอายุประมาณ พุทธศตวรรษท่ี 9 - 10 หรอื เกาไปกวา นนั้ (ปจ จบุ ันอยพู พิ ิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร) นอกจากนไ้ี ดพ บรูปสลกั พระนารายณท าํ ดวยศิลาท่ีอําเภอไชยา จังหวัดสรุ าษฎรธานี โบราณสถานท่ี สําคญั ที่ขดุ พบ เชน ปราสาทพนมรงุ จงั หวดั บรุ รี ัมย ปราสาทหนิ พิมาย จังหวดั นครราชสมี า พระปรางคส ามยอด จังหวัดลพบุรี เทวสถานเมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ ตอมาในสมัยสุโขทัย ศาสนาพราหมณไดเ ขา มามี บทบาทมากข้ึนควบคูไปกับพุทธศาสนา ในสมัยน้ีมีการคนพบเทวรูปพระนารายณ พระอิศวร พระพรหม พระแมอ ุมา พระหริหระ สวนมากนยิ มหลอ สาํ ริด

ห น า | 32 นอกจากหลกั ฐานทางศิลปกรรมแลว ในดา นวรรณคดไี ดแ สดงใหเ ห็นถงึ ความเชอ่ื ของศาสนาพราหมณ เชน ตํารบั ทา วศรจี ุฬาลกั ษณห รือนางนพมาศ หรือแมแ ตประเพณลี อยกระทง เพอ่ื ขอขมาลาโทษพระแมคงคา นา จะไดอิทธพิ ลจากศาสนาพราหมณ เชนกัน ในสมัยอยุธยา เปนสมัยที่ศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลทางวัฒนธรรมประเพณีเชนเดียวกับ สุโขทัย พระมหากษัตริยห ลายพระองคทรงยอมรับพิธีกรรมที่มีศาสนาพราหมณเ ขามา เชน พิธีแชงนํ้า พิธีทําน้ําอภิเษกกอ นขึ้นครองราชยส มบัติ พิธีบรมราชภิเษก พระราชพิธีจองเปรียง พระราชพิธีจรด พระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพธิ ตี รียัมปวาย เปนตน โดยเฉพาะสมเดจ็ พระนารายณมหาราช ทรงนับถือทาง ไสยศาสตรม ากถงึ ขนาดทรงสรา งเทวรปู หมุ ดว ยทองคําทรงเครื่องทรงยาราชาวดีสาํ หรบั ต้งั ในการพระราชพธิ ี หลายองค ในพิธตี รยี มั ปวายพระองคไ ดเ สดจ็ ไปสง พระเปน เจานบั ถอื เทวสถานทุก ๆ ป ตอ มาในสมัยรัตนโกสินทร- ตอนตน พิธีตาง ๆ ในสมัยอยุธยายังคงไดรับการยอมรับนบั ถือจากพระมหากษัตริยและปฏิบัติตอ กันมา คือ 1. พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พระราชพิธีน้ีมีความสําคัญ เพราะเปนการเทิดพระเกียรติขององคพระประมุขพระบาทสมเด็จ- พระพุทธยอดฟา จฬุ าโลกไดโปรดเกลา ฯ ใหผรู ูแบบแผนครงั้ กรงุ เกา ทําการคนควา เพ่ือจะไดสรางแบบแผนที่ สมบูรณต ามแนวทางแตเ ดมิ มาในสมัยกรุงศรีอยุธยาและเพ่ิมพธิ สี งฆเขา ไป ซึ่งมี 5 ข้ันตอน คือ 1. ขั้นเตรียมพิธี มกี ารทําพิธีเสกน้ํา การทําพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏดวงพระราชสมภพและแกะ พระราชลัญจกรประจาํ รชั กาล 2. ขน้ั พิธีเบอ้ื งตน มกี ารเจริญพระพทุ ธมนต 3. ขั้นพิธีบรมราชาภิเษก มีการสรงพระมุรธาภิเษก จากนั้นรับการถวายสิริราชสมบัติและ เคร่อื งสิรริ าชกกธุ ภัณฑ 4. ขั้นพิธีเบ้ืองปลาย เสด็จออกมหาสมาคมและสถาปนาสมเด็จพระบรมราชินีแลวเสด็จพระราช- ดําเนินไปทําพิธีประกาศพระองคเ ปนศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา พรอ มทั้งถวายบังคมพระบรมศพ พระบรมอัฐิพระเจา อยูหัวองคกอน และเสดจ็ เฉลมิ พระราชมณเฑยี รเสด็จเลยี บพระนคร 2. การทํานํ้าอภเิ ษก พระมหากษตั รยิ ท ่จี ะเสดจ็ ขึ้นเถลงิ ถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษกจะตองสรงพระมุรธาภิเษกและ ทรงรับนํา้ อภเิ ษกกอนไดร ับการถวายสริ ิราชสมบัตติ ามตาํ ราพราหมณ น้ําอภิเษกนี้ใชน ้ําจากปญจมหานที คือ คงคายมุนา มหิ อจิรวดี และสรภู ซึ่งทําเปนน้ําที่ไหลมาจากเขาไกรลาส อันเปน ที่สถิตของพระศิวะ สมัยกรุง- รัตนโกสินทร ต้ังแตร ชั กาลที่ 1 ถึงรชั กาลท่ี 4 ใชน้ําจาก 4 สระ ในเขตจงั หวัดสพุ รรณบุรี คือ สระเกษ สระแกว สระคงคา และสระยมุนา และไดเ พ่มิ นา้ํ จากแมนาํ้ สําคญั ในประเทศอีก 5 สาย คอื 1) แมน ้ําบางปะกง ตักทบ่ี ึงพระอาจารย แขวงนครนายก 2) แมน้าํ ปาสกั ตกั ที่ตาํ บลทาราบ เขตสระบุรี 3) แมน า้ํ เจา พระยา ตกั ท่ตี ําบลบางแกว เขตอา งทอง 4) แมน้ําราชบุรี ตกั ทตี่ าํ บลดาวดงึ ส เขตสมุทรสงคราม 5) แมน ํา้ เพชรบุรี ตกั ทตี่ าํ บลทาไชย เขตเมืองเพชรบรุ ี

ห น า | 33 3. พระราชพธิ จี องเปรียง (เทศกาลลอยกระทง) คอื การยกโคมตามประทปี บชู าเทพเจา ตรีมูรติ กระทําในเดอื นสิบสองหรอื เดอื นอาย โดยพราหมณ เปน ผทู ําพธิ ีในพระบรมมหาราชวงั พระราชครูฯ ตอ งกินถั่วกินงา 15 วัน สว นพราหมณอ ื่นกินคนละ 3 วัน ทุกเชา ตอ งถวายน้าํ มหาสงั ขทุกวันจนถงึ ลดโคมลง ตอ มาสมัยรชั การท่ี 4 ไดท รงโปรดใหเพ่มิ พิธีทางพุทธศาสนา เขามาดวย โดยโปรดใหมสี วดมนตเย็นแลวฉันเชา อาลักษณอา นประกาศพระราชพิธีจากน้ันแผพระราช- กศุ ลใหเ ทพยดาพระสงฆเจรญิ พทุ ธมนตตอไป จนไดฤ กษแ ลว ทรงหลั่งนํ้าสังขแ ละเจิมเสาโคมชัย จึงยกโคมข้ึน เสาโคมชยั นท้ี ่ียอดมฉี ตั รผาขาว 9 ช้ัน โคมประเทียบ 7 ช้ัน ตลอดเสาทานํ้าปูนขาว มีหงสติดลูกกระพรวน นอกจากนี้มเี สาโคมบรวิ ารประมาณ 100 ตน ยอดฉัตรมผี าขาว 3 ชนั้ 4.พระราชพธิ ตี รียมั ปวาย เปนพิธีสงทา ยปเกาตอ นรับปใ หมข องพราหมณ เชื่อกันวาเทพเจา เสด็จมาเย่ียมโลกทุกป จึงจัดพิธี ตอนรับใหใ หญโ ตเปน พิธหี ลวงทม่ี มี านานแลว ในสมยั รตั นโกสินทรไดจัดกันอยางใหญโ ตมาก กระทําพระราชพิธีน้ี ที่เสาชิงชาหนา วัดสุทัศน ชาวบานเรียกพิธีนี้วา “พิธีโลชิงชา ” พิธีนี้กระทําในเดือนอา ยตอ มาเปล่ียนเปน เดอื นย่ี 5.พระราชพธิ ีพืชมงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวัญ แตเดิมมาเปน พราหมณ ภายหลงั ไดเ พ่มิ พิธสี งฆ จึงทําใหเ กิดเปน 2 ตอนคือ พิธีพืชมงคลเปนพิธีสงฆ เร่ิมต้ังแตก ารนําพันธุพืชมารว มพิธี พระสงฆสวดมนต เยน็ ท่ีทองสนามหลวง จนกระทง่ั รุงเชา มีการเลยี้ งพระ ตอ สวนพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญเปน พิธีของ พราหมณก ระทําในตอนบา ย ปจ จุบันนี้พิธีกรรมของพราหมณท่ีเขา มามี อิทธิพลตอสังคมไทยเริ่มลดบทบาทลงไปมากเพราะ พุทธศาสนาไดเ ขา มามีอิทธิพลแทนทั้งในพระราชพิธี และพิธีกรรมทั่ว ๆ ไปในสังคม อยางไรก็ตามพิธี- พราหมณเ ทา ท่ีเหลืออยแู ละยังมผี ปู ฏิบัตสิ บื กนั มา ไดแ ก พิธีโกนผมไฟ พิธีโกนผมจุก พิธีต้ังเสาเอก พิธีต้ัง- ศาลพระภมู ิ พธิ ีเหลา นยี้ ังคงมผี นู ยิ มกระทาํ กนั ทวั่ ไปในสังคม สว นพระราชพิธีท่ีปรากฏอยู ไดแก พระราชพิธี- พืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพธิ บี รมราชภิเษก และพิธที ํานาํ้ อภเิ ษก เปน ตน สาํ หรบั พธิ ีกรรมในศาสนาฮนิ ดูซ่ึงเปน พราหมณใ หม ไมใครมอี ิทธพิ ลมากนัก แตก ม็ ผี นู บั ถอื และสนใจ รวมในพธิ กี รรมเปนครง้ั คราว ท้ังน้ีอาจเปนเพราะความเช่ือในพระเปนเจา ตรีมูรติท้ัง 3 องค ยังคงมีอิทธิพล ควบคูไ ปกับการนับถือพุทธศาสนา ประกอบกับในโบสถของพวกฮินดูมักจะตั้งพระพุทธรูปรวม ๆ ไปกับ รปู ปน ของพระผูเ ปน เจา ท้ังน้ีสืบเนื่องมาจากความเช่ือในเร่ืองอวตารของพระวิษณุทําใหค นไทยที่นับถือ พทุ ธศาสนาบางกลมุ นิยมมาสวดออ นวอนขอพรและบนบาน หลายคนถึงขนาดเขา รว มพิธีของฮินดูจึงเขา ลกั ษณะท่วี า นบั ถอื ทง้ั พุทธท้งั ฮนิ ดปู นกนั ไป

ห น า | 34 ศาสนาพราหมณ - ฮินดใู นโลก ปจ จุบันศาสนาพราหมณ - ฮินดู นับถือกันมากในประเทศอินเดีย และมีอยเู ปนสวนนอยในประเทศ ตา ง ๆ เชน ลงั กา บาหลี อินโดนเี ซยี ไทย และแอฟรกิ าใต เร่อื งที่ 6 ประวัตศิ าสดาและคาํ สอนของศาสนาซกิ ข 1. ประวตั ศิ าสดา ศาสนาซิกข เปน ศาสนาประเภทเอกเทวนิยม มีทา นคุรุนานักเทพเปนศาสดาองคท ี่ 1 สืบตอ มาถึง ทา นครุ ุโควินทสิงห เปนศาสดาองคที่ 10 มีสุวรรณวิหารตั้งอยูท ี่เมืองอัมริสสา แควน ปญจาป ประเทศอินเดีย เปนศนู ยชาวซิกขท ่ัวโลก ตามทปี่ รากฏในประวัติศาสตร มปี ระมขุ แหงศาสนาซิกขอ ยู 10 ทานดวยกนั คือ 1. คุรุนานัก กอ นสิ้นชีพไมส ามารถพ่ึงลูกชายสองคนเปนผูส ืบตอ ทางลัทธิได ทา นจึงไดประกาศ แตงต้ังศษิ ยที่รักของทานคนหนึ่งซง่ึ เปน คนขวั้นเชอื กขาย ชอ่ื ลาหนิ า (Lahina) เปนผสู บื ตอ แตเน่อื งจากศิษย ผูน ้ีมีการเสียสละตอ ทา นคุรุนานักตลอดมา ทานจึงเปล่ียนนามใหใ หมวา อังคัต (Angal) แปลวา ผูเ สียสละ รางกาย 2. คุรุองั คัต (พ.ศ. 2081 - 2095) ทา นผูนเ้ี ปน นักภาษาศาสตรสามารถเผยแผคําสอนของอาจารย ไปไดย ่งิ กวา คุรุคนใด ทานเปน คนแรกท่ีแนะนาํ สาวกใหน บั ถือครุ นุ านกั วาเปนพระเจา องคห นึ่ง 3. ครุ ุอมาร ทาส (Amardas พ.ศ. 2095 - 2117) ทา นเปนผูท่ไี ดชอื่ วา เปนคนสภุ าพ ไดต ั้งองคการ ลัทธิซิกขขนึ้ มา ไดช อื่ วาเปนผสู งเสริมลัทธิซิกขไ วไดอ ยางมน่ั คง 4. ครุ ุรามทาส (Ramsas พ.ศ. 2117 - 2124) ทานเปนผูสรา งศูนยก ลางของลัทธิซิกขไ วแ หง หนึ่ง ใหชือ่ วา “หริมณเฑยี ร” คือ วหิ ารซกิ ขไวในทะเลสาบเล็ก ๆ แหงหนึ่ง อยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของแควน ลาฮอร สถานท่ีดังกลาว เรียกวา อมฤตสระ กลายเปน ท่บี าํ เพญ็ บุญศูนยก ลางลัทธิซิกขเชนเดียวกับเมืองเมกกะ ศูนยก ลางของลัทธอิ สิ ลาม ทา นไดต ั้งแบบแผนไววาผูสืบตอตําแหนงคุรุจําเปน ตองเปนเชื้อสายของตนเอง ดังน้ันทานไดแ ตง ตัง้ บุตรชายของทา นเปนครุ ุตอ ไป 5. ครุ อุ รชุน (Arjan พ.ศ. 2124 - 2149) เปน ผรู วบรวมคัมภีรใ นลทั ธิซิกขไ ดม ากกวา ผูใด คัมภีร ท่รี วบรวมเก็บจากโอวาทของครุ ทุ งั้ ส่ีทานท่ผี า นมา และไดเพ่ิมโอวาทของทา นเองไวใ นคัมภีรดว ย เปนผูอ อก บัญญัตวิ าชนชาติซิกข ตอ งแตง ตัวดวยเคร่ืองแตง กายของศาสนานิยม ไมนิยมแตงตัวดวยวัตถุมีราคาแพง ตง้ั กฎเกณฑเก็บภาษีเพื่อบํารุงศาสนา ไดช ื่อวาเปน ผูเ ผยแผลัทธิไดอ ยา งกวางขวาง สรา งหริมณเฑียรข้ึนเปน สุวรรณวหิ าร สิ้นชีพในการตอ สกู ับกษัตรยิ ก รงุ เดลี 6. คุรหุ รโิ ควนิ ทะ (HarI Covind พ.ศ. 2149 - 2181) เปนครุ ุคนแรกทส่ี อนใหชาวซกิ ขนิยมดาบ ใหถือดาบเปนเครอื่ งหมายของชาวซิกขผเู ครงครัดในศาสนา เปนผสู งเสรมิ กาํ ลงั ทหารสัง่ สอนใหช าวซกิ ขเปน ผูกลาหาญตานทานศตั รู (ซง่ึ เขามาครองดินแดนอนิ เดยี อยใู นขณะนน้ั ) เปน ท่ีนา สังเกตวานับตั้งแตสมัยน้ีเปน ตน ไป เรื่องของศาสนาซิกขเ ปนเร่ืองของอาวุธ เร่ืองความ กลาหาญ เพือ่ ตอ สูศัตรูผูม ารุกรานแผน ดิน

ห น า | 35 7. คุรุหริไร (HarI Rai พ.ศ. 2181 - 2207) ทานผูน ี้ไดทําการรบตา นทานโอรังเซฟกษัตริยมุสลิมใน อินเดยี 8. คุรุหริกิษัน (HarI Rai พ.ศ. 2207 - 2281) ไดด ําเนินการเผยแพรลัทธิดวยการตอตา นกษัตริย โอรงั เซฟเชนเดียวกบั ครุ หุ รไิ ร 9. คุรเุ ทคพาหาทูร (Tegh Bahadur พ.ศ. 2218 - 2229) เปน นกั รบที่แกลวกลา สามารถตานทาน การรกุ รานของกษัตริยอ ิสลามท่ีเขามาครอบครองอินเดียและขม ขูศาสนาอ่ืน ทานไดเผยแพรศาสนาซิกข ออกไปไดก วางขวางสุดเขตตะวันตกเฉยี งเหนือของประเทศอินเดีย และแผม าทางใตจ นถึงเกาะลงั กา ทานได ตา นทานอิสลามทกุ ทาง พวกมสุ ลมิ ในสมัยน้นั ไมก ลาสูรบกบั คุรุทานนี้ได 10. คุรโุ ควินทสิงห (Covind Singh พ.ศ. 2229 - 2251) เปน บตุ รของครุ ุเทคพาหาทูร เปนผูร ิเริ่ม ตั้งบทบัญญัติใหมในศาสนาซิกข ดว ยวิธีปลุกใจสานุศิษยใหเปน นักรบ ตอ ตา นกษัตริยม ุสสิมผูเ ขา มาขมขี่ ศาสนาอ่ืน เพื่อจรรโลงชาติทา นไดต ้ังศูนยก ลางการเผยแผลัทธิซิกขอยูท่ีเมืองดัคคา (Dacca) และ แควน อสั สมั ในเบงกอลตะวันออก ทานไดป ระกาศแกส านุศษิ ยท ้ังหลายวา ทุกคนควรเปนนักรบตอ สูกับศัตรู เพือ่ จรรโลงชาติศาสนาของตน ซกิ ขทุกคนตอ งเปน คนกลาหาญ คําวา “สิงห” อันเปน ความหมายของความ กลาหาญ เปนชื่อของบรรดาสานุศิษยแหงศาสนาซิกขมาต้ังแตคร้ังน้ัน และ “สิงห” ทุกคนตอ งรวมเปน ครอบครวั บริสุทธ์ิ 2. พระคมั ภีร เปนส่ิงสําคัญทต่ี อ งเคารพสงู สดุ จดั วางในท่ีสูงบนแทนบชู า จะตอ งมีผูปรนนิบตั ิพระคัมภีรอยูเ สมอ คือ การศกึ ษาและปฏิบัตติ ามอยางเครง ครัด ชาวซกิ ขทกุ คนจะตอ งถอดรองเทา และโพกศรี ษะกอ นเขาไปใน โบสถ จะตอ งเขาไปกราบพระคัมภีรดวยความเคารพเสยี กอน คัมภรี ของศาสนาซิกข เรียกวา ครันถ - ซาหิป หรือ คันถะ (ในภาษาบาลี) หมายความวา คัมภีรห รือ หนงั สือ สว นใหญเปน คาํ รอยกรองสน้ั ๆ รวม 1,430 หนา มีคาํ ไมน อยกวา ลานคํามี 5,894 โศลก โศลกเหลานี้ เขากับทาํ นองสงั คตีไดถงึ 30 แขนง จัดเปนเลม ได 37 เลม ภาษาทใ่ี ชใ นคัมภรี มีอยู 6 ภาษาหลัก คือ ปญจาบี (ภาษาประจําแควนปญจาปอันเปนถน่ิ เกิดของศาสนา) มุลตานี เปอรเ ซียน ปรากริตฮินดี และมารถี ศาสนาซกิ ขโบราณประมาณรอยละ 90 เชน เดียวกบั ศาสนิกชนในศาสนาอื่นที่ไมเคยรอบรูคัมภีรข อง ศาสนาของตน ดังนน้ั คัมภีรจ งึ กลายเปนวัตถุศักดิ์สิทธิ์ ผูไ มเ กี่ยวขอ งไมส ามารถแตะตอ งได ที่หริมณเฑียร หรือสุวรรณวิหาร ในเมืองอมฤตสรา แคว นปญ จาป มสี ถานทป่ี ระดิษฐานคมั ภีรถือเปนศนู ยกลางศาสนาซกิ ข

ห น า | 36 ในวิหารของศาสนาซิกขไ มบ ังคับใหม ีรูปเคารพ นอกจากคัมภีร ใหถือวา คัมภีรน ้ันคือ ตัวแทนของ พระเจา ทุกเวลาเชาผูร ักษาวิหารจะนําผาปก ดิ้นราคาแพงมาหุม หอ คัมภีรเปน การเปลี่ยนผา คลุมทําความ สะอาด วางคัมภีรล งบนแทน ภายในมานซึ่งปก ดวยเกล็ดเพชร กอนพิธีสวดในเวลาเชา คร้ันตกเย็น ก็นําคมั ภีรไปประดษิ ฐานไวบ นตัง่ ทองในหองพิเศษ ไมยอมใหฝุนละอองจับตอ งได คัมภีรเดิมหรือชวงแรกของศาสนานี้เรียกวา อาทิคันถะ รวบรวมโดยคุรุทานท่ีหา คือ คุรุอรชุน (เทพ) ประมวลจากนานาโอวาทซ่ึงครุ ุทานแรก คือ ครุ ุนานัก และโอวาทของคุรทุ านตอ ๆ มา พรอ มทั้งวาณี (คาํ ภาษิต) ของภคตั คือ ปราชญผทู ี่มคี วามภักดีอยางย่ิงตอลัทธิน้ีอีก 11 ทาน และมีวาณีของภคัตผูมีอาชีพ ประจาํ สกุลมารวมไวใ นอาทิคันถะดว ย ในเวลาตอมาไดมกี ารรวบรวมโอวาทของคุรอุ กี ครง้ั หน่งึ โดยคุรุโควินทสิงห ไ ดร วบรวมโอวาทของ ครุ เุ ทคพาหาทูร รวมเปน คมั ภรี ค รันถ - ซาหปิ อนั สมบรู ณ 3. จริยธรรมของซิกข คาํ สอนตามคมั ภรี ค รนั ถ - ซาหิป ซงึ่ บรรดาทานครุ ทุ ้ังหลายไดป ระกาศไวเ กยี่ วกบั จริยธรรมอันเปน เครอื่ งยังสังคมและประเทศชาติใหม ั่นคงอยูไ ด และยังจติ ใจของผปู ฏบิ ัติใหบรรลถุ งึ ความผาสกุ ขั้นสุดทายได มีนยั โดยสังเขป คือ เกีย่ วกับพระเจา “รปู ทงั้ หลายปรากฏข้นึ ตามคาํ ส่งั ของพระเจา (อกาลปรุ ุษ) สิ่งมชี วี ติ ท้ังหลายอุบัติ มาตามคําสง่ั ของพระเจา บุตรธิดาจะไดร ถู งึ กําเนดิ บิดามารดาไดอ ยา งไร โลกทงั้ หมดรอ ยไวด วยเสน ดาย คือ คําส่งั ของพระเจา” “มนษุ ยท งั้ หลายมีพระบิดาผูเดียว เราทงั้ หลายเปน บตุ รของทาน เราจึงเปนพี่นองกนั ” “พระเจา ผสู รา งโลก (อกาลปรุ ษุ ) สิงสถิตอยูในสิ่งท้ังหลายท่ีพระเจา สรา งและสิ่งท้ังหลายก็อยูใน พระเจา” “อาหลา (อลั ลอห) ไดสรา งแสงสวา งเปนคร้งั แรก สตั วท ้ังหลายอบุ ัตมิ าเพราะศกั ดิ์ของอาหลา ส่ิงท่ีอา หลา สรางขึน้ เกิดมาแตแ สงสวา งนั้นเองจึงไมมีใครสูง ไมม ีใครต่ํา ใครจะไมถ ามถึงวรรณะ และกําเนิดของทาน ทานจงแสวงหาความจรงิ ซึ่งพระเจาแสดงแกทาน วรรณะและกําเนิดของทา นเปน ไปตามจารตี ของทา นเอง” “อยา ใหใ ครถือตัวเพราะวรรณะของตน ผูซ่ึงรูจ ักพรหมน่ันแหละเปน พราหมณอ ยาถือตัวเพราะ วรรณะ ความถือตัวเชนนีเ้ ปน บอ เกิดแหง ความชวั่ ฯลฯ” “คนทง้ั หลาย บา งก็เปนอทุ าสี สันยาสี โยคี พรหมจารี ยติ ฮินธุ ฯลฯ บางคนเปนอิมานซาฟ จึงถือวา คนทั้งหลายเปนวรรณะเดียวกันหมด กรุตา (ผูส รางโลกตามสํานวนฮินดู) และกรีม (อาหลาตามสํานวน มสุ ลมิ ) เปน ผเู ดยี วกัน เปนผเู ผ่อื แผประทานอภัยอยา เขา ใจผดิ เพราะความสงสยั และเชือ่ ไปวา มีพระเจา องค ท่สี อง คนทัง้ หลายจงปฏบิ ตั ิแตพ ระเจา องคเ ดียว คนทงั้ หลายยอมมพี ระเจาเดียว ทานจงรไู วซงึ่ รูปเดยี ว และ วิญญาณเดียว” เกี่ยวกบั การสรางโลก ซกิ ขสอนวา แตเร่ิมแรกมแี ตก าลบุรุษ ตอ มามีหมอกและกาซหมุนเวียนอยู ไดล านโกฎิป จึงมีธรณี ดวงดาว น้ํา อากาศ ฯลฯ อุบัติข้ึนมา มีชีวิตอุบัติมาบนส่ิงเหลา นี้นับดวยจํานวน 8,400,000 ชนิด มนษุ ยมฐี านะสูงสุด เพราะมีโอกาสบําเพ็ญธรรมเปน การฟอกดวงวิญญาณใหส ะอาดอันเปน หนทางใหหลุดพนจากการเกดิ การตาย ซิกขส อนวา โลกมีมากตอมาก ดวงสุริยะ ดวงจันทร มีมากตอ มาก อากาศ และอวกาศกวา งใหญไพศาล อันผูม ีกิเลสยากท่ีจะหย่งั รูไ ด

ห น า | 37 เกีย่ วกับเศรษฐกิจสงั คม ซิกขสอนวา 1. ใหตื่นแตเชาอยางนอ ยคร่ึงชั่วโมงกอนรุงอรณุ 2. ตนื่ แลว ใหบรกิ รรมทางธรรม เพอื่ ฟอกจิตใจใหส ะอาด 3. ใหป ระกอบสมั มาชีพ 4. ใหแ บงสว นของรายได 10 สว น มอบใหแกก องการกศุ ล 5. ใหละเวนการเสพของมึนเมา ประพฤตผิ ดิ ประเวณี เก่ยี วกบั ประเทศชาติ ศาสนาซกิ ขต้ังขน้ึ โดยคุรนุ านกั ผมู องเห็นภยั ทปี่ ระเทศชาตกิ ําลังไดร ับอยจู าก คนตา งชาติและคนในชาติเดียวกัน จึงไดป ระกาศธรรมสั่งสอนเพื่อความดํารงอยูของชาติ คุรุวาณีของทาน เปน เครอ่ื งกระตุน ใหผ ูรับฟงมีความสามัคคีมคี วามรักชาติ โดยไมเ กลียดชาติอ่นื ตอ มาในสมัยครุ โุ ควนิ ูสงิ ห ทา นไดส ่ังสอนใหช าวซิกขเปนทหารหาญ เสยี สละเลือดเนือ้ และชวี ิตเพอ่ื ชาติ ครุ ุหลายทา น เชน คุรอุ รชนุ เทพ และคุรเุ ทคบาหาทรู  ไดสละชีพเพ่ือชาติและศาสนา และบางทานสละชีพ เพื่อปอ งกันศาสนาซกิ ข กลา วคือ - คุรชุ ุนเทพ ถกู กษตั ริยอิสลาม คอื ชาหนั ครี  บังคบั ไมใหทา นประกาศศาสนา ทา นถูกจับขังที่ปอม เมืองลาฮอร ถกู ทรมานใหน่ังบนแผนเหล็กเผาไฟและถูกโบยดวยทรายคั่วรอนบนราง กษัตริยชาหันคีร บงั คบั ใหท านเลิกประกาศศาสนาซิกข และหันมาประกาศศาสนาอิสลามแทน แตทานไมยอมทําตามจึงถูก นําตัวไปใสห มอ ตม และถกู นาํ ตัวไปถวงในแมน ้ําระวี จนเสยี ชีวิต พ.ศ. 2149 ครุ เุ ทคบาหาทรุ ถกู กษตั ริยอ ิสลามประหาร เพราะเร่อื งการประกาศศาสนาซิกขเชน กัน ในการกูเ อกราชของประเทศอินเดีย ปรากฏวาชาวซิกขไ ดส ละชวี ติ เพ่ือการนเ้ี ปน จํานวนมาก เกี่ยวกับฐานะของสตรี ศาสนาซิกขยกสตรีใหม ีฐานะเทา บุรุษ สตรีมีสิทธิในการศึกษา รว ม สวดมนตหรอื เปนผูน าํ ในการสวดมนตเทากบั บรุ ษุ ทุกประการ ครุ นุ านกั ใหโ อวาทแกพ วกพราหมณผ ูเครงใน วรรณะส่ี ไววา “พวกทา นประณามสตรดี วยเหตุใดสตรีเหลานเ้ี ปนผูใหก าํ เนดิ แกราชาคุรุศาสดาและแมแตต วั ทานเอง” เกย่ี วกับเสมอภาคและเสรีภาพ ครุ ุนานกั สอนวา “โลกทัง้ หมดเกดิ จากแสงสวางอันเดียวกัน คอื (พระเจา ) จะวาใครดใี ครช่วั กวากนั ไมไ ด” คุรุโควินทสิงห สอนวา สุเหรา มณเฑียร วหิ าร เปนสถานทีบ่ าํ เพญ็ ธรรมของคนท้งั หลายเหมือนกัน ทีเ่ หน็ แตกตา งกันบางเพราะความแตกตา งแหงกาลกาละและเทศะ วิหารของซิกขมีประตูส่ีดา น หมายความวา เปด รับคนทั้งส่ีทิศ คือ ไมจํากัดชาติ ศาสนา เพศ หรอื วรรณะใด ในการประชุมทางศาสนาทกุ คนไดรับการปฏิบัติทเี่ สมอภาค ผูแ จกหรือผูรับแจกอาหารจาก โรงทานของกองการกุศลจะเปนคนในวรรณะใด ๆ ชาตใิ ดก็ไดคนทุกฐานะตอ งนัง่ กนิ อาหารในท่เี สมอหนากนั เรอ่ื งของโรงอาหารเปน สิง่ สําคัญมากของศาสนสถาน คุรุรามทาส ไดต้ังกฎไววา ใครจะเขาพบ ทา นตอ งรบั อาหารจากโรงทานเสียกอน เพอ่ื เปนการแสดงใหเ ห็นประจักษวารับหลักการเสมอภาคของทานคุรุ ครั้งหนึ่งอักบารมหาราชไปพบทา นเห็นทานนั่งกินอาหารในที่เดียวกับสามัญชน ทําใหอ ักบารม หาราช พอพระทยั ถวายเงินปแดท านคุรผุ ูนี้

ห น า | 38 อีกประการหนึ่งจะเปนผูใ ดก็ตามจะตอ งปฏิบัติสังคตี (พธิ ชี มุ นุมศาสนิก) ดว ยมือของตนเอง คือ ตอ งเช็ดรองเทา ตกั นา้ํ ทําทุกอยา งดวยตนเอง ไมมีใครไดร บั ยกเวนเปนพเิ ศษ ผูใดปฏิบัติตามไดม ากย่ิงเปน ซิกขท ่ีดมี าก 4. ศาสนาซกิ ขเ ขา สปู ระเทศไทย ชาวซกิ ขส วนมากยดึ อาชีพขายอิสระ บา งก็แยก ยายถ่นิ ฐานทํามาหากินไปอยูตา งประเทศ บา งก็เดินทางไปมา ระหวา งประเทศ ในบรรดาชาวซิกขดังกลาวมีพอคา ชาวซิกข ผูหน่ึงช่ือ นายกิรปารามมาคาน ไดเดินทางไปประเทศ อัฟกานิสถาน เพือ่ หาซ้ือสินคา แลวนําไปจําหนายยังบานเกิด สนิ คาทซี่ ือ้ ครง้ั หน่งึ มมี าพันธดุ ีรวมอยหู น่ึงตวั เมื่อขายสินคา หมดแลว ไดเดินทางมาแวะที่ ประเทศสยาม โดยไดนํามาตัวดังกลาวมาดว ย เขาไดมา อาศยั อยูในพระบรมโพธิสมภารของพระมหากษัตริยสยาม ไดร บั ความอบอุนใจเปนอยา งยิ่ง ดังน้ัน เขามีโอกาสเขา เฝา พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยูห ัว และไดถวายมา ตัวโปรดของเขาแดพ ระองคด ว ยความสํานึกในพระมหา- กรณุ าธิคุณ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยูหัว เห็น ในความจงรักภักดขี องเขา ไดพ ระราชทานชา งใหเ ขาหนงึ่ เชือก ตลอดจนขา วของเคร่ืองใชท จี่ าํ เปนในระหวาง เดินทางกลับอินเดยี เมอื่ เดนิ ทางกลบั มาถึงอนิ เดยี แลวเห็นวาของท่ไี ดรับพระราชทานมาน้ันสูงคาอยา งย่ิงควรท่ีจะเก็บ รกั ษาใหสมพระเกยี รตยิ ศแหงพระเจากรุงสยาม จึงไดน าํ ชา งเชือกนน้ั ไปถวายพระราชาแหงแควนแคชเมียร และยํามู พรอมทั้งเลา เรอ่ื งที่ตนไดเ ดินทางไปประเทศสยามไดร ับความสุขความสบายจากพี่นอ งประชาชน ชาวสยาม ซ่ึงมีพระเจา แผนดินปกครองดว ยทศพิธราชธรรมเปน ทยี่ กยองสรรเสรญิ ของประชาชน พระราชาแหง แควน แคชเมียร ไดฟงเร่ืองราวแลว ก็มีความพอพระทัยอยางยิ่ง ทรงรับชา งเชือก ดังกลา วเอาไวแ ลว ข้ึนระวางเปน ราชาพาหนะตอ ไป พรอมกับมอบแกวแหวนเงินทองใหนายกิรปารามมาคาน เปน รางวลั จากนนั้ เขาก็ไดเดินทางกลับบานเกิด ณ แคว นปญจาป แตคร้ังน้ีเขาไดร วบรวมเงินทอง พรอ มท้ัง ชักชวนเพ่ือนพอ งใหไ ปตัง้ ถน่ิ ฐานอาศัยอยูใ ตร มพระบรมโพธสิ มภารพระเจากรงุ สยามตลอดไป ตอ มาไมนานผูคนท่ีเขาไดชักชวนไวก ็ทยอยกันมาเรื่อย ๆ ดังน้ัน ศาสนาสถานแหงแรกจึงไดถ ูก กาํ หนดขึ้น โดยศาสนิกชนชาวซิกขไดเ ชา เรือนไมห น่งึ คูหาทีบ่ ริเวณบา นหมอ หลงั โรงภาพยนตรเ ฉลมิ กรงุ ปจ จบุ ัน เมื่อป พ.ศ. 2455 มาตกแตงใหเ หมาะสมเพ่อื ใชประกอบศาสนากิจ

ห น า | 39 ตอ มาเมอื่ สงั คมซิกขเ ติบโตขึ้นจึงไดย า ยสถานที่จากที่เดิมมาเชาบานหลังใหญกวา เดิม ณ บริเวณ ยานพาหรุ ดั ในปจ จุบัน แลวไดอ ญั เชิญพระมหาคัมภรี อาทิครันถม าประดิษฐานเปน องคป ระธาน มีการสวดมนต ปฏบิ ัติศาสนกิจเปน ประจําทกุ วันไมมีวันหยุดนับ ต้งั แตป  พ.ศ. 2456 เปนตนไปจนถึงป พ.ศ. 2475 ศาสนิกชน ชาวซิกขจ งึ ไดรวบรวมเงิน เพอื่ ซ้ือทด่ี ินผนื หนง่ึ เปนกรรมสิทธิ์ เปน จาํ นวนเงนิ 16,200 บาท และไดกอ สราง อาคารเปนตึกสามช้นั ครงึ่ ดวยเงนิ จาํ นวนประมาณ 25,000 บาท เปนศาสนสถานถาวรใชช่ือวา ศาสนาสถาน สมาคมศรคี รุ สุ งิ หสภา สรา งเสร็จเมอื่ ป พ.ศ. 2476 ตอ มาเกดิ สงครามมหาเอเชียบรู พา ศาสนสถานแหง นถี้ กู ระเบดิ จากฝายสมั พนั ธมติ รถงึ สองลกู เจาะ เพดานดาดฟา ลงมาถงึ ช้ันลางถึงสองชนั้ แตล ูกระเบิดดงั กลา วดา น แตทําใหต ัวอาคารราวไมสามารถใชง านได หลังจากไดท ําการซอ มแซมมาระยะหนึ่งอาคารดงั กลาวใชงานไดดังเดิม และไดใชประกอบศาสนากิจมาจนถึง ปจ จุบัน ตอมาเม่อื ศาสนกิ ชนชาวซกิ ขมจี ํานวนมากขึ้นตามลําดบั จึงตางกแ็ ยกยายไปประกอบกจิ การคาขาย ตามหัวเมืองตาง ๆ อยางมสี ิทธิเสรีภาพยิ่ง และทุกแหง ที่ศาสนิกชนชาวซิกขไปอาศัยอยูก็จะรวมกันกอ ตั้ง ศาสนสถานเพือ่ ประกอบศาสนกจิ ของตน ปจ จบุ ันมีศาสนสถานของชาวซิกขท ่ีเปน สาขาของสมาคมอยู 17 แหง คือ ศาสนสถานสมาคมศรีคุรุสิงหส ภา (ศูนยรวมซิกขศ าสนิกชนในประเทศไทย) กรุงเทพฯ และต้ังอยูใ น จังหวัดตา ง ๆ อีก 16 แหง คือ จังหวัดนครสวรรค ลําปาง เชียงใหม เชียงราย นครราชสีมา ขอนแกน อุดรธานี นครพนม อบุ ลราชธานี ชลบุรี (พทั ยา) ภเู กต็ ตรงั สงขลา (อาํ เภอเมอื งสงขลา และอําเภอหาดใหญ) ยะลา และจงั หวัดปตตานี ในป พ.ศ. 2525 มศี าสนกิ ชนชาวซิกขอยูใ นประเทศไทยประมาณสองหมนื่ คน ทุกคนตางมงุ ประกอบ สมั มาอาชีพอยูภายใตพ ระบรมโพธิสมภารแหง พระมหากษัตริยไทย ดวยความม่ังค่ังสุขสงบทั้งกายและใจ โดยทวั่ หนา สมาคมศรีครุ ุสงิ หส ภา (ศูนยร วมซิกขศ าสนกิ ชนในประเทศไทย) ไดอ บรมสั่งสอนกลุ บุตรกุลธิดาใหเปน ผมู คี วามรูความสามารถ เปนผูดีมีศีลธรรม รูจ ักรักษาธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ละเวน จากส่ิงเสพติด ทงั้ ปวง ดําเนนิ การอปุ การะชว ยเหลือเอ้ือเฟอ เผอื่ แผต อผปู ระสบทุกขย ากอยเู สมอมไิ ดข าด จัดสรางโรงเรยี นซกิ ขวทิ ยา ทส่ี ําโรงเหนือ จังหวดั สมทุ รปราการ มีหอ งเรียน 40 หอ ง มีนักเรียน 300 คน ทั้งชายและหญงิ สอนตามหลกั สตู รกระทรวงศึกษาธกิ าร

ห น า | 40 จดั สรา งสถานพยาบาล คลนิ กิ นานกั มิชชัน เพือ่ เปด การรักษาพยาบาล มีคนไขท ่ียากจนเขา รับการ รักษาพยาบาลโดยไมเ สยี เงิน โดยไมจาํ กดั ช้นั วรรณะ และศาสนาแตป ระการใด เปดบริการหองสมดุ นานัก บริการหนงั สือตา ง ๆ ทัง้ ในภาคภาษาไทย ภาษาอังกฤษและภาษาปญ จาบี เปด สถานสงเคราะหค นชรา เพื่อสงเคราะหชว ยเหลือผูส ูงอายุที่ยากจนขัดสน และขาดแคลน ผอู ปุ การะ จัดตงั้ มูลนธิ ิพระศาสดาคุรนุ านักเทพ เมอ่ื ป พ.ศ. 2512 นําดอกผลมาสงเคราะหนกั เรียนทีเ่ รียนดแี ต ขดั สนทนุ ทรัพย ใหความรวมมือในการชวยเหลือสังคมในดานตาง ๆ กับหนวยงานตาง ๆ เชน กรมการศาสนา สภากาชาดไทย มูลนิธิเด็กพิการ มูลนิธิชว ยคนปญญาออ น สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย (ในพระบรม- ราชปู ถัมภ) เพ่ือใหเกดิ ความสมคั รสมานสามคั คใี นหมูศาสนิกชนศาสนาตาง ๆ เชญิ ชวนใหช าวซิกขออกบําเพ็ญตน เพอื่ ใหประโยชนต อสังคมสว นรวม เรอื่ งที่ 7 การเผยแผศาสนาตา ง ๆ ในโลก ในจาํ นวนประชากรประมาณ 4,500 ลานคน มผี ูนบั ถือศาสนาตา ง ๆ ดังตอ ไปน้ี คือ 1) ศาสนาคริสต ประมาณ 2,000 ลา นคน 2) ศาสนาอสิ ลาม ประมาณ 1,500 ลานคน 3) ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดปู ระมาณ 900 ลา นคน 4) ศาสนาพุทธ ประมาณ 360 ลา นคน 5) ทเ่ี หลือเปน นบั ถือลทั ธติ า ง ๆ เทพเจา หรือไมน ับถือศาสนาอะไรเลย ศาสนาท่ีสําคัญของโลกทุกศาสนาตางเกิดในทวีปเอเชีย ซ่ึงแหลง กําเนิดดังน้ี เอเชียตะวันตก- เฉยี งใต เปน ตนกาํ เนิดของศาสนายูดาย ศาสนาคริสต และอิสลาม ศาสนายูดาย เปน ศาสนาทเ่ี กา แกที่สุดใน เอเชียตะวันตกเฉยี งใต เปนตน กาํ เนดิ ของศาสนาครสิ ต ซง่ึ เปนศาสนาทมี่ ผี นู บั ถือมากที่สดุ ในโลกขณะนี้ โดยได เผยแผไ ปสยู โุ รป ซีกโลกตะวนั ตกอน่ื ๆ และชาวยุโรปนํามาเผยแผสูทวีปเอเชียอกี คร้ังหนึ่ง ศาสนาอสิ ลาม เกิดกอ นศาสนาครสิ ตป ระมาณ 600 ป เปน ศาสนาท่สี าํ คัญของเอเชียตะวันตกเฉียงใต ปจจบุ ันศาสนาน้ีไดเ ผยแผไปทางภาคเหนอื ของอินเดีย ดินแดนทางตอนเหนือของอาวเบงกอล คาบสมุทร มลายู และประเทศอินโดนีเซยี เอเชยี ใตเปนแหลงกาํ เนดิ ศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู มคี วามเช่อื มาจากศาสนา- พราหมณ ซึง่ เปนศาสนาเกาแกของโลก เมอ่ื ประมาณ 5,000 ป และเปนแนวทางการดาํ เนินชวี ิตของชาวอินเดีย จนกระทั่งถึงปจจุบันน้ี สวนพุทธศาสนาเกิดกอนศาสนาคริสต 500 ป และถึงแมจ ะเกิดในอินเดียแต ชาวอินเดยี นบั ถอื พระพุทธศาสนานอย แตม ีผูน บั ถือกันมากในทเิ บต ศรีลังกา พมา ไทย ลาว และกัมพชู า เอเชยี ตะวันออกเปนแหลงกําเนดิ ของลทั ธิขงจอื้ เตา และชินโต ตอมา เมอื่ พระพทุ ธศาสนาไดเผยแผ เขาสูจีน ปรากฏวาหลักธรรมของศาสนาพุทธสามารถผสมผสานกับคําสอนของขงจ้ือไดด ี สว นในญ่ีปุนนับถือ พุทธศาสนาแบบชนิ โต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook