Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สค31001

สค31001

Published by สกร.อำเภอพรรณานิคม, 2020-07-05 04:21:03

Description: สค31001

Search

Read the Text Version

93 2. สวนท่ีเปนบริเวณท่ีอยูอาศัยภายในกําแพงเมือง เริ่มต้ังแตคูเมืองเดิมไปทางทิศตะวันออก จนจดคเู มืองทีข่ ดุ ใหมหรือคลองรอบกรงุ ประกอบดวย คลองบางลําพู และคลองโองอาง และเพ่ือสะดวกใน การคมนาคม โปรดใหขดุ คลองสองคลอง คอื คลองหลอด 1 และคลองหลอด 2 เช่อื มคูเมอื งเกากบั คูเมอื งใหม ติดตอถึงกัน ตามแนวคลองรอบกรุงนี้ ทรงสรางกําแพงเมือง ประตูเมืองและปอมปราการข้ึนโดยรอบ นอกจากน้ียังโปรดใหส รา งถนน สะพาน และสถานทอี่ น่ื ๆ ทีจ่ าํ เปน ราษฎรที่อาศัยอยูในสวนนี้ประกอบอาชีพ คาขายเปน หลกั 3. สวนที่เปนบริเวณที่อยูอาศัยนอกกําแพงเมือง มีบานเรือนตั้งอยูริมคลองรอบกรุง เปนหยอม ๆ กระจายกนั ออกไป คลองสาํ คญั ที่โปรดใหขุดขึ้น คอื คลองมหานาค ราษฎรในสวนน้ปี ระกอบอาชีพการเกษตร และผลิตสนิ คา อตุ สาหกรรมทางชา งประเภทตาง ๆ สําหรบั การสรางพระบรมมหาราชวังน้ัน นอกจากจะใหสรางปราสาทราชมณเฑียรแลว ยังโปรดให สรางวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม (วดั พระแกว) ข้นึ ภายในวังดว ย เหมอื นวดั พระศรสี รรเพชญสมัยกรุงศรีอยุธยา แลวใหอ ัญเชิญพระแกวมรกตมาประดิษฐานเปนสิริมงคลแกกรุงเทพมหานคร และพระราชทานนามใหมวา พระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏิมากร สําหรับพระนครเม่ือสรางเสรจ็ สมบูรณใ นป พ.ศ. 2328 แลว จดั ใหมกี ารสมโภช และพระราชทานนามพระนครใหมวา กรุงเทพมหานครบวรรัตนโกสินทร มหนิ ทรายุธยามหาดิลก ภพนพรตั น ราชธานบี ุรีรมยอดุ มราชนิเวชมหาสถาน อมรพมิ านอวตาลสถติ สักกะทัศติยวศิ นกุ รรมประสทิ ธิ์แตต อมาในสมัย รัชกาลท่ี 4 ทรงเปลย่ี น จากบวรรตั นโกสินทร เปน อมรรัตนโกสินทร สืบมาจนปจ จบุ ัน สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศของกรุงรัตนโกสินทรนั้นตั้งอยูบริเวณแหลมยื่นลงไปในแมน้ําเจาพระยาฝง ตะวนั ออก มีแมนา้ํ เจาพระยาไหลผานลงมาจากทางเหนือผา นทางตะวันตกและใตกอนที่จะมุงลงใตสูอาวไทย ทําใหด คู ลา ยกับกรุงศรอี ยธุ ยา รัชกาลที่ 1 โปรดเกลาใหข ุดคูพระนครตั้งแตบางลําพูไปถึงวัดเลียบ ทําใหกรุง- รัตนโกสินทรมีสภาพเปนเกาะสองช้ัน คือสวนที่เปนพระบรมมหาราชวังกับสวนระหวางคูเมืองธนบุรี (คลองคเู มืองเดิม) กับคพู ระนครใหม ในขณะเดียวกนั ไดม กี ารสรา งพระบรมมหาราชวงั แบบงาย ๆ เพ่ือใชประกอบ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พอประกอบพิธีแลวจึงร้ือของเกาออกและกออิฐถือปูน สวนกําแพงพระนครน้ัน นาํ อิฐจากกรุงศรีอยธุ ยามาใชส รา งและถอื วา มชี ยั ภมู ิชนั้ เย่ียมในการปองกันศึกในสมัยนั้น คือ พมา เพราะไดมี น้ําเจาพระยาขวางทางตะวันตก อีกทั้งกรุงธนบุรีเดิมก็สามารถดัดแปลงเปนคายรับศึกไดแตเหตุการณ ที่พมาเขาเหยียบชานพระนครก็ไมเคยเกิดขึ้นสักครั้ง เปนท่ีสังเกตเห็นไดวา การสรางกรุงรัตนโกสินทรน้ัน เปน การลงหลกั ปก ฐานของคนไทยอยา งเปนทางการหลังกรงุ แตก เพราะมีการสรา งปราสาทราชมณเฑียรทสี่ วยสด งดงามจากสมยั ธนบรุ ี ทั้ง ๆ ท่ขี ณะน้นั เกิดสงครามกบั พมาคร้งั ใหญ การขยายพระนคร การขยายพระนครนั้นเรมิ่ ในรชั กาลที่ 4 เมือ่ มกี ารขุดคลองผดุงกรุงเกษมข้ึน พรอมสรางปอมแตไมมี กําแพง นอกจากนั้นยังมีการตัดถนนเจริญกรุงและพระรามส่ีหรือสมัยน้ันเรียกถนนตรง ทําใหความเจริญ ออกไปพรอ มกับถนน ก็สรุปไดว าในรัชกาลที่ 4 เมืองไดขยายออกไปทางตะวันออก ในรัชกาลท่ี 5 ความเจริญ

94 ไดตามถนนราชดําเนินไปทางเหนือพรอมกับการสรางพระราชวังดุสิตขึ้น กําแพงเมืองตาง ๆ เริ่มถูกรื้อ เนอ่ื งจากความเจริญและศกึ ตาง ๆ เร่มิ ไมม แี ลว ความเจรญิ ไดตามไปพรอมกับวังเจา นายตาง ๆ นอกพระนคร ทงุ ตา งๆ กลายเปนเมือง ในสมัยรัชกาลท่ี 6 ไดเกดิ สะพานขามแมนํ้าเจาพระยาแหงแรก เปนสะพานขามทาง รถไฟช่ือสะพานพระรามหก พอมาถึงรัชกาลท่ี 7 ฝงกรุงธนบุรีกับพระนครไดถูกเชื่อมโดยสะพานปฐมบรม ราชานุสรณ (สะพานพทุ ธ) ทําใหป ระชาชนเกิดความสะดวกข้นึ มามากในการสัญจรเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งท่ี สองในรชั กาลที่ 8 พระนครถูกโจมตีทางอากาศจากฝายสมั พันธมติ รบอ ยครง้ั แตพ ระบรมมหาราชวังปลอดภัย เน่ืองจากทางเสรีไทยไดระบุพิกัดพระบรมมหาราชวังมิใหมีการยิงระเบิด เม่ือส้ินสงครามแลวพระนคร เริ่มพัฒนาแบบไมหยดุ เกดิ การรวมจังหวัดตา ง ๆ เขา เปนกรงุ เทพมหานคร และไดเปนเขตปกครองพิเศษหน่ึง ในสองแหงของประเทศไทย พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลานภาลยั (รชั กาลที่ 2) เสด็จพระราชสมภพเมอ่ื วันท่ี 24 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2310 พระนามเดิมวา ฉิม เปนพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช พระองคท รงใฝพ ระทยั ในศลิ ปวฒั นธรรมมาก ทงั้ ทางดา นวจิ ติ รศิลปและวรรณคดีพระองคไดรับการยกยองวา เปนกษัตริยผูเปนอัครศิลปน ทรงสรางและบูรณะวัดวาอารามจํานวนมาก ท่ีสําคัญท่ีสุดคือโปรดเกลาฯ ให บูรณะ วัดสลักใกลพระราชวังเดิมฝงธนบุรี จนยิ่งใหญสวยสงากลายเปนวัดประจํารัชกาลของพระองคและ พระราชทานนามวา “วัดอรุณราชวรารามมหาวิหาร” ความเปนศิลปนเอกของพระองคเห็นไดจากการ ทพ่ี ระองคท รงแกะสลักบานประตหู นาวดั สุทัศนฯ ดว ยพระองคเ อง ผลงานอันวิจติ รชิ้นนป้ี จจบุ นั เก็บรักษาไวท่ี พพิ ิธภัณฑส ถานแหง ชาตกิ รงุ เทพฯ นอกจากฝพ ระหตั ถเ ชิงชางแลว รัชกาลที่ 2 ยงั ทรงพรอ มอจั ฉริยภาพในทาง กวีดวย พระราชนิพนธช้ินสาํ คญั ของพระองค บทละครเรอื่ ง อเิ หนา และรามเกียรต์ิ นอกจากทรงพระราชนพิ นธดวยพระองคเ องแลว ยังไดช ือ่ วาเปนองคอุปถัมภบรรดาศลิ ปน และกวดี วย ยุคน้จี งึ เรียกไดวา เปนยุคสมัยทกี่ วรี ุงเรืองท่ีสดุ กวเี อกที่ปรากฏในรัชกาลของพระองค คือ พระศรีสุนทรโวหาร (ภู) ทีค่ นไทยทว่ั ๆ ไปเรยี กวา “สุนทรภู” ในดานการตางประเทศ พระองคทรงไดเร่ิมฟนฟูความสัมพันธกับประเทศตะวันตกใหม หลังจาก หยุดชะงักไปตง้ั แตสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช โดยมีพระบรมราชานุญาตใหโปรตุเกสเขามาต้ังสถานทูต ไดเปน ชาติแรก พระบาทสมเด็จพระน่งั เกลา เจา อยหู วั (รชั กาลท่ี 3) เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันท่ี 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 มพี ระนามเดิมวา พระองคเ จา ทบั เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา นภาลยั และเจา จอมมารดาเรียบ เปนกษัตริยผูทรงเครงครัดในศาสนาพุทธ ชาวตะวันตกมักมองวาพระองคตึงและตอตาน ศาสนาอืน่ แมก ระน้นั ก็ทรงอนญุ าตใหมิชชนั่ นารีจากอเมริกานาํ แพทยแ ผนตะวันตกเขา มาเผยแพรไ ด ความจริงในสมัยรัชกาลที่ 3 ประเทศสยามตองรับบรรดาทูตตาง ๆ จากชาติตะวันตกที่เขามาทํา สัญญาทางการคาบางแลว โดยเฉพาะการมาถึงของเซอรจอหน เบาริ่ง จากอังกฤษที่เขามาทําสัญญาเบาร่ิง อนั สง ผลอยางใหญหลวงตองานประเทศสยามในเวลาตอมา อยางไรก็ตามผลจากการเปดประเทศมาปรากฎ อยา งเดนชัดในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 4 ซึ่งทรงสนพระทัยในศิลปะวิทยาการ ของตะวันตกมาก พระองคท รงศกึ ษาวิชาการตาง ๆ อยา งแตกฉาน ทรงเขา ใจภาษาบาลเี ปนอยางดีต้ังแตค รั้งท่ี

95 ออกผนวชเปนเวลาถึง 27 พรรษากอนทรงข้ึนครองราชย สวนภาษาอังกฤษนั้นทรงไดเรียนกับมิชชันนารี จนสามารถตรสั ไดเ ปน อยา งดี นอกจากนยี้ งั มีความรูในวทิ ยาศาสตรแ ขนงตาง ๆ โดยเฉพาะดาราศาสตรในยุค สมัยของพระองค ขนมธรรมเนียมตาง ๆ ในราชสํานักไดเปล่ียนไปมาก เชน การแตงกายเขาเฝาของขุนนาง ทรงใหสวมเสื้อผาแบบตะวันตกแทนที่จะเปลือยทอนบนเชนสมัยกอน หรือยกเลิกประเพณีหมอบคลาน เปนตน สวนในดา นการศาสนานั้นทรงต้ัง นกิ ายธรรมยตุ ิขนึ้ มา ซ่ึงเปนการเรม่ิ ตนการรวมอํานาจของคณะสงฆ ซงึ่ เคยกระจดั กระจายทั่วประเทศใหเขามาอยทู ส่ี วนกลาง พระองคนับวาทรงเปนกษัตริยผูมีวิสัยทัศนยาวไกล และทรงตระหนกั ถงึ ภยั จากลัทธิลา อาณานิคมของประเทศตะวันตก ซึง่ ในเวลานัน้ เขายดึ ครองประเทศเพื่อนบาน ของสยามจนหมดส้ินแลว พระองคทรงมีพระราชดําริวา ความเขมแข็งแบบตะวันออกของสยามไมสามารถชว ย ใหป ระเทศรอดพนจากการตกเปนอาณานิคมได จึงทรงเนนใหประเทศสยามพัฒนาใหทันสมัยเพื่อลดความ ขัดแยงกับชาตติ ะวันตก ยุคสมัยนี้กลาวไดวาประเทศสยามเร่ิมหันทิศทางไปสูตะวันตกแทนที่จะแข็งขืนอยางประเทศเพ่ือน บา น ซึง่ ถึงทีส่ ดุ แลวก็ไมอาจสูความไดเปรียบทางเทคโนโลยีของชาติตะวันตกไดในราชสํานักทรงจางครูฝร่ัง มาสอนภาษาใหแ กพระราชโอรสและพระราชธิดา สวนภายนอกมีชาวตางประเทศจํานวนมากที่มาประกอบ กิจการในเมืองสยาม สมยั น้มี ีหนังสอื พมิ พภาษาไทยออกมาเปน คร้งั แรก นน่ั คอื บางกอกรีคอดเดอรของหมอ- บดั เลย  พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 4) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันท่ี 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลานภาลัย และสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรม ราชินี มีพระนามเดิมวา เจาฟามหามาลา เมื่อพระชมมายุได 9 พรรษา ไดรับสถาปนาเปนเจาฟามงกุฎ มพี ระราชอนุชารวมพระราชมารดา คือ เจาฟาจุฬามณี ซึ่งตอมาไดรับสถาปนาเปนพระบาทสมเด็จพระปน- เกลา เจา อยหู ัว เมื่อพระชนมายไุ ด 21 พรรษา ไดอ อกผนวชตามประเพณแี ละอยูในเพศบรรพชติ ตลอดรัชสมัย รชั กาลท่ี 3 เม่ือรชั กาลท่ี 3 สวรรคตจึงไดล าสิกขามาขน้ึ ครองราชยส มบตั ิ ระหวางทท่ี รงผนวช ประทับอยูท่ีวัดมหาธาตุ แลว ทรงยายไปอยูวดั ราชาธิวาส (วัดสมอราย) พระองค ไดทรงต้ังคณะสงฆ ช่ือ “คณะธรรมยุตินิกาย” ข้ึน ตอมาทรงยายไปอยูวัดบวรนิเวศวิหารไดรับแตงตั้งเปน พระราชาคณะ และไดเปนเจาอาวาสวดั บวรนเิ วศองคแรก ทรงรอบรูภาษาบาลีและแตกฉานในพระไตรปฎก นอกจากนั้น ยังศึกษาภาษาลาติน และภาษาอังกฤษจนสามารถใชงานไดดี ในรัชสมัยของพระองค อังกฤษ สหรฐั อเมริกา และฝร่ังเศส ตา งกส็ ง ทตู มาขอทาํ สนธสิ ัญญาในเรื่องสิทธสิ ภาพนอกอาณาเขตใหแกคนในบังคับ ของตน และสทิ ธกิ ารคาขายเสรี ตอ มาไทยไดท าํ สัญญาไมตรีกับประเทศนอรเวย เบลเย่ียมและอิตาลี และได ทรงสง คณะทูตออกไปเจรญิ พระราชไมตรีกับตางประเทศ นับเปนคร้ังที่สองของไทย นับตอจากสมัยสมเด็จ- พระนารายณมหาราช โดยไปยงั ประเทศอังกฤษ และฝรง่ั เศส ทรงจา งชาวยุโรปมารบั ราชการในไทย ในหนาทีล่ ามแปลเอกสารตํารา ครฝู ก วชิ าทางทหารและตาํ รวจ และงานดา นการชาง ทรงตงั้ โรงพิมพของรัฐบาล ต้งั โรงกษาปณเพื่อผลิตเงินเหรียญ แทนเงินพดดวงและเบ้ีย หอยทีใ่ ชอ ยเู ดิม มโี รงสไี ฟ โรงเล่ือยจักร เปดท่ีทําการศุลกากร ตัดถนนสายหลัก ๆ ไดแก ถนนบํารุงเมือง

96 ถนนเฟองนคร ถนนเจริญกรุง และถนนสีลม มีรถมาขึ้นใชครั้งแรกขุดคลองผดุงกรุงเกษม คลองมหาสวัสด์ิ คลองภาษีเจริญ คลองดาํ เนินสะดวก และคลองหัวลําโพง ดานการปกครอง ไดจัดต้ังตํารวจนครบาล ศาล แกไขกฎหมายใหทันสมัย ใหเสรีภาพในการนับถือ ศาสนาดานศาสนา ไดส รางวัดราชประดษิ ฐ วดั มงกุฎกษตั รยิ ารามและวดั ปทุมวนาราม เปนตน ทรงเช่ียวชาญ ทางโหราศาสตร สามารถคํานวนการเกิดจันทรุปราคา และสุริยุปราคาไดอยางแมนยํา ทรงคํานวณการเกิด สุริยุปราคาหมดดวงในวันขึ้น 1 คํ่า เดือน 10 ป พ.ศ. 2411 ณ ตําบลหวากอ (คลองวาฬ) จังหวัด ประจวบคีรขี ันธ ไดอ ยา งถูกตอ ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันที่ 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 มพี ระนามเดิมวา เจา ฟาจุฬาลงกรณ เปนพระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา- เจาอยูหวั และสมเด็จพระเทพศริ ินทรามาตย กอ นขน้ึ ครองราชยท รงดาํ รงพระยศเปนกรมขนุ พนิ ิตประชานาถ พระองคไ ดทรงสรางความเจริญรงุ เรอื งใหแ กป ระเทศนานปั การ ทรงบรหิ ารประเทศกาวหนา ทัดเทยี ม นานาอารยประเทศ ทรงประกาศเลิกทาส ปรับปรุงระบบการศาล ต้ังกระทรวงยุติธรรม ปรับปรุงกฎหมาย ตาง ๆ สง เสรมิ การศึกษาอยางกวางขวางในหมูประชาชนทั่วไป ตั้งกระทรวงธรรมการ ต้ังโรงเรียนฝกหัดครู สง นกั เรยี นไทยไปศึกษาในยุโรป สรา งการรถไฟ โดยทรงเปดเสนทางเดินรถไฟสายกรุงเทพฯ ถึงนครราชสีมา เมอ่ื วนั ที่ 9 มนี าคม พ.ศ. 2421 สรา งโรงไฟฟาจัดใหมีการเดินรถรางขึ้นในกรุงเทพฯ จัดต้ังการ ไปรษณียโทร เลข เมือ่ พ.ศ. 2421 สรา งระบบการประปา ฯลฯ ดานการตางประเทศ ทรงมีวิสัยทัศนกวางไกลย่ิงนัก ไดทรงนําประเทศไทยใหรอดพนจากการเปน เมืองข้ึนของชาติตะวันตกไดตลอดรอดฝง โดยดําเนินการผูกสัมพันธไมตรีกับประเทศมหาอํานาจ เพ่ือคาน อํานาจ พระองคไดเสดจ็ ประพาสยุโรป ถึงสองครัง้ ไดเสด็จเยือนประเทศ ฝร่ังเศส รัสเซีย เยอรมนี อังกฤษ ออสเตรีย ฮังการี เบลเยี่ยม อิตาลี สวีเดน และเดนมารก เมื่อป พ.ศ. 2440 ทรงแตงตั้งราชทูตไปประจํา ประเทศตางๆ ในป พ.ศ. 2424 ไดแก อิตาลี เยอรมัน เนเธอรแลนด เบลเย่ียม ออสเตรีย ฮังการี เดนมารก สวีเดน โปรตุเกส นอรเวย และสเปน อังกฤษ ในป พ.ศ. 2425 สหรัฐอเมริกาในป พ.ศ. 2427 รัสเซียในป พ.ศ. 2440 และญ่ปี ุน ในป พ.ศ. 2442 พระองคท รงปกครองอาณาประชาราษฎร ใหเปน สุขรม เย็นโปรดการเสดจ็ ประพาสดวยตนเอง เพอ่ื ให ไดท รงทราบความเปนอยทู ีแ่ ทจ ริงของพสกนกิ ร ทรงสนพระทยั ในวิชาความรู และวทิ ยาการแขนงตาง ๆ อยาง กวา งขวาง และนํามาใชบ ริหารประเทศใหเ จริญรดุ หนาอยางรวดเร็ว พระองคจึงไดรับถวายพระราชสมัญญา นามวา สมเด็จพระปยมหาราช ดานการพระศาสนาทรงทํานุบํารงุ และจดั การใหเหมาะสมเจรญิ รุงเรือง ทรงสถาปนามหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัยขน้ึ ณ วัดมหาธาตุ และมหามงกุฎราชวิทยาลัยขึ้น ณ วัดบวรนิเวศวิหารเพ่ือใหเปนสถานศึกษา พระปริยัติธรรม และวิชาการชั้นสูง นอกจากน้ัน ยังทรงสรางวัดเทพศิรินทราวาส และวัดเบญจมบพิตร ซ่ึงนบั วาเปนสถาปตยกรรมที่งดงามย่งิ แหง หนึง่ ของกรงุ เทพฯ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 6) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2423 มีพระนามเดิมวา สมเดจ็ เจา ฟามหาวชริ าวุธ เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา-

97 เจา อยูหวั และสมเดจ็ พระศรีพชั รินทราบรมราชินนี าถ ไดร บั สถาปนาเปนสมเด็จเจาฟา กรมขุนเทพทวาราวดี เม่ือพระชนมายุได 8 พรรษา เม่ือพระชนมายุได 11 พรรษา ไดเสด็จไปศึกษาวิชาการท่ีประเทศอังกฤษ ทรงศึกษาในมหาวทิ ยาลัยออกซฟอรด และศกึ ษาวชิ าการทหารบกที่โรงเรียนนายรอยแซนดเฮิสต ไดรับสถาปนา เปนสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชสยามมกฎุ ราชกมุ าร เมอื่ ป พ.ศ. 2437 เสด็จกลับประเทศไทยแลว ทรงเขารับราชการในตําแหนงจเรทัพบก และทรงบัญชาการทหารมหาดเล็ก ดาํ รงพระยศพลเอก เสด็จขึ้นครองราชยสมบัติ เม่ือวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ไดทรงปรับปรุงดานการศึกษาของไทย โปรดใหตราพระราชบญั ญัติ ประถมศกึ ษา ใหเ ปน การศกึ ษาภาคบังคบั ทรงตง้ั กระทรวงการทหารเรือ กองเสือปา และกองลูกเสอื โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ กรมศลิ ปากร โรงไฟฟา หลวงสามเสน คลังออมสนิ กรมสถิตพิ ยากรณ กรมสรรพากร กรมตรวจเงนิ แผนดิน กรมมหาวิทยาลัย กรมรถไฟหลวง และเปด เดินรถไฟไปเช่อื มกับมลายู ตง้ั สถานเสาวภาและกรมรา งกฎหมาย ทรงเปลย่ี นการใชรตั นโกสนิ ทรศ ก (ร.ศ.) เปน พุทธศกั ราช (พ.ศ.) พระองคไดทรงปลูกฝง ความรกั ชาติใหเกิดข้ึนในหมูประชาชาวไทย ทรงเปนศิลปนและสงเสริมงาน ประพันธเปนอยางมาก ทรงเปนผนู าํ ในการประพนั ธว รรณคดีไทย ท้ังท่ีเปนรอยแกวและรอยกรอง ทรงเขียน หนงั สือทางดานประวัตศิ าสตร และดานการทหารไวเปน จาํ นวนมากประมาณถงึ 200 เครือ่ ง พระองคจึงไดรับ ถวายพระราชสมญั ญานามวา สมเด็จพระมหาธีรราชเจา ทรงเปน นกั ปราชญท่ีย่ิงใหญพระองคหนึ่งของไทย การปกครองประเทศไดทรงเจริญรอยตามสมเด็จพระราชบิดา สานตองานที่ยังไมเสร็จสิ้นในรัชสมัย ของพระองคไ ดเ กิดสงครามโลกครง้ั ที่ 1 โดยมีสมรภูมิอยูในทวีปยุโรป ทรงตัดสินพระทัยประกาศสงครามกับ เยอรมัน โดยเขารวมกับสัมพันธมิตรไดสงทหารไทยไปรวมรบ ณ ประเทศฝรั่งเศส ผลท่ีสุดไดเปนฝายชนะ สงคราม ทําใหไทยไดรับการแกไขสนธิสัญญา ทีไ่ ทยเสยี เปรยี บตางประเทศไดเ ปนอันมาก พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 7) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันท่ี 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 มีพระนามเดิมวาสมเด็จเจาฟาประชาธิปกศักดิเดชน เปนพระราชโอรส พระองคเล็กของ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยูหัว และสมเดจ็ ศรีพชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถไดรับสถาปนาเปนกรมขุน- สุโขทัยธรรมราชา เม่ือพระชนมายุได 12 พรรษา ไดเสด็จไปศึกษาวิชาการทหารบกที่ประเทศอังกฤษ และ ฝรั่งเศส สําเรจ็ การศึกษาแลวเสด็จกลับประเทศไทย เขา รับราชการทกี่ องพันทหารปนใหญท ี่ 1 รกั ษาพระองค ในตําแหนงผูบังคับกองรอย ตอมาไดรับราชการในตําแหนงผูบังคับการโรงเรียนนายรอยทหารบกช้ันปฐม ปลดั กรมเสนาธิการทหารบก ผบู ัญชาการกองพลทหารบกท่ี 2 แลวไดท รงกรมเปนกรมหลวงสโุ ขทัยธรรมราชา เสด็จขึน้ ครองราชยส มบตั ิ เมื่อวันท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ในชวงเวลาท่ีเศรษฐกิจของประเทศ และของโลกกาํ ลังทรดุ หนัก อันเปนผลเนื่องมาจากสงครามโลก ครั้งท่ี 1 ซ่ึงพระองคก็ไดทรงแกไขอยางเต็ม พระกาํ ลังความสามารถจนประเทศไทย ไดรอดพนจากวกิ ฤติการณน ั้นได ในรชั สมัยของพระองค ไทยสามารถ ตดิ ตอกบั นานาประเทศทางวิทยุ และโทรเลขไดโดยทั่วไปเปน คร้ังแรก ทรงพระราชทานนามหอสมุดแหงชาติ พิมพพระไตรปฎ กเลมใหม สรางโรงเรยี นวชิราวธุ วทิ ยาลัย เปด เดนิ รถไฟไปถึงชายแดนไทยตดิ ตอ กับเขมร แกไข ระบบการจดั เกบ็ ภาษาอากรใหม ตงั้ สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยประกาศพระราชบัญญัติเงินตรา และทรงตรากฎหมายอ่ืน ๆ อีกเปนจํานวนมาก สรางสะพานพระปฐมบรมราชานุสรณ (สะพานพระพุทธ-

98 ยอดฟาฯ) วันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรไดปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองตอมา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477พระองคไดตัดสินพระทัยสละราชสมบัติ ตอมาไดเสด็จสวรรคต เมื่อวันท่ี 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 ณ ประเทศอังกฤษ พระราชหตั ถเลขาท่ที รงลาออกจากราชบัลลงั ก มคี วามตอนหน่ึงวา “ขาพเจา มีความเหน็ ใจทจี่ ะสละ อํานาจอันเปนของขาพเจาอยูเดิมใหแกราษฎรโดยท่ัวไป แตขาพเจาไมยินยอมยกอํานาจทั้งหลายของ ขาพเจา ใหแ กผใู ด คณะใดโดยเฉพาะ เพอ่ื ใชอ าํ นาจโดยสทิ ธิขาดและโดยไมฟงเสียงอันแทจริงของประชา ราษฎร” พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (รัชกาลที่ 8) เสด็จ- พระราชสมภพ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2468 ณ เมืองไฮเดลเบิรก ประเทศเยอรมัน ทรงเปนพระราชโอรส องคท สี่ องของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนี เมื่อพระชนมายุได 3 เดือน ไดตามเสด็จพระบรมราชชนกนาถและพระราชมารดาไปประทับอยู ณ ประเทศฝรงั่ เศสและสหรฐั อเมริกา จนพระชนมายไุ ด 3 พรรษา จงึ เสดจ็ กลบั ประเทศไทย เม่อื ป พ.ศ. 2471 หลังเปล่ียนแปลงการปกครอง สมเด็จพระราชชนนีไดนําเสด็จไปประทับอยู ณ เมืองโลซานน ประเทศ สวติ เซอรแ ลนด เม่อื ป พ.ศ. 2476 เม่ือพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงสละราชสมบัติ เม่ือวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 พระองคไดเสด็จข้ึนครองราชย เมื่อพระชนมายุได 10 พรรษา จึงตองมีคณะผูสําเร็จราชการแผนดินปฏิบัติ หนา ท่ีแทนพระองค พระเจา วรวงศเธอ กรมหมื่นอนุวรรตนจาตุรงต เปนประธาน ตอมาพระองคเจาอาทิตย ทิพอาภา เปนประธาน พระองคม นี ้ําพระราชหฤทัยเปย มดวยพระเมตตากรณุ าในพสกนิกรโปรดการศึกษาการกีฬา การชาง และการดนตรีไดเสด็จไปศึกษาตอ ณ ประเทศสวิตเซอรแลนดเม่ือสงครามโลกคร้ังที่ 2 สงบ ไดเสด็จนิวัติ ประเทศไทย เม่ือวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 ผูสําเร็จราชการแทนพระองค จึงไดถวายราชกิจเพ่ือให ทรงบริหารโดยพระราชอาํ นาจ เมื่อวนั ท่ี 9 มถิ ุนายน พ.ศ. 2489 ไดเ กดิ เหตุการณอันไมคาดฝน พระองคตองอาวุธปนเสด็จสวรรคต ณ ที่นั่งบรมพมิ านในพระบรมมหาราชวงั ยังความเศราสลด และความอาลยั รกั จากพสกนกิ รเปนทย่ี ง่ิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) เสด็จพระราชสมภพเม่ือวันท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ มลรัฐแมซซาชูเซทส ประเทศสหรัฐอเมริกา เปนพระราชโอรส องคเล็กของสมเด็จ- พระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเมื่อพระชนมายุ ได 1 พรรษา ไดเสด็จนวิ ตั สูประเทศไทยในป พ.ศ. 2471 ภายหลังจากที่สมเด็จพระมหติ ลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกเสดจ็ ทิวงคตแลว ไดเสดจ็ กลับไปประทบั ท่เี มืองโลซานน ประเทศสวิตเซอรแ ลนด และเขา รบั การศึกษา ณ ท่ีน้ัน เม่ือสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรเสด็จสวรรคตเม่ือวันท่ี 13 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ไดเสด็จขึ้นครองราชยสืบแทน

99 เมือ่ พระชนมายุได 19 พรรษา โดยมีผูสําเรจ็ ราชการแทนพระองค แลวทรงเสด็จไปศึกษาตอในวิชานิติศาสตร ท่ีประเทศสวติ เซอรแลนด พระองคไดเสด็จนิวัติสูประเทศไทยเมื่อ ป พ.ศ. 2493 เพ่ือถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาท- สมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรและไดทรงเขาพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับ สมเด็จพระนางเจาสิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ ซ่งึ ขณะนั้นดาํ รงพระยศ เปน ม.ร.ว.สริ ิกติ ิ์ กติ ิยากร พระธิดาของ พระวรวงศเ ธอกรมหม่นื จนั ทบรุ ีสรุ นาถ และไดป ระกาศพระบรมราชโองการสถาปนาเปน สมเด็จพระบรมราชนิ ี ไดมีพระบรมราชาภเิ ษก เฉลิมพระปรมาภไิ ธยวา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหติ ลาธเิ บศรรามาธบิ ดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธริ าช บรมนาถบพติ ร เมอ่ื วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ไดเสด็จกลับไปทรงศึกษาตอ ณ ประเทศสวิตเซอรแลนด เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2493 จนถึงป พ.ศ. 2494 จงึ เสด็จนวิ ัติพระนคร ไดเ สด็จออกผนวช ณ วัดพระศรีรตั นศาสดาราม เมื่อวันท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 แลว เสด็จประทบั ณ วดั บวรนิเวศวหิ าร ระหวางทีท่ รงผนวชสมเด็จพระนางเจา สริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองค จึงไดรับโปรดเกลาฯ ใหสถาปนาเปนสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช และสมเด็จพระนางเจา สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงบาํ เพ็ญพระราชกรณยี กิจเปนเอนกประการแผไพศาลไปทว่ั ทงั้ ในประเทศและตา งประเทศ ทรงเสด็จพระราชดําเนินเยือนตางประเทศท้ังในยุโรป เอเชีย และอเมริกา เพื่อเจริญพระราชไมตรี อยางกวา งขวาง ปรากฏพระเกียรติคณุ อยา งทไี่ มเคยปรากฎมากอน ดา นในประเทศทรงเสดจ็ เยี่ยมเยียนราษฎร ในชนบทที่อยูหางไกลเพ่ือรับทราบปญหาตาง ๆ โดยตรงและไดทรงริเริ่มโครงการตามพระราชดําริ เพื่อแกปญหาเหลา นน้ั พรอมทง้ั พฒั นาใหดขี ึน้ เพือ่ ใหส ามารถชวยตนเองได พระราชกรณียกิจของพระองค ท้ังในฐานะที่ทรงเปนพระประมุขของประเทศและในฐานะสวน พระองคเปน ไปอยา งไมหยุดยัง้ ทรงเตม็ เปย มดว ยทศพิธราชธรรม ทรงมีพระอัจฉริยภาพในดานตาง ๆ ยากที่ จะหาผเู สมอเหมอื น ทรงมพี ระราชศรทั ธาตัง้ ม่นั และแตกฉานในพระศาสนาและทรงถายทอดแกพสกนกิ รของ พระองคในทุกโอกาส ดังเราจะไดพบในพระบรมราโชวาทที่พระราชทานแกป ระชาชนในโอกาสตา ง ๆ การเปล่ยี นแปลงการปกครอง ภายหลังการปฏิรูปการปกครองและการปฏิรูปการศกึ ษาในรัชกาลท่ี 5 พระองคไดมีกระแสความคิด ท่ีจะใหประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบการ ปกครองที่มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ โดยมีรัฐสภาเปนสถาบันหลักที่จะให ประชาชนมีสวนรวมในการปกครองมากขึ้นเปนลําดับ จนกระท่ังไดมีคณะนายทหารชุดกบฏ ร.ศ.130 ซึ่งมี ความคดิ ทป่ี ฏิบตั กิ ารใหบรรลุความมุงหมายดังกลาว แตไมทันลงมือกระทําการก็ถูกจับไดเสียกอนเมื่อ พ.ศ. 2454 ในตน รชั กาลที่ 6 อยางไรกต็ าม เสยี งเรยี กรองใหม กี ารเปลย่ี นแปลงการปกครองก็ยังคงมีออกมาเปนระยะ ๆ ทางหนา หนงั สือพิมพ แตย งั ไมผ ลตอ การเปล่ียนแปลงใด ๆ มากนัก นอกจากการปรับตัวของรัฐบาลทางดานการเมือง การปกครองใหทนั สมัยยิ่งขนึ้ กวาเดิมเทานั้น แตก็ยังไมไดมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดใน

100 การปกครองประเทศแตประการใด จนกระท่ังในสมัยรัชกาลท่ี 7 ไดมีคณะผูกอการภายใตการนําของ พ.อ.พระยาพหลพลพยหุ เสนา ซงึ่ ไดกอการเปลยี่ นแปลงการปกครองเปน ผลสาํ เร็จใน พ.ศ. 2475 ดังนั้นการเปล่ยี นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 จึงเปน การเปลย่ี นแปลงทางการเมืองท่ีสําคัญของ ประวตั ิศาสตรชาตไิ ทย สภาพการณโดยทั่วไปของบา นเมอื งกอ นเกดิ การเปล่ยี นแปลงการปกครอง สังคมไทยกําลังอยูในชวงเวลาของการเปลี่ยนแปลงเขาสูความทันสมัยตามแบบตะวันตก ในทุก ๆ ดาน อันเปนผลสืบเน่ืองมาจากการปฏิรูปแผนดินเขาสูความทันสมัยในรัชกาลท่ี 5 (พ.ศ. 2411 – 2453) ความจริงแลวสังคมไทยเร่ิมปรับตัวใหเขากับกระแสวัฒนธรรมตะวันตกมาต้ังแตสมัยรัชกาลท่ี 4 ภายหลังไดทําสนธิสัญญาบาวร่ิงกับอังกฤษใน พ.ศ. 2398 และกับประเทศอ่ืนๆ ในภาคพื้นยุโรปอีกหลาย ประเทศ และทรงเปดรับประเพณีและวัฒนธรรมของตะวันตก เชน การจางชาวตะวันตกใหเปนครูสอน ภาษาอังกฤษแกพระราชโอรสและพระราชธิดาในพระบรมมหาราชวัง การใหขาราชการสวมเส้ือเขาเฝา การอนุญาตใหช าวตางประเทศเขา เฝา พรอมกบั ขนุ นางขา ราชการไทยในงานพระบรมราชาภเิ ษก เปนตน ในสมัยรัชกาลท่ี 5 ไดทรงดําเนินพระบรมราโชบาย ปลดปลอยไพรใหเปนอิสระและทรงประกาศ เลกิ ทาสใหเ ปน ไทแกตนเอง พรอมกนั น้นั ยงั ทรงปฏริ ูปการศกึ ษาตามแบบตะวันตก เพื่อใหคนไทยทุกคนไดรับ การศกึ ษาถงึ ข้นั อานออกเขียนไดแ ละคิดเลขเปน ไมว าจะเปนเจานาย บตุ รหลาน ขนุ นาง หรอื ราษฎรสามญั ชน ที่พนจากความเปนไพรหรือทาส ถาบุคคลใดมีสติปญญาเฉลียวฉลาดก็จะมีโอกาสเดินทางไปศึกษาตอยัง ประเทศตะวันตกโดยพระบรมราชานุเคราะหจากผลการปฏิรูปการศึกษา ทําใหคนไทยบางกลุมท่ีไดรับ การศึกษาตามแบบตะวันตก เริ่มรับเอากระแสความคิดเกี่ยวกับการเมืองสมัยใหม ที่ยึดถือรัฐธรรมนูญเปน กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศมาจากตะวนั ตก และมคี วามปรารถนาท่ีจะเหน็ การเปลีย่ นแปลง สมัยรัชกาลท่ี 5 ทรงปฏิรปู ประเทศเขา สคู วามทนั สมยั สังคมไทยก็เรมิ่ กา วเขา สูความมีเสรใี นการแสดง ความคิดเห็นมากข้นึ โดยเริ่มเปดโอกาสสอื่ มวลชนเสนอความคดิ เหน็ ตอสาธารณชนไดค อ นขางเสรี ดังน้ัน จงึ ปรากฏวา ส่ือมวลชนตา ง ๆ เชน น.ส.พ. สยามประเทศ, ตุลวิภาคพจนกจิ , ศริ พิ จนภาค, จีนโนสยามวารศัพท ซ่ึงตพี มิ พจ าํ หนา ยในรัชกาลท่ี 5 น.ส.พ. บางกอกเมือง ซ่ึงพิมพจําหนายในสมัยรัชกาลที่ 6 และน.ส.พ.สยาม รวี ิว ซึง่ พมิ พจ ําหนา ยในสมยั รชั กาลท่ี 7 ไดเรียกรองและชี้นําใหมีการเปล่ียนแปลงการปกครองประเทศไปสู ระบบรฐั สภา โดยมรี ัฐธรรมนญู เปน หลักในการปกครองประเทศอยา งตอเนื่อง อยา งไรก็ตาม เน่ืองจากการปลดปลอยไพรและทาสใหเปนอิสระในสมัยรัชกาลท่ี 5 ไดผานพนไปได เพียง 20 ปเศษ ดังน้ันสภาพสังคมสวนใหญในสมัยรัชกาลที่ 7 กอนท่ีจะเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จึงยังตกอยูภายใตอิทธิพลของวัฒนธรรมในระบบเจาขุนมูลนาย นอกจากนี้คนสวนนอยยังคงมีฐานะสิทธิ ผลประโยชนตาง ๆ เหนือคนไทยสวนใหญ คนสวนใหญมักมีความเห็นคลอยตามความคิดท่ีสวนนอย ซึง่ เปน ชนชนั้ นําของสังคมไทยชี้นํา ถา จะมคี วามขัดแยงในสงั คมก็มักจะเปนความขัดแยงในทางความคิด และ ความขดั แยงในเชงิ ผลประโยชนในหมูชนช้ันนาํ ของสงั คมทไ่ี ดร ับการศึกษาจากประเทศตะวันตกมากกวาจะเปน ความขดั แยงระหวา งชนชน้ั นําของสังคมไทยกับราษฎรท่วั ไป

101 สภาพการณทางการเมืองและการปกครองของไทยกําลังอยูในระยะปรับตัวเขาสูแบบแผนการ ปกครองของตะวนั ตก เห็นไดจากพระบรมราโชบายของพระมหากษัตริยไทยทุกพระองค ภายหลังที่ไทยไดมี การติดตอกับประเทศตะวันตกอยางกวางขวาง นับต้ังแตสมัยรับกาลท่ี 4 – 7 สมัยรัชกาลที่ 4 ยังไมไดทรง ดําเนินนโยบายปรับปรุงการปกครองใหเปน แบบตะวนั ตก แตก ท็ รงมีแนวพระราชดาํ รโิ นมเอียงไปในทางเสรี นยิ ม เชน ประกาศใหเจานายและขา ราชการเลอื กตง้ั ตําแหนงมหาราชครูปุโรหติ และตําแหนง พระมหาราชครู- มหธิ ร อนั เปน ตาํ แหนง ตุลาการทีว่ างลง แทนที่จะทรงแตง ต้ังผพู ิพากษาตามพระราชอํานาจของพระองค และ เปลี่ยนแปลงวธิ ถี วายนํ้าพิพัฒนสัตยาดวยการที่พระองคทรงเสวยน้ําพิพัฒนสัตยา รวมกับขุนนางขาราชการ และทรงปฏญิ าณความซอื่ สัตยข องพระองคต อ ขุนนางขาราชการท้งั ปวงดว ย สมัยรชั กาลท่ี 5 ทรงปฏริ ูปการเมอื งการปกครองครงั้ ใหญ เพือ่ ใหก ารปกครองของไทยไดจ รญิ กา วหนา ทัดเทียมกับชาติตะวันตก โดยจัดต้ัง สภาท่ีปรึกษาราชการแผนดิน (Council of State) และสภาที่ปรึกษา สว นพระองค (Privy Council) ใน พ.ศ. 2417 เพอื่ ถวายคาํ ปรกึ ษาเกยี่ วกับการบรหิ ารราชการแผนดินในเรื่อง ตาง ๆ ท่ีพระองคของคําปรึกษาไป นอกจากนี้พระองคยังทรงปฏิรูปการปกครองที่สําคัญ คือ การจัดต้ัง กระทรวงแบบใหมจ าํ นวน 12 กระทรวงขน้ึ แทนจตสุ ดมภในสว นกลางและจดั ระบบการปกครองหวั เมืองตาง ๆ ในรูปมณฑลเทศาภบิ าลในภมู ิภาค โดยเร่ิมตั้งแต พ.ศ. 2435 เปนตนมา นอกจากน้ีพระองคทรงริเริ่มทดลอง การจัดการปกครองทองถ่ินในรูปสุขาภิบาล จัดตั้งรัฐมนตรีสภา เพื่อทําหนาที่ตามกฎหมาย ใน พ.ศ. 2437 ตามแบบอยา งตะวันตก สมยั รชั กาลท่ี 6 ทรงรเิ ริ่มทดลองการปกครองแบบประชาธปิ ไตยโดยการจัดตัง้ ดสุ ิตธานเี มอื งประชาธิปไตย ข้ึนในบริเวณพระราชวังดุสิต พ.ศ. 2461 เพื่อทดลองฝกฝนใหบรรดาขาราชการไดทดลองปกครองตนเอง ในนครดุสิตธานี เหมือนกับการจดั รปู แบบการปกครองทองถิ่นที่เรียกวา “เทศบาล” นอกจากน้ียังทรงจัดตั้ง กระทรวงขึ้นมาใหมจากทม่ี อี ยูเดิม และยุบเลิกกระทรวงบางกระทรวงใหมีความทนั สมัยมากขึ้น โดยทรงจัดต้ัง มณฑลเพม่ิ ข้นึ และทรงปรับปรุงการบริหารงานของมณฑลดวยการยบุ รวมมณฑลเปน หนวยราชการท่ีเกี่ยวกับ การปกครองเรียกวา มณฑลภาค เพอ่ื ใหก ารปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลมคี วามคลองตัวมากขนึ้ สมยั รชั กาลที่ 7 (พ.ศ. 2468 – 2475) ทรงเลง็ เห็นความจาํ เปนที่จะตองเปลี่ยนแปลงการปกครองให ทันสมยั และตอ งเตรียมการใหพรอ มเพิม่ มใิ หเกดิ ความผดิ พลาดได โดยพระองคไดทรงจัดต้ังอภิรัฐมนตรีสภา เพอ่ื เปน ที่ปรกึ ษาราชการแผน ดนิ พ.ศ. 2468 และทรงมอบหมายใหอ ภริ ัฐมนตรีสภาวางระเบียบสําหรับจัดตั้ง สภากรรมการองคมนตรี เพือ่ เปน สภาท่ปี รกึ ษาสว นพระองคอกี ดว ย นอกจากน้ีทรงมอบหมายใหอภิรัฐมนตรีวางรูปแบบการปกครองทองถ่ินในรูปเทศบาลดวยการ แกไขปรับปรุงสุขาภบิ าลที่มีอยูใหเ ปนเทศบาล แตไมม โี อกาสไดป ระกาศใช เพราะไดเกิดการเปล่ียนแปลงการ ปกครองขนึ้ กอน นอกจากนย้ี งั ทรงโปรดเกลาฯ ใหพ ระยาศรวี ศิ าลวาจาและนายเรยม อนด บี. สตีเวนส ซ่ึงเปน ท่ปี รกึ ษากระทรวงการตา งประเทศชวยกันรา งรัฐธรรมนูญ ตามกระแสพระราชดาํ ริใน พ.ศ.2474 มสี าระสาํ คญั ดงั น้ี อํานาจนิติบัญญัติจะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทางออม โดยมีสมาชิก 2 ประเภท คือ มาจากการเลอื กต้ังและการแตงต้งั สวนผูท่ีมีสทิ ธ์สิ มคั รเลอื กต้ังจะตองมีอายุไมต่ํากวา 30 ป มีพื้นฐานความรู

102 อา นออกเขียนได สวนอํานาจบริหารใหพระมหากษัตริยทรงเลือกนายกรัฐมนตรี แตเนื่องจากอภิรัฐมนตรีมี ความเหน็ ประชาชนยังไมพรอม ดังนั้นการประกาศใชรัฐธรรมนูญควรระงับไวชั่วคราว จนกระท่ังไดเกิดการ เปลย่ี นแปลงการปกครองเสยี กอนจึงมไิ ดม กี ารประกาศใชแ ตอยางใด สาเหตุการเปลยี่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 1. ความเสอื่ มของระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชย การทีค่ ณะนายทหารหนุมภายใตการนาํ ของ ร.อ. ขุนทวยหาญพิทักษ (เหลง็ ศรีจนั ทร) ไดวางแผนยึด อํานาจการปกครอง เพื่อเปลยี่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนระบอบท่ีจํากัด พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยใหอยูในฐานะประมุขของประเทศภายใตรัฐธรรมนูญเม่ือ พ.ศ. 2454 แตไมป ระสบความสําเร็จเพราะถูกจบั กุมกอนลงมือปฏิบัติงาน แสดงใหเห็นถึงความเสื่อมของระบอบนี้อยาง เห็นไดช ัด ขณะเดยี วกนั ในสมัยรัชกาลท่ี 6 ไดมีการวิพากษวิจารณกันอยางกวางขวางเก่ียวกับการใชจายเงิน งบประมาณทไ่ี มดลุ กับรายรบั ทําใหม ีการกลา วโจมตีรฐั บาลวาใชจายฟุมเฟอยเกินไป ครัง้ ตอมาในสมัยรัชกาล ที่ 7 พระองคก ถ็ ูกโจมตวี า ทรงตกอยใู ตอทิ ธพิ ลของอภิรฐั มนตรีสภา ซึง่ เปน สภาทีป่ รึกษาทป่ี ระกอบดวยสมาชิก ทเ่ี ปนพระบรมวงศานวุ งศชั้นสงู และบรรดาพระราชวงศก ม็ ีบทบาทในการบริหารบา นเมอื งมากเกินไป ควรจะ ใหบคุ คลอ่นื ทีม่ ีความสามารถเขามสี ว นรว มในการบรหิ ารบานเมืองดวย ปรากฎการณด ังกลาวสะทอนใหเห็นถงึ ความไมพ อใจตอระบอบการปกครองทม่ี พี ระมหากษตั ริยอยูเหนือกฎหมาย ซึ่งนับวันจะมปี ฏิกริ ยิ าตอตา นมากขึ้น 2. การไดร ับการศึกษาตามแนวความคดิ ตะวันตกของบรรดาชนชั้นนาํ ในสังคมไทย อิทธิพลจากการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลท่ี 5 ทําใหคนไทยสวนหนึ่งท่ีไปศึกษายังประเทศ ตะวันตก ไดรับอิทธิพลแนวคิดทางการเมืองสมัยใหม และนํากลับมาเผยแพรในประเทศไทย ทําใหคนไทย บางสวนท่ีไมไ ดไ ปศกึ ษาตอในตา งประเทศรับอทิ ธพิ ลแนวความคิดดังกลา วดว ย อทิ ธิพลของปฏริ ปู การศึกษาได สง ผลกระตุนใหเกิดความคิดในการเปล่ียนแปลงการปกครองมากขึ้น นับต้ังแตคณะเจานายและขาราชการ เสนอคํากราบบังคมทูลใหเปลี่ยนแปลงการปกครอง ใน พ.ศ. 2427 นักหนังสือพิมพอยางเทียนวรรณ (ต.ว.ส.วัณณาโภ) ก.ศ.ร.กุหลาบ (ตรษุ ตฤษณานนท) ไดเ รยี กรองใหป กครองบานเมอื งในระบบรัฐสภา เพื่อให ประชาชนมีสวนรวมในการปกครองและยังไดกลาววิพากษวิจารณสังคม กระทบกระเทียบชนชั้นสูงที่ทําตัว ฟงุ เฟอ ซึ่งตัวเทยี นวรรณเองก็ไดกราบบังคมทูลถวายโครงรา งระบบการปกครองท่ีเปนประชาธปิ ไตยแดร ัชกาล ที่ 5 ตอ มาในรชั กาลท่ี 6 กลมุ กบฏ ร.ศ.130 ทวี่ างแผนยดึ อํานาจการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ก็เปนบุคคลท่ี ไดรับการศึกษาแบบตะวันตกแตไ มเ คยไปศกึ ษาในตางประเทศ แตคณะผกู อการเปล่ียนแปลงการครองใน พ.ศ. 2475 เปน คณะบคุ คลท่สี ว นใหญผา นการศึกษามาจากประเทศตะวนั ตกแทบทัง้ ส้ิน แสดงใหเห็นถงึ อิทธิพลของ ความคิดในโลกตะวันตกที่มีตอชนช้ันผูนําของไทยเปนอยางย่ิง เม่ือคนเหลานี้เห็นความสําคัญของระบอบ ประชาธปิ ไตยทมี่ พี ระมหากษตั รยิ เ ปน ประมุข การเปลย่ี นแปลงการปกครองจึงเกิดขนึ้

103 3. ความเคลือ่ นไหวของบรรดาสอื่ มวลชน ส่ือมวลชนมบี ทบาทในการกระตุนใหเ กดิ ความตน่ื ตัวในการปกครองแบบใหมและปฏเิ สธระบบการ ปกครองแบบสมบรู ณาญาสิทธิราชย เชน น.ส.พ.ตุลวิภาคพจนกิจ (พ.ศ. 2443 – 2449) น.ส.พ.ศิริพจนภาค (พ.ศ. 2451) น.ส.พ.จนี โนสยามวารศัพท (พ.ศ. 2446 – 2450) น.ส.พ. บางกอกการเมือง (พ.ศ. 2464) น.ส.พ. สยามรีวิว (พ.ศ. 2430) น.ส.พ. ไทยใหม (พ.ศ. 2474) ตางก็เรียกรองใหมีการปกครองในระบบรัฐสภาที่มี รัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองประเทศ โดยช้ีใหเห็นถึงความดีงามของระบอบประชาธิปไตยท่ีจะเปน แรงผลักดันใหประชาชาติมีความเจริญกาวหนามากกวาที่เปนอยู ดังเชนที่ปรากฏเปนตัวอยางในหลาย ๆ ประเทศที่มีการปกครองในระบอบรัฐธรรมนูญ กระแสเรียกรองของสื่อมวลชนในสมัยนั้นไดมีสวนตอการ สนับสนนุ ใหก ารดําเนนิ ของคณะผูกอการในอนั ท่ีจะเปลย่ี นแปลงการปกครองบรรลผุ ลสาํ เร็จไดเหมือนกนั 4. ความขดั แยง ทางความคดิ เก่ียวกบั การปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัชกาลท่ี 7 ทรงเล็งเห็นความสําคัญของการมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครอง ประเทศและทรงเต็มพระทยั ท่ีจะสละพระราชอาํ นาจมาอยูภ ายใตรัฐธรรมนูญเม่ือถึงเวลาที่เหมาะสม แตเมื่อ พระองคทรงมีกระแสรับส่ังใหพระยาศรีวิศาลวาจาและนายเรยมอนด บี.สตีเวนส รางรัฐธรรมนูญข้ึนมา เพ่ือประกาศใช พระองคไดทรงนําเร่ืองนี้ไปปรึกษาอภิรัฐมนตรีสภา แตอภิรัฐมนตรีสภากลับไมเห็นดวย โดยอา งวา ประชาชนยงั ขาดความพรอมและเกรงจะเปนผลเสียมากกวาผลดี ทั้ง ๆ ที่รัชกาลที่ 7 ทรงเห็นดวย กับการประกาศใชรัฐธรรมนูญ แตเม่ืออภิรัฐมนตรีสภาคัดคาน พระองคจึงมีน้ําพระทัยเปนประชาธิปไตย โดยทรงฟงเสยี งทัดทานจากอภิรฐั มนตรสี ภาสวนใหญ ดังนนั้ รฐั ธรรมนญู จึงยังไมมีโอกาสไดรับการประกาศใช เปนผลใหคณะผกู อ การชิงลงมือทาํ การเปลีย่ นแปลงการปกครองในวันท่ี 24 มิถุนายน 2475 ในที่สุด 5. สถานการณคลังของประเทศและการแกปญ หา การคลงั ของประเทศเรมิ่ ประสบปญ หามาตั้งแตสมัยรัชกาลท่ี 6 เพราะการผลิตขาวประสบความ ลมเหลว เน่ืองจากเกิดภาวะนํ้าทวมและฝนแลงติดตอกันใน พ.ศ.2460 และ พ.ศ. 2462 ซึ่งกอใหเกิดผล เสียหายตอการผลิตขา วรนุ แรง ภายในประเทศก็ขาดแคลนขาวท่จี ะใชใ นการบริโภค และไมสามารถสงขาวไป ขายยังตางประเทศได ทําใหรัฐขาดรายไดเปนจํานวนมาก รัฐบาลจึงตองจัดสรรเงินงบประมาณชวยเหลือ ชาวนา ขา ราชการ และผูประสบกับภาวะคาครองชีพท่ีสูงข้ึน มีทั้งรายจายอ่ืน ๆ เพ่ิมข้ึนจนเกินงบประมาณ รายได ซง่ึ ใน พ.ศ. 2466 งบประมาณขาดดลุ ถงึ 18 ลา นบาท นอกจากนรี้ ัฐบาลไดน ําเอาเงนิ คงคลงั ทเ่ี กบ็ สะสม ไวออกมาใชจายจนหมดสิ้น ในขณะที่งบประมาณรายไดตํ่า รัชกาลที่ 6 ทรงแกปญหาดวยการกูเงินจาก ตา งประเทศ เพอ่ื ใหม เี งนิ เพียงพอกับงบประมาณรายจาย ทําใหเกิดเสียงวิพากษวิจารณวารัฐบาลใชจายเงิน งบประมาณอยา งไมประหยดั ในขณะท่เี ศรษฐกจิ ของประเทศกําลังคับขนั ตอมาสมัยรัชกาลที่ 7 ทรงดําเนินนโยบายตัดทอนรายจายของรัฐบาลลดจํานวนขาราชการใน กระทรวงตาง ๆ ใหนอยลง และทรงยินยอมตัดทอนงบประมาณรายจายสวนพระองคใหนอยลง เม่ือพ.ศ. 2469 ทาํ ใหรัฐบาลมีรายไดเ พม่ิ ขึน้ ปล ะ 3 ลา นบาท แตเ นอื่ งจากเศรษฐกิจของโลกเร่มิ ตกตํา่ มาเปนลาํ ดบั ต้งั แต พ.ศ. 2472 ทาํ ใหมีผลกระทบตอประเทศไทยอยางไมม ที างหลกี เลีย่ ง รัฐบาลตองตัดทอนรายจายอยา งเขม งวด

104 ทสี่ ุด รวมทั้งปลดขาราชการออกจากตาํ แหนง เปน อนั มาก จดั การยบุ มณฑลตา ง ๆ ทั่วประเทศ งดจา ยเบย้ี เลย้ี ง และเบยี้ กันดารของขาราชการ รวมทั้งการประกาศใหเงินตราของไทยออกจากมาตรฐานทองคํา พ.ศ. 2475 รัฐบาลไดประกาศเพิ่มภาษีราษฎรโดยเฉพาะการเก็บภาษีเงินเดือนจากขาราชการ แตมาตรการดงั กลาวก็ไมส ามารถจะกอบกูส ถานการณค ลังของประเทศไดก ระเต้อื งข้ึนได จากปญ หาเศรษฐกิจ การคลังท่ีรัฐบาลไมสามารถแกไขใหมีสภาพเปนปกติได ทําใหคณะผูกอการใชเปนขออางในการโจมตี ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารงานของรัฐบาล จนเปนเง่อื นไขใหคณะผกู อ การดาํ เนินการเปล่ียนแปลงการปกครอง เปน ผลสาํ เรจ็ กจิ กรรม เรอ่ื งท่ี 3 ประวตั ิศาสตรช าติไทย กจิ กรรมที่ 8 ใหผูเรียนแบง กลุม 4 กลุม แตล ะกลุมศกึ ษาคน ควา และทํารายงานสง พรอมกบั นําเสนอ โดยมหี วั เรื่อง ดงั น้ี กลุมท่ี 1 ประวตั คิ วามเปน มาของชาตไิ ทย ตง้ั แตส มยั โบราณจนถงึ กรงุ ธนบุรี กลุมที่ 2 ประวตั ิความเปนมาของกรงุ รตั นโกสนิ ทร กลมุ ที่ 3 การเปลยี่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 กลมุ ที่ 4 ใหวเิ คราะหส ถานการณป จ จุบนั ของกรงุ เทพมหานครฯ วา แนวโนม ประเทศไทยจะยา ยเมอื งหลวงไปยงั แหง ใหม หรอื ไม เพราะเหตใุ ด เร่อื งท่ี 4 บุคคลสาํ คญั ของไทยและของโลกในดา นประวัติศาสตร จากการศกึ ษาประวัตศิ าสตรไทยและของโลกทาํ ใหเราไดทราบเร่ืองราวและผลงานท่ีดํารงความเปน เอกราช มวี ฒั นธรรมดา นตาง ๆ ที่เปน เอกลักษณ และทีส่ รา งคุณคา ประโยชนส ง่ิ ที่ดงี ามใหแกม วลมนษุ ย ฉะนนั้ อนชุ นรนุ หลงั จะตอ งเอาใจใสดแู ลรกั ษามรดกตาง ๆ เหลา นี้เพอื่ ถายทอดสูคนรุนหลังตอไป บคุ คลสําคญั ของไทยและของโลก 1. สมัยกรุงสุโขทยั 1.1 พอขุนรามคาํ แหงมหาราช พอขนุ รามคําแหงมหาราช เปนพระราชโอรสของพอขุนศรีอินทราทิตย (บางกลางทาว) กับนาง เสอื ง มพี ระนามเดมิ วา พระราม เมอ่ื พระชนมายุ 19 พรรษา ไดตามเสด็จพระบิดาไปในการสงครามระหวาง สโุ ขทัย กับเมอื งฉอด ทรงชวยพระบิดาทํายุทธหัตถชี นะขนุ สามชน เจา เมอื งฉอด พระบดิ าจึงเฉลิมพระนาม ใหเ ปน “พระรามคาํ แหง” พระราชกรณียกิจที่สาํ คญั 1. ทรงขยายอาณาเขตออกไปกวางขวางกวา รชั สมยั ใด ๆ และสรางความสัมพันธอันดีกับรัฐใกลเคียง เชน พญาเม็งรายแหง อาณาจักรลา นนา พญางาํ เมืองแหงแควน พะเยา พระเจาฟารวั่ แหงอาณาจักรมอญ

105 2. ทรงประดิษฐตวั อักษรไทยใน พ.ศ. 1826 3. ทรงสงเสริมการคา ทงั้ การคาภายในและการคาภายนอก เชน ใหง ดเวนการเก็บจังกอบหรอื ภาษดี าน 4. ทรงบํารงุ ศาสนา เชน ใหน ิมนตพ ระสงฆนกิ ายเถรวาทแบบลังกาวงศจากนครศรีธรรมราชมาเปน พระสงั ฆราชและริเริม่ การนิมนตพ ระสงฆมาแสดงธรรมในวนั พระ 5. ทรงดแู ลทุกขส ุขของราษฎรอยา งใกลชิด เชน ใหผูเดือดรอนมาสั่นกระด่ิง ถวายฎีกาไดใหทายาท มีสิทธไิ ดร ับมรดกจากพอแมท่เี สยี ชีวติ ไป เปนตน 1.2 พระมหาธรรมราชาท่ี 1 พญาลิไท หรือ พระยาลิไท หรือ พระศรีสุริยพงศรามมหาธรรม-ราชาธิราช หรือพระมหาธรรม ราชาท่ี 1 ทรงเปนพระราชโอรสของพระยาเลอไทและพระราชนัดดา (หลานปู) ของพอขุนรามคําแหง ครองราชย พ.ศ. 1890 แตไมทราบปส้ินสุดรัชสมัยท่ีแนนอน สันนิษฐานวาอยูระหวาง พ.ศ. 1911 – 1966 พระมหาธรรมราชาท่ี 1 ทรงเปนแบบฉบับของกษัตริยในคติธรรมราชา ทรงปกครองบานเมืองและอาณา ประชาราษฎรดวยทศพิธราชธรรม ทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองจนสุโขทัยกลายเปน ศูนยก ลางของพระพทุ ธศาสนาและทรงปฏิบัติพระองคช ักนาํ ชนทงั้ หลายใหพน ทกุ ข หลกั ฐานสําคัญอีกชิ้นหน่ึง ท่ีแสดงวาพระองคมีความรูแตกฉานในพระไตรปฎกเปนอยางดี ไดแก วรรณกรรมเรื่อง ไตรภูมิพระรวง วรรณคดชี ้ินแรกของประเทศไทย เมือ่ ป พ.ศ. 1888 ท่ีทรงนิพนธขึ้นต้ังแตกอนเสวยราชยหลังจากทรงเปน รชั ทายาทครองเมืองศรสี ชั นาลัยอยู 8 ป จงึ เสดจ็ มาครองสโุ ขทัยเม่ือป พ.ศ. 1890 โดยตองใชก ําลังทหารเขามา ยึดอํานาจเพราะท่ีสุโขทัย หลังส้ินรัชกาลพอขุนงัวนําถมแลวเกิดการกบฏการสืบราชบัลลังกไมเปนไปตาม ครรลองครองธรรม พระราชกรณยี กจิ ทสี่ าํ คัญ 1. การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาศูนยรวมจิตใจของคนในชาติ เพราะสุโขทัยหลังรัชสมัยพอขุน รามคําแหงมหาราชแลว บานเมืองแตกแยกแควนหลายแควนในราชอาณาจักรแยกตัวออกหางไป ไมอยูใน บังคบั บญั ชาสโุ ขทยั ตอ ไป 2. พญาลิไททรงคิดจะรวบรวมสุโขทัยใหกลับคืนดังเดิม แตก็ทรงทําไมสําเร็จ นโยบายการปกครอง ทีใ่ ชศาสนาเปน หลักรวมความเปนปกแผนจงึ เปน นโยบายหลักในรชั สมยั นี้ 3. ทรงสรา งเจดียท น่ี ครชมุ (เมอื งกําแพงเพชร) สรา งพระพทุ ธชนิ ราชที่พิษณโุ ลก ทรงออกผนวช เมอื พ.ศ. 1905 การท่ีทรงออกผนวช นับวาทําความม่ันคงใหพุทธศาสนามากขึ้น ดงั กลา วแลว วา หลังรชั สมยั พอ ขุนรามคาํ แหงมหาราชแลว บานเมืองแตกแยกวงการสงฆเองก็แตกแยก แตละ สํานกั แตล ะเมืองก็ปฏิบตั ิแตกตา งกนั ออกไป เม่ือผูนําทรงมีศรัทธาแรงกลาถึงขั้นออกบวช พสกนิกรทั้งหลาย ก็คลอ ยตามหนั มาเลือ่ มใสตามแบบอยางพระองค กิตติศัพทของพระพุทธศาสนาในสุโขทัยจึงเล่ืองลือไปไกล พระสงฆช้ันผูใหญหลายรูปไดออกไปเผยแพรธรรมใสแ ควนตาง ๆ เชน อโยธยา หลวงพระบาง เมืองนาน พระเจากอื นา แหง ลา นนาไทย ไดน ิมนตพระสมณะเถระไปจากสโุ ขทยั เพอื่ เผยแพรธ รรมในเมืองเชียงใหม

106 2. สมยั กรุงศรีอยธุ ยา 2.1 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ เปน พระราชโอรสของสมเดจ็ พระบรมราชาธบิ ดีท่ี 2 (เจา สามพระยา) กับพระราชธิดาของพระมหาธรรมราชาที่ 2 แหงสโุ ขทัย พระองคจงึ เปน เชอ้ื สายราชวงศสพุ รรณบุรแี ละ ราชวงศพระรวง พระรวง ทรงเปน พระมหากษัตรยิ ทีย่ ง่ิ ใหญพ ระองคห นึง่ ของอยุธยา ข้ึนเสวยราชยใน พ.ศ. 1991 เสดจ็ สวรรคตใน พ.ศ. 2031 ทรงอยใู นราชสมบตั ิ 40 ป นับวา นานที่สุด พระราชกรณยี กิจท่ีสาํ คัญ 1. การรวมอาณาจักรสุโขทัยเขากับอยุธยา เม่ือสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถขึ้นเสวยราชยใน พ.ศ. 1991 นั้น ทางสโุ ขทัยไมมพี ระมหาธรรมราชาปกครองแลว คงมีแตพระยายุทธิษเฐียร พระโอรสของพระมหา ธรรมราชาที่ 4 ไดรบั แตงตง้ั จากอยธุ ยาใหไ ปปกครองเมืองพิษณุโลก ถึง พ.ศ. 1994 พระยายุทธิษเฐียรไปเขา กับพระเจาตโิ ลกราชแหงลานนา พระราชมารดาของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถไดปกครองเมืองพิษณุโลก ตอมาจนสิ้นพระชนมเม่ือ พ.ศ. 2006 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถไดเสด็จไปประทับท่ีพิษณุโลกและถือวา อาณาจักรสุโขทัยถูกรวมเขากับอาณาจกั รอยธุ ยานบั ต้งั แตนัน้ เปนตนมา 2.2 สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 2 สมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี 2 เปนพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถครองราชย พ.ศ. 2034 ถงึ พ.ศ. 2072 ใน พ.ศ. 2054 โปรตุเกสไดเขามาติดตอกบั กรงุ ศรีอยธุ ยา นับเปนชาวตะวันตกชาติแรกท่ีเขามาเจริญ สัมพันธไมตรีกับไทย ไทยจึงเริ่มเรียนรูศิลปวิทยาของชาวตะวันตก โดยเฉพาะดานการทหาร ทําใหสมเด็จ- พระรามาธิบดที ี่ 2 ทรงพระราชนพิ นธตําราพชิ ัย-สงครามของไทยไดเ ปน ครง้ั แรก นอกจากนที้ รงใหท ําสารบญั ชี คือ การตรวจสอบจัดทาํ บญั ชีไพรพ ลทัง้ ราชอาณาจกั ร นับเปนการสาํ รวจสาํ มะโนครวั ครง้ั แรก โดยทรงต้ังกรม สุรัสวดใี หมหี นา ทส่ี าํ รวจและคุมบัญชีไพรพ ลทางดานศาสนา สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 2 ทรงสรางวัดพระศรี- สรรเพชญไวใ นเขตพระราชฐาน และใหห ลอพระศรีสรรเพชญ สงู 8 วา หมุ ทองคํา ไวในพระมหาวิหารของวัด ดวย ในรัชสมยั น้ีอยุธยาและลานนายังเปนคูสงครามกันเชนเดิม เน่ืองจากกษัตริยลานนา คือ พระเมืองแกว (ครองราชย พ.ศ. 2038 – 2068) พยายามขยายอาณาเขตลงมาทางใต จนถงึ พ.ศ. 2065 มีการตกลงเปน ไมตรี กนั สงครามจงึ สนิ้ สดุ ลง ทางดานศาสนา สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี 2 ทรงสรา งวดั พระศรสี รรเพชญไวใ นเขตพระราชฐานและใหห ลอ พระศรสี รรเพชญ สูง 8 วา หมุ ทองคาํ ไวใ นพระมหาวหิ ารของวดั ดวย ในรัชสมัยนอี้ ยธุ ยาและลา นนายงั เปนคสู งครามกันเชนเดิม เนื่องจากกษัตริยลานนา คือ พระเมืองแกว (ครองราชย พ.ศ. 2038 - 2068) พยายามขยายอาณาเขตลงมา ทางใต จนถงึ พ.ศ. 2065 มีการตกลงเปน ไมตรกี นั สงครามจึงส้ินสุดลง

107 2.3 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เปน โอรสของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในราชวงศสโุ ขทัยกับพระวิสุทธิ- กษตั รยิ  พระราชธดิ าของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ประสูติเม่ือ พ.ศ. 2098 ที่เมืองพิษณุโลกเม่ือพระชนมายุ ได 9 พรรษา ทรงถกู สง ไปเปน ตัวประกันทีก่ รุงหงสาวดี เพราะพมา ยดึ เมืองพิษณุโลกได ทรงไดรบั การเลี้ยงดใู น ฐานะพระราชบุตรธรรมเปน เวลา 7 ป จน พ.ศ. 2112 กรุงศรอี ยธุ ยาเสียแกพมา พระมหาธรรมราชาไดรับการ สถาปนาขึ้นเปนกษัตริยของกรุงศรีอยุธยาในฐานะเมืองขึ้นของกรุงหงสาวดีและอนุญาตใหพระนเรศวรกลับ กรุงศรีอยุธยา และไดรับการสถาปนาใหเปนเจาเมืองพิษณุโลกและมีตําแหนงอุปราช ระหวางน้ันทรงทํา สงครามกับเขมรและพมา เพ่ือปอ งกนั อยุธยา พระเจา หงสาวดีเห็นดงั นจี้ ึงคิดกําจัดพระนเรศวร แตพระองคท รง ทราบจึงทรงประกาศอิสรภาพที่เมืองแครง รวมเวลาที่กรุงศรีอยุธยาตกอยูภายใตการปกครองของพมา เปนเวลา 15 ป หลังจากประกาศอิสรภาพก็ทรงทําสงครามกับพมาหลายครั้ง และไดกวาดตอนผูคนจาก หัวเมืองฝายเหนือมาไวเปนกําลังไดมาก ตอมาใน พ.ศ. 2133 สมเด็จพระธรรมราชาสวรรคต พระนเรศวร จงึ เสด็จขน้ึ ครองราชยแ ละทรงสถาปนาพระเอกาทศรถพระอนุชาขึ้นเปน พระมหาอปุ ราช พระราชภารกิจของ พระองค ไดแก การทําศึกสงคราม โดยเฉพาะสงครามคร้ังสําคัญ คือ สงครามยุทธหัตถี ที่ทรงรบกับพมา ที่ตาํ บลหนองสาหราย แมแตฝ ายแพก ย็ ังไดร บั การยกยอ งวาเปน นกั รบแท หลงั จากนนั้ ตลอดระยะเวลา 150 ป กรุงศรอี ยธุ ยาไมถูกรกุ รานจากพมาอีก สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชทรงขยายอาณาเขตออกไปอยางกวางขวาง ครอบคลุมท้ังลานนา ลานชาง ไทยใหญ และกัมพูชา รวมถึงพมา คร้ังสุดทาย คือ การเดินทัพไปตีเมือง อังวะ ซ่งึ พระองคป ระชวร และสวรรคตท่ีเมืองหาง ใน พ.ศ. 2148 พระชนมายุได 50 พรรษา เสวยราชสมบัติ ได 15 ป สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเปน วรี กษัตรยิ ท ่ไี ดร ับการจารึกไวในประวัติศาสตรในฐานะผูกอบกู เอกราชใหแ กก รงุ ศรีอยุธยา ประชาชนชาวไทยจงึ ยกยองพระองคใหเ ปน มหาราช พระองคหน่งึ พระราชกรณียกิจท่สี ําคญั 1. การลดสว ยและงดเกบ็ ภาษอี ากรจากราษฎรเปน เวลา 3 ปเศษ 2. การประกาศใชก ฎหมายพระราชกาํ หนดและกฎหมายเพ่ิมเติมลักษณะรับฟอง 3. การสงเสริมงานดา นวรรณกรรม หนังสือท่ีแตงในสมัยน้ี เชน สมุทรโฆษคําฉันท โคลงทศรถสอน พระราม โคลงพาลี-สอนนอง โครงราชสวัสดิ์ เพลงพยากรณกรุงเกา เพลงยาวบางบท รวมถึงวรรณกรรมช้ิน สาํ คัญ คือ โครงเฉลิมพระเกยี รตสิ มเด็จพระนารายณนบั เปน ยุคทองแหง วรรณกรรม ของไทยยุคหนงึ่ 4. การทาํ ศกึ สงครามกบั เชยี งใหมแ ละพมา พ.ศ. 2203 และไดอญั เชิญพระพุทธสหิ งิ ค ลงมาอยธุ ยาดว ย 5. ดา นความสัมพันธก บั ตางประเทศน้นั เจรญิ รุง เรืองมาท้งั ประเทศตะวันออก เชน จีน อินเดีย และ ประเทศตะวนั ตกที่สาํ คัญ ไดแก โปรตุเกส ฮอลันดา อังกฤษ และฝร่ังเศส ท้ังดานการเชื่อมสัมพันธไมตรีและ การปองกนั การคมุ คามจากชาติตาง ๆ เหลา นีจ้ ากพระราชกรณียกิจตาง ๆ ดังกลา ว จึงทรงไดรบั การยกยองวา ทรงเปนมหาราชพระองคหนึ่ง อีกทั้งในรัชสมัยของพระองคยังไดรับการยกยองวาเปนบุคคลสําคัญดาน ศิลปวฒั นธรรมยุคหนึ่งดว ย สมเด็จพระนารายณมหาราชเสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 2231 ที่เมืองลพบุรี ราชธานี ทส่ี องทพ่ี ระองคโปรดเกลา ฯ ใหสรางข้ึน

108 3. สมัยกรุงธนบรุ ี สมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราช มีนามเดมิ วา สิน ประสตู เิ มื่อวันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2277 ในรัชสมัย สมเดจ็ พระเจา อยูหวั บรมโกศ เปน บตุ รของนายไหฮอง และนางนกเอี้ยง เจา พระยาจักรีรบั ไปเปน บุตรบญุ ธรรม ตอมาเขารับราชการจนไดตําแหนงหลวงยกกระบัตรเมืองตาก และเปนเจาเมืองตากคร้ันเม่ือพมาลอมกรุง ใน พ.ศ. 2308 พระยาตากถูกเรียกตัวเขาปองกันพระนครหลวง แตเกิดทอใจวาหากสูกับพมาท่ีอยุธยาตอง เสยี ชีวิตโดยเปลาประโยชนเปนแน จึงพาทัพตีฝาหนีไปตั้งตัวท่ีจันทบูร(จันทรบุรี) พอถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2310 กรุงศรอี ยธุ ยา ก็เสียแกพ มา แตหลังจากนั้น 7 เดือน พระยาตากกไ็ ดยกทัพมาขับไลพ มาออกจากกรุงศรี- อยุธยา ไดท งั้ หมด แตเหน็ วา กรุงศรอี ยุธยาเสียหายมาก จึงสถาปนากรงุ ธนบุรีเปนเมอื งหลวง และประกอบพิธี บรมราชาภิเษกข้นึ ครองราชยใ น พ.ศ. 2310 ทรงพระนามวา สมเดจ็ พระบรมราชาท่ี 4 แตคนทั่วไปนิยมออก พระนามวา สมเด็จพระเจาตากสิน พรอมท้ังพระราชทานนามเมืองวา กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร เหตุท่ีเลือก ธนบรุ เี ปน เมอื งหลวง เนอ่ื งจากทรงเห็นวาธนบุรเี ปน เมืองเล็กปองกันรักษางายอยูใกลปากอาวสะดวกแกการ ติดตอคาขายกบั ตางชาติ และการลาํ เลียงอาวธุ มเี สน ทางคมนาคมสะดวก โดยเฉพาะทางเรือมีแมนํ้าคั่นกลาง เชน เดยี วกบั พษิ ณุโลกและสพุ รรณบุรี เพื่อจะไดใชก องทพั เรือสนับสนุนการรบ และต้งั อยูไมไกลศูนยกลางเดิม มากนกั เปนแหลงรวมขวัญและกําลังใจของผคู น โดยอาศัยมผี ูนาํ ท่เี ขมแขง็ พระราชกรณียกิจที่สําคัญท่ีสดุ การรวบรวมบรรดาหัวเมอื งตา ง ๆ เขาอยภู ายใตการปกครองเดียวกัน เนอ่ื งจากมคี นพยายามตั้งตวั ขึ้น เปนผูนําในทองถ่ินตาง ๆ มากมาย เชน ชุมนุมเจาเมืองพิษณุโลก ชุมนุมเจาเมืองพิมาย ชุมนุมเจาเมือง นครศรธี รรมราช เปน ตน ตลอดรชั กาลมศี ึกสงครามเกดิ ข้นึ มากมาย ไดแ ก ศกึ พมาทบ่ี างกุง ศึกเมืองเขมร ศึกเมืองเชียงใหม ศกึ เมอื งพิชยั ศึกบางแกว ศึกอะแซหวุน กี้ ศกึ จาํ ปาศักดิ์ ศกึ เวยี งจันทน ซึ่งพระเจากรุงธนบุรี ไดรบั ชยั ชนะในการศึกษามาโดยตลอด ในสมัยกรงุ ธนบุรีตอนปลาย 4. สมยั กรงุ รัตนโกสินทร 4.1 พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจฬุ าโลก ในรชั สมยั สมเดจ็ พระเจา อยหู วั บรมโกศ เมอ่ื วนั ท่ี 20 มนี าคม พ.ศ. 2279 พระบิดามพี ระนามเดมิ วา ทองดี พระมารดาชอ่ื หยก เมอ่ื ทรงมีพระชันษา 21 พรรษา ทรงผนวชเปน พระภิกษุ 3 เดอื น เมื่อลาสิกขากท็ รงเขารบั ราชการ ในแผน ดนิ สมเดจ็ พระเจา อทุ มุ พร คร้นั ถงึ แผน ดนิ สมเด็จพระเจา เอกทัศทรงไดร บั ตําแหนงเปน หลวงยกกระบตั ร ประจําเมืองราชบุรี พระองคทรงมีความชํานาญในการรบอยางย่ิง จึงไดรับพระราชทานปูนบําเหน็จความดี ความชอบใหเ ลอื่ นเปน พระราชวรินทร พระยาอภยั รณฤทธิ์ พระยายมราชวา ทีส่ มหุ นายก เจา พระยาจักรี และ ในที่สุดไดเลอ่ื นเปน เจา พระยามหากษัตริยศ ึก มีเคร่อื งยศอยาง เจาตางกรม เม่ือทรงตไี ดเ วยี งจันทร พระองคได

109 อญั เชญิ พระพุทธมหามณรี ัตนปฎมิ ากร (พระแกวมรกต) จากเมืองเวียงจันทนมายังกรุงธนบุรีดวย ตอมาเกิด เหตุจลาจล ขาราชการและประชาชนจงึ อัญเชิญเปนพระมหากษตั รยิ แทนสมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราช พระราชกรณยี กิจทสี่ ําคญั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราชทรงเปน ทั้งนักปกครองและนกั การทหารที่ยอดเยี่ยม ทรงแตง ตงั้ ใหเจา นายท่เี คยผานราชการทพั ศึกมาทาํ หนา ท่ีชว ยในการปกครอง บา นเมอื งโปรดเกลาฯ 1. ใหชําระกฎหมายใหสอดคลองกบั ยคุ สมัยของบานเมอื ง คือ กฎหมายตราสามดวง 2. รวมถึงการชาํ ระพระพุทธศาสนาใหบ รสิ ทุ ธิ์อันเปน เครื่องสงเสริมความมั่นคงของกรุงรตั นโกสินทร 3. นอกจากน้ีพระองคย งั คงทรงสง เสรมิ วฒั นธรรมของชาติ ทัง้ ดานวรรณกรรมที่ทรงแสดงพระปรีชา สามารถในการประพนั ธ โดยพระราชนิพนธ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ บทละครเร่ืองอุณรุท บทละเครื่อง อิเหนา บทละครเรื่องดาหลัง เพลงยาวรบพมาท่ีทาดินแดง นอกจากดานวรรณกรรมแลว พระบาทสมเด็จ- พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราชยงั ทรงสงเสรมิ ศิลปะดานสถาปตยกรรม ประตมิ ากรรม และนาฏกรรม 4. ภายหลังที่ครองกรุงรัตนโกสินทรเพียง 3 ป ไดเกิดศึกพมายกทัพมาตีเมืองไทย พระองคทรงจัด กองทัพตอสูจนทัพพมาแตกพาย ยังความเปนเอกราชใหกับแผนดินไทยมาจนทุกวันนี้ พระบาทสมเด็จ- พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราชทรงเปน พระมหากษตั ริยท่ีทรงมพี ระมหากรุณาธิคุณอยา งลนพน ตอพสกนิกร ชาวไทย เปน มหาราชอีกพระองคหนึ่งในประวัติศาสตรไทย และทรงเปนปฐมบรมกษัตริยแหงราชจักรีวงศ ท่ปี กครองบานเมืองใหเ กิดความสงบสขุ จวบจนปจ จุบนั 4.2 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยูหัว พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยหู ัว มพี ระนามเดมิ วา สมเด็จพระเจา ลกู ยาเธอเจา ฟามงกฎุ เปนพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลานภาลยั รัชกาลที่ 2 กับกรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบ รมราชนิ ี ทรงพระราชสมภาพเมอื่ วนั ที่ 17 ตลุ าคม พ.ศ. 2347 ในรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจุฬา- โลกมหาราชเม่อื พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั จะเสดจ็ สวรรคตนนั้ พระองคม ไิ ดต รัสมอบราชสมบัติ ใหแ กเ จา นายพระองคใด ทปี่ ระชุมพระบรมวงศานวุ งศแ ละขนุ นางผใู หญจึงปรึกษายกราชสมบัติใหแกพระเจา ลูกยาเธอกรมหมืน่ เจษฎาบดนิ ทร ฝา ยเจา มงกุฎซงึ่ ทรงผนวชตามราชประเพณกี อนพระราชบดิ าสวรรค ไมก ี่วัน จงึ ไดดํารงอยูในสมณเพศตอไปถึง 26 พรรษา ทําใหพระองคมีเวลาทรงศึกษาวิชาการตาง ๆ อยางมากมาย โดยเฉพาะภาษาตางประเทศ เปนเหตใุ หทรงทราบเหตุการณโลกภายนอกอยางกระจางแจง ท้ังยังไดเสดจ็ ธดุ งค จารกิ ไปนมสั การปชู นียสถานตามหวั เมอื งหางไกล ท่ีทาํ ใหทรงทราบสภาพความเปนอยขู องราษฎรเปนอยางดี

110 พระราชภารกจิ ท่สี ําคญั 1. การทาํ สนธสิ ญั ญากบั อังกฤษ เพอื่ แลกกับเอกราชของประเทศ ยอมใหตั้งสถานกงสุลมีสิทธิสภาพ นอกราชอาณาเขต ยอมเลกิ ระบบการคาผูกขาดเปน การคาเสรี เก็บภาษขี าเขาในอัตรารอยชกั สาม 2. ทรงปรับปรงุ การรักษาความม่นั คงของประเทศ มีการตง้ั ขาหลวงปกปนพระราชอาณาเขตชายแดน ดานตะวันตกรวมกับอังกฤษ ทรงจางผูเช่ียวชาญชาวยุโรปมาสํารวจทําแผนที่พระราชอาณาเขตชายแดน ดานตะวันออก จางนายทหารยุโรปมาฝกสอนวิชาทหารแบบใหม ทรงใหตอเรือกลไฟข้ึนใชหลายลําและ ผลจากการทําสัญญากบั องั กฤษทําใหเศรษฐกิจเจรญิ รงุ เรืองมาก 3. พระองคจึงขยายพระนครออกไปทางทิศตะวันออก ไดมีการขุดคลองและสรางถนนข้ึนมากมาย เชน คลองผดุงกรุงเกษม คลองภาษเี จรญิ คลองดําเนินสะดวก ถนนเจรญิ กรงุ ถนนบาํ รุงเมือง ถนนเฟอ งนคร 4. ไดเกิดกจิ การแบบตะวนั ตกขน้ึ หลายอยา ง เชน ใชร ถมา เดนิ ทาง มีตกึ แบบฝรง่ั มีโรงสีไฟ โรงเลื่อย จกั ร เปนตน นอกจากน้ียังมีการรับชาวตางประเทศเขามารับราชการ ออกหนังสือราชกิจจานุเบกษา ต้ังโรง กษาปณ ฯลฯ 5. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดพระราชทานเสรีภาพในการนับถือศาสนา เพราะทรง เห็นวาไมม ีผลตอ กจิ การแผนดิน 6. พระองคไดท รงปญ ญตั กิ ฎหมายข้นึ เกือบ 500 ฉบับ ซ่งึ เปนกฎหมายทีเ่ ต็มไปดว ยมนษุ ยธรรม 7. พระองคทรงเปนนักวิทยาศาสตร ทรงยอมรับวิชาการทางตะวันตกมาใช เชน การถายรูป การกอ สราง และงานเครื่องจักร เปนตน ท้ังยังทรงมีพระปรีชาสามารถในดานดาราศาสตร คือ ทรงคํานวณ เวลาเกดิ สุรยิ ุปราคาหมดดวงในประเทศไทย ที่ตําบลหวากอ แขวงเมืองประจวบคีรีขันธ ไดวาจะเกิดข้ึนวันท่ี 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 เวลา 10.32 นาฬิกา เวลาดวงอาทิตยมืดเต็มดวง คือ 6 นาที 46 วินาที และ เหตุการณไ ดเกิดขน้ึ จริงตามที่ทรงคํานวณไวทุกประการ ในการเสด็จไปทอดพระเนตรสุริยุปราคาคร้ังน้ันทําใหพระองคประชวรดวยไขจับส่ันอยางแรง และ เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2411 สิรพิ ระชนมายไุ ด 64 พรรษา รวมเวลาครองราชยได 17 ปเศษ 4.3 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหวั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยูห ัว เปนพระราชโอรสในรชั กาลท่ี 4 และสมเด็จพระเทพศิริน- ทราบรมราชินี พระราชสมภพเมื่อวันท่ี 20 กันยายน พ.ศ. 2396 มีพระนามเดิมวา สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ- เจาฟาจฬุ าลงกรณ ทรงไดรับการศกึ ษาข้นั ตน ในพระบรมมหาราชวงั เมอื่ พระชนมายุ 13 พรรษา ทรงเปนกรม ขุนพนิ ิตประชานาถ เสวยราชยเม่ือวันท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2411

111 ขณะมีพระชนมพรรษาเพียง 15 พรรษา โดยมีเจาพระยาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) เปนผูสําเร็จ ราชการแผน ดิน จนถงึ พ.ศ. 2416 ทรงบรรลุนิตภิ าวะ พระชนมพรรษาครบ 20 พรรษา จึงมีพระราชพิธีบรม- ราชาภเิ ษกคร้ังที่ 2 ทรงครองราชยสมบัตยิ าวนานถึง 42 ป สวรรคตเม่อื วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 พระราชกรณียกิจท่สี ําคญั เพ่ือใหไทยเจริญกาวหนาทัดเทียมอารยประเทศและรอดพนจากภัยจักรวรรดินิยมท่ีกําลังคุมคาม ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตอยูขณะน้นั รัชกาลท่ี 5 ทรงพฒั นาและปรับปรุงประเทศ ทุกดาน เชน การปกครอง ทรงปฎิรูปการปกครองใหมตามอยางตะวันตก แยกการปกครองออกเปน 3 สวน คือ การปกครอง สวนกลาง แบงเปนกระทรวงตาง ๆ การปกครองสวนภูมิภาคโดยระบบเทศาภิบาลและการปกครองสวน ทอ งถ่ินในรูปสขุ าภิบาล กฎหมายและการศาล ใหตั้งกระทรวงยุติธรรมรับผิดชอบศาลยตุ ธิ รรม เปนการแยกอํานาจตลุ าการ ออกจากฝายบริหารเปน ครั้งแรก ยกเลิกจารีตนครบาลที่ใชวิธีโหดรายทารุณในการไตสวนคดีความ ตั้งโรงเรียนกฎหมายข้ึนและ ประกาศใชประมวลกฎหมายลักษณะอาญาอนั เปนประมวลกฎหมายฉบับแรกของไทย การปรับปรุงกฎหมาย และการศาลนีเ้ ปนลูทางทท่ี ําใหป ระเทศไทยสามารถแกปญ หาสทิ ธิสภาพนอกอาณาเขตไดใ นภายหลงั สังคมและวฒั นธรรม ทรงยกเลิกระบบทาสและระบบไพร ใหประชาชนมีอิสระในการดํารงชีวิต ยกเลิกประเพณีท่ีลาสมัย และรบั เอาวฒั นธรรมตะวนั ตกเขา มา การเงนิ การธนาคารและการคลัง ผลจากการทําสนธสิ ญั ญาเบาวร งิ ในสมัยรชั กาลที่ 4 ทําใหเศรษฐกจิ การคาขยายตวั มชี าวตา งประเทศ เขา มาทาํ กจิ การในประเทศไทยมากข้นึ รัชกาลท่ี 5 จึงใหออกใชธนบัตรและมีการกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนท่ี แนนอนเปน คร้ังแรก ทรงอนญุ าตใหธนาคารพาณชิ ยข องตางประเทศเขามาตั้งสาขาและสนับสนุนใหคนไทย ตัง้ ธนาคารพาณชิ ยขนึ้ ในดา นการคลงั มกี ารจดั ทาํ งบประมาณแผนดนิ เปนคร้ังแรก และปรบั ปรุงระบบจัดเก็บ ภาษอี ากรใหม ีประสิทธิภาพขน้ึ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว ทรงมีพระกรุณาธิคุณตอประชาชนชาวไทยและประเทศ ไทยอยางใหญหลวง จึงทรงไดรับพระราชสมัญญาวา พระปยมหาราชอันหมายถึงวา ทรงเปนที่รักย่ิงของ ปวงชนชาวไทย และในโอกาสครบรอบ 150 พรรษาแหงวันคลายวันพระราชสมภพ วันท่ี 20 กันยายน พ.ศ.

112 2546 องคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ หรือยูเนสโก (UNESCO) ไดประกาศ ยกยองใหพระองคเปนบุคคลสําคัญและมีผลงานดีเดนของโลกทางสาขาการศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร มนุษยวทิ ยา การพัฒนาสังคม และส่ือสาร 4.4 สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เปนพระโอรสในรัชกาลที่ 4 กับเจาจอม มารดาชุม มีพระนามเดิมวา พระองคเจาดิศวรกุมาร ประสูติเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 ทรงไดรับ การศึกษาเบ้ืองตนในพระบรมมหาราชวัง ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดรับการสถาปนาเปนกรมหมื่นดํารง ราชานุภาพ แลวเลื่อนเปนกรมหลวง ตอมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ไดเล่ือนข้ึนเปนกรมพระยา และเมื่อถึงสมัย รัชกาลท่ี 7 ไดรับการสถาปนาเปน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ สมเด็จฯกรม พระยาดํารงราชานุภาพทรงเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาบานเมือง โดยเฉพาะการปฏิรูปประเทศในสมัย รัชกาลที่ 5 ทรงปฏิบัตหิ นาที่ราชการดานความวิรยิ ะอุตสาหะ มคี วามรอบรู มคี วามซื่อสัตย และจงรักภักดีตอ พระมหากษตั ริยท กุ พระองค กรณยี กิจทีส่ าํ คญั การศึกษา ใน พ.ศ. 2423 ทรงไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงผูบังคับการกรมทหารมหาดเล็ก จึงเกี่ยวของกับ การศึกษามาตงั้ แตนนั้ เนอื่ งจากมีการต้งั โรงเรียนทหารมหาดเลก็ ขึ้นในกรมทหารมหาดเล็ก ตอมาเปล่ียนเปน โรงเรียนเรียนพลเรือน จนถงึ พ.ศ. 2433 ทรงเปนอธิบดกี รมศึกษาธิการและกํากับกรมธรรมการ จึงปรับปรุง งานดานการศกึ ษาใหทนั สมัย เชน กําหนดจุดมุง หมายทางการศกึ ษาใหสอดคลองกบั ความตองการของประเทศ คือ ฝกคนเพ่ือเขารับราชการกําหนดหลักสูตร เวลาเรียนใหเปนแบบสากล ทรงนิพนธแบบเรียนเร็วข้ึนใช เพ่ือสอนใหอานไดภายใน 3 เดือน มีการตรวจคัดเลือกหนังสือเรียน กําหนดแนวปฏิบัติราชการในกรม ธรรมการและริเร่มิ ขยายการศกึ ษาออกไปสูร าษฎรสามญั ชน เปนตน การปกครอง ทรงตาํ แหนง เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยคนแรกเปน เวลานานถึง 23 ป ติดตอกันตั้งแตพ.ศ. 2435 – 2458 ทรงมีบทบาทสําคัญในการวางรากฐานระบบการบริหารราชการแผนดินสวนภูมิภาพในแนวใหม โดยยกเลกิ การปกครองท่ีเรยี กวา ระบบกินเมอื ง ซึง่ ใหอาํ นาจเจาเมืองมาก มาเปน การรวมเมอื งใกลเ คียงกันตั้ง เปนมณฑล และสงขา หลวงเทศาภบิ าลไปปกครองและจายเงินเดือนใหพ อเล้ยี งชีพ ระบบนี้เปนระบบการรวม อํานาจเขาสศู ูนยก ลาง นอกจากนมี้ กี ารตง้ั หนว ยงานใหมขึ้นในกระทรวงมหาดไทย เพ่ือทําหนาท่ีดูแลทุกขสุข ราษฎร เชน กรมตํารวจ กรมปาไม กรมพยาบาล เปนตน ตลอดเวลาท่ีทรงดูแลงานมหาดไทย ทรงให ความสําคัญแกการตรวจราชการเปนอยางมาก เพราะตองการเห็นสภาพเปนอยูที่แทจริงของราษฎรดูการ ทาํ งานของขา ราชการ และเปน ขวัญกาํ ลงั ใจแกข า ราชการหัวเมืองดว ย

113 งานพระนิพนธ ทรงนิพนธงานดานประวัตศิ าสตรโ บราณคดี และศิลปวฒั นธรรมไวเปนจํานวนมาก ทรงใชวิธีสมัยใหม ในการศึกษาคนควาประวัติศาสตรและโบราณคดี จนไดรับการยกยองวาเปนบิดาทางโบราณคดีและ ประวตั ิศาสตรไทย สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพทรงลาออกจากตําแหนง เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย เมอ่ื พ.ศ. 2458 ในสมัยรัชกาลที่ 6 เนอื่ งจากมปี ญ หาดา นสขุ ภาพ แตต อมาเสดจ็ กลบั เขารับราชการอีกคร้ังใน ตาํ แหนง เสนาบดีมุรธาธร และเม่ือถึงสมัยรัชกาลท่ี 7 ทรงดํารงตําแหนงอภิรัฐมนตรี งานสําคัญอื่น ๆ ที่ทรง วางรากฐานไว ไดแก หอสมุดสาํ หรบั พระนคร และงานดานพิพธิ ภัณฑแ ละหอจดหมายเหตุ สมเด็จฯกรม พระยาดํารงราชานุภาพส้ินพระชนมเม่ือ พ.ศ. 2486 ทรงเปนตนราชสกุล ดิศกุล ใน พ.ศ. 2505 ยูเนสโก ประกาศยกยองพระองคใหเปนผูมีผลงานดีเดนทางดานวัฒนธรรมระดับโลก นับเปนคนไทยคนแรกท่ีไดรับ เกียรติ 4.5 สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเธอ เจา ฟากรมพระยานรศิ รานุวัดติวงศ สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เปนเจาฟาผูทรงพระปรีชาสามารถ ในวิชาการหลายแขนง ทรงเปนปราชญทางอักษรศาสตร ประวัติศาสตร ดนตรี และงานชาง พระองคมีพระ นามเดมิ วา พระองคเจา จติ รเจรญิ เปนพระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูหัว กับหมอมเจา หญงิ พรรณราย ประสตู ทิ ตี่ ําหนกั ในพระบรมมหาราชวงั เมื่อวนั ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2406 ทรงไดรบั การศกึ ษา ขั้นตนที่โรงเรยี นเตรียมทหาร จากนน้ั ผนวชเปนสามเณรอยูทวี่ ดั บวรนเิ วศวิหาร หลงั จากนั้นทรงศึกษาวิชาการ ตา ง ๆ และราชประเพณี ครนั้ ลาผนวชแลว ทรงรบั ราชการในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัวทรงมี พระสติปญญารอบรู เปนท่ีวางพระราชหฤทัยจนไดรับพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเล่ือนพระอิสริยยศเปน พระเจานองยาเธอเจาฟากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ ทรงรับราชการในตําแหนงสําคัญ อยูหลายหนวยงาน เพ่อื วางรากฐานในการบริหารราชการใหม น่ั คง ทงั้ กระทรวงโยธาธกิ าร กระทรวงพระคลัง และกระทรวงวัง ใน พ.ศ. 2452 ทรงกราบบังคมลาออกจากราชการ เนื่องจากประชวร ดวยโรคพระหทัยโต ทรงปลกู ตําหนกั อยทู ี่คลองเตย และเรยี กตาํ หนักน้ีวา บานปลายเนิน คร้ันเมื่อรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเลื่อนพระอิสริยยศเปน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรม พระนริศรานุวดั ตวิ งศ และโปรดเกลาฯ ใหทรงกลับเขารับราชการอีกครั้งหนึ่ง จนกระท่ังมีการเปลี่ยนแปลง การปกครอง จงึ ทรงพนจากตําแหนง ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (รัชกาลที่ 8) ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหเ ลือ่ นกรมขน้ึ เปน สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟา กรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศใ นบน้ั ปลายพระชนมท รงประทบั ท่ีบา นปลายเนินจนส้นิ พระชนมลงเมอ่ื วันที่ 10 มนี าคม พ.ศ. 2490 พระชนั ษา 83 ป ทรงเปน ตน ราชสกุล จติ รพงศ สมเดจ็ ฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงมีพระปรีชาสามารถในงานชางหลายแขนง ไดทรง งานออกแบบไวเปนจํานวนมาก ทั้งงานภาพเขียนในวรรณคดี ภาพประดับผนัง พระราชลัญจกรและตรา สัญลักษณตาง ๆ ตาลปต ร ตลอดจนสถาปต ยกรรม ซึ่งเปน ทร่ี ูจกั แพรห ลาย เชน พระอุโบสถวดั เบญจมบพิตร-

114 ดุสิตวนาราม พระอุโบสถวัดราชาธิวาส พระอโุ บสถวัดพระปฐมเจดีย ฯลฯ ดวยพระปรีชาสามารถทางดานงาน ชา งนี้เอง ทาํ ใหทรงไดร ับพระสมัญญานามวา นายชา งใหญแหงกรุงสยาม นอกจากน้ียงั ทรงพระปรชี าสามารถทางดา นดนตรี ทรงพระนิพนธเพลงเขมรไทรโยค เพลงตับนิทรา ชาครติ เพลงตบั จลู ง ฯลฯ สว นดา นวรรณกรรมทรงมีลายพระหัตถโ ตตอบกับสมเด็จฯ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ซึ่งภายหลังไดกลายเปนเอกสารที่มีคุณคาดานประวัติศาสตรโบราณคดี ศิลปวัฒนธรรมประเพณีและอักษร ศาสตร ท่ีรูจักกันท่ัวไปในนาม สาสนสมเด็จ ความท่ีสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงพระปรีชาสามารถในวิชาการหลายแขนง จึงมิไดเปนบุคคลสําคัญของชาติไทยเทาน้ัน หากแตทรงเปน บุคคลที่ชาวโลกพึงรูจัก โดยใน พ.ศ. 2506 อันเปนวาระครบรอยปแหงวันประสูติ ยูเนสโกไดประกาศให พระองคเ ปน บุคคลสาํ คญั ของโลกพระองคหน่ึง 4.6 ขรวั อนิ โขง ขรวั อินโขง เปนช่อื เรียกพระอาจารยอ ิน ซง่ึ เปนจิตรกรในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยหู ัว ขรวั อนิ โขง เปนชาวบางจาน จังหวัดเพชรบุรี บวชอยูจนตลอดชีวิตที่วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) กรุงเทพฯการท่ี ทานบวชมานานจงึ เรยี กวา ขรวั สวนคาํ วา โขง นั้นเกิดจากทานบวชเปนเณรอยูนานจนใคร ๆ พากันเรียกวา อนิ โขง ซง่ึ คาํ วา โขง หรือ โคง หมายถงึ ใหญหรือโตเกินวยั นนั้ เอง ขรัวอินโขง เปนชางเขียนไทยคนแรกท่ีมีความรูในการเขียนภาพทั้งแบบไทยท่ีนิยมเขียนกันมา แตโ บราณ และทง้ั แบบตะวนั ตกดวย นับเปนจิตรกรคนแรกของไทยที่มีพัฒนาการเขียนรูปจิตรกรรมฝาผนัง โดยการนาํ ทฤษฎีการเขียนภาพแบบสามมิติแบบตะวนั ตกเขามาเผยแพรใ นงานจติ รกรรมของไทยยคุ น้นั ภาพตา ง ๆ ทีข่ รวั อนิ โขง เขียนจงึ มีแสง เงา มคี วามลกึ และเหมอื นจรงิ ผลงานของขรวั อนิ โขงเปนทีโ่ ปรดปรานของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยหู วั มากเคยโปรดเกลาฯ ใหเ ขยี นรูปตาง ๆ ตามแนวตะวันตกไวทีพ่ ระอุโบสถวัดบวรนเิ วศวหิ าร ซ่งึ เปน ภาพเขียนแรก ๆ ของขรัวอินโขง นอกจากนัน้ มภี าพเหมือนพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาท่หี อพระราชกรมานสุ รณ ภาพของขรัวอนิ โขง เทา ท่มี ปี รากฏหลกั ฐานและมกี ารกลาวอางถึง อาทิ ภาพเขียนชาดก เร่ืองพระยา ชางเผือก ที่ผนังพระอโุ บสถ และภาพสภุ าษติ ท่ีหนา ตางพระอโุ บสถวดั พระศรีรตั นศาสดาราม ภาพพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทรใ นหอพระราชพงศานสุ รณในพระบรมมหาราชวัง ภาพปริศนาธรรมทีผ่ นังพระอโุ บสถวัดบรม นิวาส ภาพพระบรมรปู รชั กาลท่ี 4 ฯลฯ ภาพเขียนจากฝมือขรัวอินโขงเหลานี้ มีเอกลักษณเฉพาะตัว โดดเดน แปลกตา ใชสีเขมและสีออน แตกตางจากงานจิตรกรรมที่เคยเขียนกันมาในยุคนั้น ทําใหเกิดรูปแบบใหมของงานจิตรกรรมในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวท่ีเรียกกันวา จิตรกรรมสกุลชางขรัวอินโขงท่ีเปนตนกําเนิดของงาน จติ รกรรมไทยในยุคตอ ๆ มา

115 4.7 สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนชี ทรงมีพระนามเดิมวา สังวาล ตะละภัฏ พระราชราชสมภพ เมอื่ วันอาทิตยท ี่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ทรงเปนบุตรคนที่ 3 ในพระชนกชู และพระชนนีคํา ทรงมีพระภคินี และพระเชษฐา 2 คนซึง่ ไดถ งึ แกกรรมตง้ั แตเยาววยั คงเหลอื แตพระอนชุ าออ นกวา พระองค 2 ป คอื คุณถมยา สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนีอภเิ ษกสมรสกบั สมเด็จเจาฟา ฯ กรมขนุ สงขลานครนิ ทร ไดประสตู ิพระโอรสและพระธิดา ดงั น้ี 1. หมอ มเจา กลั ยาณิวัฒนามหดิ ล ภายหลงั ทรงไดร บั การสถาปนาพระอิสริยศกั ด์ิ เปน สมเดจ็ พระเจา - พ่นี างเธอ เจา ฟา กัลยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร 2. หมอมเจาอานนั ทมหดิ ล (รชั กาลที่ 8) 3. พระวรวงศเธอพระองคเจา ภูมิพลอดุลยเดช (รชั กาลท่ี 9) พระราชกรณยี กจิ ท่สี าํ คัญ การแพทย พยาบาล การสาธารณสขุ และการศึกษา สมเดจ็ ยาทรงจดั ตงั้ หนวยและมลู นธิ ทิ ีส่ าํ คญั ข้นึ ดังน้ี 1. หนว ยแพทยอาสาสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) เปนหนวยแพทยอาสาเคล่ือนท่ี ท่เี ดนิ ไปในถิ่นทรุ กันดาร ประกอบดว ย แพทย ทนั ตแพทย เภสัชกร พยาบาล เจาหนาทีส่ าธารณสขุ และสมาชิก สมทบอกี คณะหนงึ่ ซง่ึ ไมไ ดรบั สิง่ ตอบแทนและเบี้ยเลี้ยง เงินเดอื น 2. มลู นิธขิ าเทยี ม จดั ต้งั เมือ่ 17 สงิ หาคม พ.ศ. 2535 3. มูลนิธิถนั ยรักษ ท่โี รงพยาบาลศริ ริ าช จัดตงั้ เม่อื เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2538 เพอ่ื ใชเ ปน สถานที่ตรวจ วนิ ิจฉัยเตา นม 4. ทรงบริจาคเงนิ เพอ่ื สรางโรงเรียนกวา 185 โรงเรียน และทรงรบั เอาโครงการของโรงเรียนตํารวจ ตระเวนชายแดนไวใ นพระราชูปถัมภ การอนุรกั ษธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ ม สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเปนพระราชวงศที่โปรดธรรมชาติมาก ทรงสราง พระตําหนักดอยตุง ข้ึนบริเวณดอยตุง เนื้อที่ 29 ไร 3 งาน ท่ีบานอีกอปากลวย อําเภอแมฟาหลวง จังหวัด เชียงราย ดวยพระราชทรัพยสวนพระองคเอง ในพื้นที่เชาของกรมปาไมเปนเวลานาน 30 ป มีความสูงกวา ระดับน้ําทะเลประมาณ 1,000 เมตร โดยทรงเรียกพระตําหนักน้ีวา บานท่ีดอยตุง ทรงพัฒนาดอยตุงและ สงเสริมงานใหช าวเขาอกี ดวย ดงั นี้ 1. โครงการพัฒนาดอยตงุ เมื่อป พ.ศ. 2531 2. ทรงพระราชทานกลา ไมแกผูตามเสดจ็ และทรงปลกู ปา ดวยพระองคเอง 3. ทรงนําเมลด็ กาแฟพนั ธุอาราบกิ า และไมด อกมาปลูก 4. โครงการขยายพนั ธโุ ดยวิธีเพาะเลย้ี งเน้ือเยอื่ หนอไมฝรง่ั กลวย กลวยไม เห็ดหลนิ จอื สตรอเบอรรี่

116 5. จดั ตัง้ ศูนยบําบดั และฟนฟูสมรรถภาพผตู ดิ ยาเสพติด ทีบ่ า นผาหมี ตําบลเวียงพางคาํ อาํ เภอ แมสาย จงั หวัดเชียงราย จากพระราชอุตสาหะดังกลาว และโครงการที่ยังมิไดนําเสนอขึ้นมาขางตนนี้ ยอดดอย ที่เคยหัวโลน ดวยการถางปา ทําไรเล่ือนลอยปลูกฝน จึงไดกลับกลายมาเปนดอยท่ีเต็มไปดวยปาไมตามเดิม ดวยเหตุน้ี พระองคจึงทรงไดรบั ขนานนามวา สมเดจ็ ยาแมฟ าหลวงของชาวไทย ในวนั อังคารท่ี 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงไดเสด็จสวรรคต แตพ ระเกยี รติคณุ และพระมหากรณุ าธคิ ุณ ที่ทรงปรารถนาใหชาวไทยมีความสุข ยังคงสถิตถาวรอยูในความ ทรงจําของพสกนิกรทั่วไทยตลอดกาล และในวันท่ี 21 ตุลาคม พ.ศ. 2543 เปนวันคลายวันพระราชสมภพ ครบรอบ 100 ป องคการวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก ไดเฉลิมพระเกียรติ ยกยองใหส มเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนีทรงเปน “บคุ คลสาํ คัญของโลก” 4.8 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระราชโอรสพระองคเล็กในสมเด็จเจาฟามหิดล อดลุ ยเดช กรมขนุ สงขลานครนิ ทร และหมอ มสงั วาล ประสูติ ณ โรงพยาบาลเมานทออเบรน เมืองเคมบริดจ รฐั แมสสาซเู สตต ประเทศสหรัฐอเมรกิ า วันที่ 5 ธนั วาคม 2570 ตรงกบั วันจันทร เดอื นอาย ขึ้น 12 คํ่า ปเถาะ เหตทุ ีป่ ระสตู ิทอี่ เมรกิ าเพราะขณะนน้ั พระบรมราชนกเสด็จทรงศกึ ษาและปฏิบัติหนาทรี่ าชการในตางประเทศ ทรงเปนพระมหากษัตรยิ ร ชั กาลที่ 9 แหง ราชวงศจ กั รี เสดจ็ ขึน้ ครองราชยตั้งแตวนั ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 และเสด็จสวรรคตในวันท่ี 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ทรงอยูในราชสมบัติ เปนระยะเวลา 70 ป ทรงพระสถานะเปนประมขุ แหงรัฐตามบทบัญญตั ิของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พระองคทรงไดรับการถวายพระราชสมัญญาวา “สมเด็จพระภัทรมหาราช” ซึ่งมีความหมายวา “พระมหากษัตริยผูประเสริฐยิ่ง” ตอมาไดมีการถวายพระราชสมัญญาใหมวา “พระบาทสมเด็จ- พระเจา อยหู วั ภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช” เมอ่ื พ.ศ. 2530 และ“พระภูมิพลมหาราช” อนุโลมตามธรรมเนียม เชนเดียวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) ท่ีทรงไดรับพระราชสมัญญาวา “พระปยมหาราช” อนึ่ง ประชาชนท่ัวไปนิยมเรียกพระองควา “ในหลวง” คําดังกลาวคาดวายอมาจาก “ใน (พระบรมมหาราชวัง) หลวง” บา งก็วาเพี้ยนมาจากคําวา “นายหลวง” ซึ่งแปลวา เจา นายผเู ปนใหญ ทัง้ นี้ ทรงเปนพระมหากษตั รยิ ทีท่ รงอยูใ นตําแหนงยาวนานที่สุดในโลก และเสวยราชยยาวนานท่ีสุด ในประวัติศาสตรชาตไิ ทยดวยเชนกัน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ทรงหมน้ั กับ ม.ร.ว. สริ กิ ิติ์ เม่ือวันท่ี 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 เสด็จพระราชดําเนินนวิ ตั พระนครในปถัดมา โดยประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ตอมาวันท่ี 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดเกลาฯ ใหจัดการพระราชพิธี- ราชาภิเษกสมรสกับหมอมราชวงศสิริกิติ์ กิติยากร ณ พระตําหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจาในวังสระปทุม ซึ่งในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสน้ี มีพระบรมราชโองการ โปรดเกลา ฯ ใหสถาปนาหมอ มราชวงศห ญงิ สริ กิ ิติ์ กติ ิยากร ข้นึ เปน สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ วันท่ี 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงพระกรณุ าโปรดเกลากระหมอ มใหตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษกตามแบบอยางโบราณราช

117 ประเพณขี ึ้น ณ พระท่นี ง่ั ไพศาลทกั ษิณเฉลิมพระปรมาภไิ ธยตามทีจ่ ารกึ ในพระสพุ รรณบฏั วา พระบาทสมเดจ็ - พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถ- บพิตร พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการวา “เราจะครองแผน ดนิ โดยธรรม เพ่ือประโยชนสุขแหงมหาชน ชาวสยาม” และในโอกาสนี้ มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหเ ฉลมิ พระนามาภไิ ธย สมเดจ็ พระราชินีสิริกติ ์ิ เปนสมเด็จพระนางเจาสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินี พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชและสมเดจ็ พระนางเจาสริ ิกติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชโอรส และพระราชธดิ าดว ยกันสี่พระองคตามลําดับดังตอไปนี้ 1. ทูลกระหมอ มหญงิ อบุ ลรตั นราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม : สมเดจ็ พระเจา ลกู เธอ เจา ฟา อบุ ลรัตนราชกญั ญา สิรวิ ัฒนาพรรณวดี ประสตู ิ 5 เมษายน 2494 สถานพยาบาล มงตช ัวชี เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอรแลนด) สมเด็จพระเจาลูกเธอพระองคน้ีไดทรงลาออกจากฐานันดรศักด์ิแหงพระราชวงศ โดยมพี ระโอรสหนึง่ องคและพระธดิ าสององค ทั้งนี้ คาํ วา “ทูลกระหมอมหญิง” เปนคําเรียกพระราชวงศที่มี พระชนนเี ปนสมเด็จพระบรมราชินี 2. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกฎราชกุมาร (พระนามเดิม : สมเดจ็ พระเจาลกู ยาเธอ เจาฟาวชริ าลงกรณ บรมจักรยาดศิ รสนั ตตวิ งศ เทเวศรธํารงสุบรบิ าล อภิคุณูประการ มหติ ตลาดุลเดช ภูมิพลนเรสวรางกูร กิตติสริ ิสมบรู ณสวางควัฒน บรมขัตติยราชกุมาร; ประสูติ: 28 กรกฎาคม 2495, พระทนี่ ั่งอมั พรสถาน) 3. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจาฟา มหาจกั รีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปยชาติ สยามบรมราชกุมารี (พระนามเดิม: สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย; ประสูติ:2 เมษายน 2498, พระที่นั่งอัมพรสถาน)

118 4. สมเดจ็ พระเจาลูกเธอ เจา ฟา จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ อคั รราชกุมารี (ประสูติ: 4 กรกฎาคม 2500, พระทีน่ งั่ อัมพรสถาน) พระราชกรณียกิจ พระราชนพิ นธ และผลงานอน่ื โดยสังเขป ทรงประกอบพระราชกรณยี กจิ ท่ีถงึ พรอมทงั้ ความบรสิ ุทธิ์บรบิ รู ณ จึงเปน ชวงเวลา 60 ป ทพี่ สกนิกร ชาวไทยอยูไดอยางรมเย็นเปน สขุ ภายใตรม พระบารมี พระราชกรณียกจิ ทั้งหลายท่ีพระองค ทรงบาํ เพญ็ นับเปน พระมหากรุณาธคิ ุณอยางหา ทส่ี ุดไมไดท พี่ ระองคทรงมตี อประเทศชาตแิ ละ ประชาชนชาวไทย ดงั พระราชกรณียกจิ และ พระราชนพิ นธ ดังน้ี มลู นธิ ิชยั พัฒนา มูลนิธิโครงการหลวง โครงการสว นพระองคสวนจิตรลดา โครงการหลวงอางขาง โครงการปลูกปาถาวร โครงการแกมลงิ โครงการฝนหลวง โครงการสารานกุ รมไทยสําหรบั เยาวชน โครงการแกลง ดนิ กังหันชยั พฒั นา แนวพระราชดาํ ริ ผลติ แกสโซฮอลในโครงการสว นพระองค (พ.ศ. 2528) แนวพระราชดาํ ริ เศรษฐกิจพอเพยี ง เพลงพระราชนพิ นธ พระสมเดจ็ จติ รลดา พระเกยี รติยศ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ทรงไดรับการทลู เกลาฯ ถวายรางวลั และเกยี รติยศ ตา ง ๆ มากมาย ทง้ั จากบุคคลและคุณบคุ คลในประเทศและตา งประเทศ อนั เนอื่ งมาจากพระราชกรณยี กิจและ พระราชอัธยาศยั ในการแสวงหาความรู ท่ีสาํ คญั เปน ตน วา ประธานรฐั สภายโุ รปและสมาชกิ รวมกันทูลเกลาฯ ถวาย “เหรยี ญรัฐสภายุโรป” (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2519) ประธานคณะกรรมมาธกิ ารเพื่อสนั ตภิ าพของสมาคมอธกิ ารบดีระหวา งประเทศ ทูลเกลา ฯ ถวาย “รางวลั สันติภาพ” (9 กันยายน พ.ศ. 2529)

119 สถาบนั เทคโนโลยีแหง เอเชีย ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญทองเฉลิมพระเกียรติคุณ ในการนําชนบทให พฒั นา” (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) ผอู าํ นวยการใหญโ ครงการสง่ิ แวดลอ มแหงสหประชาชาติ (UNEP) ทูลเกลา ฯถวาย “เหรยี ญทองประกาศ พระเกียรตคิ ุณดานสงิ่ แวดลอ ม” (4 พฤจิกายน พ.ศ. 2535) ผอู ํานวยการใหญองคก ารอนามยั โลก (WHO) ทูลเกลา ฯ ถวาย “เหรียญทองสาธารณสุขเพอ่ื มวลชน” (24 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2535) คณะกรรมการสมาคมนิเวศวิทยาเชิงเคมีสากล (International Society of Chemical Ecology) ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญรางวลั เทิดพระเกียรติในการสงวนรักษาความหลายหลายทางชีวภาพ” (26 มกราคม พ.ศ. 2536) หวั หนา สาขาเกษตร ฝา ยวิชาการภมู ภิ าคเอเชยี ของธนาคารโลก ทูลเกลา ฯ ถวาย “รางวลั หญาแฝกชบุ สาํ ริด” สดดุ ีพระเกียรตคิ ณุ ในฐานะทที่ รงเปนนกั อนุรกั ษด นิ และน้ํา (30 ตุลาคม พ.ศ. 2536) ผูอาํ นวยการบริหารของยูเอ็นดีซีพี (UNDCP) แหงสหประชาชาติ ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญทองคํา สดุดีพระเกียรตคิ ุณดานการปอ งกนั แกไ ขปญหายาเสพติด” (12 ธันวาคม พ.ศ. 2537) องคก ารอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญสดุดีพระเกียรติคุณ ในดานการพฒั นาการเกษตร” (6 ธันวาคม พ.ศ. 2539) สํานกั งานโครงการพัฒนาแหง สหประชาชาติ (UNDP) ทลู เกลาฯ ถวาย “รางวลั ความสําเรจ็ สงู สุดดาน การพฒั นามนษุ ย” จากการท่ีไดทรงอุทิศกําลังพระวรกายและทรงพระวิริยะอุตสาหะในการปฏิบัติพระราช กรณยี กิจนอยใหญนานปั การ เพ่อื ยังประโยชนและความเจรญิ อยา งยัง่ ยนื มาสปู ระชาชนชาวไทยท้งั ประเทศมา โดยตลอด (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2549) ในป พ.ศ. 2550 องคการทรัพยสินทางปญญาโลก (World Intellectual Property Organization- WIPO) แถลงขาวการทลู เกลาฯ ถวาย “เหรียญรางวัลผูนําโลกดานทรัพยสินทางปญญา” (Global Leaders Award) โดยนายฟรานซิส เกอรรี่ ผูอํานวยการใหญเปนผูนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย ณ พระราชวังไกลกังวล ในวันท่ี 14 มกราคม 2552 เพ่ือเทดิ พระเกยี รติทที่ รงมบี ทบาทและผลดา นทรพั ยสินทางปญญาทีโ่ ดดเดน ทั้งน้ี พระองคท รงเปน ผนู าํ โลกคนแรกทไ่ี ดรับการทลู เกลา ฯ ถวายเหรยี ญรางวัลดังกลาว 4.9 พระยากัลยาณไมตรี (ดร.ฟรานซสิ บี แซร) Dr. Francis Bowes Sayre ดร.ฟรานซสิ บี.แซร เปน ชาวตะวนั ตกคนที่ 2 ท่ีไดร ับพระราชทานบรรดาศกั ดเ์ิ ปน พระยากัลยาณไมตรี ชาวตะวันตก คนแรกท่ีเปนพระยากัลยาณไมตรี มีนามเดิมวา เจนสไอเวอรสันเวสเตนการด (Jens Iverson Westengard) เกิดเม่ือ พ.ศ. 2428 ท่ีมลรัฐเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกาสําเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย ฮารวารด เขามารบั ราชการในประเทศไทยในสมยั รัชกาลที่ 5 - 6 โดยใน พ.ศ. 2446-2451 เปน ผูช ว ยที่ปรึกษา ราชการแผนดนิ หลงั จากนนั้ เปนทปี่ รกึ ษาราชการแผน ดินจนถงึ พ.ศ. 2458 จงึ กราบถวายบังคมลาออกกลับไป สหรัฐอเมรกิ า เวสเตนการดไดรบั พระราชทานบรรดาศักด์ิเปน พระยากลั ยาณไมตรีเมอ่ื พ.ศ. 2454 ดร.แซร มีบทบาทสําคัญในการปลดเปลื้องขอผูกพันตามสนธิสัญญาเบาวริงท่ีไทยทําไวกับประเทศ องั กฤษในสมัยรชั กาลท่ี 4 และสนธิสัญญาลักษณะเดียวกันที่ไทยทําไวกับประเทศอื่น ซ่ึงฝายไทยเสียเปรียบ

120 มากในเร่ืองที่คนในบงั คบั ตา งชาตไิ มตองข้นึ ศาลไทย และไทยจะเก็บภาษีจากตางประเทศเกินรอยละ 3 ไมได ประเทศไทยพยายามหาทางแกไขสนธิสัญญาเสียเปรียบน้ีมาโดยตลอด ต้ังแตสมัยรัชกาลท่ี 5 มาจนถึงสมัย รัชกาลที่ 6 ปรากฏวามีเพียง 2 ประเทศที่ยอมแกไขให โดยมีขอแมบางประการ ไดแก สหรัฐอเมริกาเปน ประเทศแรกทย่ี อมแกไ ขใน พ.ศ. 2436 และญีป่ นุ ยอมแกไ ขใน พ.ศ. 2466 เมื่อ ดร.แซร เขามาประเทศไทยแลว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงแตงตั้งใหเปน ผแู ทนประเทศไทยไปเจรจาขอแกไขสนธิสัญญากับประเทศในยุโรป ดร.แซร เร่ิมออกเดินทางไปปฏิบัติงาน ใน พ.ศ. 2467 การเจรจาเปนไปอยา งยากลาํ บาก โดยเฉพาะอยา งย่ิงการเจรจากบั อังกฤษ และฝร่งั เศสซงึ่ ตา งก็ พยายามรักษาผลประโยชนข องตนเต็มที่ แตเ น่อื งจาก ดร.แซร เปน ผูมีวิรยิ ะอุตสาหะ มีความสามารถทางการ ทูต และมีความต้ังใจดีตอประเทศไทย ประกอบกับสถานภาพสวนตัวของ ดร.แซร ท่ีเปนบุตรเขยของ ประธานาธิบดวี ูดโรว วิสสนั แหงสหรฐั อเมริกา จึงทําใหการเจรจาประสพความสําเร็จ ประเทศในยุโรปท่ีทํา สนธิสัญญากับไทย ไดแก ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอรแลนด สเปน โปรตุเกส เดนมารก สวีเดน อิตาลี และเบลเยีย่ ม ยนิ ยอมแกสนธิสัญญาใหเ ปน แบบเดยี วกับท่ีสหรฐั อเมริกายอมแกใ ห ดร.แซร ถวายบังคมลาออกจากหนาที่กลบั ไปสหรัฐอเมรกิ าใน พ.ศ. 2468 แตก็ยังยินดีที่จะชวยเหลือ ประเทศไทย ดังเชนใน พ.ศ. 2469 หลังจากท่ีพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงข้ึนครองราชยได ไมนาน ดร.แซรไ ดถวายคําแนะนาํ เก่ียวกบั สถานการณบานเมอื ง และแนวทางแกปญหาตาง ๆ ตามท่ีทรงถาม ไป และยงั ไดรา งรัฐธรรมนูญถวายใหทรงพจิ ารณาดว ย จากคุณงามความดที ่ี ดร.แซร มตี อประเทศไทย จึงไดร ับพระราชทานบรรดาศักดิ์เปนพระยากัลยาณ ไมตรี เมื่อ พ.ศ. 2470 และตอ มาใน พ.ศ. 2511 รัฐบาลไทยไดต ้งั ชอื่ ถนนขา ง กระทรวงตางประเทศ (วังสราญ รมย) วาถนนกัลยาณไมตรี พระยากลั ยาณไมตรีถงึ แกอ นจิ กรรมที่ประเทศสหรฐั อเมรกิ าเม่อื พ.ศ. 2515 4.10 หมอบรดั เลย (Dr. Dan Beach Bradley) ดร.แดน บีช แบรดเลย ชาวไทยเรียกกันวา หมอบรัดเลย หรือ ปลัดเล เปนชาวนิวยอรก ประเทศ สหรัฐอเมรกิ า เกดิ เมือ่ พ.ศ. 2345 หมอบรัดเลยเดินทางเขามายังสยาม เมื่อ พ.ศ. 2378 โดยพักอาศัยอยูกับ มชิ ชนั นารี ช่ือ จอหนสนั ท่วี ัดเกาะ เมือ่ เขามาอยูเมืองไทย ในตอนแรกหมอบรัดเลยเ ปด โอสถศาลาข้ึนท่ีขางใต วัดเกาะ รับรักษาโรคใหแกชาวบานแถวน้ัน พรอมท้ังสอนศาสนาคริสตใหแกชาวจีนที่อยูในเมืองไทย สวนซาราหภรรยาของหมอเปนครูสอนภาษาองั กฤษ ตอ มาหมอบรดั เลยย า ยไปอยแู ถวโบสถว ดั ซางตาครสู ขยายกิจการจากรับรกั ษาโรค เปน โรงพิมพ โดยรับพิมพหนังสือเกี่ยวกับศาสนาคริสต แจกและพิมพประกาศของทางราชการ เรื่อง หามนําฝนเขามา ในประเทศสยามเปน ฉบบั แรก จํานวน 9,000 แผน เม่อื วนั ท่ี 27 เมษายน พ.ศ. 2382 อีกดวย กิจการโรงพิมพ น้ีนับเปนประโยชนสาํ หรับคนไทยมาก เอกสารทางประวตั ศิ าสตรท ่สี าํ คญั ซ่งึ คนรุน หลังไดศ กึ ษาสว นหนึง่ ก็มาจากโรงพิมพของหมอบรดั เลย นอกจากน้ีทานไดออกหนังสือพิมพรายปฉบับหน่ึง ชื่อวา บางกอกคาเลน เดอร (Bangkok Galender) ตอมาไดอ อกหนงั สือพิมพรายปกษอกี ฉบับหนง่ึ เมื่อ พ.ศ. 2387 ชื่อวา บางกอกรี คอรเดอร (Bangkok Recorder) นอกจากหนังสอื พิมพแลว ยงั ไดพิมพหนงั สือเลมจาํ หนายอีกดวย เชน ไคเก็ก

121 ไซฮั่น สามกก เลียดกก หองสนิ ฯลฯ หนังสือของหมอบรัดเลยน้ันเปนที่รูจักแพรหลายในหมูขุนนางและราช สํานกั โดยเฉพาะหนงั สือพิมพทีล่ งบทความแสดงความคิดเหน็ อยางกวางขวาง นอกจากงานดา นโรงพิมพท ี่หมอบรัดเลยเขา มาบุกเบิกและพัฒนาใหวงการสิ่งพิมพไทยแลวงานดาน การแพทยและดานสาธารณสุขท่ีทา นทําไวกม็ ิไดย ง่ิ หยอ นไปกวา กนั หมอบรัดเลย นบั เปนหมอฝรั่งคนแรกที่ได นําเอาหลกั วิชาการแพทยสมยั ใหมเ ขามาเผยแพรในเมืองไทย มีการผาตัดและชวยรักษาโรคตาง ๆ โดยใชยา แผนใหม ซ่งึ ชว ยใหค นไขห ายปวยอยา งรวดเรว็ ท่สี าํ คัญทีส่ ดุ คอื การปลกู ฝปอ งกนั ไขท รพิษ ดวยคุณงานความดีที่หมอบรัดเลยมีตอแผนดินไทย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวจึงได พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหพวกมิชชันนารี และหมอบรัดเลยเชาที่หลังปอมวิไชยประสิทธิ์อยูจนถึง รัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัว จึงพระราชทานใหอ ยูโดยไมต อ งเสยี คา เชาจนกระท่ังหมอบ รดั เลยถ งึ แกก รรมเมอ่ื พ.ศ. 2416 รวมอายไุ ด 71 ป บุคคลสาํ คัญของประเทศไทยท่อี งคการศกึ ษา วิทยาศาสตร และวฒั นธรรมแหง สหประชาชาติ (ยูเนสโก) ยกยอง อันดับ ผูไดร ับยกยอง ยกยอ งเม่อื วนั ที่ ยกยองเนอ่ื งในวาระ 1. สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอฯ 21 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2505 ฉลองวันประสูติ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ครบ 100 พรรษา 2. สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอฯ 28 เมษายน พ.ศ. 2506 ฉลองวันประสูติ กรมพระยานรศิ รานุวัดติวงศ ครบ 100 พรรษา

122 อันดับ ผูไดร ับยกยอ ง ยกยองเมอ่ื วนั ที่ ยกยอ งเนื่องในวาระ 3. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศ 24 กุมภาพันธ พ.ศ. 2511 ฉลองวนั พระราชสมภพ หลา นภาลยั ครบ 200 พรรษา 4. พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฏเกลา 1 มกราคม พ.ศ. 2524 ฉลองวันพระพระราช เจา อยหู วั สมภพครบ 100 พรรษา 5. สุนทรภู 26 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2529 ฉลองครบชาตกิ าล 200 ป 6. พระยาอนุมานราชธน 14 ธนั วาคม พ.ศ. 2531 ฉลองครบชาติกาล 100 ป 7. สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรม 11 ธันวาคม พ.ศ. 2533 ฉลองวันประสูติครบ 200 พระปรมานชุ ติ ชโิ นรส พรรษา 8. พระเจาวรวงศเ ธอกรมหมืน่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2534 ฉลองวันประสูตคิ รบ 100 นราธปิ พงศป ระพันธ พรรษา 9. สมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร 1 มกราคม พ.ศ. 2535 ฉลองวันพระราชสมภพ อดลุ ยเดชวิกรม ครบ 100 พรรษา พระบรมราชชนก 10. พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร 9 มิถนุ ายน พ.ศ. 2539 ฉลองสิรริ าชสมบัติ มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ครบ 50 ป 11. สมเดจ็ พระศรีนครินทรา 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 ฉลองวันพระราชสมภพ บรมราชชนนี ครบ 100 พรรษา 12. นายปรีดี พนมยงค 20 กนั ยายน พ.ศ. 2543 ฉลองครบชาติกาล 100 ป 13. พระบาทสมเดจ็ พระ 20 กันยายน พ.ศ. 2546 ฉลองวนั พระราชสมภพ จุลจอมเกลาเจา อยูห วั ครบ 150 พรรษา 14. หมอ มหลวงปน มาลากลุ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ฉลองครบชาตกิ าล 100 ป

123 อนั ดับ ผไู ดร ับยกยอง ยกยองเม่อื วันที่ ยกยองเนอื่ งในวาระ 15. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา 18 ตลุ าคม พ.ศ. 2547 ฉลองวนั พระราชสมภพ เจาอยหู ัว ครบรอบ 200 พรรษา 16. นายกหุ ลาบ สายประดิษฐ 31 มีนาคม พ.ศ. 2548 ฉลองครบชาติกาล 17. พทุ ธทาสภิกขุ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2548 100 ป ฉลองครบชาติกาล 100 ป 18. พระเจาบรมวงศเ ธอฯ กรม 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2550 ฉลองวันประสูติครบ หลวงวงศาธิราชสนทิ 200 พรรษา กจิ กรรมที่ 9 เรือ่ ง บคุ คลสาํ คญั ของไทยและของโลกดานประวัติศาสตร ใหนักศกึ ษาแบงกลมุ 4 กลมุ แตละกลุมศกึ ษาคนควาและทาํ รายงานสง พรอ มกบั นาํ เสนอ โดยมี หวั เรือ่ ง ดังน้ี กลมุ ท่ี 1 พระราชประวัตแิ ละพระราชกรณียกจิ ทส่ี ําคญั ของพอ ขุนรามคําแหงมหาราช กลมุ ที่ 2 พระราชประวตั แิ ละพระราชกรณียกจิ ทีส่ ําคญั ของ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัว กลมุ ที่ 3 พระราชประวตั แิ ละพระราชกรณยี กจิ ทส่ี ําคญั ของ สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี กลมุ ที่ 4 พระราชประวัติและพระราชกรณยี กิจท่สี าํ คญั ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

124 เรอื่ งท่ี 5 เหตุการณสาํ คญั ของโลกท่ีมีผลตอ ปจ จุบนั เหตุการณส ําคญั ทม่ี ีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของโลกนั้นหมายถึงเหตุการณสําคัญท่ีทําใหโลก เกิดการเปล่ียนแปลงภายหลังสงครามสิ้นสุดลง ซึ่งพบวาสหประชาชาติสามารถยับยั้งการทําสงครามอาวุธ ไดใ นระดับหนึ่ง แตเมื่อสงครามอาวธุ ผานไปเหตกุ ารณป จ จบุ ันจะกลายเปน สงครามเศรษฐกจิ ชวี ิตความเปน อยู วัฒนธรรม จารีตประเพณี รวมถึงการเมืองการปกครองในปจจุบัน ซ่ึงเหตุการณสําคัญในอดีตท่ีสงผล ตอ ปจจุบันมีดังน้ี 1. สงครามโลกครัง้ ท่ี 1 และ 2 สงครามโลกครง้ั ทหี่ น่ึง เปนสงครามความขดั แยงบนฐานการลาอาณานิคม ระหวางมหาอํานาจยุโรป สองคา ย คอื ฝายไตรพนั ธมิตร (Triple Alliance) ซงึ่ ประกอบไปดวยเยอรมนี และอิตาลี กับฝายมหาอํานาจ (Triple Entente) ประกอบไปดวยบริเตนใหญ ฝรั่งเศสและรัสเซีย เกิดขึ้นในชวง ค.ศ.1914-1918 (พ.ศ.2547-2461) สาเหตุของสงครามโลกครง้ั ที่หนึ่ง เกดิ จากความขดั แยง ทางการเมืองของทวีปยุโรป โดยเปนจุดเริม่ ตน ของการส้ินสุดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยของยุโรป การส้ินสุดของจักรวรรดิออตโตมัน เปนตัวเรง ปฏกิ ิรยิ าของการปฏิวัติรัสเซยี การพา ยแพข องประเทศเยอรมนใี นสงครามครงั้ นี้ สง ผลใหเกิดลัทธิชาตินิยมขึ้น ในประเทศ และเปน จุดเรม่ิ ตน ของสงครามโลกครั้งทีส่ อง เม่อื พ.ศ.2482 (ค.ศ.1939) ในชวงแรกของสงครามมหาอํานาจกลางเปนฝายไดเปรียบ แตหลังจากที่อเมริกาเขารวมกับฝาย พันธมิตร พรอมกับสงอาวุธยุทโธปกรณและกําลังพลเกือบ 5 ลานคน ทําใหพันธมิตรกลับมาไดเปรียบและ สามารถเอาชนะฝายมหาอํานาจกลางไดอยา งเดด็ ขาด ในที่สุดเมื่อฝา ยมหาอาํ นาจกลางยอมแพแ ละเซ็นสัญญา สงบศึกเม่อื วนั ท่ี 11 พฤศจกิ ายน ค.ศ.1918 สงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งกินระยะเวลายาวนาน 4 ป 5 เดือน จึงยุติ ลงอยา งเปน รูปธรรม ผลกระทบ หลงั จากท่สี หรัฐอเมริกาไดเ ขารวมรบและประกาศศักดาในสงครามครั้งนี้ ทําใหสหรัฐอเมริกาไดกาว เขา มาเปนหนง่ึ ในมหาอํานาจโลกเสรบี นเวทีโลกเคยี งคูกับองั กฤษและฝรั่งเศส รสั เซียกลายเปน มหาอํานาจโลก สังคมนิยม หลังจากเลนินทําการปฏิวัติยึดอํานาจ และตอมาเม่ือสามารถขยายอํานาจไปผนวกแควนตาง ๆ มากข้ึน เชน ยูเครน เบลารสุ ฯลฯ จึงประกาศจดั ตงั้ สหภาพโซเวียต (Union of Soviet Republics – USSR) ในป ค.ศ.1922 เกิดการรางสนธิสัญญาแวรซาย (The treaty of Veraailles) โดยฝายชนะสงครามสําหรับ เยอรมนี และสนธิสญั ญาสนั ติภาพอีก 4 ฉบับ สําหรับพนั ธมติ รของเยอรมนี เพอ่ื ใหฝ ายผูแพย อมรบั ผิดในฐานะ

125 เปน ผูกอใหเกิดสงครามในสนธิสัญญาดังกลาว ฝายผูแพตองเสียคาปฏิกรรมสงคราม เสียดินแดนทั้งในยุโรป และอาณานิคม ตองลดกาํ ลังทหาร อาวุธ และตองถูกพันธมิตรเขายึดครองดนิ แดนจนกวา จะปฏิบัตติ ามเงื่อนไข ของสนธิสัญญาเรียบรอย อยางไรก็ตามดวยเหตุที่ประเทศผูแพไมไดเขารวมในการรางสนธิสัญญา แตถูกบีบ บังคบั ใหลงนามยอมรับขอตกลงของสนธสิ ญั ญาจงึ กอ ใหเกดิ ภาวะตึงเครยี ดขึ้น เกดิ การกอ ตัวของลัทธิฟาสซสิ ต ในอิตาลี นาซใี นเยอรมนั และเผดจ็ การทหารในญีป่ นุ ซง่ึ ทา ยสุดประเทศมหาอํานาจเผดจ็ การทั้งสามไดรวมมอื เปน พนั ธมิตรระหวางกนั เพ่ือตอตานโลกเสรแี ละคอมมวิ นสิ ต เรียกกนั วาฝายอกั ษะ (Axis) มีการจัดต้ังขึ้นเปน องคกรกลางในการเจรจาไกลเกล่ียขอพิพาทระหวางประเทศ เปนความรวมมือระหวางประเทศ เพ่ือรักษา ความม่ันคง ปลอดภัยและสันติภาพในโลก แตความพยายามดังกลาวก็ดูจะลมเหลว เพราะในป ค.ศ. 1939 ไดเกิดสงครามทีร่ นุ แรงขนึ้ อกี ครัง้ น่นั คือ สงครามโลกครั้งที่ 2 เปน ความขัดแยงในวงกวาง ครอบคลุม ทุกทวีป และประเทศสวนใหญในโลก เร่ิมตนในป พ.ศ.2482 (ค.ศ.1939) และดําเนินไปจนกระทั่งส้ินสุดในป พ.ศ. 2488 (ค.ศ.1945) ไดช ่ือวาเปนสงครามที่มขี นาดใหญและทําใหเกิดความสญู เสียคร้งั ใหญท ส่ี ุดในประวตั ศิ าสตรโ ลก ตนเหตุท่แี ทจ รงิ ของสงครามครัง้ น้ี ยงั เปนประเด็นที่ถกเถียงกันอยูไมวาจะเปนสนธิสัญญาแวรซายส ภาวะเศรษฐกิจตกตาํ่ ครง้ั ใหญ ความเปน ชาตินยิ ม การแยงชงิ อาํ นาจและตอ งการแบงปนโลกใหมของประเทศ ทเ่ี จริญตามมาทีหลังและกระแสนิยม เชนเดยี วกบั วันเริ่มตนสงครามท่ีอาจเปนไปไดท้ังวันท่ี 1 กันยายน พ.ศ. 2482 (ค.ศ.1939) ทีเ่ ยอรมันรกุ รานโปแลนด, วนั ท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 (ค.ศ.1937) ท่ีญป่ี ุนรกุ รานแมนจเู รยี บางคนกลาววาสงครามโลกคร้ังท่ีหนึ่งและสงครามโลกคร้ังน้ีเปนขอพิพาท เดียวกันแตแยกกันดวย “การหยุดยิง” การตอสูมีข้ึนต้ังแตมหาสมุทรแอตแลนติก ยุโรปตะวันตกและ ตะวันออกทะเลเมดิเตอรเ รเนยี น แอฟรกิ า ตะวันออกกลาง มหาสมุทรแปซิฟก เอเชยี ตะวันออกเฉียงใตและจีน สงครามในยุโรปสิ้นสุด เม่ือเยอรมนียอมจํานนในวันท่ี 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ.1945) แตในเอเชีย ยงั ดําเนินตอไปจนกระทง่ั ญ่ปี นุ ยอมจํานนในวันที่ 15 สิงหาคม ปเดียวกัน คาดวามีผูเสียชีวิตในสงครามครั้งนี้ ราว 57 ลานคน 2. สงครามเย็น สงครามเย็น (อังกฤษ : Cold War) (พ.ศ.2490-2534 หรือ ค.ศ.1947-1991) เปนการตอสูกัน ระหวางกลุมประเทศ 2 กลุม ที่มีอุดมการณทางการเมืองและระบบการเมืองตางกัน เกิดขึ้นในชวงหลัง สงครามโลกคร้ังทส่ี อง ฝา ยหนงึ่ คอื สหภาพโซเวียต เรยี กวา คายตะวนั ออก ซึง่ ปกครองดว ยระบอบคอมมวิ นสิ ต อีกฝายหนึ่งคอื สหรฐั อเมรกิ าและกลมุ พนั ธมิตร เรยี กวา คายตะวันตก ซึ่งปกครองดว ยระบอบเสรปี ระชาธปิ ไตย นโยบายตา งประเทศของสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวยี ตในชวงเวลาดังกลาว คํานึงถึงสงครามเย็น เปนหลัก นับจากป ค.ศ.1947 (พ.ศ.2490) จนกระทั่งการลมสลายของสหภาพโซเวียต ใน ค.ศ.1991

126 (พ.ศ.2534) สมัยเรม่ิ ตน สงครามเย็น นาจะอยใู นสมัยวกิ ฤตการณท างการทูตในตอนกลางและปลาย ค.ศ.1947 เม่ือสหรัฐอเมรกิ ากบั สหภาพโซเวียตเกดิ ขัดแยงเร่ืองการจัดตั้งองคการสันติภาพในตุรกี ยุโรปตะวันออกและ เยอรมนี ความตึงเครยี ดเนื่องจากการเผชิญหนากันระหวา งอภมิ หาอํานาจ แตย ังไมมีการประกาศสงครามหรือ ใชกําลังเปนสมยั ลัทธิทรูแมน วันที่ 12 มีนาคม คศ.1947 กับประกาศแผนการมารแชลล เพ่อื ฟน ฟูบูรณะ ยุโรปตะวันตก ซึ่งไดรับความเสียหายจากสงครามโลกครั้งที่สอง การขยายอิทธิพลของโซเวียตในยุโรป ตะวันออกและการแบงแยกเยอรมนี การวิจัยและพฒั นาโครงการทางการทหารทงั้ ขนาดเลก็ และขนาดใหญจํานวนมาก เกิดข้ึนในชวงเวลา นี้รวมถึงการแขงขันกันสํารวจอวกาศ การจารกรรมและการสะสมอาวุธนิวเคลียรดวยท้ังหมดนี้เปนไป เพ่อื แสดงแสนยานภุ าพของฝายตน 3. สงครามเศรษฐกิจ หากยอนไปเมื่ออดีตการเกิดข้ึนของสงครามจะเปนการแกงแยงชิงดินแดนและทรัพยากร เพราะสงครามในขณะน้ันจะเปนการขยายอาณาเขตออกไป โดยมไิ ดม ุง หวังเพียงดินแดนเทาน้ัน แตยังมุงหวัง ทรัพยากรในดินแดนอีกดวย ภายหลังสงครามโลกส้ินสุดลง การแขงขันดานการคา ชีวิตความเปนอยู เปลยี่ นแปลงไปกลางเปนสงครามเศรษฐกิจ การทําสงครามเศรษฐกจิ จะมกี ารใชวฒั นธรรมเขาไปแทรกแซงเปน การกลืนชาติดวย ที่เรียกวา “Crelization” หมายความวา เปนความพยายามยัดเยียดวัฒนธรรมของตน ใหเปน สว นหนึง่ ของวฒั นธรรมในชาตนิ ้ัน ๆ โดยครอบงําทําใหค นมวี ิถชี ีวิตตามแบบฉบบั วฒั นธรรมของตนหรือ รสู ึกวาเหมอื นเปนวัฒนธรรมของตน เพราะวา วถิ ีชีวิตจะมตี วั สินคาเปนองคป ระกอบ 4. เหตกุ ารณโลกปจจบุ นั หลักการเกิดสงครามโลกทั้งประเทศท่ีชนะและแพสงครามตางก็เปนประเทศอุตสาหกรรมทําให ทุกประเทศตองฟนฟูเศรษฐกิจในประเทศตน ในท่ีสุดผลผลิตมีมากเกินความตองการจนกลายเปนสาเหตุ เศรษฐกิจตกตาํ่ ท่วั โลกในป ค.ศ. 1929-1933 เหตกุ ารณโ ลกปจ จบุ นั มีการแขงขันดานเศรษฐกิจสูงหรือการทําสงครามดานเศรษฐกิจทําใหวิถีชีวิต ของชาวไทยไมว า จะเปน การดําเนินชวี ติ ปจ จุบนั การบริโภคคา นิยมเปลย่ี นแปลงไป เม่ือเรายอมรับวถิ ชี วี ติ ใด ๆ ก็ตาม วิถชี วี ติ เหลานั้นยอมจะตองรองขอสินคาบางอยางเพ่ือท่ีจะทําใหการดําเนินชีวิตเหลาน้ันเดินตอไปได เชน เม่อื เรายอมรับวิถีชีวิตดิจิทัล (Digital) เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส และ PC ก็จะกลายเปนสวนหน่ึงของวิถี ชีวติ เรา ญ่ปี นุ เปนชาตหิ น่งึ ทผ่ี ลติ เครื่องเสยี งไดดี ซึ่งการรองเพลงตามเนือ้ รอ งท่ีเรียกกันเปน ภาษาญี่ปนุ วา

127 “คาราโอเกะ” เมือ่ เรายอมรับวิธีการรองเพลงกันตามเน้ือเพลงที่เปน คาราโอเกะ ในท่ีสุดสินคาเก่ียวกับการ รอ งเพลงคาราโอเกะแบบญี่ปุนก็จะขายดีไปดวย การรับประทานอาหารฟาสตฟูด ตามแบบฉบับวัฒนธรรม อเมรกิ นั หรอื การยอมรับภาษาทใี่ ชในการสื่อสารทางธุรกิจตอ งเปนภาษาอังกฤษ ภาษาจีน เปน ตน การเกดิ ขน้ึ ของกระแสวัฒนธรรมโลก จะทําใหบ รษิ ทั ยกั ษใหญระดับโลกสามารถผลติ สนิ คา ดวยตน ทุน ตํ่าท่ีขายไดท่ัวโลก ซึ่งเปนการแสวงหาผลประโยชนขามชาติ จากประเทศดอยพัฒนา หรือการทําการคา โดยเสรจี ากบรษิ ทั ใหญ ซึ่งมตี น ทุนหรอื กาํ ลงั ทรพั ยม ากมาแขงขันธรุ กิจในประเทศทกี่ าํ ลงั พัฒนา จะเหน็ ไดว าใน ยคุ เศรษฐกิจใหม มกี ารหลงั่ ไหลของวัฒนธรรมตา งชาติเขามาในสงั คมไทยอยางหนกั จนทําใหร สู ึกวาวัฒนธรรม คา นิยม รูปแบบวิถกี ารดําเนนิ ชีวติ แบบไทย ๆ กําลังถูกกลืนและถูกทําลายความเปนไทยทําใหปฏิเสธไมไดวา ปจจบุ นั วัฒนธรรม รูปแบบวถิ ชี ีวติ ตะวนั ตกหรือของตางชาติกําลงั มีบทบาทตอการดาํ เนนิ ชีวติ ความเปน อยขู อง คนทกุ เพศทุกวยั อยางไรก็ตาม แมวาระบบตลาดทุนนิยมน้ีจะมีการแขงขันที่สงผลดีตอผูบริโภค ในเรื่องคุณภาพ ผลิตภัณฑแ ละรปู แบบของนวัตกรรม (Innovation) ก็ตาม แตก็ทําใหสังคมไทยยุคใหมมีลักษณะเปนบริโภค นิยม (Consumerism) และสังคมมคี วามเสีย่ งตอการถูกกลืนทางวัฒนธรรม ซ่ึงคนรุนใหมท่ีจะเปนฟนเฟอง กลไกทางสังคมตอ ไปในอนาคตก็กําลังหลงใหลนิยมชมชอบกับความสุขจากส่ิงบันเทิงตาง ๆ ที่มากับกระแส โลกาภวิ ัฒนแ ละการเปด เสรที างการคา ในป ค.ศ.2508 (พ.ศ.2551) วนั ที่ 15 กันยายน 2551 บรษิ ทั ยกั ษใหญใ นสหรฐั อเมรกิ าประกาศภาวะ ขาดทุนลม ทําใหสงผลกระทบตอเศรษฐกจิ โลกถดถอยจนถงึ ป พ.ศ. 2552 เรือ่ งท่ี 6 บทบาทของสถาบันพระมหากษัตรยิ ในการพัฒนาชาติไทย บทบาทของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ในการพฒั นาชาติไทย สถาบันพระมหากษตั ริย : กาํ เนิด ความหมาย แนวคิด สัญลกั ษณ และพัฒนาการ ในคัมภีรพราหมณ กลาวถึงการแตงต้ังมนุษยคนแรกเปนกษัตริยและจักรพรรดิในการปกครอง ประชาชน ซ่ึงมีบางคัมภีรกลาววาพระพรหมทรงตั้งพระมนูเปนกษัตริยองคแรกข้ึนมาเพื่อใหทําหนาท่ีแกไข ปญหาการทะเลาะวิวาทของมนษุ ยทแี่ ยง ชิงขาวสาลกี นั จนวนุ วายจนยตุ ิปญ หาลงไดสําเร็จ ถอื วาเปนการเรม่ิ ตน ของการมสี ถาบนั กษัตริยใ นมนุษยโลกตามความเชอื่ ของพราหมณฮ นิ ดใู นอินเดยี สถาบันพระมหากษัตริยไทย คือ 1 ใน 3 สถาบันสูงสุดของชาติที่เปนศูนยรวมจิตใจทําใหเกิด ความมั่นคงเปนเอกภาพของประชาชนชาวไทยเพราะพระมหากษตั ริยท รงทําหนาที่เปนทั้งผูปกครองเขตแดน และคมุ ครองปอ งกันอาณาประชาราษฎรในฐานะของจอมทัพทําสงครามกบั ขาศกึ เพือ่ ปอ งกนั ดินแดนและ

128 เอกราชของชาติอาจเร่มิ จากการเปนผปู กครองเมืองเลก็ เมอื งนอ ยมากอ นเม่อื มกี ําลังแขง็ แกรงมากข้ึน จนสามารถผนวกเมืองอ่ืน ๆ เขาดวยกันแลวกต็ ง้ั ตนเปนประมขุ ยกฐานะข้นึ เปน พระมหากษัตริยปกครองเมือง ศนู ยก ลางและเมืองบรวิ ารในพระราชอาณาจกั ร บนเสนทางแหงกาลเวลาสถาบันพระมหากษัตริยมีพัฒนาการจากรูปแบบการปกครองท่ีเรียบงาย เสมอื นพอปกครองลูกหรือการดูแลบริวารในครอบครัว จนมีความสลับซบั ชอนมากขึ้นดวยเหตุผลของจํานวน ประชากร หรือความกวางขวางของดินแดน และปจจัยดานตาง ๆ ของลักษณะทางสังคมและสภาพของ เศรษฐกจิ ท่ีตองมกี ารกาํ หนดวธิ ีการในการควบคมุ ดแู ลอยา งเปน ระบบเพ่อื ใหเ กิดความสงบปลอดภยั และเจรญิ มงั่ คง่ั ของอาณาจักรซงึ่ มสี ถาบนั พระมหากษตั ริยทรงเปน ศนู ยก ลางของการปกครองนัน้ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ประกอบดว ยคาํ ๒ คาํ คือ สถาบันกับพระมหากษตั รยิ  คําวา สถาบัน หมายถงึ ส่ิงซึ่งคนในสวนรวมคือสังคมจัดต้ังใหมีขึ้น เพราะเห็นประโยชนวามีความตองการและจําเปนแก วิถีชีวิตของตน เชน สถาบันชาติ สถาบันการเงิน และสถาบันศาสนา เปนตน สถาบันเปนส่ิงสําคัญในสังคม เพราะมีหนาที่ยึดเหน่ียวคนในสังคมใหมีทิศทางดําเนินชีวิตไปในแบบเดียวกัน หรือมีความสุขเสมอกัน นอกจากน้ีสถาบันจะบังเกิดข้ึนไดดวยคนในสังคมมีความเห็นพองกันวาจําเปนตองมีและสามารถอํานวย ประโยชนใหบังเกิดได คําวาพระมหากษัตริยมีความหมายถึงพระเจาแผนดิน พระเจาอยูหัวเปนคําในภาษา สันสกฤติวา “กษฺตฺริย” หรือภาษาบาลีวา “ขัตติย” หมายถึง คนในวรรณที่ 2 ในสังคมอินเดีย ซ่ึงมีอยู 4 วรรณะ คอื พราหมมณ กษตั ริย แพทย และศูทร หมายถงึ ผนู าํ ในการรบ ผูปอ งกนั ภัย หรือชาตินักรบ ซึ่งเดิม หมายถึง บคุ คลผูมหี นาที่ปองกันขาศึกหรอื ผูเปน หวั หนาและยังเปน รากศัพทเดียวกบั คําวา เกษตร สถาบันชาติ สถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริยมีอยูคูกับแผนดินไทยตลอดมาควบคูกับการสถาปนาอาณาจักร โบราณตาง ๆ นับตั้งแตพุทธศตวรรษ 12 ซึ่งพบหลักฐานท่ีเปนประเภทลายลักษณอักษรท่ีแสดงถึงการมี พระมหากษัตรยิ ข องอาณาจักรทวารวดี มีเมืองอูทองซ่ึงปจจุบันเปนที่ต้ังอําเภออูทองจังหวัดสุพรรณบุรีเปน เมอื งสําคญั จากการคน พบเหรียญเงนิ ท่เี มืองอูทองบนเหรียญปรากฏจารึกภาษาสนั สกฤตวา “ศรที วารวดี ศวร ปนุ ยะ” แปลวา การบุญของผเู ปน ใหญแ หงศรที วารวดี เปน การยืนยนั วา มสี ถาบันกษัตริยเกิดข้ึน ในขณะ เริม่ ตน ของยุคประวัตศิ าสตรข องดนิ แดนไทยและมกี ารคนพบตอมาวาบานเมอื งและอาณาจักรอน่ื ๆ ในดินแดน ท่ีเปนชาติไทยในปจ จุบนั นี้ลวนปกครองดว ยระบอบกษตั ริยท งั้ สิน้ ตอมาในสมัยสุโขทัยสังคมไทยมีลักษณะเปนครอบครัว โดยมีประมุขเปนหัวหนาชุมชนท่ีเรียกวา “พอขุน” การเก็บผลประโยชนเ ขารัฐอาจมีนอยดงั ท่กี ลาวไวในศิลาจารึกสโุ ขทยั หลักที่ 1 วา “เจาเมือง บเอา จกอบในไพรล ูทา ง” ซ่งึ หมายถงึ การไมเ ก็บภาษีการคา และใหเสรีทางการคา ดังความวา “ใครจักใคร คาชาง คา ใครจักใครคา มา คา ใครจกั ใครค าเงอื น (เงิน) คา ทองคา ” แมก ารปกครองโดยสถาบนั กษัตริยใ นสมัยสุโขทัย จะมีผูกลาววามีวิถีสงบรมเย็นแตในช้ันหลังก็มีทั้งปจจัยภายใน คือ ความขัดแยงของเจานายที่เปนสมาชิก ภายในสถาบนั และปจ จยั ภายนอก คอื การขยายอํานาจของลา นนาและกรุงศรีอยธุ ยาทาํ ใหสโุ ขทยั ทเี่ ปน เสมือน รัฐกันชนของสองอาณาจักรตองตกอยูในภาวะสงครามและการแยงชิงกันจนตองยอมผนวก เขากับกรุงศรี- อยธุ ยาในทสี่ ุด

129 กรุงศรีอยุธยาซึ่งเปนรัฐท่ีเกิดจากการผนึกกําลังกันของสุพรรณบุรีและละโว ซ่ึงในอดีตเคยอยูใน อิทธพิ ลของวัฒนธรรมเขมรมากอน กรุงศรีอยุธยาจึงรบั เอาคติของเทวราชาจากวัฒนธรรมเขมรมาใช ทําใหมี คตคิ วามเชอื่ บางสวนเปนการปกครองแบบฮินดูของอินเดีย พระมหากษัตริยอยุธยาจึงเปนเสมือนสมมุติเทพ ทอี่ วตารหรอื แบง ภาคลงมาปราบยุคเข็ญในมนุษยโลก และเปนศูนยรวมของการปกครอง มีแนวคิดเกี่ยวกับ สถาบันพระมหากษัตริยที่เกิดจากศาสนาพราหมณ ฮินดู ไดยกยองพระมหากษัตริยไวในฐานะของเทวดา ซง่ึ เปรียบดงั องคพระนารายณ หรือพระวิษณุอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ ทําใหมีการสรางสัญลักษณแทนองค พระมหากษตั รยิ  เมือ่ ประทับหรอื เสดจ็ ไปท่ตี าง ๆ เปน ”ธงครฑุ ” อันหมายถึง พาหนะของพระนารายณ ครุฑเปน พาหนะของพระนารายณ เรือพระทนี่ ัง่ นารายณท รงสุบรรณ พระมหากษัตรยิ ทรงประทับในการประกอบพระราชพิธตี าง ๆ ทางชลมารค

130 หรือแมแ ตห นาบนั ของพระอโุ บสถในพระอารามหลวงท่ีพระมหากษัตริยท รงสรา งกจ็ ะจําหลกั หรอื ทาํ ลวดลาย ปนู ปน รปู นารายณท รงครฑุ เพอ่ื แสดงถงึ ความเปนวัดทกี่ ษัตรยิ ท รงสรา ง พระนารายณทรงสบุ รรณ (ครฑุ ) บนหนา บันพระอุโบสถและวหิ ารในพระอารามหลวง ในดานพระราชอํานาจพระมหากษัตรยิ  กท็ รงมสี ทิ ธิขาดในการใชอ ํานาจที่เรยี กวา “สมบูรณาญาสทิ ธริ าชย” ในการลงโทษลดโทษหรืออภยั โทษแกบ คุ คลในพระราชอาณาเขตและมกี ฎมณเฑียรบาลทจ่ี ะตราขึน้ เพ่อื รกั ษา พระราชฐาน เพอ่ื ถวายพระอภิบาลปอ งกนั เภทภยั เพื่อรกั ษาพระเกียรติยศและเปน กฎระเบยี บในการปฏิบัติ ตนตอ องคพระมหากษตั ริยแ ละสมาชิกในสถาบันพระมหากษัตริย ไดแก พระมเหสี พระราชโอรสธดิ า พระบรมวงศานวุ งศ แมแตบ คุ คลอ่ืน ๆ ท่อี าศัยหรอื ทํางานอยูใ นพระราชฐาน มีการกาํ หนดคําราชาศพั ทข ้นึ เปนภาษาเฉพาะใชกับพระมหากษตั รยิ ห รอื พระบรมวงศานุวงศตามลาํ ดบั ชนั้ ซึง่ คาํ ราชาศพั ทห ลายคํามาจาก ภาษาเขมร เชน คําวา เสวย - กนิ , พระแกล - หนาตา ง ,พระขนอง - หลัง การกําหนดรูปแบบของทปี่ ระทบั เชน พระบรมมหาราชวงั หรอื พระตาํ หนกั ทม่ี ลี กั ษณะพเิ ศษ คอื เปน เรือนยอดหลังคาซอ นชน้ั ตามฐานานศุ กั ด์ิ ตา งไปจากบานเรอื นสามัญชนโดยท่ัวไป พระทน่ี ั่งดุสิตมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง

131 ในดา นพธิ ีกรรมตาง ๆ นบั แตการประสูติจนถงึ สวรรคตของพระมหากษตั รยิ แ ละสมาชกิ ในราชตระกูล เชน พระราชพธิ ขี นึ้ พระอู พระราชพิธลี งสรง พระราชพิธีสมโภชเดือน พระราชพิธีโสกันต พระราชพิธีบรม- ราชาภเิ ษก พระราชพธิ ีถอื น้าํ พระพพิ ฒั นสัตยา (ศรีสัจปานการ) พระราชพธิ ีออกพระเมรุ ฯลฯ ซ่ึงลวนแลวแต เปนพิธกี รรมท่เี ก่ยี วกบั ความเปน “เทพเจา ” ท้ังสน้ิ พระราชพธิ โี สกนั ตท เ่ี ขาไกลาส (จําลอง) พระเมรมุ าศ ในการเฉลิมพระนามพระมหากษตั ริยใ นยคุ สมัยตา ง ๆ จะเห็นถงึ ความเชอื่ ในวิถีการเมืองการปกครอง ของพระมหากษัตริยแตละพระองควาจะทรงวางพระองคอยูในแนวทางเชนไร คือ ทรงเปนเทวราชา เชน พระนามสมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี 1 (อทู อง) สมเด็จพระรามราชาธิราช สมเด็จพระนารายณมหาราช หมายถึง พระรามพระนารายณ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช หมายถึงพระอิศวร สมเด็จพระอินทราธิราช หมายถึง พระอินทร หรือทรงเปนพุทธราชา และธรรมราชา เชน สมเด็จพระมหาธรรมราชา (ลิไท) สมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ สมเดจ็ พระสรรญเพชญท่ี 1 สมเดจ็ พระเจา ทรงธรรม เปน ตน

132 ศาสนาพราหมณ์ ฮนิ ดู พุทธศาสนา สถาบัน ความเชอื ท้องถนิ พระมหากษัตริย์ไทย แผนภูมแิ สดงความสัมพนั ธของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ก ับศาสนาและความเชื่อทอ งถน่ิ จากแผนภมู ขิ า งตน นี้ชี้ใหเหน็ วา แมสถาบนั พระมหากษัตริยจะมีลกั ษณะของเทวราชาชัดเจนในหลาย สว น แตม ีอกี หลายสว นที่แสดงถึงความเปน “ธรรมราชา” หรือ “พุทธราชา” ของพระมหากษัตริย ในสมัย- สุโขทัยอทิ ธพิ ลของพุทธศาสนาทาํ ใหพ อขุนรามคําแหงเสดจ็ ออกสง่ั สอนประชาชนดว ยพระองคเ องบนขดานหิน “มนังคศิลาบาต” กลางดงตาล หรือพระมหาธรรมราชาลิไท ทรงสรางพระพุทธชินราชเมืองพิษณุโลกและ เสดจ็ ออกผนวช เปน ตน โดยเฉพาะสมยั อยุธยา ท่ีเห็นไดชัดวา พระพุทธศาสนาสงผลตอการรับเอาหลักพุทธ ธรรมมาใชใ นการปกครองบา นเมอื งของสถาบันพระมหากษตั ริย เชน พระมหากษัตริยตองมีทศพิธราชธรรม , จักรวรรดิวัตร 12 และสังคหวัตถุ 4 และหลักธรรมอื่น ๆ อีกมากมาย ซ่ึงพระมหากษัตริยพระองคใด ทรงสมบรู ณพ รอมดว ยธรรมเหลานี้ กจ็ ะทรงไดรบั การยกยองวา ทรงเปน “ธรรมราชา” ในพระราชพงศาวดาร กลา วถึง พระราชกรณยี กิจของพระมหากษัตริยอ ยธุ ยาวา ทรงมพี ระราชศรทั ธา ในการทาํ นุบาํ รุงพระพทุ ธศาสนาในการสรางพระอารามหลวงที่งดงามและใหญโตโอฬารมากมาย ในกรุงศรี- อยุธยา เชน วัดพระศรีสรรเพชญ วัดพระราม วัดราชบูรณะ วัดมหาธาตุ วัดไชยวัตนาราม ฯลฯ และมีการ สถาปนาพระพุทธรูปใหญง ดงาม เชน พระพุทธชินราช พระศรีสรรเพชญ พระพทุ ธไตรรัตนนายก (พระพทุ ธเจา พแนงเชิง) พระมงคลบพิตร เปน ตน พระเจา แผน ดินทุกพระองคทรงบําเพ็ญกุศลเสด็จนมัสการพระพุทธบาท และพระพุทธฉายที่สระบุรีเปนประจํา นับแตรัชกาลสมเด็จพระเจาทรงธรรมเปนตนมา เหตุการณดังกลาว แสดงใหเ หน็ ถงึ ความม่นั คงในหลักพุทธธรรมท่ที รงปรับปรุงพระราชจริยวัตรใหเหมาะกับวิถีความเปนอยูของ คนไทย ในวรรณคดีโคลงพระราชพิธีทวาทศมาสที่กลาวถึงพระราชพิธีสิบสองเดือน ซ่ึงกําหนดไวในรอบป ปรากฏวาหลายพระราชพิธีทท่ี รงพระราชทานพระราชทรัพยโดยการโปรยทานแกประชาชนในการที่สถาบัน พระมหากษตั ริยไ ดแสดงถึงพระเมตตาท่ที รงมตี อประชาชนและมิไดม คี วามเด็ดขาดแรงกลา จนเกินไปในการใช

133 พระราชอาํ นาจเชนนี้ อาจเปน ชอ งทางใหเกิดความไมมนั่ คงในพระราชบลั ลงั กและการสบื ราชสมบัติไดแมจะมี กฎมณเฑียรบาลบังคับใชอยู ทาํ ใหพระมหากษัตริยและองคร ัชทายาทย่ิงตองทรงบําเพ็ญพระบุญญาบารมีให เปน ทจี่ งรกั ภกั ดขี องขนุ นาง ขา ราชการและไพรฟา ขาแผน ดิน ในขณะท่ีตองทรงมีวธิ ีการปรบั ปรงุ ระบบราชการ และการปกครองใหเหมาะสมกับสภาพบานเมืองแตละยุคสมัยดวยจึงจะทรงรักษาพระราชอํานาจและราช- บลั ลงั กเ อาไวไ ด พระมหากษตั รยิ บางพระองคเชื่อในการบําเพ็ญพระบารมีในฐานะพระโพธิสัตว เชน สมเด็จพระเจา ปราสาททอง ทรงอธิษฐานปรารถนาพุทธภูมิ พระองคทรงเปลี่ยนรูปทรงของพระประธานในพระอุโบสถ วัดหนาพระเมรุ เปนพระพุทธรูปทรงเคร่ือง ซึ่งสันนิษฐานไดอีกนัยคือ เปรียบเสมือนพระศรีอริยเมตไตรย จนถงึ กรุงธนบรุ ีและรตั นโกสนิ ทรต อนตน ก็ยังคงรับคตคิ วามเช่อื เชน เดยี วกับสมัยอยธุ ยาไวค อ นขา งจะครบถวน สมบรู ณ เพียงแตการสน้ิ พระชนมของพระมหากษัตริยเ ปล่ยี นจาก คําวาเสด็จนฤพาน (นิพพาน) มาเปนคําวา “สวรรคต” เทานนั้ คือลดฐานะลงมาไมไดแสดงฐานะวาทรงเปน พระพุทธเจา หรือพระโพธิสัตว อยางชัดเจน เชนสมยั อยุธยา สวนสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชน้ันทรงใฝพระทัยในการเจริญกัมมัฏฐานอยางย่ิง หรือ สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราชก็ทรงมีพระปฐมบรมราชโองการวา “ตัง้ ใจจะอปุ ถมั ภก ยอยกวรพทุ ธศาสนา ปองกันขอบขณั ฑสมี า รกั ษาประชาชนและมนตร”ี จะเห็นไดวาพระบรมราชโองการนีแ้ สดงถึงความตระหนักในพระราชภาระท่ีทรงมีตอบานเมืองใน 3 ประการ คอื การปอ งกัน การรกั ษา และการคมุ ครอง “ไพรฟาขาแผนดนิ ” โดยเฉพาะเปน การฟนฟูบํารุงขวัญ และกาํ ลังใจใหแกค นท่ียงั ไมลืมการลม สลายของทุกสถาบันในคราวเสียกรุงศรอี ยธุ ยาครง้ั ท่ี 2 ในป พ.ศ. 2310 ครนั้ มาถงึ ในรัชกาลตอ ๆ มา เชน สมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยหู วั รชั กาลท่ี 4 พระองคทรงเคยผนวชมา นานกอนขึ้นครองราชสมบตั จิ ึงทรงสง เสริมพระพุทธศาสนาอยางเต็มทีต่ ามท่ที รงเลา เรียนมาพระราชกระแสใน รชั กาลท่ี 4 ทรงตรสั ไวตอนหนงึ่ วา “พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยมิไดย่ิงใหญไปกวาความสุขสวนรวม ของประชาชน” และยงั ทรงมแี นวคิดในการเปล่ียนแปลงยอมรับพระราชฐานะของพระมหากษตั ริยวาทรงเปน “มหานกิ ร สโมสรสมมติ” ไมใชการปราบดาภิเษกหรือการขึ้นครองราชย โดยอํานาจดังในอดีต แตเปนการ ยนิ ยอมพรอ มใจยกยอ งของมหาชน และแสดงใหเหน็ วา สถาบันพระมหากษตั ริย ไดเ ริ่มตระหนักใน “อํานาจ” ของประชาชน หรือ “ประชาธิปไตย” มากข้ึน ซ่ึงในรัชสมัยของพระมหากษัตริยอื่น ๆ ถัดมาก็ทรงมี พระราชดําริเก่ียวกับการพระราชทานพระราชอํานาจของพระองคคืนสูประชาชนมากข้ึนมาโดยลําดับ เชน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดใหขุนนางท่ีเดินทางไปราชการในยุโรปใหกลับมาถวาย รายงานถงึ การสังเกตแนวทางการปกครองแบบประชาธปิ ไตยของประเทศเหลานั้น การทดลองใหขาราชการ ไดฝก บทบาทสมมตุ ิในวถิ ีประชาธปิ ไตยจากดสุ ิตธานี ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ตลอดจนการตัดสินพระทัยสละพระราชอํานาจแกประชาชนของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เม่อื คณะราษฎรทต่ี ้ังตนเองเปนตวั แทนของราษฎรขอพระราชทานอํานาจอธปิ ไตย การท่คี วามหา งเหินกันดวย ระบบเทวราชเกอื บจะหมดไปโดยสนิ้ เชิงในหว งเวลาน้ีนับสมัยรชั กาลท่ี 4 เปน ตน มา ทรงโปรดฯ ใหประชาชน

134 เฝา ชมพระบารมีไดสะดวกขึ้นกวาในอดตี และเร่ิมคลี่คลายมากจนนัง่ เกาอใี้ นขณะเขา เฝาได แตประชาชนก็ยัง ยนิ ดที ่จี ะหมอบกราบแทบพระยุคลบาทดวยความรูสึกจงรักภักดีเสมือนพระองคทรงเปนเจาชีวิตดังแตกอน แมก ารปกครองดว ยสถาบนั กษัตริยข องไทยเราจะมีลักษณะเปนการปกครองที่ประชาชนไมมีสวนรวมในการ กาํ หนดผูปกครอง อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศเปนของพระมหากษัตริย แตมีลักษณะท่ีผิดไปจาก ระบอบเผด็จการ เพราะพระมหากษตั ริยไ ดร บั การยอมรบั เทิดทนู จากประชาชน ในลกั ษณะเปน เสมือนสถาบนั ศกั ดิส์ ทิ ธทิ์ ใ่ี หความคุมครองแกต น การยอมอยใู ตก ารปกครองของพระมหากษัตริยเปนไปดวยความสมัครใจ บังเกิดจากความจงรักภักดีเพราะตระหนักวา ประเทศชาติมีความสงบและมั่นคงดวยพระบารมีของ พระมหากษัตรยิ ซ ึ่งมีระบบศักดินาชว ยจัดระเบียบทางสงั คมสบื เนอ่ื งจนถงึ สมยั รตั นโกสนิ ทรตอนตนดวยจึงเลิกไป พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช พระราชดําเนนิ ที่รพ.ศิรริ าช (รชั กาลทื่ 9) เสด็จออกสีหบัญชร บทบาทของสถาบนั พระมหากษตั ริยในการพัฒนาชาตไิ ทย สถาบันพระมหากษัตริยมีความสําคัญอยางย่ิงในการเปนศูนยรวมจิตใจของชนชาวไทยทุกหมู เหลา ทุกฐานะทุกเชื้อชาติและศาสนา ตางยึดถือพระมหากษัตริยเปนธงชัย เปนท่ีพึ่ง และเปนแบบอยาง ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ทง้ั นี้เพราะชาวไทยมีความเชื่อม่ันศรัทธารวมกันวาองคพระมหากษัตริยทุกพระองคทรงมี พระบุญญาธิการอนั สงู สง ดว ยทรงบาํ เพญ็ พระบารมีสั่งสมมาหลายภพชาติ ดุจดังความเชื่อในพุทธศาสนาวา บุรุษที่ไดบําเพ็ญกุศลทานอันถึงพรอมชักชวนใหผูคนมารวมกุศลอันยิ่งใหญแลวเทานั้นจึงจะไปบังเกิด ในดาวดึงสเสวยอินทรสมบัติในวิมานน้ันได และยังเชื่อวาพระมหากษัตริยคือพระโพธิสัตวเสด็จลงมาจาก สวรรคช ัน้ ดสุ ิตเพ่ือลงมาบาํ เพ็ญพระบารมเี พ่ือการตรัสรูในพทุ ธภูมิอันใกล บา งก็เชอ่ื วา พระองคค ือ พระอิศวร มหาเทพ หรือพระวษิ ณอุ วตารลงมาดับทุกขร อ นใหป วงชนในมนษุ ยโลก

135 พระสยามเทวาธริ าชทลู เชิญพระอศิ วรลงมาจตุ ิเปนสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ดว ยความศรทั ธาอันหย่ังรากลกึ ลงในจิตใจของชาวไทยทุกหมูเหลาตอสถาบันพระมหากษัตริย เชนน้ี จึงเปน สิ่งทท่ี าํ ใหส ถาบันพระมหากษัตรยิ เ ปน ทีห่ วงั พ่ึงในพระบารมแี ละพระมหากรณุ าธิคณุ ในทุก ๆ ดาน โดยท่ี สมาชกิ ในสถาบันพระมหากษตั ริยกไ็ ดรบั การกาํ หนดบทบาทดวย “ธรรมะของพระราชา”อยูแลวรวมทั้งการ ส่ังสมมาโดยการบอกกลาวส่ังสอนมาในสายพระราชสกุลถึงความรับผิดชอบตอพระราชภาระของผูครอง แผน ดนิ ดงั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัวทรงกวดขนั ดูแลพระราชโอรส คือ สมเดจ็ เจา ฟา กรมขุนพนิ ติ ประชานาถ (ตอมาคือรชั กาลที่ 5) ในการศึกษาราชการแผน ดินโดยโปรดเกลาฯ ใหเฝาปฏิบัติประจําพระองค นอกเหนอื จากเวลาเฝา ตามปกตเิ พอื่ ทรงรับฟงพระบรมราโชวาทและพระบรมราชาธิบายในเร่ืองราชการและ ราชประเพณีตาง ๆ อยเู สมอ หรอื ความในพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงมีถึงสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจาฟามหาวชิรุณหิศถึงภาระรับผิดชอบของผูเกิดในราชตระกูลภายใต พระมหาเศวตฉัตรวาอยาถือวา ตวั เองมีบุญแตใหถ อื วา มีกรรมทต่ี อ งมีหนาท่ีตองปฏบิ ตั ติ อประชาชนในดานการ ศกึ สงครามผทู เี่ ปน องคร ัชทายาทนนั้ จะตอ งฝก ฝน และรบั ผิดชอบตั้งแตทรงพระเยาว พ.ศ. 2357 ในรัชสมัย พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลัย เม่ือมอญไมพอใจท่ีถูกพมาเกณฑแรงงานกอสรางพระเจดีย จึงกอ กบฏท่ีเมืองเมาะตะมะ ทําใหถูกพมาปราบปราม ตองหนีเขามายังไทยเปนระลอกใหญเพ่ือพ่ึงพระบรม โพธสิ มภาร เจา ฟา มงกุฎ (ตอ มาคือรัชกาลท่ี 4) เสด็จเปนแมก องพรอ มดวยกรมหลวงพิทักษมนตรี ออกไปรับ ถึงชายแดน แมแตพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยเองก็ทรงไดรับการฝกฝนใหไปราชการสงคราม ตงั้ แตพระชนมายเุ พียง 8 พรรษา ท่ีเดนชัดคือบทพระนิพนธของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีที่ทรงกลาว เปรียบเทียบการทรงงานวา คือการเดินไปในปาท่ีมีแตอันตรายในบทรําพึงของลูกและบทปลอบใจของ พอ ใหล กู มีกาํ ลังใจทีจ่ ะทาํ ตามอุดมการณค ือการเสียสละเพือ่ ผอู น่ื ดงั นั้นบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย

136 จึงเปลยี่ นไปไมใ ชเ พยี งการทรงงานของพระมหากษัตรยิ เ พียงลาํ พังแตพระบรมวงศานุวงศกร็ ว มมบี ทบาทตาง ๆ กนั ทจี่ ะชวยสงเสรมิ ความเจรญิ กา วหนา แกช าติบานเมอื งมิใชเ พียงออกทาํ ราชการสงครามเทา นัน้ ฉันเดินตามรอยเทา อันรวดเรว็ ของพอโดยไมห ยุด ผานเขาไปในปา ใหญ นากลวั ทบึ แผไ ปโดยไมม ที สี่ ้นิ สุด มืดและกวา ง มตี น ไมใหญเ หมือนหอคอยท่เี ขม แขง็ พอ จา ...ลกู หิวจะตายอยแู ลว และเหนอื่ ยดวย ดซู ิจะ เลอื ดไหลออกมาจากเทาทง้ั สองท่ีบาดเจ็บของลกู ลูกกลัวงู เสอื และหมาปาพอ จา ...เราจะถงึ จุดหมายปลายทางไหม? ลูกเอย...ในโลกนี้ไมม ที ่ไี หนดอกท่มี ีความรื่นรมณแ ละความสบายสําหรบั เจา ทางของเรามไิ ดป ูดวยดอกไมสวยสวยจงไปเถิด แมวา มนั จะเปน สิง่ ท่ีบบี ค้นั หวั ใจเจา พอเห็นแลว วา หนามตาํ เนอ้ื ออ นออนของเจาเลอื ดของเจา เปรียบดงั่ ทบั ทมิ บนใบหญาใกลน ้ํา นํ้าตาของเจา ท่ไี หลตอ งพุมไมสเี ขยี วเปรียบดง่ั เพชรบนมรกตทีแ่ สดงความงามเต็มท่ี เพ่อื มนุษยชาต.ิ ..จงอยา ละความกลาเมอ่ื เผชิญกบั ความทุกข. ...ใหอ ดทนและสุขมุ และจงมีความสขุ ทไ่ี ดย ดึ อุดมการณทม่ี คี า ไปเถดิ ..ถา เจาตองการเดนิ ตามรอยเทาพอ บทพระราชนิพนธส มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ

137 บทบาทหนาที่ของพระมหากษัตริย บทบาทหนาท่ีของพระมหากษัตริยคือ การเปนประมุขของประเทศ และทรงมีหนาที่ในดานการ ปกครอง เสริมสรางความม่ันคงใหพระราชอาณาจักร นอกจากนี้ พระมหากษัตริยก็ยังทรงสงเสริมดาน เศรษฐกจิ ทําใหม ีความมง่ั ค่ังเจรญิ รุงเรอื ง พรอมท้ังทํานบุ าํ รุงศลิ ปวฒั นธรรมสรางความงดงามในความเปน ไทย 1. ดานการเมืองการปกครองและเสริมสรางความม่นั คง พระมหากษัตริยทรงเปน ผนู าํ ในการสรา งความม่นั คงในพระราชอาณาจกั ร และทรงเปน จอมทัพในการ ทําศึกสงครามเพื่อขยายพระราชอาณาเขตใหกวางใหญไพศาล ในขณะเดียวกันพระมหากษัตริยก็ยังทรง ปกปองบา นเมืองจากขา ศึกศัตรู ดังเชน สมัยสุโขทัยพอขุนบางกลางหาว ทรงรวมมือกับพอขุนผาเมืองขับไล ขอมสบาดโขลญลาํ พงออกจากสโุ ขทัย พอขุนบางกลางหาวทรงยึดเมืองศรีสัชนาลัยไวไดและทรงคืนเมืองให พอ ขุนผาเมอื ง สวนพอ ขนุ ผาเมืองก็ทรงปราบดาภเิ ษกพอขุนบางกลางหาวเปน กษัตริยสุโขทัย ทรงพระนามวา “พอขนุ ศรอี นิ ทราทติ ย” ปฐมกษตั ริยแ หงราชวงศพ ระรวงเจา กรุงสุโขทัย พอขุนศรีอินทราทิตยทรงปกครอง บานเมืองแบบพอปกครองลูกและปกปองพระราชอาณาเขตเพ่ือใหไพรฟาประชาชนอยูอยางรมเย็นเปนสุข พระองคทรงทําสงครามยุทธหัตถีกับขุนสามชน เจาเมืองฉอด โดยมีพระราชโอรสองคที่ 3 รวมรบจนสามารถ เอาชนะขุนสามชนได พระองคจ งึ ทรงเฉลิมพระนามวา “พระรามคําแหง” คร้ันตอมา พระรามคําแหงก็ไดข้ึนครองราชยตอจากพอขุนบานเมือง ซ่ึงเปนพระเชษฐาธิราชของ พระองคทรงพระนามวา “พอขุนรามคาํ แหง”พระองคท รงปกครองบา นเมือง และขยายพระราชอาณาเขตได กวางใหญไพศาลท่ีสุดในสมัยสุโขทัย คือ ทิศตะวันออกทรงปราบไดถึงเมืองสระหลวง สองแคว (พิษณุโลก) ลุมบาจาย สะคา ขามฝงแมนํ้าโขงไปถึงเวียงจันทน เวียงคําในลาว ทิศใตทรงปราบไดคนที (บานโคน กาํ แพงเพชร) พระบาง (นครสวรรค) แพรก (ชัยนาท) สุพรรณภูมิ ราชบุรี เพชรบรุ ี นครศรีธรรมราช มฝี งทะเล สมทุ ร (มหาสมุทร) เปนเขตแดน ทางทิศตะวนั ตกทรงปราบไดเมืองฉอด เมืองหงสาวดี และมีมหาสมุทรเปน เขตแดน ทิศเหนือทรงปราบไดเมืองแพร เมืองนาน เมืองพลัว (อําเภอปว จังหวัดนาน) ขามฝงโขงถึงเมืองชวา (หลวงพระบาง) เปน เขตแดน นอกจากน้ี พอขนุ รามคําแหงมหาราชยงั ทรงสรางพระราชไมตรีกับพระยามังราย แหง ลา นนา และพระยางําเมอื งแหงพะเยา ทรงยินยอมใหพระยามังรายขยายอาณาเขตลานนาทางแมนํ้ากก แมน ํา้ ปง และแมน้าํ วังไดอ ยา งสะดวก เพราะพระองคต องการใหล านนาเปนกนั ชนระหวา งจนี กบั สุโขทยั เมื่อ พ.ศ. 1839 พอขนุ รามคาํ แหงมหาราชยงั ทรงชว ยเหลอื พระยามงั รายหาชัยภมู ิในฐานะมติ รสหาย สว นในสมัยอยธุ ยา พระเจา อูทองทรงรวบรวมสพุ รรณบรุ ีกับละโว ซึ่งเปนกลุมเมืองในเครือญาติเขา ดวยกัน แลวสถาปนากรุงศรีอยุธยาบริเวณที่เรียกวา หนองโสน เมื่อจุลศักราช 712 ปขาล โทศก วันศุกร ขนึ้ 6 ค่ํา เดือนหา เวลารงุ แลว 3 นาฬกิ า 9 บาท (9 โมงเชา 54 นาท)ี เมือ่ แรกเสวยราชสมบัติทรงพระนามวา สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสุนทรบรมบพิตรพระพุทธเจาอยูหัว ขณะพระชนมายุได 37 พรรษา ภายหลังการ สถาปนาพระราชอาณาจักรแลว ปรากฏความในจุลยุทธการวงศวา ประเทศราช 16 หัวเมือง ไดเขามาถวาย บังคมยอมรับในพระราชอํานาจ เชน มะละกา (แหลมมลาย)ู ชวา (หลวงพระบาง) ตะนาวศรี นครศรธี รรมราช

138 ทวาย เมาะตะมะ เมาะลาํ เลิง สงขลา จนั ทบูรณ พิษณโุ ลก สุโขทยั พชิ ยั สวรรคโลก พิจิตร กําแพงเพชร และ นครสวรรค นอกจากนีพ้ ระองคย งั ทรงทําสงครามและกวาดตอนเทครวั ชาวกัมพูชามายังกรงุ ศรอี ยุธยา รัชสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ทรงโปรดใหมีการปฏิรูประบบบริหารราชการแผนดิน โดยการ แตงต้ังตําแหนงสมุหพระกลาโหม ดูแลทหาร และสมุหนายก ดูแลพลเรือน ขณะเดียวกันพระองคก็ยังทรง แตง ตง้ั คณะบุคคลขน้ึ มารบั สนองพระราชกจิ ซ่ึงแบง เปน 4 ฝาย เรียกวา จตสุ ดมภ คือ อธบิ ดกี รมเมือง (เวียง) อธิบดกี รมวงั อธิบดกี รมคลัง อธิบดีกรมนา และพระองคย งั ทรงโปรดใหพระญาติวงศไ ปปกครองบานเล็กเมือง นอยตามฐานะดว ย แตต องอยูในพระเนตร พระกรรณของพระองค ดังน้ันสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงทรง เปน ศนู ยก ลางอาํ นาจในการปกครองทั้งปวง สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทํายทุ ธหัตถกี บั พระมหาอปุ ราชาเมื่อ พ.ศ. 2135 ตอมาในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระมหากษัตริยแหงกรุงศรีอยุธยา ผูทรงพระปรีชา สามารถในดานการทําศึกสงคราม พระองคทรงขยายพระราชอาณาเขตออกไปอยางกวางขวางและปกปอง บานเมอื งจากขา ศึกศัตรู เชน สงครามยุทธหตั ถี เม่อื พ.ศ. 2135 พระเจาหงสาวดนี ันทบเุ รง ทรงใหพระมหา- อุปราชายกทพั มาบุกกรุงศรอี ยธุ ยาผานดานเจดียส ามองค สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเม่อื ทรงทราบขาวศกึ กท็ รงแตงกองทพั พรอ มดวยสมเดจ็ พระเอกาทศรถ พระอนุชาธิราชออกรบกับพระมหาอุปราชาที่หนองสาหราย พระองคทรงทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาจนสามารถเอาชนะไดสําเร็จ ผลของสงครามทําใหพระมหา- อุปราชาทรงสน้ิ พระชนมบ นคอชา ง ในการทาํ สงครามยทุ ธหตั ถคี รงั้ น้เี ปน สาเหตทุ าํ ใหพ มาไมกลาเขา มารุกราน กรุงศรีอยุธยายาวนานกวา 100 ป คร้นั ในสมัยสมเดจ็ พระนารายณมหาราช พระองคท รงเจริญสมั พันธไมตรกี ับพระเจาหลุยสท ่ี 14 แหง ประเทศฝร่ังเศส เพอ่ื สรา งรากฐานแหงพระราชอํานาจใหเปน ที่นา เกรงขามในบรรดานานาประเทศ เน่ืองจาก ฝรั่งเศสเปน ประเทศมหาอาํ นาจที่ไดรับการยอมรบั โดยทั่วไปวามคี วามสามารถทางดา นการรบ และความเจรญิ ดา นศิลปวทิ ยาการ สมเด็จพระนารายณมหาราชทรงโปรดใหท หารชาวตางชาตมิ ารบั ราชการในราชสํานักและ ทรงสรา งเมืองลพบรุ ไี วเ ปน ราชธานแี หง ท่ี 2 พรอ มท้ังใหชาวตา งชาติสรางปอมปราการไวเพ่ือต้ังรับขาศึกศัตรู ที่จะเขามากระทําอันตรายตอ พระราชอาณาจกั ร

139 สมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราช พระมหากษตั ริยแหงกรงุ ธนบุรี เม่ือกรงุ ศรอี ยุธยาพา ยแพใหกับพมา ในป พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราชทรงกอบกูเ อกราช ขับไลขาศึกศัตรูออกจากพระราชอาณาจักร แลวพระองคก็ทรงสถาปนากรุงธนบุรีเปนราชธานี ตอจากนั้น พระองคก็ไดทรงรวบรวมบานเมืองใหเปนปกแผนดวยการปราบปรามชุมนุมตาง ๆ คือ ชุมนุมเจาพระยา- พิษณโุ ลก (เรือง) ชุมนุมเจา พระฝาง (เรอื น) ชมุ นมุ เจาพระยานครศรีธรรมราช (หน)ู และชุมนมุ เจา พมิ าย หรือ กรมหมนื่ เทพพิพธิ กระท่งั ถึง พ.ศ. 2313 จึงสามารถมีชยั เหนือชุมนมุ ตา ง ๆ ไดท งั้ หมดสงผลใหช าตไิ ทยกลบั มา รวมเปนอันหนง่ึ อันเดยี วกนั อีกครั้ง หลังศึกอะแซหวุนกี้ ใน พ.ศ. 2318 สมเด็จพระเจา ตากสินมหาราชทรง ดําเนนิ การขยายพระราชอาณาเขตของกรุงธนบุรีออกไปอยางกวางใหญไพศาล ทิศเหนือไดถึงเมืองเชียงใหม ทิศใตต ลอดหัวเมืองตานี (ปต ตาน)ี ทิศตะวันออกตลอดกัมพูชา จําปาศักดิ์ถึงญวนใต ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตลอดเวยี งจันทน หวั เมอื งพวน และหลวงพระบาง ทิศตะวนั ตกถึงเมืองมะริด และตะนาวศรอี อกมหาสมุทรอนิ เดีย ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช พระองคทรงสถาปนาราชธานี ขน้ึ ใหมในป พ.ศ. 2325 บริเวณฝง ตะวันออกของแมน้ําเจาพระยา เรียกวากรงุ รัตนโกสินทร ในตอนตนรัชกาล พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงรวมกับกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ผูเปน พระอนุชาธิราชทําศึกสงครามกับพมา ในป พ.ศ. 2328 ซึ่งเปนสงครามคร้ังใหญ เรียกวา สงคราม 9 ทัพ พระเจา ปดุง กษตั ริยแ หง พมา ยกกองทัพมาตไี ทยมากถงึ 9 ทัพ ต้ังแตทิศเหนือ ทิศตะวนั ตก และทิศใต แตดวย พระปรีชาสามารถของท้ังสองพระองคจึงเอาชนะพมาไดสาํ เร็จ

140 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั (กลาง) ทรงฉายพระรปู กบั สมเด็จฯ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ (ขวา) และสมเด็จฯ กรมพระยาเทวะวงศวโรปการ (ซาย) ครน้ั ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 แหง กรงุ รัตนโกสินทร พระองค ทรงปฏิรูปบานเมืองใหทัดเทียมกับนานาประเทศที่เขามาเจริญสัมพันธไมตรีในราชสํานักสยาม ทรงมี พระราชดําริแกไขระบบบริหารราชการแผนดินคร้ังใหญเมื่อป พ.ศ. 2435 โดยทรงยกเลิกระบบเสนาบดี แบบเดมิ ท่มี ีมาตัง้ แตส มัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แลว ทรงจัดตัง้ กระทรวงจํานวน 12 กระทรวง ทรงแบง หนาทใ่ี หชดั เจน และเหมาะกบั ความเปล่ียนแปลงของบานเมือง พระราชกรณียกิจทสี่ ําคัญของพระองคค อื การ รกั ษาเอกราชของชาติไวไดร อดปลอดภยั ในขณะทีป่ ระเทศเพอ่ื นบานโดยรอบ ทวั่ ทุกทศิ ตองตกเปน อาณานิคม ของชาติตะวันตก โดยเฉพาะอังกฤษกบั ฝรงั่ เศส ซ่ึงในขณะนั้นเปน มหาอาํ นาจที่นาหวาดกลวั ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) พระองคทรงเปนประมุข ของประเทศตามรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย และทรงเปน ผูที่คอยบาํ บดั ทกุ ขบ ํารงุ สขุ ของพสกนิกรชาว ไทยท้ังประเทศ ดังพระบรมราชโองการแกประชาชนชาวไทยวา “เราจะครองแผน ดินโดยธรรม เพ่อื ประโยชน สุขแหงมหาชนชาวสยาม” พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เปนที่ ประจกั ษ ทั้งชาวไทยและชาวตางชาตนิ บั ตั้งแตท รงครองสริ ิราชสมบัติพระองคทรงอุทิศกําลังพระวรกาย และ กําลังพระสติปญญาเพื่อประโยชนสุขของประชาชนตลอดมา ทรงเสด็จพระราชดําเนินเย่ียมราษฎรทั่วท้ัง ประเทศ ซ่งึ ทาํ ใหทรงทราบถงึ ปญ หาทุกดานของประชาชน จนนํามาซ่ึงโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ตาง ๆ เชน โครงการฝนหลวง เพ่ือชวยเหลอื เกษตรกรที่ประสบภัยแลง การขาดแคลนนํ้าหรือฝนท้ิงชวง และ ชวยดานการอุปโภคบริโภคของประชาชน โครงการนํ้าดีไลน ้ําเสยี เพ่อื แกไ ขปญหามลพษิ ทางนาํ้ โครงการแกม ลิงอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อแกไขปญหาน้ําทวม พระราชดําริการอนุรักษปาไมดวยการสราง ความสํานกึ ใหรักปา ไมรวมกัน การปลูกปา นอกจากนี้ยังมแี นวพระราชดําริดานการเกษตร คือ เกษตรทฤษฎี ใหมอนั เปน การใชป ระโยชนจ ากพื้นที่ที่มีอยอู ยางจาํ กดั ใหเ กดิ ประโยชนส งู สุด แนวพระราชดาํ ริเร่อื งเศรษฐกิจ พอเพียงซึง่ เปนวถิ ีแหง การดําเนินชวี ิตอยอู ยา งเรียบงาย รูจักประมาณตน มีเหตุผล มีภูมิคุมกันท่ีดี มีความรู คูคุณธรรม และโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ รอิ นื่ ๆ อกี มากมาย

141 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) ทรงบําเพญ็ พระราชกรณยี กิจนานัปการเพ่อื บาํ บัดทุกขบาํ รุงสขุ ของพสกนิกรชาวไทย พัฒนาการบทบาทหนาที่ของพระมหากษัตริยจากอดีตสูปจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไปในบริบท ทางสังคมของแตล ะยคุ สมัย เพราะพระมหากษัตรยิ ในอดีตตองเปนจอมทัพในการทําศึกสงครามปกปองและ ขยายพระราชอาณาเขต สรางความเปนปกแผนมั่นคง ความเจริญรุงเรืองของพระราชอาณาจักร สวนใน ปจจุบันพระมหากษัตริยทรงไมไดทําศึกสงครามแลว แตทรงมีบทบาทในการบําบัดทุกขบํารุงสุข แกอาณา ประชาราษฎรใหอยรู มเยน็ ภายใตพ ระบรมโพธิสมภารดว ยการแกไขปญหาการทาํ มาหากนิ และการดาํ เนินชีวติ ของประชาชนโดยทรงพระราชทานโครงการหลวงตา ง ๆ ตามแนวพระราชดําริ ในรัชกาลปจจุบนั สมเดจ็ พระเจา อยหู ัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู พระองคข้ึนทรงราชย- สืบราชสันตติวงศ เปนสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 10 ทรงเปนประมุขของประเทศตามรัฐธรรมนูญแหง- ราชอาณาจักรไทย และสานตอพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท9ี่ ) ตอไป

142 นอกจากน้พี ระบรมวงศานวุ งศท กุ พระองคในราชตระกลู กย็ งั ทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจในดานตาง ๆ ตามรอยเบือ้ งพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช (รชั กาลที่ 9) ดงั น้ัน สถาบนั พระมหากษัตริยจ ึงเปน ศนู ยร วมจิตใจของปวงชนชาวไทยท้ังปวง 2. ดา นการสง เสรมิ เศรษฐกิจของชาติ การสงเสริมเศรษฐกิจของชาติ เปนบทบาทที่สําคัญของสถาบันพระมหากษัตริย ต้ังแตสมัยสุโขทัย เปนราชธานี ในศิลาจารึกสุโขทัยหลกั ที่ 1 กลาวเก่ียวกบั การสงเสริมการคา ในสมยั พอ ขุนรามคาํ แหงมหาราชวา “เจาเมืองบเ อาจกอบในไพรลูทาง เพือ่ นจูงววั ไปคาข่ีมาไปขาย ใครจกั ใครค าชางคา ใครจักใครค ามา คา ใครจัก ใครคาเงือน (เงนิ ) คาทองคา” จากขอความขางตน แสดงใหถึงการสงเสริมเศรษฐกิจการคาของพระมหากษัตริยดวยการเปดเสรี ทางการคา และไมเก็บ “จกอบ” ซ่ึงหมายถึงภาษีคาผานดานกับบรรดาพอคาท่ีมาทําการคาในสุโขทัย พระมหากษัตริยสมัยสุโขทัยมีการปรับปรุงระบบชลประทาน เพ่ือกักเก็บน้ําตามธรรมชาติใหเพียงพอตอ การอปุ โภค บริโภค ตลอดท้ังปของไพรฟา ปรากฏวา มกี ารขุดสระ (ตระพงั ) สรางเขอ่ื น (สรีดภงส หรือทํานบ พระรวง) ดังในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 วา “กลางเมืองสุโขทัยนี้มีนํ้าตระพังโพยสีใสกินดี ดั่งกินน้ําโขง เม่อื แลง” ซงึ่ เปน การสงเสริมการทําเกษตรกรรมของบรรดาไพรฟา เชน การปลูกหมาก พลู มะพราว ขนุน มะมว ง มะขาม และทรพั ยากรอื่น ๆ สว นการคา กบั ตา งประเทศ องคพระมหากษัตรยิ ทรงสนับสนุนใหพ อคาชาวตางชาติเขามาทํา การคา กับสโุ ขทยั อาทิ จีน อนิ เดีย เปอรเซยี อาหรบั มะรดิ และลาว ฯลฯ สินคาสําคัญของสุโขทัยที่สงไปคาขายกับ ตางประเทศ คือ เครื่องสังคโลก ซึ่งเปนเคร่ืองปนดินเผาท่ีมีสีเขียวไขกา น้ํายาเคลือบแตกลายงา เปน ลกั ษณะเฉพาะของสโุ ขทัยที่งดงาม เศรษฐกิจสมัยสุโขทัยเรม่ิ ขยายตัวเพ่ิมมากขึ้นเพราะพระมหากษัตริยทรงสนับสนุนการคาทั้งภายใน และภายนอก ประกอบกับสุโขทัยมีความอุดมสมบูรณ จึงเปนปจจัยสําคัญท่ีชวยสงเสริมนโยบายของ พระมหากษตั รยิ สมยั สโุ ขทยั ใหป ระสบความสาํ เร็จ ความอุดมสมบรู ณ น้ปี รากฏในศลิ าจารกึ สโุ ขทยั หลักท่ี 1 วา “เมืองสโุ ขทัยนีด้ ี ในนํา้ มีปลา ในนามขี า ว” สมัยอยุธยามีที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ สังคมอยุธยาเปนสังคมเกษตร ประกอบอาชพี ทํานา ทําสวน ทําไร และการประมง ผลผลิตทางการเกษตรทงั้ มที ี่เก็บไวบริโภคและทําการคาขาย พระมหากษัตรยิ ท รงมนี โยบายสง เสริมเศรษฐกิจดวยการสรางเสนทางคมนาคมใหสะดวกขึ้น เชน การขดุ คลอง ลดั เช่อื มกับลํานา้ํ หลัก อาทิ แมน าํ้ เจาพระยา แมน าํ้ ปาสกั แมน้ําลพบุรี นอกจากนี้ ยังทรงเจริญสัมพันธไมตรี กบั นานาประเทศ ท้ังชาติตะวันออกและชาติตะวันตก ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ทรงผูกมิตรกับ พระเจา หลยุ สท ่ี 14 ดวยการสงราชฑูตนําพระราชสาสนไปเจริญสัมพันธไมตรี ณ ประเทศฝรั่งเศส พระองค ไมทรงกดี กันชาวตา งชาติที่เขามายงั ราชสํานกั เพราะทรงมีวิสัยทัศนกวางไกลในการนําพาประเทศไปสูความ เจริญมั่งคั่งและม่ันคง นอกจากน้ีพระองคยังทรงติดตอกับจีน ญ่ีปุน ชวา ญวน อินเดีย เปอรเซีย ฮอลันดา และอกี หลายประเทศในทวปี ยุโรป สงผลใหการคาสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช เจริญรุงเรืองเปนที่โดด เดน มากในสมัยอยธุ ยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook