Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สค31001

สค31001

Published by สกร.อำเภอพรรณานิคม, 2020-07-05 04:21:03

Description: สค31001

Search

Read the Text Version

193 3. สถาบนั ทเ่ี กย่ี วของกบั การแลกเปลี่ยน ไดแก 1) คนกลาง (Middleman) หมายถึง ผูทําหนาที่เปนส่ือกลางระหวางผูผลิตกับผูบริโภค เชน พอคาขายปลีก พอคาเรตาง ๆ เปนตน คนกลางมีประโยชนทําใหผูบริโภคไดใชสินคาและบริการตามความ ตองการแตถ าคนกลางเปน ผูเอาเปรียบผบู รโิ ภคมากเกนิ ไปจะทําใหประชาชนเดอื ดรอน 2) ธนาคาร (Bank) คือ สถาบันการเงินที่ใหความสะดวกในดานการแลกเปลี่ยน ธนาคารทํา หนาท่เี ปน ตวั กลางระหวางผอู อมและผลู งทนุ 3) ตลาด (Market) ในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง กระบวนการแลกเปลี่ยนซ้ือขายสินคาและ บรกิ าร ไมไดหมายถึงสถานท่ีทําการซ้ือขายสนิ คา แตเปนสถานทใ่ี ด ๆ ทส่ี ามารถติดตอซ้ือขายกันได อาจจะมี หลายรูปแบบ เชน ตลาดขา ว ตลาดหนุ ตลาดโค กระบอื เปนตน หนา ทีส่ ําคัญของตลาด ไดแก 3.1) การจัดหาสินคา (Assembling) คอื จัดหา รวบรวมสินคา และบริการมาไวเพื่อจําหนาย แกผตู อ งการซ้ือ 3.2) การเก็บรักษาสนิ คา (Storage) คอื การเกบ็ รกั ษาสนิ คา ท่ีรอการจาํ หนา ยแกผตู องการซอ้ื หรือเกบ็ เพื่อการเก็งกาํ ไรของผูข าย เชน โกดัง หรอื ไซโลเก็บพืชผลตาง ๆ เปน ตน 3.3) การขายสินคา และบรกิ าร (Selling) ทาํ หนา ที่ขายสนิ คาและบรกิ ารแกผูต องการซอ้ื เชน รานคาปลกี หา งสรรพสินคา ตลาดสด เปนตน 3.4) การกําหนดมาตรฐานของสินคา (Standardization) ทําหนาที่กําหนดมาตรฐานของ สินคาท่นี าํ มาเสนอขายในดานของนํ้าหนกั ปริมาณและคณุ ภาพ เพือ่ ใหผ ซู ือ้ เกดิ ความไววางใจในสินคาที่นํามา เสนอขาย 3.5) การขนสง (Transportation) ระบบการขนสงทําหนาท่ีสงสินคาที่นํามาแลกเปล่ียนซ้ือ ขายกนั การขนสงมคี วามสําคญั เพราะทุกขั้นตอนของการผลิตจะตองผานกระบวนการขนสงทง้ั สน้ิ 3.6) การยอมรับการเสี่ยงภัย (Assumtion of Risk) ตลาดจะยอมรับการเสี่ยงภัยตาง ๆ อนั อาจเกดิ ข้ึนจากการแลกเปล่ียนซอ้ื ขาย อาทิ ความเสยี่ งภยั เกี่ยวกบั สนิ คาสญู หายหรอื เสอ่ื มภาพ เชน สินคา การเกษตร ยารักษาโรค อาหาร เปนตน 3.7) การเงิน (Financing) ตลาดทําหนาที่รับจายเงินในข้ันตอนตาง ๆ ของการซื้อขาย ตลอดจนการจัดหาทนุ หมุนเวียนและสนิ เชือ่ ตาง ๆ เพือ่ การดําเนนิ ธรุ กิจเกย่ี วกับการแลกเปล่ยี นซ้อื ขาย ในการแขงขนั ตลาดแบง ออกเปน 2 ลกั ษณะคือ 1) ตลาดท่ีมีการแขงขันท่ีไมสมบูรณ (Imperfect Competitive Market) เปนตลาดที่พบอยู โดยทวั่ ไปในประเทศตา ง ๆ ลักษณะสาํ คญั ของตลาดชนิดน้ีคือ มักมีการจํากัดอยางใดอยางหน่ึงที่ทําใหผูขาย หรือผซู ื้อมอี ิทธพิ ลตอการกําหนดราคาหรือปริมาณได ตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณแบงออกเปน 3 แบบ ไดแก 1.1) ตลาดก่ึงแขงขันก่ึงผูกขาด (Monopolistic Comtetition) คือ ตลาดที่มีผูซื้อขาย จาํ นวนมาก สนิ คา ของผูขายแตล ะรายจะมคี วามแตกตางกันเพียงเลก็ นอยแตไมเหมอื นกนั ทุกประการ สามารถ ท่ีจะทดแทนกนั ไดแ ตไ มอาจทดแทนกันไดอยางสมบูรณ สวนใหญจะแตกตางกันในเรื่องของการบรรจุหีบหอ

194 และเครื่องหมายการคา ในตลาดชนิดน้ีผูขายสามารถกําหนดราคาไดบางแตตองคํานึงถึงราคาของผูขาย รายอื่น ๆ ดวย ตัวอยางของสินคาในตลาด กึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด ไดแก ผงซักฟอก ยาสีฟน สบู ยาสระผม แปง เด็ก เปน ตน 1.2) ตลาดผขู ายนอยราย (Oligopoly) หมายถงึ ตลาดทมี่ ผี ขู ายไมม ากนัก ผูขายแตละราย จะมีสวนแบง ในตลาด (Market Share) มาก สนิ คาที่ซื้อขายในตลาดจะมลี กั ษณะคลา ยคลงึ กันแตไ มเหมอื นกัน ทุกประการ เชน การผลิตนาํ้ อัดลมในประเทศไทยมีเพยี งไมกีร่ าย ถาหากผูผลติ นํ้าอัดลมรายใดลดราคาสินคา ลงจะทําใหปรมิ าณขายของผูผลิตรายน้ันเพิ่มข้ึนและปริมาณขายของผูอ่ืนจะลดลง แตอยางไรก็ตามผูขายใน ตลาดชนดิ นีม้ กั จะไมลดราคาแขง ขนั กนั เพราะการลดราคาเพอ่ื แยงลกู คาซึ่งกันและกันในที่สุดจะทําใหรายได ของผูขายทกุ รายลดลงโดยที่ไมไดลูกคาเพิม่ ดงั นั้น ผขู ายมกั จะแขงขันกันดวยวิธีอ่ืน เชน การโฆษณาและการ ปรับปรุงคุณภาพของสินคา เปนตน ตัวอยางสินคาในตลาดชนิดนี้ ไดแก น้ําดื่ม น้ําอัดลม น้ํามัน รถยนต เปนตน 1.3) ตลาดผูกขาด (Monopoly) หมายถงึ ตลาดทม่ี ีผูขายเพียงรายเดียวสินคาท่ีซื้อขายใน ตลาดมีคุณลกั ษณะพเิ ศษไมเ หมอื นใคร ไมสามารถหาสินคา อื่นมาทดแทนไดอ ยางใกลเ คียง เปนการผูกขาดตาม นโยบายของรัฐบาล เชน การผลติ บหุ รี่ การออกสลากกินแบง เปนตน หรอื ขนาดของกิจการตอ งใหญม าก เชน กจิ การรถไฟใตดิน โทรศัพท การผลิตไฟฟา เปน ตน 2) ตลาดแขง ขนั สมบรู ณ (Prefect Competitive Market) มีลกั ษณะดงั น้ี 2.1) ผูขายและผูซื้อมีจํานวนมากราย การซื้อขายของแตละรายเปนปริมาณสินคาเพียง เล็กนอยเม่ือเทยี บกบั จํานวนซ้อื ขายทงั้ ตลาด ดังนัน้ การเปล่ยี นแปลงปรมิ าณซ้อื ขายของผูซอ้ื และผูขายรายใด รายหนง่ึ จึงไมท าํ ใหอุปสงคข องตลาดเปลี่ยนแปลง และไมส ง ผลกระทบตอราคาตลาด 2.2) สินคามคี ุณลกั ษณะและคุณภาพใกลเคียงกันมาก (Homogeneous Product) หมายความวา ในสายตาของผูซอ้ื เห็นวา สินคาดังกลาวของผขู ายแตล ะรายไมแ ตกตางกันจะซอื้ จากผูขายรายใด ก็ไดต ราบเทา ที่ขายในราคาตลาด 2.3) ผผู ลิตรายใหมส ามารถเขาสตู ลาดไดโดยงา ย ขณะเดียวกันการเลิกกิจการก็สามารถทํา ไดโดยไมมีอุปสรรคในการเขาและออกจากตลาด (Free Entry and Exit) กิจการใดที่มีกําไรสูงจะมีผูเขามา แขง ขันมากเพอื่ จะไดมีสวนแบงในกําไรนั้น แตกิจการใดขาดทุนผูประกอบกิจการจะเลิกไปเพื่อไปประกอบ กจิ การอยางอน่ื ที่ทํากาํ ไรมากกวา 2.4) ปจจยั การผลิตสามารถเคล่ือนยายไดโดยสมบูรณ (Perfect Mobility of factors of Production) ปจจัยการผลติ สามารถเคลอ่ื นยายจากกจิ กรรมทีม่ ีผลตอบแทนต่ําไปยงั กิจกรรมที่มีผลตอบแทน สูงกวาทนั ทีโดยไมต องเสียตนทุนการเคล่อื นยา ยแตอยางใด 2.5) ผซู ้อื ผูขายมขี อมลู ขา วสารสมบรู ณ (Perfect information หรอื Perfect Knowledge) กลาวคอื ผูซ ้อื ผูขายสามารถเขาถึงขอมูลเก่ียวกบั ตลาด เชน ราคาสินคาในแตละพื้นท่ไี ดส ะดวกและเสมอภาค กนั เปนตน

195 ในตลาดแขงขันสมบรู ณดงั กลาว การจดั สรรและการใชท รพั ยากรท่มี อี ยูอยางจํากดั รวมทั้งสินคาและ บริการตาง ๆ จะถูกกําหนดโดยกลไกตลาด (Price Mechanism) หรือโดยปฏิสัมพันธของผูซ้ือและผูขาย จาํ นวนมากในตลาดซึง่ ในทางเศรษฐศาสตร กค็ ืออุปสงคแ ละอปุ ทานตลาดนัน่ เอง การซอื้ ขายเปน ไปตามความ พอใจของผซู อ้ื และผขู ายอยา งแทจ ริง 4. การแทรกแซงราคาในตลาดของรัฐบาล ราคาสนิ คาและบริการในตลาดบางครงั้ อาจถกู แทรกแซงโดยรฐั บาลกไ็ ด ซงึ่ สามารถทาํ ไดใน 3 กรณี คือ 1) การกําหนดราคาสงู สดุ (Fixing of Maximum Prices) ในกรณที ร่ี ฐั บาลเหน็ วา สนิ คา ทจี่ ําหนา ย จําเปนตอการครองชีพในทองตลาดเกิดการขาดแคลนและราคาสินคาสูงข้ึน ทําใหประชาชนไดรับความ เดือดรอน รัฐบาลจะเขาควบคุมโดยกําหนดราคาสูงสุดของสินคาน้ัน ๆ เชน เน้ือสัตว น้ําตาลทราย เปนตน 2) การประกันราคาขั้นตํ่า (Guaranteed Minimum Prices) ในกรณีที่รัฐบาลเห็นวาราคา สนิ คาบางอยางลดตํา่ ลง จนอาจเกิดผลเสยี แกผ ผู ลิต เชน สินคา การเกษตรบางประเภทรัฐบาลจะเขาควบคุม โดยกาํ หนดราคาข้ันตํา่ หรอื ถา ไมม ีพอ คา รบั ซ้อื รฐั บาลจะเขา รับซอื้ เอง เปนตน 3) การพยุงราคา (Price Support) เปนมาตรการที่รัฐบาลชวยใหราคาสินคาชนิดใดชนิดหน่ึง เพิม่ สูงขึน้ เพอื่ ประโยชนของผูผลิตหรือผูขายอาจกระทําโดยการเขาแทรกแซงตลาดของรัฐบาลดวยการเขา แขงขนั การซ้ือกับเอกชน เพ่ือขยายอุปสงค หรือการใหเงินอุดหนุนแกผูผลิตที่ลดการผลิตลงเพ่ือลดอุปทาน ใหมีนอ ยลงกไ็ ด กลาวไดว า การแลกเปลี่ยนเปนกิจกรรมที่สําคัญตอการกระจายสินคาและรายไดไปยังบุคคลตาง ๆ ซ่งึ ตองอาศยั สถาบันท่ีเกี่ยวของกับการแลกเปลี่ยนหลายสถาบัน อาทิ คนกลาง ตลาด ธนาคาร และสถาบัน อ่นื ๆ อีกมากมาย รวมทง้ั บทบาทของรัฐบาลที่จะเขา มาอาํ นวยความสะดวกใหก ารแลกเปล่ยี นดาํ เนินไปดวยดี สรุป การแลกเปลี่ยน หมายถึง การเปล่ียนความเปนเจาของในสินคาและบริการ โดยการโอนหรือยาย กรรมสทิ ธิ์หรอื ความเปน เจาของระหวางบุคคลหรือธุรกิจ การแลกเปลี่ยนมีวิวัฒนาการมายาวนานต้ังแตการ แลกสิ่งของกับสิ่งของจนถึงปจจุบันท่ีใชระบบเงินและเครดิตและอาศัยสถาบันตาง ๆ เปนตัวกลางในการ แลกเปลี่ยน แบบฝกหดั ทา ยบทเร่ืองท่ี 3 กระบวนการทางเศรษฐกจิ คําส่ัง เมื่อผูเรียนศึกษา เร่ืองกระบวนการทางเศรษฐกิจแลวใหทําแบบฝกหัดตอไปน้ี โดยเขียนในสมุด บนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรู แบบฝกหดั ท่ี 1 ใหผูเ รยี นศกึ ษาวเิ คราะหช่อื สินคา และประเภทของสินคาตามท่ีกําหนด แลวนําช่ือ ประเภท สนิ คาใสท า ยชื่อสินคา ใหส ัมพันธ / สอดคลอ งกัน

196 ก. สินคาไรราคา (Free Goods) ข. สินคา เศรษฐทรพั ย (Economic Goods) ค. สินคาสาธารณะ (Public Goods) 1. นาํ้ ทะเล ...................................................................................... 2. ผลไม ...................................................................................... 3. โทรศพั ท ...................................................................................... 4. รถยนต ...................................................................................... 5. ขยะ ...................................................................................... 7. ปลาทตู วั เลก็ ...................................................................................... 8. กองทพั แหง ชาติ ...................................................................................... 9. ขาวสารชนดิ 25% ...................................................................................... 10. แสงแดด ...................................................................................... แบบฝก หัดที่ 2 ใหผเู รยี นตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. การผลติ หมายถึง อะไร …………………………………………………………………………………………………….…………..………………… 2. ปจ จยั การผลิต ไดแกอะไรบาง ………………………………………………………………………………………………………………..………………… 3. ลาํ ดบั ข้นั การผลติ มกี ีล่ าํ ดับขั้น ไดแ กอะไรบาง ………………………………………………………………………………………….……………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………..……………...... 4. สินคา มีกี่ประเภท อะไรบา ง .........................................................................................................................……….... .........................................................................................................................……….... 5. สิ่งกําหนดการผลิตไดแกอะไรบาง ……………………………………………………………………………………………………………………..………… …………………………………………………………………………………………………..…………………………… 6. ประเภทของหนวยธรุ กจิ ไดแกอ ะไรบา ง ………………………………………………………………………………………………………..………………...…… …………………………………………………………………………………………………..……………………………

197 7. การแบง สรร หมายถงึ อะไร ……………………………………………………………………………………………………………………..………… …………………………………………………………………………………………………..…………………………… 8. การแบง สรรมีกีป่ ระเภท อะไรบาง ………………………………………………………………………………………………………..……………………… …………………………………………………………………………………………………..…………………………… 9. ความแตกตา งในดา นรายไดข องคนเราเกิดจากอะไร ………………………………………………………………………………………………………..……………………… …………………………………………………………………………………………………..…………………………… แบบฝก หัดที่ 3 ใหผูเรยี นอา นขอ ความทกี่ าํ หนดใหแ ลว ตอบคําถาม อปุ สงค (Demand) หมายถงึ ความตอ งการของผูบ ริโภคในการท่ีจะบริโภคสินคาอยางใด อยางหนึ่ง ดว ยเงินที่เขามอี ยู ณ ราคา และเวลาใดเวลาหนึ่ง เปน ความตอ งการทีผ่ ซู ้อื ตอ งการและเต็มใจท่จี ะซอ้ื สนิ คา อุปทาน (Supply) หมายถงึ ปรมิ าณการเสนอขายสินคา ณ ราคาหนง่ึ ตามความตอ งการของผูซอื้ เปน สภาพการตดั สินใจของผขู ายวาจะขายสนิ คา จํานวนเทาใด ในราคาเทา ใด ใหผเู รียนพจิ ารณาตารางแสดงอุปสงค อุปทานของลําไยในตลาดแหง หนึ่ง แลว ตอบคําถาม ตารางราคาลําไย ราคา (บาท) ปริมาณซ้อื (Demand) ปริมาณจา ย (Supply) (กก.) (กก.) 30 20 80 25 35 65 20 50 50 15 65 35 10 80 20

198 คําถาม 1. ราคาสินคา จะสงู หรือตาํ่ ขึน้ อยูกบั .................................................................................................................... 2. เพราะเหตุใดลาํ ไยราคากโิ ลกรมั ละ 30 บาท ผซู อื้ จึงตองการซื้อนอ ย .................................................................................................................... 3. ณ ราคาเทาใดที่ผูข ายตอ งการขายลําไยนอ ยทส่ี ุด .................................................................................................................... 4. ลาํ ไยราคา 20 บาท เรียกวา .................................................................................................................... 5. ปริมาณลาํ ไย 50 กิโลกรัม เรียกวา .................................................................................................................... แบบฝก หดั ที่ 4 ใหผ เู รยี นศึกษาปจ จัยการผลิตและผลตอบแทนตอ ไปน้แี ลว ตอบคําถามท่กี ําหนดให ในการผลติ สนิ คา จะตองอาศยั ปจ จัยการผลิต 4 อยา ง คอื 1. ที่ดิน (Land) หมายถงึ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ุกชนดิ มผี ลตอบแทนเปนคา เชา 2. แรงงาน (Labour) หมายถงึ ความมานะพยายามของมนษุ ยท ัง้ ทางกายและทางสมองมผี ลตอบแทน เปน คา จา ง 3. ทนุ (Capital) หมายถึง สนิ คาประเภททนุ หรือเคร่ืองมือในการผลติ มผี ลตอบแทนเปน ดอกเบย้ี 4. ผูประกอบการ (Entrepreneurship) หมายถึง การจัดต้ังองคการเพ่ือผลิตสินคาและบริการ มผี ลตอบแทน คอื กาํ ไร ใหผ ูเ รียนแสดงผลตอบแทนของปจ จัยการผลติ แตละชนดิ ปจ จยั การผลติ ผลตอบแทนของปจจยั การผลิต 1. ที่ดนิ 2. แรงงาน 3. ทุน 4. ผปู ระกอบการ

199 เรอ่ื งท่ี 4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ 1. ความหมายและความสาํ คญั ของการพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ หมายถึง การเปล่ียนแปลงโครงสรา งทางสงั คม การเมอื ง และเศรษฐกิจใหอยู ในภาวะทีเ่ หมาะสม เพ่อื ทําใหร ายไดทแี่ ทจริงเฉล่ียตอบุคคลเพ่ิมข้ึนอยางตอเน่ือง อันเปนผลทําใหประชากร ของประเทศมีมาตรฐานการครองชพี สงู ขนึ้ การพัฒนาเศรษฐกจิ ของแตละประเทศ จะมจี ดุ มุงหมายทแ่ี ตกตางกัน ท้งั น้ีเนอ่ื งจากทรัพยากร การผลิต สภาพภูมิศาสตร ตลอดจนพ้ืนฐานทางวัฒนธรรมไมเหมือนกัน แตอยางไรก็ตาม ในแตละประเทศ ยังคงมีจดุ มงุ หมายท่ีเหมอื นกันประการหน่ึง คือ มุงใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมีเสถียรภาพ เพื่อใหป ระชากรของประเทศอยูดกี ินดนี น่ั เอง การพัฒนาเศรษฐกิจ หากทาํ ไดผลดียอ มสงผลใหประเทศมีฐานะทางเศรษฐกิจดีข้ึน ประชาชนมี ความเปนอยสู ุขสภาพในทางตรงกันขาม หากการพฒั นาเศรษฐกิจไมไ ดผลหรอื ไมไ ดร ับการเอาใจใสอ ยา งจริงจัง ฐานะทางเศรษฐกจิ ของประเทศก็จะทรดุ โทรมลง และประชาชนมีความเปนอยูแรนแคน มากขึน้ สาํ หรบั การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศไทยน้ันไดมีการพัฒนาอยางตอเน่ืองและใหความสําคัญ มาก โดยเฉพาะอยางย่งิ การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ โดยจะเหน็ ไดจากการกําหนดให มีหนวยงานรับผิดชอบ ในการจัดทําแผน คือ สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซ่ึงในปจจุบันประเทศไทย มีแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติทัง้ หมด 11 ฉบับ 2. ปจ จยั ทีเ่ กีย่ วของกบั การพัฒนาเศรษฐกจิ ปจ จยั ทีเ่ ก่ียวของกับการพัฒนาเศรษฐกิจมี 4 ประการ คือ ปจจัยทางเศรษฐกิจ ปจจัยทางการเมือง ปจ จยั ทางสังคม และปจจยั ทางเทคโนโลยี ซ่ึงปจจยั ดังกลา วมรี ายละเอยี ดดังน้ี 2.1 ปจ จยั ทางเศรษฐกิจ ปจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลใหเกิดการเพ่ิมข้ึนของรายไดตอบุคคลมี 4 อยาง คอื 1) การสะสมทุน การสะสมทนุ จะเกดิ ขึ้นไดใ นกรณีทมี่ รี ายไดประชาชาติสูงขึ้น ซึ่งทําใหเกิด เงินออมและเงินลงทนุ เพมิ่ ขนึ้ ซ่งึ เม่อื มกี ารสะสมทนุ ขึ้นแลว กจ็ ะมผี ลตอการเพ่มิ การผลติ และรายไดตอบุคคล ตามมา 2) การเพิม่ จํานวนประชากร ในปจจุบันน้ันการเพ่ิมจํานวนประชากรกอใหเกิดผลเสียทาง เศรษฐกิจอยา งมาก โดยเฉพาะอยางย่ิงการผลิตจะมีประสิทธิภาพต่ําลงเนื่องจากมีการใชทรัพยากรธรรมชาติ กันมากขนึ้ ซ่งึ มผี ลทําใหทรัพยากรเสื่อมคุณภาพและทรัพยากรบางอยาง ก็ไมสามารถงอกเงยมาทดแทนได นอกจากน้เี มอื่ มีประชากรเพ่ิมข้นึ ทําใหรฐั บาลตอ งเสียคาใชจา ย ดา นสวัสดิการเพิ่มขึ้น เชน คาใชจายดานการ จดั การศกึ ษา การสาธารณสุขและการสาธารณูปโภค เปนตน นอกจากรัฐบาลจะตองเสียคาใชจายดังกลาว แลว ยงั มีปญ หาอยา งอื่นตามมาอกี เชน ปญหาดานการจราจร ปญ หาดานมลพษิ ฯลฯ 3) การคนพบทรพั ยากรใหม ๆ ทําใหเ กิดโอกาสใหม ๆ ในการผลิต รวมท้ังมีผลทําใหมีการ ลงทุนเพม่ิ ขน้ึ และสงผลในการเพิม่ ขนึ้ ของผลผลิตเพือ่ ใหป ระชาชนไดบ รโิ ภคมากข้นึ

200 4) ความกาวหนา ทางเทคโนโลยจี ากความกา วหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบัน จะเห็นไดวามี การนาํ เคร่อื งจกั รมาใชในการผลิต ดังนนั้ จึงทําใหมีความสามารถในการผลิตไดมาก ปริมาณผลผลิตก็เพิ่มข้ึน และเปนไปอยางสมาํ่ เสมอ ประการท่ีสําคญั ชว ยลดตนทนุ ในการผลิตไดเ ปน จํานวนมากอีกดวย 2.2 ปจจยั ทางการเมือง ปจจัยทางการเมืองนับวามีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจมากดวยเชนกัน โดยเฉพาะในดาน นโยบายและความมน่ั คงการปกครอง การเปล่ยี นแปลงรัฐบาลบอ ย ๆ หรอื การยดึ อํานาจ โดยรฐั บาลเผด็จการ จะมสี วนทําใหเกิดปญ หาดานการผลติ ตางชาตไิ มส ามารถเขาไปลงทนุ ดา นการผลิตได นอกจากนอี้ งคก รธุรกจิ ภายในประเทศเองกอ็ าจตอ งหยุดซะงกั ตามไปดวย 2.3 ปจ จยั ทางสงั คม ปจ จัยทางสังคมมีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจไมแพปจจัยอ่ืน ๆ โดยเฉพาะประเทศ ที่กําลัง พัฒนา ซ่ึงพบวาสวนใหญประชาชนมักขาดความกระตือรือรนในการทํางานและมีนิสัยใช จายเงินฟุมเฟอย การเก็บออมจงึ มีนอ ย และเมอ่ื มีรายไดเ พิ่มมักใชจ า ยในการซือ้ เครื่องอุปโภคบรโิ ภคทีอ่ าํ นวยความสะดวกสบาย มากกวา ทจี่ ะไปลงทนุ ในการผลิตเพอื่ ใหรายไดงอกเงยข้นึ 2.4 ปจ จยั ดานเทคโนโลยี ใ น ป ร ะ เ ท ศ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี ชั้ น สู ง ช ว ย ทํ า ใ ห เ พิ่ ม ผ ล ผ ลิ ต ไ ด ม า ก ข้ึ น ในขณะเดียวกันก็สามารถประหยดั การใชแรงงานซง่ึ มีอยอู ยา งจาํ กัด โดยการใชเ ครื่องจักรทุนแรงตาง ๆ แตใน ประเทศกําลังพัฒนาการใชเทคโนโลยีมีขอบเขตจํากัดเน่ืองจากยังขาดผูมีความรู ความสามารถ ดานการใช เทคโนโลยี ขาดเงินทนุ ท่จี ะสนับสนนุ การคน ควาวจิ ัยทางดา นเทคโนโลยีใหม ๆ และท่ีสําคัญการใชเ คร่ืองจักร ทุนแรงในประเทศทก่ี ําลังพฒั นาจะกอ ใหเกิดปญหาดาน แรงงานสว นเกิน แทนท่ีจะทําใหก ารวา งงานนอ ยลง 3. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศไทย ประเทศไทยไดมีการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติตั้งแตมี พ.ศ. 2504 โดยเริ่ม ตง้ั แตฉ บับที่ 1 จนถงึ ปจจบุ นั คอื ฉบบั ที่ 11 มกี ารกาํ หนดวาระของแผน ฯ ดงั นี้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2504 – 2509 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2510 – 2514 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2515 – 2519 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2520 – 2524 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 5 พ.ศ. 2525 – 2529 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2530 – 2534 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535 – 2539 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 8 พ.ศ. 2540 – 2544 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545 – 2549 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 10 พ.ศ. 2550 – 2554 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 11 พ.ศ. 2555 – 2559

201 3. สาระสาํ คญั และผลการใชพ ฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ แผนฯ สาระสาํ คัญ ผลจากการใชแ ผนฯ ฉบับที่ 1 จุดมงุ หมาย สงเสรมิ อตุ สาหกรรมทดแทนการ G.D.P. เพม่ิ ขนึ้ 8 % ตอไป พ.ศ. 2504 - 2509 นาํ เขา การกระจายรายไดไมเปน สาระสําคญั เนนการลงทนุ เศรษฐกิจขั้นพื้นฐาน ธรรมเกิดปญ หาสาํ คญั เชน เขอ่ื น ไฟฟา ประปา ถนน และ ในชวงนค้ี ือประชากร สาธารณูปการอืน่ ๆ นอกจากนยี้ งั มีการพฒั นา เพิม่ ข้นึ อยางรวดเรว็ การศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษาไปสูภูมภิ าคเปน ครงั้ แรก (ตั้งมหาวิทยาลยั เชยี งใหม, ขอนแกน) อปุ สรรค ขาดบคุ ลากรทางวิชาการและการ บรกิ าร ฉบบั ท่ี 2 จดุ มงุ หมาย พัฒนาสงั คมควบคกู ับการ พัฒนา อตั ราการขยายตัวทาง เศรษฐกจิ สงู แตตํ่ากวา พ.ศ. 2510 - 2514 เศรษฐกจิ แผนฉบบั นีจ้ งึ เร่ิมใชชือ่ วา เปา หมาย การกระจาย “แผน พัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาต”ิ รายไดไ มเปน ธรรม สงเสรมิ การผลิตเพื่อการสงออก ฉบับที่ 3 สาระสาํ คัญ เนน การพัฒนาสงั คม โดยลด G.D.P. เพม่ิ ขึน้ 6.2% ตอ ปซ ึ่งตาํ่ กวา เปาหมายทั้งน้ี พ.ศ. 2515 - 2519 ชองวางของการกระจายรายไดนอกจากนี้ยงั ได เพราะสภาพดินฟา อากาศ เร่ิมโยบายประชากรและการวางแผนครอบครวั แปรปรวนประกอบกบั การ ผันผวนของเศรษฐกจิ โลก (โดยเฉพาะการข้ึนราคา นา้ํ มัน) อุตสาหกรรมทําให ไทยตองนําเขาสนิ คาทนุ มากข้ึนจนตอ งประสบ ภาวะขาดดลุ การคา และ ดลุ ชําระเงนิ อยางมาก ฉบบั ที่ 4 จดุ มงุ หมาย เนนการกระจายรายไดแ ละสรา ง ผลการพฒั นาสงู กวา เปาหมายเลก็ นอยยงั คงมี พ.ศ. 2520 - 2524 ความเปนธรรมทางสังคมมกี ารปรับปรงุ ปญ หาตอ งพงึ่ พาการ อุตสาหกรรมเพ่อื ขยายการสงออกและพัฒนา

202 แผนฯ สาระสําคัญ ผลจากการใชแ ผนฯ ทรัพยากรธรรมชาติ (โดยเฉพาะนาํ้ มนั และกาซ นาํ เขาขาดดลุ การคา ความ ธรรมชาต)ิ มาใชประโยชนนอกจากน้มี ีการ พัฒนาเมอื งหลกั ในแตล ะภาคอยางชดั เจน ยากจนในชนบทการ พัฒนาสงั คมความเสอื่ ม โทรมของสง่ิ แวดลอม ฉบับที่ 5 จดุ มุงหมาย แกป ญหาการกระจายรายได และ G. D.P. เพม่ิ ขน้ึ 4.4% พ.ศ. 2525 - 2529 ความยากจนในชนบท โดยใหช าวชนบทมสี วน ตอ ปซ ึง่ ตํา่ กวาเปา หมาย รวมในการแกป ญหาดว ยตัวเองมากทสี่ ดุ ประสบความสาํ เร็จในการ นอกจากนีย้ งั เนนการพฒั นาเมอื งในพนื้ ทีช่ ายฝง พัฒนาชนบททยี่ ากจนและ ตะวันออก การลดอัตราการเพม่ิ ประชากร ฉบบั ที่ 6 จุดมงุ หมาย เนน การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ และ เศรษฐกจิ ขยายตัวสูงและ พ.ศ. 2530 - 2534 พฒั นาคุณภาพประชากร เปดกวางเขาสรู ะดบั นานาชาตมิ ากข้นึ สาระสําคัญ โครงสรางเศรษฐกจิ เริ่มเขา พัฒนาคณุ ภาพประชากร วทิ ยาศาสตร สูภ าคอตุ สาหกรรมฐานะ การเงินการคลังของ เทคโนโลยี และทรพั ยากรธรรมชาติ ปรบั ปรงุ ประเทศมเี สถียรภาพ (ดลุ การคลังเกินดลุ ครั้ง คณุ ภาพสนิ คาไทยเพอื่ แขงขนั ในตลาดโลก แรกในป 2531) ยงั คงมี ปญ หาการกระจายรายได กระจายรายไดส ภู ูมภิ าคและชนบท แผนฉบบั นี้ ขาดบริการขนั้ พน้ื ฐานและ เงนิ ออมปญ หาสังคมและ หันมาเพมิ่ บทบาทของภาคเอกชนในการพัฒนา ความเสือ่ มโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาตริ ะบบ ประเทศมากขึ้นอุปสรรค ขาดแคลนบรกิ ารขน้ั ราชการไมด พี อ พนื้ ฐาน (เชน ถนน ไฟฟา ทาเรอื สนามบนิ ) และแรงงานฝม ือ ฉบบั ท่ี 7 จดุ มุงหมาย เนน “ปรมิ าณทางเศรษฐกจิ ” การเปดเสรที างการเงนิ ทํา พ.ศ. 2535 - 2539 “คุณภาพประชากร” และ “ความเปน ธรรมทาง ใหฟ องสบแู ตก เปน สังคม” ใหส มดลุ กนั สาระสําคญั เนนการ ตนเหตุของวิกฤตเิ ศรษฐกจิ ไทย (ตมยาํ กุง) พฒั นาคุณภาพชวี ติ โดย มงุ การขยายตัวและ

203 แผนฯ สาระสําคัญ ผลจากการใชแ ผนฯ เสถียรภาพทางเศรษฐกจิ พฒั นากรงุ เทพฯ และ ปริมณฑลใหเ ช่อื มโยงกับพน้ื ทชี่ ายฝง ทะเล ตะวันออก ฉบบั ที่ 8 จดุ มงุ หมาย เนน “การพฒั นาทรัพยากร เกิดวกิ ฤตเศรษฐกจิ ไทย ในเดือนกรกฎาคม 2540 พ.ศ. 2540 - 2544 มนษุ ย และคณุ ภาพชีวิตของคนไทยเปนสาํ คัญ ทําใหเ กิดภาวะชะงกั งนั ทางเศรษฐกจิ และรฐั ตองกู การพัฒนาคุณภาพชีวิต สงิ่ แวดลอ มและ เงินจาก IMF มาพยุงฐานะ ทางเศรษฐกจิ ทรพั ยากรธรรมชาติ สาํ หรบั การพฒั นาอยาง ยัง่ ยนื และยาวนาน การกระจายความเจริญสู สว นภมู ิภาคโดยใหค วามสําคัญแกการพฒั นา กลุม คนในชนบท และกระจายอํานาจบรหิ ารสู ทอ งถ่นิ กําหนดเขตเศรษฐกจิ อยางจรงิ จงั และ ชัดเจนโดยรัฐ เขา ไปดแู ลใหก ารสนบั สนุนการ ปลูกพืชตามท่กี ําหนดให ฉบบั ที่ 9 จดุ มุง หมาย เนน พฒั นาคนเปน ศนู ยก ลางปรบั พ.ศ. 2545 - 2549 โครงสรา งการพฒั นาประเทศ ใชค วามคิดเห็น ประชาชนท้งั ประเทศ มากําหนดกรอบและ ทศิ ทางของแผนพัฒนาฯ ใชแ นวพระราชดําริ “เศรษฐกจิ พอเพียง” เปน วิสยั ทศั นของแผน การพฒั นาทีย่ ่ังยืน และความอยดู ีมีสขุ ของคน ไทยรากฐานการพัฒนาประเทศทเี่ ขม แข็ง กระจายผลประโยชนแ กปญ หาความยากจน ฉบบั ที่ 10 จุดมงุ หมาย เนน “สังคมอยเู ย็นเปน สุข พ.ศ. 2550 - 2554 รวมกนั ” ภายใตแ นวปฏบิ ัติของ “ปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง”การพฒั นาแบบบรู ณาการ เปนองคร วมทม่ี ี “คนเปนศูนยกลางการพฒั นา” การพฒั นาทีย่ งั่ ยืนการพฒั นาคนและ เทคโนโลยี

204 4. วเิ คราะหส าระสําคัญจากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับท่ี 10 จากแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ไดสรุปสาระสําคัญเก่ียวกับสถานะดาน เศรษฐกจิ ของประเทศไว คือ ประเทศไทยมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่องอัตราเฉล่ีย 5.7 ตอป ชวงป 2545 - 2548 และจัดอยูในกลมุ ประเทศท่มี ีรายไดปานกลาง โดยมีขนาดเศรษฐกิจใหญเปนอันดับท่ี 20 จากจํานวน 192 ประเทศของโลก มีบทบาททางการคาระหวางประเทศ และรักษาสวนแบงการตลาดไวไดในขณะท่ีการ แขงขันสูงขึ้น ตลอดถึงการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรูของประเทศไทยปรับตัวสูงข้ึน โครงสรางการผลิตมี จุดแข็ง คือมีฐานการผลิตท่ีหลากหลาย ชวยลดความเส่ียงจากภาวะผันผวนของวัฎจักรเศรษฐกิจ สามารถ เช่ือมโยงการผลิตเพื่อสรางมูลคาเพิ่มไดมากข้ึน แตเศรษฐกิจไทยมีจุดออนในเชิงโครงสรางที่ตองพ่ึงพิงการ นําเขาวตั ถุดิบ ชิน้ สว น พลังงาน เงินทุนและเทคโนโลยีในสัดสวนที่สูง การผลิตอาศัยฐานทรัพยากรมากกวา องคความรู มีการใชทรัพยากรเพื่อการผลิตและบริโภคอยางสิ้นเปลือง ทําใหเกิดปญหาสภาพแวดลอมและ ผลกระทบในดานสังคมตามมา โดยไมไดมีการสรางภูมิคุมกันอยางเหมาะสม ภาคขนสงมีสัดสวนการใช พลังงานเชิงพานิชยส ูงถงึ รอ ยละ 38 โครงสรา งพื้นฐานดานเทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อสาร รวมถึงน้าํ เพือ่ การ บรโิ ภคยังไมก ระจายไปสูพื้นท่ีชนบทอยา งเพียงพอและท่ัวถึง โครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมยงั อยูในระดับตาํ่ และเปน รองของประเทศที่เปนคูแขง ทางการคา ประเทศไทยยังมีจุดแข็งอยูท่ีมีเสถียรภาพเศรษฐกิจในระดับท่ีดี จากการดําเนินนโยบายเพ่ือฟนฟู เสถียรภาพเศรษฐกจิ ของประเทศและวิกฤตเศรษฐกิจ อยางไรก็ตามราคานํ้ามันที่เพิ่มสูงขึ้นและตอเน่ืองถึง ปจจบุ นั สง ผลใหด ุลการคา ดุลบัญชเี ดินสะพดั ขาดดุลเพม่ิ ขึน้ สะทอนถึงปญหาความออ นแอในเชิง โครงสรางท่ี พง่ึ พงิ ภายนอกมากเกินไป ประเทศไทยยังมกี ารออมต่ํากวาการลงทนุ จึงตองพ่งึ เงินทุนจากตา งประเทศทําใหมี ความเสย่ี งจากการขาดดลุ บญั ชเี ดนิ สะพัด และจากการเคลอ่ื นยายเงินทนุ ระหวางประเทศ จงึ จาํ เปนตอ งพฒั นา ระบบภูมิคุมกันทางเศรษฐกิจภายใตเงื่อนไขบริบทโลกที่มีการเคลื่อนยายอยางเสรีของคนองคความรู เทคโนโลยี เงินทนุ สินคา และบรกิ าร การพฒั นาเพื่อเสรมิ สรางความเปน ธรรมทางเศรษฐกิจและการแกไขปญหาความยากจนมีสวนชวยให ความยากจนลดลงตามลําดับและการกระจายรายไดป รบั ตวั ดีข้ึนอยา งชา ๆ 5. แนวคดิ หลักและทศิ ทางการปรบั ตัวของประเทศไทย จากสถานการณด ังกลาวจาํ เปนตอ งปรับตัว หันมาปรบั กระบวนทรรศนก ารพัฒนาในทิศทางที่พึ่งตนเองและภูมิคุมกันมากขึ้น โดยยึดหลัก “ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” เปนแนวทางปฏิบัติควบคูไปกับการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมที่ยึด “คนเปน ศนู ยกลางการพฒั นา” เพือ่ เกดิ ความเชื่อมโยงทง้ั ดา นตวั คน สงั คม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอมและการเมือง โดยมี การวเิ คราะหอยางมี “เหตุผล” และใชหลัก “ความพอประมาณ” ใหเกิดความสมดุลระหวางความสามารถ ในการพึ่งตนเองกบั ความสามารถในการแขง ขันในเวทีโลก ความสมดุลระหวา งสงั คมชนบทกบั สงั คมเมือง โดยมกี ารเตรยี ม “ภมู คิ ุมกัน” ดวยการบริหารจดั การความเสย่ี งใหเพียงพอพรอ มรับผลกระทบจากการเปล่ียน ทงั้ จากภายนอกและภายในประเทศ การขับเคล่ือนการพัฒนาทุกข้ันตอนตองใช “ความรอบรู” ในการพัฒนาดานตาง ๆ ดวยความ รอบคอบ เปนไปตามลําดับข้ันตอน รวมทั้งเสริมสรางศีลธรรมและสํานึกใน “คุณธรรม”จริยธรรมในการ

205 ปฏบิ ัติหนาที่และการดําเนินชวี ติ ดวยความเพียร อนั เปน ภูมิคมุ กนั ในตวั ทดี่ ี พรอมรับการเปล่ียนแปลงที่เกิดขนึ้ ท้ังในระดับครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ และสอดคลองกับวิถีชีวิตสังคมและสอดคลองกับ เจตนารมณของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 เปาหมายดานเศรษฐกิจ ปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหมีความสมดุลและยั่งยืน โดยใหสัดสวนภาค เศรษฐกิจในประเทศตอภาคการคาระหวางประเทศเพ่ิมข้ึน สัดสวนภาคการผลิตเกษตรและอุตสาหกรรม เพิ่มขึน้ กาํ หนดอตั ราเงนิ เฟอ ลดการใชพ ลงั งานโดยเฉพาะภาคขนสง สดั สว นผลผลิตของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอมตอ ผลติ ภณั ฑร วมในประเทศต่ํากวา รอ ยละ 40 แบบฝกหดั ทา ยบท เรอื่ งท่ี 4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ คาํ สัง่ เมือ่ ผเู รียนศึกษา เรือ่ ง แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติจบแลวใหทาํ แบบฝกหัดตอไปน้ี โดยเขียนในสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู แบบฝกหดั ที่ 1 ใหผเู รียนตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ โดยกาเคร่ืองหมาย X คําตอบทีถ่ กู ท่สี ุด 1. การพัฒนาเศรษฐกจิ หมายถึงอะไร ก. การเพ่มิ ขึน้ ของรายได ข. การขายตัวทางดา นเศรษฐกจิ และการคา ค. อตั ราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและรายไดเพิ่มสูงข้ึน ง. การเปล่ยี นโครงสรา งทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง นําไปสูก ารกระจายรายไดท สี่ งู ขนึ้ 2. ประเทศตา ง ๆ เร่มิ มีความตนื่ ตวั ในการพัฒนาเศรษฐกิจเมื่อใด ก. กอ นสงครามโลกครัง้ ท่ี 1 ข. หลังสงครามโลกครงั้ ที่ 1 ค. กอ นสงครามโลกครงั้ ที่ 2 ง. หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 3 3. เหตุผลใดไมไ ดส งผลกระตนุ ใหป ระเทศตาง ๆ หนั มาพฒั นาเศรษฐกิจ ก. ภาวะเศรษฐกิจตกต่ําหลงั สงครามโลกคร้ังที่ 2 ข. ภาวะสงครามเยน็ หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ค. ความเจริญทางการสอื่ สารกอใหเ กดิ การเลยี นแบบกนั ง. ประเทศเอกราชหลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ตนื่ ตัวในการพฒั นาเศรษฐกจิ มากขนึ้ 4. ส่งิ ทีใ่ ชวดั ระดับการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศตา ง ๆ คืออะไร ก. รายไดต อบคุ คล ข. รายไดป ระชาชาติ ค. รายไดร วมจากสินคาและบรกิ าร ง. ความกาวหนา ทางเทคโนโลยี

206 5. ประเทศ A มีรายไดแทจ รงิ ตอบคุ คล 500,000 บาท / คน / ป ประเทศ B มีรายไดแ ทจรงิ ตอ บคุ คล เทา กบั ประเทศ A แสดงวาอยา งไร ก. ประเทศ A และประเทศ B เปนประเทศพฒั นาแลวเหมอื นกัน ข. ประเทศ A มีระดบั การพัฒนาเทา กบั ประเทศ B ถา ดชั นีช้ีวดั ความอยูด กี นิ ดขี อง 2 ประเทศ ใกลเ คยี งกนั ค. ประเทศ B มีระดบั การพฒั นาสงู กวา ประเทศ A ถาประเทศ B มดี ลุ การชําระเงินเกนิ ดลุ ง. ทั้งประเทศ A และประเทศ B เปน ประเทศกาํ ลงั พัฒนาเหมือนกัน 6. นอกเหนอื จากรายไดต อ หวั ตอ คน ตอปแลว ส่งิ สาํ คัญทบี่ ง บอกถงึ ระดบั การพฒั นาของประเทศ ตาง ๆ คอื อะไร ก. จํานวนประชากร ข. อาชีพของประชากร ค. คุณภาพประชากร ง. อตั ราการเพิม่ ของประชากร 7. ขอ ใดไมใ ชสิ่งบง บอกวาเปนประเทศดอ ยพฒั นาหรือกําลังพฒั นา ก. รายไดตาํ่ ข. ประชากรสวนใหญเ ปนเกษตรกร ค. มีความแตกตา งกันมากเร่ืองรายได ง. เศรษฐกจิ ของประเทศพง่ึ ตวั เองได 8. จุดเร่ิมตน ของวัฏจักรแหง ความอยากจนอยูท่ีใด ก. การลงทนุ ตํา่ ข. รายไดแทจริงตํ่า ค. ปจ จัยทนุ มีประสทิ ธิภาพตาํ่ ง. ประสิทธภิ าพการผลติ ตาํ่ 9. ในการวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจจะมกี ระบวนการพัฒนาโดยเริม่ ตนและสิ้นสุดอยา งไร ก. สาํ รวจภาวะเศรษฐกิจ - กาํ หนดเปาหมาย ข. สาํ รวจภาวะเศรษฐกิจ – ประเมนิ ผลการพัฒนา ค. กาํ หนดเปา หมาย – ปฏบิ ตั งิ านตามแผนพฒั นา ง. กาํ หนดเปา หมาย – ประเมินผลการพัฒนาเศรษฐกิจ 10. ขอใดไมถ กู ตอ ง ก. ประเทศไทยไดประกาศใชแ ผนพฒั นาเศรษฐกิจหลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ข. ประเทศไทยเรม่ิ ใชแผนพฒั นาเศรษฐกจิ คร้ังแรกใน พ.ศ. 2504 ค. ประเทศไทยเรม่ิ ใชแผนพฒั นาเศรษฐกจิ ครง้ั แรกในสมยั จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต ง. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ แผนแรกของประเทศไทยเปน แผนทีม่ รี ะยะเวลายาวนานทสี่ ดุ

207 11. ระยะแรกของการใชแ ผนพฒั นาเศรษฐกิจแหง ชาติ ฉบบั ที่ 1 เนนในเรื่องใด ก. การพฒั นาสังคม ข. การผลิตสินคา สาํ เรจ็ รปู ค. การลงทนุ ปจจยั พืน้ ฐาน ง. การควบคมุ อตั ราเพิ่มประชากร 12. ขอบกพรอ งของแผนพฒั นาเศรษฐกิจแหง ชาติ ฉบับท่ี 1 คืออะไร ก. ขาดการลงทนุ ปจจยั พนื้ ฐาน ข. ละเลยการพัฒนาชนบท ค. พัฒนาอตุ สาหกรรมมากกวา การเกษตร ง. ละเลยการพฒั นาทางดา นสังคม 13. แผนพฒั นาเศรษฐกิจฉบบั ใดที่เริ่มพัฒนาเศรษฐกจิ ควบคูกบั สังคม ก. ฉบบั ที่ 1 ข. ฉบับที่ 2 ค. ฉบบั ที่ 3 ง. ฉบับที่ 4 14. ขอ ใดไมใ ชอปุ สรรคของการดาํ เนินงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 3 ก. สภาพดินฟา อากาศแปรปรวน ข. ภาวะการคาและเศรษฐกิจโลกซบเซา ค. ดุลการคาและดุลการชาํ ระเงนิ ของประเทศเกนิ ดลุ ง. การขึ้นราคาน้าํ มนั ของกลมุ โอเปคทําใหเ กิดภาวะเงนิ เฟอ 15. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาตฉิ บบั ใดทีม่ งุ แกป ญ หาความยากจนในชนบทอยางจรงิ จงั ก. ฉบบั ท่ี 4 ข. ฉบบั ท่ี 5 ค. ฉบับที่ 6 ง. ฉบับท่ี 7 16. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติฉบบั ใดทีก่ ําหนดเปา หมายการลดอัตราเพม่ิ ประชากรเปน ครง้ั แรก ก. ฉบบั ท่ี 3 ข. ฉบบั ท่ี 4 ค. ฉบบั ท่ี 5 ง. ฉบบั ที่ 7

208 17. ขอ ใดไมไดอยใู นเปาหมายการพฒั นาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 6 ก. พัฒนาคุณภาพของทรัพยากร ข. กําหนดอตั ราเพิ่มประชากรไมเกนิ รอยละ 1.2 ค. การผลติ สินคา เพอ่ื การสงออกไปแขงขนั ในตลาดโลก ง. การขยายตวั ทางดานการลงทุนและดานอตุ สาหกรรม 18. ขอ ใดไมใ ชจดุ เนนของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 7 ก. การกระจายรายไดไ ปสภู มู ภิ าคมากขึ้น ข. การพฒั นาคุณภาพชวี ิต รกั ษาสง่ิ แวดลอมและทรพั ยากรธรรมชาติ ค. การขยายตวั ทางเศรษฐกิจอยา งตอเนื่องเหมาะสมและมเี สถยี รภาพ ง. การพฒั นาอุตสาหกรรมโดยใชว ตั ถุดิบทางการเกษตรเพอื่ พง่ึ ตนเอง 19. การมงุ พัฒนาประเทศใหเ ปนประเทศอตุ สาหกรรมตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 1-7 ไดก อ ใหเ กิดผลตอ สงั คมไทยอยางไร ก. รายไดต อหัวของประชากรสงู ขนึ้ และกระจายไปสูคนสวนใหญอ ยางท่ัวถงึ ข. ประชาชนไดรับการบรกิ ารพ้ืนฐานอยา งเพียงพอและมีความเปนธรรมในสงั คม ค. สังคมไดรบั การพัฒนาทางวัตถุ ละเลยการพฒั นาทางจติ ใจเกิดชองวา งระหวางเมอื งและ ชนบท ง. เกดิ เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ สงั คมและการเมือง มาตรฐานการครองชพี ของประชาชนสงู ขน้ึ 20. เปาหมายหลกั ของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 8 คืออะไร ก. การกระจายรายไดท่ีเปนธรรม ข. อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ สงู ข้นึ ค. คุณภาพประชากร ง. การเปนประเทศอตุ สาหกรรมช้นั นํา

209 เรอื่ งที่ 5 สถาบนั การเงินและการธนาคาร การคลงั ความหมายและความสาํ คัญของเงนิ เงิน (Money) หมายถึง อะไรก็ไดท่ีมนุษยนํามาใชเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แตตองเปนส่ิงท่ี สังคมนัน้ ยอมรับในการชําระหน้ี เชน คนไทยสมยั สโุ ขทัย ใชเ บี้ยหรือเปลือกหอย เปนตน เงินอาจจะอยูในรูป ของโลหะกระดาษ หนังสตั ว ใบไมก็ได เงินท่ดี จี ะตองมลี กั ษณะดงั น้ี 1. เปน ของมีคาและหายาก เงินจะตอ งเปน สิ่งที่มีประโยชน และมีคา ในตัวของมนั เอง เชน ทองคาํ และ โลหะเงิน เปนตน 2. เปน ของทด่ี อู อกงาย สามารถรูไดวาเปนเงินปลอมหรือเงินจริง โดยไมตองอาศัยวิธีการท่ีซับซอน ในการตรวจสอบ 3. เปน ของทีม่ ีมลู คาคงตัว ไมเปลี่ยนแปลงมากนักแมเวลาจะผานไป 4. เปน ของทแ่ี บง ออกเปน สวนยอ ยได และมลู คา ของสว นทแ่ี บงยอย ๆ น้นั ไมเ ปลีย่ นแปลงและใชเปน สือ่ กลางในการแลกเปลยี่ นได 5. เปน ของท่ขี นยา ยสะดวก สามารถพกพาติดตวั ไปไดง า ย 6. เปนของท่คี งทนถาวร เงินสามารถจะเกบ็ ไวไดนาน ไมแ ตกหักงาย คาํ วา “เงนิ ” ในสมัยกอ นใชโลหะทองคําและเงิน ตอมามกี ารปลอมแปลงกันมากจึงมีการประทับตรา เพ่ือรบั รองน้ําหนักและความบรสิ ุทธ์ิของเงิน เงินท่ีไดรบั การประทบั ตรานีจ้ ึงเรียกวา “เงนิ ตรา” ความสาํ คัญของเงิน เงนิ เปน ส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนที่มีความสําคัญตอชีวิตประจําวันของมนุษยมาก เงินชวยอํานวย ความสะดวกใหแกมนุษย 3 ประการ คอื 1. ความสะดวกในการซ้ือขาย ในสมยั โบราณมนุษยนําส่งิ ของมาแลกเปลีย่ นกันทาํ ใหเกิดความยุงยาก ในการแลกเปลย่ี นเพราะความตอ งการไมตรงกนั หรอื ไมยุติธรรมเพราะมูลคา ของสง่ิ ของไมเ ทาเทยี มกนั การนํา เงินเปนสือ่ กลางทาํ ใหเกิดความสะดวกในการซ้ือขายมากข้ึน 2. ความสะดวกในการวัดมูลคา เงินจะชวยกําหนดมูลคาของส่ิงของตาง ๆ ซ่ึงสามารถนํามา เปรยี บเทียบกนั ได 3. ความสะดวกในการสะสมทรัพยสิน สนิ คาทม่ี นุษยผ ลิตไดบางอยา งไมสามารถเกบ็ ไวไ ดนาน ๆ แตเมอ่ื แลกเปลี่ยนเปนเงิน สามารถทีจ่ ะเก็บไวแ ละสะสมใหเพ่มิ ข้ึนได สรปุ เงิน หมายถงึ อะไรก็ไดที่มนุษยนํามาใชเปน ส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนและเปนสิ่งท่ีสังคมน้ันยอมรับ เงินนอกจะมีความสําคัญในแงของสอื่ กลางในการแลกเปลย่ี นแลว ยงั ชวยอํานวยความสะดวกในการซอ้ื ขายการ วัดมลู คา และการสะสมทรัพยส ิน

210 ประเภท และหนา ท่ขี องเงนิ ประเภทของเงนิ เงินในปจจบุ ันแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแ ก 1. เหรยี ญกษาปณ (Coinage) เปน เงินโลหะทสี่ ามารถชําระหนี้ไดตามกฎหมาย ในประเทศไทยผลิต โดยกรมธนารักษ กระทรวงการคลัง 2. เงนิ กระดาษหรอื ธนบัตร (Paper Currency) เปนเงินท่ีสามารถชาํ ระหนไ้ี ดต ามกฎหมายในประเทศ ไทยผลิตโดยธนาคารแหงประเทศไทย 3. เงินเครดิต (Credit Money) ไดแก เงินฝากกระแสรายวัน หรือเงินฝากท่ีส่ังจายโอนโดยใชเช็ค รวมทั้งบตั รเครดติ ทใ่ี ชแ ทนเงนิ ได การท่ีสังคมยอมรับวาทั้ง 3 ประเภทเปนเงิน (Money) เพราะวามีสภาพคลอง (Liquidity) สูงกวา สินทรัพยอ ่นื ๆ กลาวคอื สามารถเปลีย่ นเปนสนิ คาและบรกิ ารไดทนั ที สว นสนิ ทรัพยอ่นื ๆ เชน เงนิ ฝากประจาํ เงนิ ฝากออมทรัพย ตั๋วแลกเงิน พันธบัตรรัฐบาล เปนตน มีสภาพคลองนอยกวาจึงเรียกวา เปนสินทรัพยท่ีมี ลักษณะใกลเ คียงกับเงิน (Near Money) หนา ท่ขี องเงนิ เงนิ มีหนา ที่สาํ คญั 4 ประการ คือ 1. เปนมาตรฐานในการเทียบเทา (Standard of Value) มนุษยใชเงินในการเทียบคาสินคาและ บริการตาง ๆ ทาํ ใหก ารซ้ือขายแลกเปล่ยี นสะดวกน้นั 2. เปนสื่อกลางในการแลกเปล่ียน (Medium of Exchange) เงินทําหนาท่ีสื่อกลางในการซื้อขาย สินคาตาง ๆ เพราะวา เงนิ มีอาํ นาจซือ้ (Purchasing Power) ทจี่ ะทาํ ใหการซื้อขายเกดิ ขนึ้ ไดทกุ เวลา 3. เปนมาตรฐานในการชําระหน้ีภายหนาการซ้ือแลกเปลี่ยนสินคาภายในประเทศและระหวาง ประเทศยอมเกดิ หน้สี ินทจ่ี ะตอ งชาํ ระเงนิ เขา มามบี ทบาทในการเปนสัญญาที่จะตอ งชําระหนี้นน้ั 4. เปนเครื่องรักษามูลคา (Store of Value) เงินที่เก็บไวจะยังคงมูลคาของสินคาและบริการไว ไดอ ยา งครบถวนมากกวาการเก็บเปนตัวของสินคา ซึง่ อาจจะอยไู ดไ มน าน สรุป เงนิ แบงออกเปน 3 ประเภท คือ เหรียญกษาปณ ธนบัตร และเงินเครดิต เงินมีหนาที่สําคัญในดาน เปน มาตรฐานในการเทยี บคา เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเปนมาตรฐานในการชําระหน้ีภายหนา และเปน เครอ่ื งรกั ษามลู คา

211 วิวฒั นาการของเงิน วิวัฒนาการในดานการแลกเปลี่ยนของมนษุ ยม ดี งั น้ี 1. ระบบเศรษฐกิจท่ีไมใชเงินตรา เปนการแลกเปลี่ยนโดยใชสิ่งของกับสิ่งของซ่ึงมีขอยุงยากและ ไมส ะดวกหลายประการ ไดแ ก 1.1 ความตอ งการไมตรงกันทั้งชนิดและจํานวนของสนิ คา 1.2 ขาดมาตรฐานในการเทียบคา เพราะส่ิงของนําทนี่ าํ มาแลกเปลีย่ นมีมลู คา ไมเทากนั 1.3 ยงุ ยากในการเกบ็ รักษา การเกบ็ เปน สินคาเปลืองเนอ้ื ทม่ี าก 2. ระบบเศรษฐกิจท่ีใชเ งนิ ตรา มวี วิ ัฒนาการดังน้ี 2.1 เงินที่เปน สิ่งของหรือสนิ คา คอื การนาํ สิ่งของหรอื สินคา บางอยางมาเปน สื่อกลาง เชน ลูกปด ผา ขนสตั ว เปลอื กหอย เปนตน ซงึ่ เงนิ ชนดิ น้ีอาจจะไมเ หมาะสมในดา นความไมค งทน มมี าตรฐานและคุณภาพ ไมเหมอื นกัน ทําใหค าไมม่ันคง ยุงยากในการพกพาและแบงยอยไดย าก 2.2 เงินกษาปณ (Coinage) การนําโลหะมาเปนสื่อกลางในการแลกเปล่ียน แตเดิมใชไปตาม สภาพเดิมของแรนั้นๆ ยังไมรูจักการหลอม ตอมาไดมีวิวัฒนาการดีขึ้นเรื่อย ๆ มีการหลอม การตรวจสอบ นาํ้ หนักและความบริสุทธหิ์ รือผสมโลหะหลายชนดิ เขา ดว ยกัน 2.3 เงินกระดาษ (Paper Money) นิยมใชเปนส่ือกลางในการแลกเปล่ียนเพราะมีนํ้าหนักเบา พกพาสะดวก ประเทศแรกที่รูจกั การใชเงินกระดาษ คอื ประเทศจีน 2.4 เงินเครดติ (Credit Money) เปนเงินทเ่ี กิดขน้ึ ในสังคมเศรษฐกิจสมัยใหมท่ีมีระบบธนาคาร แพรหลายเรว็ การใชเ งินชนิดนีก้ อใหเ กิดความรวดเร็วและปลอดภัยในการแลกเปลี่ยน สาํ หรบั ประเทศไทยมีววิ ัฒนาการของเงนิ ประเภทตางๆ ดงั นี้ 1. เหรยี ญกษาปณ ประเทศไทยใชเ งนิ เบ้ียเปนส่อื กลางในการแลกเปล่ียนมาตั้งแตสมัยสุโขทัยและใช มาถงึ สมยั กรงุ ศรอี ยุธยา ในรัชสมัยพระเจา อยหู วั บรมโกศเกิดการขาดแคลนเบี้ย จึงนําดินเผามาปนและตีตรา ประทับ เรียกกวา “ประกับ” ตอมาไดมีการทําเงินพดดวงข้ึนซ่ึงไดใชตอมาถึงสมัยรัชกาลที่ 4 แหงกรุง- รตั นโกสินทร เมอื งไทยเราทาํ การคากับตางประเทศมากขึ้นทําใหเ กิดความขาดแคลนเงินพดดวง จึงไดจัดทํา เงนิ เหรียญข้ึนแทน ในสมยั รัชกาลท่ี 5 ไดจัดทําเหรียญสตางคขึน้ เพ่ือสะดวกในการทําบญั ชี 2. ธนบตั ร รัชกาลที่ 4 ไดม ีพระราชดาํ ริใหผ ลิตธนบัตรข้นึ เรยี กวา “หมาย” แตไมแพรหลายมากนกั ใน สมัยรัชกาลท่ี 5 ไดประกาศใชพระราชบัญญัติธนบัตร เม่ือวันที่ 24 มิถุนายน 2445 ดําเนินการออกธนบัตร โดยรฐั บาล ธนบตั รจึงแพรห ลายต้ังแตน้นั มา สรุป การแลกเปลยี่ นของมนษุ ยม วี ิวัฒนาการจากระบบเศรษฐกิจทไ่ี มใชเ งินตรามาเปนระบบเศรษฐกิจท่ีใช เงินตรา สําหรับประเทศไทยใชเงินเบี้ยเปนสื่อกลางในการแลกเปล่ียนมาตั้งแตสมัยสุโขทัย มาจนถึงการใช

212 เหรยี ญสตางคในสมยั รัชกาลที่ 5 สวนธนบัตรมีการผลติ และประกาศใชพระราชบัญญตั ิธนบัตรเปนคร้ังแรกใน สมัยรชั กาลท่ี 5 ปริมาณและการหมุนเวียนของเงิน 1. ปรมิ าณเงนิ ปริมาณเงินในความหมายอยางแคบ หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ ธนบัตร และเงินฝาก กระแสรายวนั รวมกันท้งั หมดนาํ ออกใชหมุนเวยี นอยใู นมอื ประชาชนขณะใดขณะหน่งึ ปริมาณเงิน ในความหมายอยางกวาง หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ ธนบัตร และเงินฝาก กระแสรายวนั รวมท้งั เงินฝากประจาํ และเงินฝากออมทรพั ยในสถาบันการเงนิ ทุกประเภท 2. การวัดปริมาณเงิน ปริมาณเงินจะเปนเครื่องช้ีบอกภาวะเศรษฐกิจของประเทศในขณะใด ถา ปรมิ าณเงินสงู ขนึ้ อํานาจซ้ือของประชาชนกจ็ ะสูงข้ึน ถา ปริมาณสินคาและบริการไมเพียงพอประชาชนจะ แยงกันซื้อและกักตุนสินคา ถาปริมาณเงินนอยลง อํานาจซื้อของประชาชนก็จะลดลง สินคาจะลนตลาด ผผู ลติ อาจจะลดการผลิตสนิ คา ลง หรืออาจจะเกดิ การวางงานได 3. การหมนุ เวียนของเงนิ กับกฎของเกรแชม การหมนุ วยี นของเงิน หมายถึง เงินท่ีเราจับจายใชสอย เปลี่ยนมือไปเรื่อยๆ เซอรโทมัส เกรแชม ไดต้ังกฎท่ีเรียกวา กฎของเกรแชม (Greshan’s Law) กลาววา ถาประชาชนใหความสําคัญแกเงินทุกชนิดเทาเทียมกันการหมุนเวียนของเงินก็จะไมติดขัด ถาขณะใด ประชาชนเหน็ วา เงินชนดิ หนง่ึ สงู กวาเงินอกี ชนดิ หนึง่ ประชาชนจะเกบ็ เงนิ ที่มีคา สูงไวไ มน าํ ออกมาใชจ าย แตจะรบี นาํ เงนิ ทม่ี ีคาตํ่ามาใช 4. คา ของเงนิ หมายถึง ความสามารถหรืออํานาจซ้ือของเงินแตละชนิดท่ีจะซื้อสินคาหรือบริการได การวัดคาของเงินจะวัดดวยระดับราคาท่ัวไปซึ่งเปนราคาถัวเฉลี่ยของสินคาและบริการคาของเงินจะ เปลีย่ นแปลงในทางเพิม่ ขึน้ หรือลดลง ยอ มมผี ลกระทบตอ บุคคลกลมุ ตา ง ๆ สรปุ ปริมาณเงนิ ในระบบเศรษฐกิจมที ้งั ปรมิ าณเงนิ ในความหมายอยางแคบและปรมิ าณเงินในความหมาย อยางกวาง ปริมาณเงินจะเปนเคร่ืองช้ีบอกภาวะเศรษฐกิจของประเทศ การวัดวาเงินจะมีคาหรือไมวัดดวย ระดับราคาท่ัวไปหรือดัชนีราคา สถาบันการเงิน 1. ความหมายของสถาบนั การเงนิ สถาบันการเงินเปนตลาดเงิน (Financial Market) หรือแหลงเงินทุนใหผูที่ตองการลงทุนกูยืม เพื่อนําไปดําเนนิ ธรุ กิจ ตลาดการเงินมที งั้ ตลาดการเงินในระบบ ไดแ ก แหลง การเงินของสถาบันการเงินตาง ๆ กับตลาดการเงนิ นอกระบบ ซึ่งเปนแหลงการกยู มื เงนิ ระหวา งบุคคล เชน การจาํ นํา จาํ นอง เปน ตน

213 2. ประเภทของสถาบนั การเงิน สถาบันการเงินทีส่ าํ คญั ในประเทศไทย ไดแก 2.1 ธนาคารแหงประเทศไทย เปนสถาบันการเงินที่จัดตั้งขนึ้ เพ่อื รกั ษาเสถียรภาพทางการเงินและ เศรษฐกิจของประเทศ 2.2 ธนาคารพาณิชย เปนสถาบันการเงนิ ที่ใหญท สี่ ุดของประเทศ เพราะมปี ริมาณเงินฝากและเงินกู มากที่สดุ เมื่อเทยี บกับสถาบันอ่ืน ๆ 2.3 ธนาคารออมสนิ เปน สถาบนั การเงนิ ของรฐั ทําหนา ทเ่ี ปนสอ่ื กลางในการระดมเงินออม จากประชาชนสูรัฐบาล เพือ่ ใหห นวยงานของรัฐและวสิ าหกิจกไู ปใชในการพฒั นาประเทศ 2.4 บรษิ ทั เงนิ ทนุ และบริษทั หลักทรพั ย บริษทั เงินทุน หมายถึง บรษิ ัทจาํ กดั ทไ่ี ดรับอนุญาตจากรฐั มนตรีวาการกระทรวงการคลังใหประกอบ กิจการกยู ืมหรือรบั เงนิ จากประชาชน การใหก ูมีทัง้ ระยะสน้ั และระยะยาว บริษัทหลกั ทรัพย หมายถงึ บรษิ ัทจํากดั ทีไ่ ดรับอนุญาตจากรัฐมนตรกี ระทรวงการคลังใหประกอบธุรกิจ หลักทรัพยประเภทใดประเภทหนึ่งหรือหลายประเภทก็ไดในดานการเปนนายหนา การคา การใหคําปรึกษา ดา นการลงทนุ เปนตน 2.5 สถาบนั การเงินเฉพาะอยาง 1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณก ารเกษตร (ธ.ก.ส.) เปนธนาคารของรัฐบาลจัดต้ังขึ้น โดยมีวัตถุประสงคท่ีจะใหความชวยเหลือทางการเงิน เพื่อสงเสริมอาชีพ หรือการดําเนินงานของเกษตรกร กลุมเกษตรกร หรือสหกรณการเกษตร โดยใหเ งนิ กทู ้งั ระยะสน้ั และระยะยาว 2. บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคที่จะจัดหาทุน เพือ่ ใหก ูร ะยะยาวแกกิจการอุตสาหกรรม เพือ่ สรางสนิ ทรพั ยถ าวร เชน โรงงาน เครื่องจักร เคร่ืองมือ เปนตน และรบั ประกนั เงนิ กูลกู คาที่กูจากสถาบนั การเงนิ ภายในและภายนอกประเทศดวย 3. ธนาคารอาคารสงเคราะห เปนธนาคารของรัฐบาล จัดตั้งข้ึนเพ่ือดําเนินการสงเสริมให ประชาชนมอี าคารและทีด่ นิ เปนที่อยูอาศัย ท้ังการซอื้ ขาย ไถถอน จํานอง รับจํานํา 4. บริษัทประกันชีวิตและบริษัทประกันภัย เปนสถาบันการเงินท่ีดําเนินการรับประกันภัย ใหกับผอู ื่นโดยไดรบั เบี้ยประกนั ตอบแทน ถา เปนการประกนั ภยั อนั เกดิ กับทรัพยสินเรยี กวา การประกันวนิ าศภัย 5. สหกรณการเกษตร เปน สถาบนั การเงินที่ต้ังขึน้ เพอ่ื ใหเกษตรกรรวมมอื กันชว ยเหลอื ในการ ประกอบอาชพี ของเกษตรกร 6. สหกรณอ อมทรัพย เปนสถาบนั ท่รี บั ฝากเงินและใหสมาชิกกูยืมโดยคิดดอกเบ้ียมีผูถือหุน เปนสมาชิก 7. บรษิ ัทเครดิตฟองซิเอร เปนสถาบนั ทร่ี ะดมเงนิ ทุนดว ยการออกตั๋วสัญญาใชเงินและนํามา ใหป ระชาชนกูยมื เพือ่ ซอ้ื ท่ดี นิ และสรางท่ีอยอู าศยั 8. โรงรบั จํานาํ เปน สถาบนั การเงนิ ที่เลก็ ทีส่ ดุ มจี ดุ มุง หมายท่จี ะใหป ระชาชนกูยมื โดยการรับ จาํ นาํ สงิ่ ของ

214 3. การวัดความสําคญั ของสถาบันการเงนิ สถาบนั การเงนิ แตละประเภททําหนาท่ีระดมเงินออมจากประชาชนใหผูตองการเงินทุนกูยืมมาก นอยแตกตางกันไป สถาบนั การเงินมคี วามสาํ คญั วดั ไดจาก 1. ความสามารถในการระดมเงินออม การระดมเงินออมโดยวิธีรับฝากเงินของสถาบันการเงิน แตล ะแหงจะแตกตางกนั ไป ในประเทศไทยธนาคารพาณิชยสามารถระดมเงินออมไดม ากทีส่ ุด 2. ความสามารถในการใหก ูย ืมเงิน ธนาคารพาณชิ ยเ ปนสถาบนั การเงินที่ใหก ูเ งินแกป ระชาชนมาก ท่ีสดุ รองลงมาคอื บรษิ ทั เงนิ ทนุ และท้ังสองสถาบันยังมีอัตราการขยายตัวของการใหก ูในแตละปส ูงดวย 3. ยอดรวมของสินทรัพย ธนาคารพาณิชย เปนสถาบันที่มียอดรวมของสินทรัพยมากท่ีสุด รองลงมาคือธนาคารออมสินและบรษิ ัทเงินทนุ 4. ความสําคญั ดานการพัฒนาเศรษฐกิจ สถาบันการเงินประเภทธนาคารและบริษัทเงินทุนเปน สถาบันทีเ่ ปนกําลังสาํ คญั ในการพัฒนาเศรษฐกิจไทย เพราะทําหนาท่ีระดมเงินออม ใหกูแกผูลงทุนและเปน แหลงเงินกูข องรัฐบาล การคลงั ความหมายและความสําคญั ของเศรษฐกิจภาครฐั บาลหรอื คลงั รัฐบาล (Public Economy) ความหมายของเศรษฐกิจภาครัฐบาล เศรษฐกิจภาครัฐบาล (Public Economy) หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาครัฐบาลในดาน รายได รายจาย นโยบายที่รัฐกําหนดโครงสรางของรายไดรายจายและการกอหนี้สาธารณะ ตลอดจน ผลกระทบจากการจัดเก็บรายไดและการใชจายเงินของรัฐ เพ่ือดําเนินกิจกรรมทางดานเศรษฐกิจท่ีมีผลตอ เศรษฐกจิ สงั คมและการเมือง เพ่อื ใหบ รรลุวตั ถุประสงคดา นเศรษฐกิจของประเทศ ไดแ ก การมงี านทาํ การ มรี ายได การรกั ษาเสถียรภาพของราคาและดลุ การชาํ ระเงิน การผลกั ดันใหร ะบบเศรษฐกิจมคี วามมั่นคง เปน ตน ริชารด อาร มัสเกรฟ กลาววา การศึกษาเศรษฐกิจภาครัฐบาลเพื่อตอบสนองวัตถุประสงคทาง เศรษฐกจิ 4 ประการ คอื 1. เพ่อื จัดสรรทรพั ยากรใหเปน ไปอยา งมีประสิทธภิ าพและตอบสนองความตอ งการของสังคม 2. เพือ่ การกระจายรายไดใ นสังคมทม่ี คี วามแตกตางกัน ลดชองวางระหวา งคนรวยและคนจน 3. เพอื่ การเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ ประชาชนมงี านทําและมีรายได 4. เพื่อรักษาเสถยี รภาพดานเศรษฐกจิ แกป ญหาการวางงาน รักษาระดบั ดุลการชําระเงนิ ไมใ หข าด ดลุ และรักษาระดบั ราคาสนิ คา ไมใหส ูงข้ึน เศรษฐกิจภาครฐั บาล กค็ ือ คลงั รัฐบาล ซ่งึ หมายถงึ การแสวงหารายไดแ ละการใชจายเงินของรัฐบาล ตามงบประมาณแผน ดินประจาํ ป

215 ความสาํ คัญของเศรษฐกิจภาครัฐบาล นับต้ังแตศตวรรษที่ 18 เปนตนมา นักเศรษฐศาสตรมีความเช่ืออยางแพรหลายวารัฐบาลไมควร แทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจ แตควรมีหนาท่ี 3 ประการ คือ หนาท่ีในการปองกันประเทศ หนาที่รักษา ความสงบและความยตุ ธิ รรมในประเทศ และใหบ ริการสาธารณะบางอยา ง เชน การศกึ ษา สาธารณสุขเสนทาง คมนาคม เปนตน ท่ีเปนเชนน้ีเพราะนักเศรษฐศาสตรเหลาน้ันมีความเชื่อวาถาบุคคลแตละคนสามารถจะ ตดั สินใจทาํ กจิ กรรมตา ง ๆ ซ่งึ จะเปน ประโยชนสูงสุดแกตนเอง ยอมจะกอ ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอสังคมดวย แตนับตงั้ แตศตวรรษที่ 19 เปนตนมา นักเศรษฐศาสตรบางกลุมเริ่มมองเห็นวาการปลอยใหระบบเศรษฐกิจ ดําเนินไปอยางเสรีโดยรัฐบาลไมแทรกแซงนั้นกอใหเกิดปญหาบางประการ เชน ปญหาการวางงาน ปญหา เศรษฐกิจตกต่ํา เปนตน จึงเกิดความคิดวารัฐบาลนาจะเขามามีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อแกไข ปญหาตา ง ๆ ขจัดการเอารดั เอาเปรยี บระหวางกลุมเศรษฐกิจตาง ๆ สงเสริมการผลิตสินคาและบริการท่ีเปน ประโยชนต อสว นรวม ควบคมุ การผลติ สนิ คา และบริการท่ีกอใหเกดิ โทษตอสังคม การแทรกแซงของรัฐบาลจะ ชว ยรกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ ไมใ หเ กิดภาวะเงนิ เฟอหรอื เงนิ ฝด และการวางงาน เครื่องมือสําคัญในการ ดําเนนิ งานของรัฐบาล คอื นโยบายการคลงั (Fiscal Policy) เศรษฐกิจภาครัฐบาลไมวาจะเปนเร่ืองการจัดเก็บรายได การกอหนี้สาธารณะ การใชจายเงินจาก ภาครัฐสูภาคเอกชนลวนมีผลกระทบตอการผลิต การบริโภค และการจางงาน โดยเฉพาะในประเทศดอย พฒั นาเศรษฐกจิ ภาครัฐบาลมีความสาํ คัญมากเพราะวา 1. รัฐบาลประเทศตาง ๆ มีภาระหนาท่ีไมเพียงแตการบริหารประเทศเทานั้น รัฐยังตองพัฒนา เศรษฐกิจในทกุ ๆ ดา น ซ่งึ ตองใชจ า ยเงนิ จํานวนมาก 2. การหารายไดจากภาษีอากร การใชจายเงินและการกูเงินของรัฐบาลผลกระทบตอกิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ในดา นการผลิต การบริโภค การแลกเปล่ียน และการกระจายรายได ดงั น้ัน การคลังจึงมีความสาํ คญั ในการดาํ เนนิ งานของรัฐบาล เพราะรฐั บาลจะใชก ารคลงั ควบคุมภาวะ เศรษฐกิจของประเทศดวยวธิ ีการ ดังตอไปนี้ 1. สงเสริมการจัดสรรทรัพยากรของสังคม (Allocation Function) ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เนอื่ งจากทุกประเทศประสบปญหาทรัพยากรมีจํากัด จึงเกิดปญหาวาจะจัดสรรทรัพยากรของสังคมอยางไร จึงจะสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนไดดี นโยบายการคลังจึงมีบทบาทสําคัญในการ กําหนดการจดั สรรทรพั ยากรระหวางภาครัฐกับภาคเอกชนใหเปนไปในสัดสวนที่ทําใหสังคมไดรับประโยชน สงู สดุ 2. สงเสริมการกระจายรายไดที่เปนธรรม (Distribution Function) นโยบายการคลังของรัฐบาล จงึ มวี ตั ถปุ ระสงคทจ่ี ะใหเกิดความเปน ธรรมในการไดร ับประโยชนแ ละรบั ภาระรายจายของรฐั บาล 3. การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของสังคม (Stabilization Function) รัฐบาลจะตองควบคุม และดูแลใหเศรษฐกจิ ของสงั คมเปน ไปดวยความราบร่นื ดวยการรกั ษาระดบั การจางงานใหอ ยูในอัตราสูงระดับ ราคาสนิ คา และบริการมเี สถยี รภาพ รวมทง้ั อัตราการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) อยใู น ระดบั ทน่ี า พอใจ

216 รัฐบาลจงึ ใชนโยบายการคลงั ในการควบคุมดูแลตลอดจนแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ เพอื่ ใหร ะบบเศรษฐกิจของประเทศคงไวซ ึง่ เสถยี รภาพ ตารางแสดงความแตกตา งระหวางการดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของภาคเอกชนและภาครัฐบาล การดาํ เนนิ กิจกรรม ภาคเอกชน ภาครฐั บาล วตั ถปุ ระสงคแ ละจดุ มงุ หมาย เพือ่ แสวงหาผลกาํ ไรและ มีวัตถปุ ระสงคเ พอ่ื ประโยชนข อง ประโยชนส ว นตวั สาธารณชน ดา นการวางแผนดาํ เนิน วางแผนดําเนนิ กจิ กรรมทาง วางแผนโครงการและตัง้ ประมาณ กิจกรรม เศรษฐกจิ โดยพจิ ารณารายได การรายจา ย แลว จึงประมาณการ กอ นหรอื มรี ายไดก ําหนดรายจาย รายไดทคี่ าดวา จะไดรับหรอื มี รายจายกําหนดรายได ดา นระยะเวลาดําเนิน มักดําเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ มักดําเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ โครงการ ทีใ่ หผลตอบแทนในระยะสั้น ที่ใหผลตอบแทนระยะยาว ในบาง โครงการไมส ามารถประเมินออกมา เปน ตวั เลขได สรปุ เศรษฐกจิ ภาครัฐบาล หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาครัฐบาลในดา นรายได รายจายนโยบาย ทรี่ ฐั กําหนดโครงสรางของรายได รายจา ย และการกอ หน้สี าธารณะ ตลอดจนผลกระทบจากการจดั เก็บรายได และการใชจ า ยเงนิ ของรัฐ เศรษฐกจิ ภาครฐั บาลมคี วามสําคญั ในการดาํ เนนิ งานของรัฐบาล เพราะการคลังชวย ควบคมุ ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ งบประมาณแผน ดิน (Budget) งบประมาณแผน ดิน เปน แผนการเกยี่ วกับการหารายได และการใชจายเงินของรัฐบาลตามโครงการ ตาง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ เปนผูจัดทําและเสนอไปยังสํานักงบประมาณเพ่ือเสนอตอไปยัง คณะรัฐมนตรี จัดทําเปนรางพระราชบัญญัติงบประมาณประจําป เสนอของอนุมัติจากรัฐสภาเพราะเงิน งบประมาณแผนดินคือเงินของประชาชน ในระบอบประชาธิปไตยการใชเงินงบประมาณแผนดินตองไดรับ อนมุ ัติจากรัฐสภากอ น

217 งบประมาณแผนดนิ แบงออกเปน 3 ลักษณะ คอื 1. งบประมาณสมดลุ (Balanced Budget) คือ รายไดและรายจา ยของรฐั บาลมีจํานวนเทากนั 2. งบประมาณขาดดุล (Dificit Budget) คอื รายไดของรัฐบาลต่าํ กวา รายจาย 3. งบประมาณเกนิ ดุล (Surplus Budget) คือ รายไดของรัฐบาลสงู กวา รายจาย งบประมาณแผน ดินจงึ เปน การเปรียบเทียบรายไดแ ละรายจา ยจรงิ ของรฐั บาลในชว งเวลา 1 ป ดลุ แหง งบประมาณในระบบเศรษฐกิจจะเปนอยางไรนน้ั ขึน้ อยูกบั ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ในขณะ น้ัน โดยทั่วไปในขณะที่ระบบเศรษฐกิจรุงเรือง ดุลแหงงบประมาณมักจะเกินดุลและจะขาดดุลในขณะท่ี เศรษฐกจิ ซบเซา ในกรณที ่ีงบประมาณขาดดุลรฐั บาลอาจชดเชยการขาดดุลโดยการกอหนี้สาธารณะ (Public Debit) หน้ีที่มีกําหนดระยะเวลาชําระคืนไมเกิน 1 ป ถือเปนหน้ีระยะสั้น สวนหนี้ระยะยาวมีกําหนดเวลา ชําระคืน 5 ป ขน้ึ ไป ซึง่ อาจจะมาจากแหลงเงินกูภ ายในประเทศหรอื ภายนอกประเทศก็ได สรุป งบประมาณแผนดินเปน แผนการเกี่ยวกับการหารายไดแ ละการใชจายเงินของรฐั บาลตามโครงการ ตาง ๆ ในระยะเวลา 1 ป งบประมาณแผนดินมี ลักษณะ คือ งบประมาณสมดุล งบประมาณขาดดุล งบประมาณเกินดลุ รายไดข องรัฐบาล (Public Revenue) รายไดข องรัฐบาล หมายถงึ เงนิ ภาษีอากร (Tax Revenue) ทร่ี ัฐจดั เก็บจากราษฎรและรายไดอ ื่น ท่มี ิใชภาษอี ากร (Non – tax Revenue) เชน กําไรจากรัฐวสิ าหกิจ คาธรรมเนียมและรายไดเ บด็ เตลด็ อ่นื ๆ เปนตน รายไดข องรฐั บาล จาํ แนกออกไดเปน 4 ประเภท คือ 1. รายไดจ ากภาษอี ากร เปนรายไดสว นใหญประมาณรอยละ 88 ของรายไดท้งั หมด 2. รายไดจากการขายสงิ่ ของและบรกิ าร หมายถงึ คา บริการและคาธรรมเนียม เชน คาเชาทรัพยสิน ของรัฐ คาขายอสังหาริมทรัพย คาขายผลิตภัณฑธรรมชาติ คาขายหนังสือราชการ คาขายของกลางจาก คดีอาญา รายไดส วนน้คี ิดเปน รอ ยละ 2 ของรายไดท ั้งหมด 3. รายไดจ ากรฐั พาณชิ ย หมายถึง รายไดข องรัฐบาล ท่ีมาจากผลกําไร และเงนิ ปน ผลจากองคการ ตาง ๆ ของรฐั เงนิ สว นแบง จากธนาคารแหง ประเทศไทย รายไดส ว นนคี้ ดิ เปนรอ ยละ 6 ของรายไดท ง้ั หมด 4. รายไดอ่ืน ๆ เปนรายไดนอกเหนือจากรายได 3 ประเภทขางตน ไดแก คาปรับ คาธรรมเนียม ใบอนุญาตตา ง ๆ คาสมั ปทานแรแ ละปโตรเลียม คา อาชญาบตั รสาํ หรับฆา สตั ว คาภาคกลางแรและปโตรเลียม คา ภาคหลวงไม การผลติ เหรยี ญกษาปณ รายไดส วนนี้คิดเปน รอยละ 4 ของรายไดทง้ั หมด

218 สรุปไดวารายไดสวนใหญของรฐั บาลคอื รายไดจากภาษีอากรเปน เงนิ ทีร่ ฐั บาลเก็บจากประชาชนผูมเี งิน ไดเพ่ือใชจายในกิจการของรัฐบาลโดยไมตองใหการตอบแทนอยางใดอยางหนึ่งแกผูเสียภาษีอากร ซงึ่ มวี ัตถุประสงคใ นการจัดเกบ็ ดงั นี้ 1. เพ่อื เปน รายไดข องรฐั สาํ หรบั ใชจ า ยในโครงการตา งๆ ท่ีจําเปน 2. เพื่อการควบคุม เชน เพื่อจํากัดการบริโภคของประชาชนในสินคาฟุมเฟอย หรือสินคาที่เปน อนั ตรายตอ สุขภาพ 3. เพ่ือการจดั สรรและการกระจายรายได โดยการเก็บภาษีจากผูมีรายไดมาก ในอัตราสูง เพื่อใหรัฐ นําไปใชจ ายใหเ ปนประโยชนแกสว นรวมและผูมรี ายไดนอย 4. เพื่อการชําระหน้ีสินของรัฐโดยการเก็บภาษีอากรจากผูที่ไดรับประโยชนจากการพัฒนาของรัฐ เพือ่ นาํ ไปชําระหนเ้ี งินกทู ี่รฐั กูยืมมา 5. เพื่อเปนเครื่องมือในนโยบายทางธุรกิจ โดยใชภาษีอากรเปนเครื่องมือสนับสนุนหรือจํากัดการ ลงทุนการธุรกิจเพอ่ื ประโยชนใ นการพัฒนาเศรษฐกิจ 6. เพอ่ื เปน เคร่ืองมือในนโยบายการคลัง เชน เพ่ิมอัตราภาษีใหสูงข้ึนในภาวะเงินเฟอ และลดอัตรา ภาษีลงในภาวะเงินฝด เปนตน สรุป รายไดของรฐั บาลประกอบดว ยรายไดท ่เี ปน ภาษีอากรและรายไดทีไ่ มใชภาษอี ากร เพอ่ื นํามาใชจาย ในกิจการของรฐั บาลโดยไมตองใหการตอบแทนแกผ หู นง่ึ ผูใ ดโดยเฉพาะ ภาษีอากร ประเภทของภาษอี ากร การแบง ประเภทของภาษอี ากรขึ้นอยกู ับเกณฑท่ีใชใ นการแบงซึ่งมี 4 เกณฑ ดงั นี้ 1. แยกตามหลกั การผลกั ภาระภาษี แบงไดเปน 2 ชนิด คือ 1.1 ภาษที างตรง คือ ภาษีท่เี ก็บแลวผเู สียภาษีไมส ามารถผลักภาระไปใหผูใดไดอีก ไดแก ภาษี เงนิ ไดบคุ คลธรรมดา ภาษีเงินไดนติ ิบคุ คล ภาษที รพั ยส ิน เปน ตน 1.2 ภาษที างออ ม คอื ภาษที ี่ผูเสียภาษไี มจ ําเปน ตอ งรับภาษไี วเอง สามารถผลกั ภาระใหผ ูอ่ืนได เชน ภาษสี รรพสามิต ภาษศี ลุ กากร เปน ตน 2. แยกตามการใชภ าษี แบงไดเปน 2 ชนดิ 2.1 ภาษีท่ัวไป (General Tax) หมายถึง ภาษีที่จัดเก็บเพื่อนํารายไดไปเขางบประมาณ แผนดนิ สําหรับใชใ นกจิ การท่วั ไป ไมมีการระบวุ าจะตอ งนําเงินภาษีไปใชเ พ่ือการใดโดยเฉพาะ 2.2 ภาษเี พือ่ การเฉพาะอยา ง (Ear – Marked Tax) หมายถงึ ภาษที ี่จัดเก็บเพ่อื นําเงนิ ไปใชใน กจิ การใดกิจการหนง่ึ โดยเฉพาะ จะนาํ ไปใชผ ิดกิจกรรมมไิ ด เชน ภาษกี ารปอ งกนั ประเทศ เปนตน

219 3. แยกตามฐานภาษี แยกเปน ชนิดตาง ๆ ตามฐานภาษี ดังน้ี 3.1 ภาษที เ่ี ก็บจากเงนิ ได เชน ภาษเี งินไดบ คุ คลธรรมดา หรอื ภาษีเงนิ ไดน ิติบคุ คล เปน ตน 3.2 ภาษที เี่ กบ็ จากฐานการใชจ าย เชน ภาษกี ารใชจ าย เปนตน 3.3 ภาษีท่ีเกบ็ จากทนุ เชน ภาษมี รดก ภาษีรถยนต เปนตน 3.4 ภาษที ีเ่ ก็บจากการเปลี่ยนมือ เชน ภาษขี าย ภาษีสรรพสามติ เปน ตน 4. แยกตามเกณฑก ารประเมนิ ไดแ ก 4.1 ภาษตี ามมูลคา (Ad Valorem Tax) คือ ภาษีท่ีถือมูลคาของสินคาหรือบริการที่ซื้อขาย กันเปน ฐาน โดยมากกาํ หนดรอยละของมูลคาโดยไมค าํ นงึ ถงึ จํานวนทซ่ี ้อื ขายกนั วา เปนอยางไร 4.2 ภาษตี ามสภาพ (Specific Tax) คือ ภาษีทเ่ี กบ็ ตามสภาพของสนิ คา เชน กําหนดเก็บภาษี น้ํามันวา เกบ็ ลิตรละ 2 บาท ไมว าราคาน้าํ มนั จะเปนเทา ใด เปน ตน โครงสรางอัตราภาษอี ากร (Tax Rate Structure) แบง เปน 3 ประเภท คือ 1. โครงสรางอัตราภาษีแบบกาวหนา คือ ภาษีที่อัตราภาษีเพ่ิมข้ึนเม่ือฐานภาษีสูงขึ้น ถาภาษีเงินได เปน ภาษแี บบกา วหนา เม่อื เงินไดเ พ่มิ ข้นึ อัตราภาษีจะสูงข้นึ ดวย 2. โครงสรา งภาษแี บบคงที่ คอื ภาษที ีม่ อี ัตราคงท่ไี มว าฐานภาษจี ะเพ่มิ ขึน้ หรือลดลง 3. โครงสรา งอัตราภาษแี บบถดถอย คือ ภาษีที่อัตราภาษจี ะลดลงเมอื่ ฐานภาษีมคี า สูงขึ้น การจดั เกบ็ ภาษอี ากรในประเทศไทย ภาษอี ากรซึง่ เปน รายไดสว นใหญข องประเทศไทย มหี นว ยงานทจ่ี ดั เก็บ ไดแ ก 1. ประเภทภาษีอากรทีก่ รมสรรพากรทีห่ นา ที่จดั เกบ็ ไดแก 1.1 ภาษีเงนิ ไดบุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงนิ ไดน ติ บิ ุคคล 1.3 ภาษีเงนิ ไดปโตรเลียม 1.4 ภาษกี ารคา 1.5 ภาษีมลู คาเพิ่ม (Value Added Tax) รัฐบาลนําเขา มาใชแทนภาษกี ารคา เม่ือวนั ท่ี 1 มกราคม 2535 1.6 ภาษีธรุ กจิ เฉพาะ 1.7 อากรแสตมป 1.8 อากรมหรสพ (คา งเกา) ไดยกเลิกการจดั เกบ็ แลว 1.9 อากรรังนกนางแอน การธนาคาร ความหมายของการตลาดเงินและตลาดทนุ ตลาดเงิน คือ ตลาดท่ีมีการระดมเงินทุนและการใหสินเช่ือในระยะส้ันไมเกิน 1 ป การโอนเงิน การซื้อขายหลกั ทรัพยทางการเงินที่มอี ายุการไถถอนระยะสั้น เชน ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน และต๋ัวเงินคลัง

220 เปน ตน ปน ทีร่ วมกลไกท้งั หลายทท่ี าํ ใหการหมนุ เวียนของเงินทุนระยะสั้นเปนไปดวยดี ไดแก การใหสินเช่ือ เพื่อการประกอบธุรกิจ และการจัดหาทุนระยะส้ันแกภาครัฐบาล แบงออกเปน ตลาดเงินในระบบ ไดแก ธนาคารพาณชิ ย บรษิ ัทเงนิ ทนุ บริษัทหลักทรพั ย ธนาคารกลาง เปนตน และตลาดเงินนอกระบบเปนการกูยืม ระหวางบุคคล ตลาดทุน คือ ตลาดทมี่ ีการระดมเงินออมระยะยาวและใหส นิ เชือ่ ระยะยาว ตั้งแต 1 ปข ึ้นไป ไดแ ก เงนิ ฝากประจําตง้ั แต 1 ปขึ้นไป หุน กู หุน สามญั และพันธบตั รรัฐบาลหรอื เอกชน ในปจ จุบันการแบง ปน ตลาดเงนิ และตลาดทนุ คอ นขางยงุ ยากเพราะสถาบนั การเงนิ จะทาํ หนา ทท่ี ง้ั สอง อยา งจงึ รวมเรียกวา ตลาดการเงนิ สรุป ตลาดเงินคือตลาดที่ระดมเงินทุนและการใหสินเช่ือในระยะส้ันไมเกิน 1 ป สวนการระดมเงินออม มากกวา 1 ปข้ึนไป เรียกวาตลาดทุน ตลาดเงินและตลาดทุนมีทั้งในระบบและนอกระบบ และมีสวนสําคัญ ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ ธนาคารกลาง 1. ความหมายของธนาคารกลาง ธนาคารกลางเปน สถาบันการเงินซ่ึงสวนมากเปนของรัฐ ทําหนาท่ีเปนศูนยกลางควบคุมการเครดิต และระบบการเงินของประเทศ ในประเทศไทยคอื ธนาคารแหงประเทศไทย ธนาคารกลางมลี กั ษณะแตกตางจากธนาคารพาณชิ ย คอื 1.1 ธนาคารกลางดําเนินงานเพ่ือเสถียรภาพทางการเงินของประเทศ ไมใช เพื่อรายไดหรือผล กาํ ไรอยางธนาคารพาณชิ ย 1.2 ธนาคารกลาง เปน สถาบันการเงินที่รัฐบาลเขา มามีสว นรว มในการบรหิ าร 1.3 ลูกคาสวนใหญของธนาคาร ไดแก หนวยงานของรัฐบาล ธนาคารพาณิชย และสถาบัน การเงินบางประเภท ธนาคารกลางจะไมท ําธรุ กิจตดิ ตอพอคา หรอื ประชาชนโดยตรง 2. หนา ทข่ี องธนาคารกลาง 2.1 เปนผูออกธนบัตร เพ่ือควบคุมปริมาณธนบัตรท่ีใชหมุนเวียนใหพอดีกับความตองการของ ธรุ กิจและประชาชนท่ัวไป 2.2 เปนผูควบคุมเงินสดของธนาคารพาณิชย โดยมีอํานาจกําหนดเพ่ิมหรือลดจํานวนเงินสด สํารองเงินฝากของธนาคารพาณิชย เพือ่ ใหธ นาคารกลางสามารถกําหนดปริมาณเงินฝากและการสรางเงินฝาก ของธนาคารพาณิชยไ ด 2.3 เปนธนาคารของธนาคารพาณิชย ธนาคารกลางจะรับฝากเงินจากธนาคารพาณิชยเปนผูให ธนาคารพาณชิ ยกยู ืมแหลง สดุ ทา ย และรับหักบัญชรี ะหวา งธนาคาร

221 2.4 เปนนายธนาคารของรัฐบาล ธนาคารกลางจะถือบัญชีเงินฝากของรัฐบาลใหรัฐบาลกูยืมเละ เปน ตวั แทนทางการเงินของรฐั บาล 3. ธนาคารแหง ประเทศไทย 3.1 ประวัตคิ วามเปน มา ธนาคารแหง ประเทศไทยเปนธนาคารกลางของประเทศไทย เร่ิมตนจากรัฐบาลไทยไดริเริ่มจัดตั้ง สํานักงานธนาคารชาติไทยข้นึ เมือ่ วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 สํานักงานนีป้ ระกอบธรุ กิจของธนาคารกลาง เฉพาะบางประเภทเทานั้น เพราะยังไมมฐี านะเปนธนาคารกลางโดยสมบรู ณ ตอมาเมอ่ื วนั ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2548 รัฐบาลไดจัดต้ังธนาคารกลางขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารแหงประเทศ พ.ศ. 2548 โดยไดรับทุน ดําเนินงานจากรัฐบาล 20 ลานบาท รวมทรัพยสินที่โอนมาจากสํานักงานธนาคารแหงประเทศไทย 13.5 ลา นบาท 3.2 หนาทข่ี องธนาคารแหงประเทศไทย 1) ออกและพิมพธนบัตร ธนาคารแหงประเทศไทยมีอํานาจตามกฎหมายที่จะออกธนบัตร รฐั บาลภายใตเงือ่ นไข 2 ประการ คือ ออกธนบัตรใหมแ ทนธนบัตรเทาที่ชํารุดเสียหาย และเม่ือไดรับทุนสํารอง เงนิ ตราเพม่ิ ขน้ึ 2) เก็บรกั ษาทนุ สาํ รองเงนิ ตรา ในการออกธนบตั รใหมของธนาคารแหงประเทศไทย กฎหมาย กําหนดใหม ีทุนสาํ รองเงนิ ตรา ประกอบดว ย ทองคาํ หลักทรัพยและเงินตราตางประเทศไมตํ่ากวารอยละ 60 ของจํานวนธนบัตรที่พมิ พออกใช 3) เปนธนาคารของธนาคารพาณชิ ย และคอยกํากับดูแลธนาคารแหงประเทศไทยใหบริการ แกธ นาคารพาณชิ ยในลกั ษณะเดยี วกับที่ธนาคารพาณิชยดแู ลลูกคา คือ 3.1 รักษาบญั ชเี งินฝากของธนาคารพาณิชย 3.2 เปน สาํ นักงานกลางในการหักบัญชรี ะหวา งธนาคาร 3.3 เปนผูใหกแู หลง สุดทาย 3.4 เปนศูนยก ลางการโอนเงิน 4) เปน ธนาคารของรฐั บาล ธนาคารแหง ประเทศไทยรกั ษาบัญชเี งินฝากของหนวยงานรฐั บาล และรฐั วิสาหกจิ ซอ้ื ขายเงินตราตา งประเทศใหร ฐั บาล และใหรฐั บาล รฐั วสิ าหกิจ กยู มื โดนมีหลักทรพั ย 5) รกั ษาเสถียรภาพของเงนิ ตรา เปน บทบาทหนาท่ีทส่ี าํ คญั ทีส่ ดุ ของธนาคารแหงประเทศไทย ในการรกั ษาเสถียรภาพของเงนิ ตราโดยการใชม าตรการตา ง ๆ ควบคุมปรมิ าณเงนิ ของประเทศใหอยูในปริมาณ ทีเ่ หมาะสม สรปุ ธนาคารกลางเปนสถาบันการเงินที่สว นใหญเ ปนของรัฐทาํ หนาทีเ่ ปนศนู ยก ลางควบคมุ การเครดิตและ ระบบการเงินประเทศไทยคือ ธนาคารแหง ประเทศไทย

222 ธนาคารพาณิชย 1. ความหมายของธนาคารพาณิชย ธนาคารพาณิชย หมายถึง ธนาคารที่ไดรับอนุญาตใหประกอบการธนาคารพาณิชยและหมายรวม ตลอดถงึ สาจาของธนาคารตางประเทศทีไ่ ดร ับอนุญาตใหป ระกอบการธนาคารพาณิชย โดยการประกอบธุรกิจ ประเภทรบั ฝากเงนิ ทีต่ องจายเมอื่ ทวงถามหรือเมื่อส้ินระยะเวลาอันกําหนดไวและใชประโยชนเงินน้ันในทาง หนงั สือหลายทาง เชน 1. ใหก ยู มื 2. ซอื้ ขายหรือเกบ็ เงนิ ตามตั๋วแลกเงนิ หรือตราสารเปลีย่ นมืออืน่ ใด 3. ซอ้ื หรอื ขายเงินปริวรรตตา งประเทศ 2. หนาที่ของธนาคารพาณิชย มีดังน้ี 2.1 หนาทีใ่ นดานการใหบรกิ ารทางการเงิน ไดแก 1) การรบั ฝากเงิน เงนิ ทร่ี บั ฝากจะมปี ระเภทเงนิ ฝากกระแสรายวัน เงินฝากประจํา และเงิน ฝากออมทรพั ย 2) การโอน หมายถงึ การสงเงนิ ภายในทองถิน่ ระหวางเมืองหรือระหวางประเทศโดยการ ใชด รา ฟ หรือผา นระบบออนไลน 3) การเรยี กเกบ็ เงนิ หมายถึง การเรยี กเกบ็ เงินตามเช็ค ตั๋วแลกเงนิ ที่ครบกาํ หนดเวลา 4) การใหเ ชา หบี นิรภยั คือ การใหเชาหองท่มี คี วามม่ันคงปลอดภัย เพอ่ื เกบ็ ทรพั ยสนิ 5) การเปนทรัสต หมายถึง การทาํ หนาทพ่ี ทิ กั ษท รพั ยส นิ และผลประโยชนของบุคคลอน่ื หรอื รับจดั การผลประโยชนข องผทู ม่ี ีทรัพยส นิ มากและไมมีเวลาดแู ลทรัพยส นิ ของตนเองได 6) การซอื้ ขายเงนิ ตราตา งประเทศ หมายถงึ การซื้อขายแลกเปลีย่ นเงนิ ตราตา งประเทศ 2.2 หนา ทเี่ กย่ี วกบั การใหกยู มื และสรางเงินฝาก 1) การใหกูยืมของธนาคารพาณิชย ธนาคารพาณิชยรับฝากเงินจากประชาชน แลวนํามาให กยู มื 3 วธิ ดี ว ยกนั คอื 1.1) ใหกยู ืมเปน ตวั เงินโดยตรง 1.2) ใหเบิกเงินเกนิ บัญชี 1.3) รบั ซื้อต๋วั แลกเงิน 2) การสรางเงินฝากของธนาคารพาณิชย เมื่อมีลูกคานําเงินมาฝากเรียกวา เงินฝากข้ันที่ 1 ธนาคารจะเอาไปใหผูอื่นกูยืม โดยเปดบัญชีเงินฝากในนามของผูกู เรียกวา เงินฝากขั้นที่ 2 โดยมอบเช็คให เพ่อื ไปเขยี นสงั่ จา ยตามวงเงินที่กู เงนิ ฝากของธนาคารจึงเพ่มิ ข้ึนโดยธนาคารไมจาํ เปนตอ งมลี ูกคานาํ เงินสดเขา มาใหมเสมอ เปนเงินฝากท่ีเกดิ จากการแปลงหน้ีของผูก ใู หอยูในรปู บัญชเี งินฝาก

223 สรุป ธนาคารพาณิชย คอื สถาบันการเงินท่ีไดรับอนุญาตใหรับฝากเงิน ใหกูยืม ซ้ือขายหรือเรียกเก็บเงิน ตามต๋วั แลกเงนิ ซอ้ื หรอื ขายเงินปริวรรตตา งประเทศ เปน สถาบนั การเงนิ ทใ่ี หญทส่ี ุดในประเทศไทย แบบฝก หดั ทา ยบทเรื่องท่ี 5 สถาบันการเงนิ และการเงนิ การคลัง การธนาคาร คาํ สั่ง เมอื่ ผเู รยี นศึกษาเร่อื งสถาบันการเงนิ และการเงนิ การคลังจบแลว ใหทาํ แบบฝก หดั ตอ ไปน้ี โดยเขยี นใน สมดุ บันทึกกิจกรรมเรียนรู แบบฝกหดั ท่ี 1 ใหผเู รยี นศกึ ษาวิเคราะหและจับคขู อ ความทีก่ ําหนดใหตอ ไปน้ี โดยใหมีความสัมพันธกนั ..............1. เหรยี ญกษาปณ ก. เงนิ ฝากทส่ี ั่งจายโดยใชเช็ค ..............2. ธนบัตร ข. รัชกาลที่ 4 ..............3. เงนิ ฝากกระแสรายวนั ค. รชั กาลที่ 5 ..............4. เงินพดดว ง ง. เร่มิ ใชส มยั สโุ ขทยั ..............5. เริม่ ใชธ นบัตรเปนชาติแรก จ. ธนาคารแหงประเทศไทย ..............6. เลกิ ใชเงินพดดว ง ฉ. กรมธนารักษ ..............7. เรมิ่ ใชเงินโลหะ ช. เงินโลหะ ..............8. เร่ิมผลติ ธนบตั รในประเทศไทย ซ. อียิปต ..............9. หนว ยงานทีผ่ ลติ ธนบตั ร ฌ. จนี ............10. หนวยงานที่ผลติ เหรยี ญกษาปณ ญ. เงนิ กระดาษ แบบฝกหัดท่ี 2 ใหผ เู รยี นบอกหนา ท่ขี องสถาบนั การเงนิ ตอ ไปนี้ 1. ธนาคารออมสนิ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. บริษัทเงินทุน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. บริษทั หลกั ทรพั ย .................................................................................................................………………………………....... ............................................................................................................................................................. 4. บรรษทั เงินทุนอตุ สาหกรรมแหง ประเทศไทย ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

224 5. บริษัทประกนั ภยั ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 6. โรงรับจาํ นาํ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 7. บรษิ ัทเครดิตฟองซเิ อร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 8. สหกรณอ อมทรพั ย ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 9. ธนาคารอาคารสงเคราะห ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 10. ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร ............................................................................................................................................................. แบบฝกหัดที่ 3 ใหผ ูเรยี นสรปุ เรอ่ื งตอ ไปน้ี 1. ความหมายของเศรษฐกิจภาครฐั บาล .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... 2. ความสาํ คัญของเศรษฐกจิ ภาครัฐบาล ..................................................................................................................................................................... 3. ความหมายของงบประมาณแผนดิน ..................................................................................................................................................................... 4. ขน้ั ตอนการจดั ทํางบประมาณแผน ดิน ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................

225 5. หนว ยงานรบั ผิดชอบในการจัดทํางบประมาณแผน ดิน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... 6. งบประมาณแผน ดนิ ในปปจ จุบัน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... เรื่องที่ 6 ความสัมพันธและผลกระทบทางเศรษฐกิจระหวา งประเทศ กับภูมิภาคตาง ๆ ทั่วโลก เศรษฐกิจระหวางประเทศ คือ การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคาและบริการระหวางประเทศ ซ่ึงประกอบดวย การคาระหวางประเทศ การชําระเงินระหวางประเทศ การรวมมือทางเศรษฐกิจระหวาง ประเทศ 1. การคา ระหวางประเทศ (International Trade) การคาระหวางประเทศ (International Trade) หมายถึง การนําสินคาและบริการจากประเทศ หนงึ่ แลกเปลีย่ นกบั อีกประเทศหนงึ่ 1.1 ปจ จัยทที่ ําใหเกดิ การขยายตัวทางการคาระหวา งประเทศ 1) ความแตกตา งของทรัพยากรและปจจัยการผลิต เชน ราคาของวัตถุดิบ คุณภาพแรงงาน การใหบ ริการ เปนตน 2) ความแตกตางของลักษณะทางกายภาพ เชน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทําใหผลผลิตที่ได แตกตา งกนั เปน ตน 3) ความแตกตา งในความสามารถทางการผลติ เชน เทคโนโลยี ตนทุนการผลติ 4) การสนบั สนนุ จากภาครัฐบาลและกฎหมายท่เี ออ้ื ตอการลงทุน 5) โครงสรา งทางเศรษฐกิจของประเทศ 1.2 ประโยชนข องการคาระหวา งประเทศ 1) แตละประเทศมสี ินคา ครบตามตอ งการ 2) การผลติ สนิ คา ในประเทศตา ง ๆ จะมีการแขงขนั ทางดานคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ 3) การกระจายผลผลติ ไปสผู ูบริโภคอยางกวางขวาง เปน การจดั สรรทรพั ยากรของโลกที่มีอยู อยางจํากัด ใหส ามารถสนองความตองการของประชากรโลกอยางทั่วถึง

226 4) เกิดความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ การขยายตัวของการผลิต การจางงาน การถายทอด เทคโนโลยี การผลิตระหวางประเทศ เกิดความรูความชํานาญเฉพาะอยาง มีโอกาสพัฒนาประเทศตนให ทัดเทยี มกันได 5) การผลติ สนิ คาเปน การผลิตเพอื่ การคาหรือมีเศรษฐกิจแบบการคา ประเทศท่ีทําการซ้ือขายสินคาระหวางกันเรียกวา ประเทศคูคา สินคาท่ีนํามาจากตางประเทศ เพื่อเขามาจําหนาย เรียกวา สินคาเขา (Import) สวนสินคาที่ผลิตไดนําสงออกไปจําหนายในตางประเทศ เรียกวา สินคาออก (Export) 1.3 นโยบายการคา ระหวางประเทศ (Trade Policy) เปนแนวทางปฏิบัติทางการคา กบั ประเทศ ตาง ๆ ซ่ึงมักกาํ หนดขึ้นเพอ่ื รกั ษาผลประโยชนทางเศรษฐกจิ ของประชาชน แบงเปน 2 ลักษณะ คือ 1) นโยบายการคาแบบเสรมี ักใชวธิ ีการ ดังนี้ 1.1 ไมมีการเกบ็ ภาษคี ุมกัน คอื ไมกาํ หนดกําแพงภาษีขาเขา ไมเกบ็ คา พรเี มี่ยม 1.2 ไมใหส ิทธทิ างการคา แกประเทศหน่ึงประเทศใด 1.3 หลักการแบงงานทํากัน เลือกผลิตเฉพาะสินคาที่ตนถนัด ทําใหตนทุนการผลิตต่ํา สินคามคี ณุ ภาพ เกดิ ประโยชนท ัง้ ผผู ลติ และผูบ ริโภค 1.4 ไมม ขี อ จํากัดทางการคา คือ ไมม กี ารกําหนดโควตาสินคา ปจ จุบนั ประเทศตาง ๆ ยกเลิกนโยบายการคาแบบเสรี เน่ืองจากประเทศเกษตรกรรมจะเสียเปรียบ ประเทศอตุ สาหกรรม ทําใหเกิดภาวะปญ หาขาดดุลการคา เงินทองรวั่ ไหลไปประเทศอืน่ มาก และสถานการณ ทางการเมืองโลกท่ีเปล่ยี นไป จงึ มกี ารกดี กนั ทางการคา ซ่งึ กันและกนั 2) นโยบายการคา แบบคมุ กัน (Protective Policy) เปนนโยบายการคา ที่จํากัดสินคาเขาท่ีจะ มาแขง ขนั กบั สนิ คาท่ีผลติ ไดในประเทศ นโยบายน้ีมีวตั ถุประสงคเพื่อคุมครองการผลติ ภายในประเทศประเทศ ที่ใชนโยบายการคา แบบคุม กันมักใชว ิธกี าร ดังนี้ 2.1 การต้ังกําแพงภาษี กําหนดอัตราภาษีสินคาเขาใหสูงกวาชาติอ่ืนหรือ เก็บภาษี หลายอัตรา 2.2 กําหนดปรมิ าณการนําเขา หรือการสง ออกสินคา บางชนดิ (โควตา) 2.3 หามนําเขา หรือสง ออกสนิ คา บางชนิด เชน หา มสง ออกสตั วปา 2.4 การใหเงินอุดหนุน เชน ใหเงินอุดหนุนแกผูผลิตในประเทศหรือผูสงออกสินคา บางชนิดลดภาษีสง ออกหรอื ใหความสะดวกดานสนิ เช่อื 1.4 นโยบายการคา ตา งประเทศของไทย พ้ืนที่ทางเศรษฐกิจของไทย คือ เกษตรกรรม เพ่ือไมใหเกิดการเสียเปรียบดุลการคา จึงใช นโยบายการคาตางประเทศแบบคุมกัน ดังน้ี 1) ใชนโยบายการคาแบบคุมกัน โดยนําเอามาตรการตาง ๆ มาใช เชน ต้ังกําแพงภาษี การกําหนดปริมาณการนําเขาสินคา การลดภาษีสงออก เพ่ือคุมครองอุตสาหกรรมและการผลิตสินคา ภายในประเทศ

227 2) ใหเ อกชนมีบทบาททางการคามากท่ีสดุ รฐั บาลสงเสรมิ ใหเอกชนดาํ เนนิ การสงออกมสี ินคา บางอยา งท่รี ัฐเปน ผูดําเนนิ การสงออก เชน ขาว ขาวโพด น้ําตาล เปนตน 3) ใชระบบภาษีศุลกากรพิกัดอัตราเด่ียว หรือพิกัดอัตราซอน สินคานําเขาจากประเทศใด ก็ตาม รัฐเก็บภาษาศุลกากรในอัตราเดียวกัน ไมใหสิทธิหรือกีดกันประเทศใดเปนพิเศษ ที่เปนเชนนี้ เพราะประเทศไทยเปน สมาชิก องคการคาโลก (World Trade Organization หรอื WTO) ปรมิ าณการคา ระหวางประเทศ คิดจากมูลคาของสินคาออกและมูลคาของสินคาเขารวมกันปริมาณ การคาระหวา งประเทศจะแตกตา งกันไป ตามสภาพเศรษฐกจิ และนโยบายการคาของประเทศน้ัน ๆ ประเทศ พฒั นาแลวมีปรมิ าณการคา ระหวา งประเทศสงู กวาประเทศกําลังพฒั นา 1.5 ดุลการคา ระหวา งประเทศ ดุลการคา (Balance of Trade) คอื การเปรียบเทียบมูลคา สินคาออกกับมูลคา สินคาในเวลา 1 ป ดลุ การคามี 3 ลักษณะ คือ ดลุ การคาเกนิ ดลุ = มูลคา สินคา ออก มากกวา มูลคาสนิ คาเขา ดลุ การคาสมดลุ = มลู คา สนิ คา ออก เทากบั มูลคา สินคา เขา ดุลการคาขาดดลุ = มูลคา สินคา ออก นอยกวา มูลคาสนิ คา เขา แตขณะเดยี วกันประเทศไทยรว มจัดตั้ง เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area หรือ AFTA) มีขอตกลงจัดเก็บภาษีสินคาเขาจากประเทศสมาชิก AFTA ตํ่ากวารอยละ 0-5 เทาน้ัน ประเทศ สมาชกิ AFTA ทั้ง 10 ประเทศจะเก็บภาษใี นอตั ราเทากันทงั้ หมดในอตั ราที่ตา่ํ กวา WTO 1.6 ดลุ การคา ของไทย ดุลการคาประเทศไทยมีลักษณะขาดดุลมาตลอด นับต้ังแต พ.ศ. 2495 เปนตนมา เนื่องจาก สินคาเขาสวนใหญเปนสินคาอุตสาหกรรม เชน เครื่องจักรไฟฟา เครื่องจักรใชในอุตสาหกรรม เคมีภัณฑ แผงวงจรไฟฟา นํา้ มันดบิ เปนจํานวนมากมาพฒั นาประเทศ สว นสินคาออกเปนผลิตภัณฑดานเกษตรกรรม ซ่ึงมีมูลคานอยกวาสินคาทุน จึงทําใหขาดดุลการคาตั้งแต ป 2541 เปนตนมาปริมาณการคาขยายตัวสูงขึ้น เรอ่ื ย ๆ ประเทศไทยเร่ิมดลุ การคาเกินดลุ ประเทศคูคา สาํ คญั ของไทย คอื ญีป่ นุ สหรัฐอเมรกิ า ประชาคมยโุ รป (EC) และประเทศในกลุม อาเซียน 1.7 ปญ หาการคา ระหวางประเทศของไทย ปริมาณการคาระหวางประเทศของไทย มีอัตราขยายตัวสูงมาก ขณะเดียวกันก็ประสบปญหา สําคัญ 3 ประการ คือ 1) ลทั ธิกีดกันทางการคาของประเทศคูคา ทส่ี าํ คญั เชน การต้งั กาํ แพงภาษีขาเขา ยกเลิกการใหส ิทธิ พเิ ศษทางการคา (GSP) แกสินคา ไทย กฎหมายลิขสทิ ธ์ทิ างปญ ญา เปน ตน 2) ตลาดการคา ในตา งประเทศยังไมกวางขวาง 3) การแขงขันแยงตลาดของประเทศคูแขง ไทยมีคูแขงสินคาการเกษตรในตลาดโลกหลายราย โดยเฉพาะสนิ คาขาว

228 4) ขอผูกพันที่ตองปฏิบัติตามกฎขอบังคับของแกตต (GATT) คือ ขอตกลงท่ัวไปวาดวยภาษี ศลุ กากรและการคาของประเทศสมาชกิ 5) การขาดดุลการคา ซ่ึงแนวทางแกไข คอื ปรบั ปรุงคุณภาพสนิ คาและราคา แลวขยายตลาดและ ปริมาณสงออก ในขณะเดียวกันตองพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศพรอม ๆ กับจํากัดการนําเขาสินคา ตางประเทศทีฟ่ ุมเฟอ ย การเงินระหวางประเทศ (International Finance) การเงินระหวางประเทศเปน การแสดงความสมั พนั ธดานการเงินระหวางประเทศหนงึ่ กับอกี ประเทศ หนึง่ อนั สืบเนือ่ งมาจากการคาขายระหวางประเทศ การกยู ืมเงินและการชาํ ระหน้ี การลงทุนระหวางประเทศ และการชว ยเหลือกนั ระหวา งประเทศ 2.1 การแลกเปลย่ี นเงินตราตางประเทศ (Foreign Exchange) การแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตางประเทศ คอื การเปรียบเทยี บราคาของเงินตราประเทศหนึ่งกับเงินตรา ของอกี ประเทศหน่งึ โดยท่ัวไปมกั เทยี บคา เงนิ ตราของประเทศตนกับเงนิ ดอลลารสหรัฐ การท่ตี องแลกเปลย่ี น เงินตราตางประเทศ เพราะมกี ารดาํ เนินธรุ กิจการคาระหวา งประเทศ แตล ะประเทศมหี นวยเงินตรา ไมเหมือนกัน จึงตองกําหนดอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราท่ีไดรับการยอมรับใหเปนส่ือในการแลกเลี่ยน คือ เงินดอลลารสหรัฐ เงนิ เยน เงินยโู ร ธนาคารกลางเปนผูกําหนดอัตราแลกเปลี่ยน โดยเทียบคาเงินของตนกับทองคําหรือเงินตรา สกลุ อืน่ ภายใตเง่ือนไขท่ีกองทุนการเงนิ ระหวางประเทศ (IMF) กําหนด 2.2 ดลุ การชาํ ระเงินระหวางประเทศ (Balance of Payment) ดุลการชาํ ระเงนิ ระหวา งประเทศ หมายถึง รายการแสดงยอดรายรับและรายจายของประเทศที่เกิด จากการทาํ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ระหวา งประเทศในระยะเวลา 1 ป ดลุ การชาํ ระเงินระหวางประเทศ ประกอบดว ย 3 สว นใหญ ๆ คอื 1) บญั ชีเดนิ สะพัด เปน บัญชีแสดงดุลการคา ดุลบรกิ าร 2) บญั ชที นุ เคลอ่ื นยาย เปน บัญชแี สดงการนําเงนิ ไปลงทุนระหวางประเทศทัง้ ภาครัฐและเอกชน 3) บญั ชที นุ สาํ รองระหวางประเทศ เปนบัญชีท่ีแสดงการเปล่ียนแปลงจํานวนเงินสํารองระหวาง ประเทศในแตละป ทนุ สาํ รองระหวา งประเทศ คอื ทรพั ยสินของประเทศที่เก็บไวในรูปของเงินสกุลตางประเทศและ ทองคาํ แทง 4) บญั ชีเงนิ โอนและบริจาค เปน เงนิ ไดเ ปลาหรอื เงินบรจิ าคระหวางประเทศดลุ การชําระเงนิ มี 3 ลักษณะ คือ ดุลการชําระเงินขาดดลุ คอื รายรบั ต่ํากวารายจา ย ดุลการชาํ ระเงินเกนิ ดุล คอื รายรับสูงกวารายจา ย ดุลการชาํ ระเงนิ สมดลุ คอื รายรับเทา กบั รายจา ย

229 ดลุ การชาํ ระเงิน = รายรับทัง้ หมดท่ไี ดจากตางประเทศ - รายจายทัง้ หมดที่จา ยไปตา งประเทศ ขอแตกตางระหวางดลุ การคากบั ดลุ การชําระเงิน 1) ดุลการคา เปรยี บเทยี บเฉพาะ มูลคาสินคา ออกกบั มลู คาสินคาเขา เทานัน้ ดลุ การชาํ ระเงิน เปรียบเทยี บเฉพาะรายรบั กบั รายจายทเ่ี กดิ จากการตดิ ตอ กบั ตา งประเทศทกุ ดาน 2) ดลุ การคา เปน สวนหนงึ่ ของบัญชีดลุ การชําระเงิน 2.3 ภาวะดุลการชาํ ระเงินของไทย แมดุลการคาของประเทศจะขาดดุลมาตลอด แตประเทศไทยไมขาดดุลการชําระเงินปใด ดลุ การชาํ ระเงินเกินดุลเกดิ ผลดี ทาํ ใหประเทศมี “ทนุ สํารองระหวางประเทศ” เพ่ิมสงู ขึ้น ป 2540 ดุลการชําระเงินขาดดุล เพราะดึงทุนสาํ รองมาใช จนเกดิ วกิ ฤตกิ ารเงนิ ป 2541 ดุลการคาเริม่ เกนิ ดลุ เนอ่ื งจากการลดอตั ราแลกเปลีย่ นเงินตราระหวางประเทศ ลดการ นาํ เขา สนิ คาทุนและวตั ถดุ บิ นบั จากป 2541 น้ไี ป ไทยยงั คงมีดลุ การคา เกินดลุ แตเ ร่ิมเกินดุลลดลง 3. การลงทุนระหวางประเทศ (International Investment) การลงทนุ ระหวางประเทศ หมายถงึ การทีร่ ฐั บาลหรือเอกชนของประเทศหนึ่งนําเงินไปลงทุนดําเนิน ธุรกจิ เพื่อแสวงหากาํ ไรในอกี ประเทศหน่ึง ปจ จุบันการลงทุนระหวางประเทศสวนใหญอ ยใู นรปู การดําเนินงาน โดยวิสาหกิจ และมสี ถาบนั การเงนิ เอกชนเปนผจู ดั หาเงินทุนสําหรบั โครงการตา ง ๆ 3.1สาเหตขุ องการลงทุนระหวา งประเทศ 1) ลดตน ทุนการนาํ เขา วตั ถุดบิ 2) ลดตน ทนุ แรงงานต่ํา 3) ขยายตลาด โดยตั้งโรงงานผลิตเพ่ือตอบสนองความตอ งการตลาดมากข้นึ 4) ไดรับสทิ ธิพเิ ศษทางภาษี ประเทศกําลังพฒั นามคี วามเหมาะสมมากตอ การลงทนุ ผลดีของการลงทุนระหวางประเทศ คือ ทาํ ใหก ารคาระหวางประเทศขยายตัว เศรษฐกิจภายใน ประเทศดีขน้ึ และมีความกา วหนาทางเทคโนโลยี 3.2 การลงทนุ ของตา งประเทศในประเทศไทย รัฐบาลสนับสนนุ และสงเสรมิ การลงทนุ ของตางประเทศ และจัดต้ังสํานักงานคณะกรรมการ สง เสริมการลงทนุ (Board of Investment หรือ BOI) เพือ่ ทาํ หนา ทส่ี นบั สนุนการลงทุนโดยใหส ิทธพิ เิ ศษ ตา ง ๆ แกผ ลู งทนุ เชน ลดหยอนภาษีศุลกากรสินคาสงออกและนําเขาวัตถุดิบ หรือตั้งกําแพงภาษีสินคาจาก ตางประเทศ เพือ่ คมุ ครองอตุ สาหกรรมท่ผี ลติ ไดใ นประเทศไทย ประเทศไทยไดร บั ความชว ยเหลือทางเศรษฐกจิ จากประเทศญี่ปนุ และสหรัฐอเมริกาเปน สว นใหญ

230 แบบฝกหัดทายบทเร่ืองท่ี 6 เร่ือง ความสัมพันธและผลกระทบทางเศรษฐกิจระหวางประเทศกับภูมิภาค ตาง ๆ ทว่ั โลก คําสง่ั เมื่อผเู รยี นศกึ ษาเรอื่ ง ความสมั พันธและผลกระทบทางเศรษฐกิจระหวา งประเทศกับภูมิภาค ตา ง ๆ ท่วั โลก จบแลว ใหทาํ แบบฝกหัดตอ ไปน้ี โดยเขียนในสมุดบนั ทึกกจิ กรรมเรียนรู แบบฝกหดั ท่ี 1 ใหผ เู รยี นอา นขอความตอ ไปนี้ แลวตอบคําถามท่กี าํ หนดให เรอื่ งท่ี 1 การคา ระหวา งประเทศ หมายถึง การซ้อื ขายแลกเปล่ียนสนิ คา และบริการระหวา งประเทศหนึ่งกับอีก ประเทศหน่งึ อาจกระทาํ โดยรัฐบาลหรือเอกชนกไ็ ด ปจ จุบนั ประเทศตา ง ๆ สวนมากมักมกี ารติดตอซือ้ ขายกัน เน่ืองจากแตละประเทศมีทรัพยากรธรรมชาติ สภาพของดินฟาอากาศ และความชํานาญในการผลิตสินคา แตกตา งกัน สรุปไดวา ปจจยั ท่กี อ ใหเ กดิ การคาระหวางประเทศ คือ 1. ความแตกตางในเร่อื งทพั ยากรธรรมชาติ ไดแก พลงั งาน แรธ าตุ ปาไม ความอดุ มสมบรู ณของดินใน แตล ะประเทศในโลกแตกตา งกัน ประเทศท่มี ที รัพยากรอุดมสมบูรณ ยอมมโี อกาสสูงที่จะนําทรัพยากรมาผลิต เปนสนิ คา และบรกิ าร 2. ความแตกตางในดานลักษณะภมู ิประเทศและภูมิอากาศ จงึ ผลิตสินคา ไดแ ตกตางกนั 3. ความแตกตางในเรื่องความชํานาญการในการผลิต เพราะแตละประเทศมีความกาวหนาทาง เทคโนโลยีแตกตา งกัน ประชากรของแตละประเทศมีความรู ความชํานาญแตกตางกัน เชน สวิตเซอรแลนด มีความชํานาญในการผลติ นาฬิกา เปน ตน ใหผเู รียนตอบคาํ ถามตอไปน้ี โดยเตมิ คาํ ตอบลงในชอ งวาง 1. การคาระหวางประเทศ หมายถงึ ..................................................................................................... 2. การดาํ เนนิ กจิ กรรมในดานการคาระหวา งประเทศสามารถดาํ เนนิ การโดย ...................................... ............................................................................................................................................................................ 3. สาเหตุทีท่ าํ ใหเ กดิ การคาระหวางประเทศ ไดแ ก ............................................................................. ............................................................................................................................................................................ 4. ประเทศไทยเปน ประเทศท่ีผลิตขา วไดมาก เน่อื งจาก..................................................................... ............................................................................................................................................................................ เรื่องที่ 2 การท่ีประเทศใดจะผลิตสินคาอะไรมากนอยเทาใดนั้น ข้ึนอยูกับปจจัยและความเหมาะสมหลาย ๆ ประการดังทไี่ ดกลาวมาแลว ไมม ปี ระเทศใดสามารถผลิตสินคาที่ประชาชนตองการไดหมดทุกอยาง ประเทศ ตาง ๆ จงึ นําสินคาของตนมาแลกเปลีย่ นกัน ดงั นน้ั การคาระหวา งประเทศจึงกอ ใหเ กดิ ประโยชน ดงั นี้

231 1. สินคาใดท่ีผลิตในประเทศเราไมได เราสามารถที่จะซื้อสินคาจากประเทศอน่ื ได ทาํ ใหมีสินคาสนอง ความตองการของเราไดมากขึน้ 2. สินคาทผี่ ลติ ไดในประเทศแตม ีตนทนุ ในการผลติ สงู ประเทศเราควรเลือกผลิตสินคาที่มีตนทุนการ ผลิตตา่ํ แลว สง ไปขายแลกเปล่ยี น เราจะไดสนิ คาคณุ ภาพดแี ละราคาถกู กวา ทจ่ี ะผลติ เอง 3. กอ ใหเ กดิ ความรูค วามชาํ นาญในการผลิตเฉพาะอยางตามความถนดั ทาํ ใหเกดิ แรงจูงใจที่จะคิดคัน เทคนคิ การผลติ ใหมีคณุ ภาพมากข้ึน 4. ชว ยใหประเทศกําลังพฒั นาไดแบบอยา งการผลิตทท่ี นั สมยั สามารถนาํ ทรพั ยากรที่มอี ยมู าใชในการ ผลิตเพ่ือสง ออกมากขน้ึ 5. ชวยใหประเทศกําลังพัฒนารูจักใชเทคโนโลยีจากประเทศท่ีพัฒนาแลวมาพัฒนาประเทศให เจรญิ กา วหนา ข้นึ ใหผเู รยี นตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ โดยเตมิ คาํ ตอบลงในชองวา งตอไปน้ี 1. ในการผลิตสินคา ถาตน ทนุ ในการผลิตในประเทศสูง ควรแกปญหาโดย ............................................................................................................................................................. 2. ประเทศกําลงั พฒั นาไดแ บบอยางในการผลิตสินคา จาก.................................................................. ........................................................................................................................................................ 3. การคา ระหวา งประเทศชว ยใหเ ศรษฐกจิ ขยายตัวเพราะ ............................................................ ........................................................................................................................................................ เรอ่ื งที่ 3 นโยบายการคาระหวางประเทศ เปนนโยบายที่ประเทศหน่ึงประเทศใดนําไปใชในการคาระหวาง ประเทศแบง ออกเปน 2 แบบ คือ 1. นโยบายการคาเสรี เปนนโยบายที่สงเสริมใหประเทศอ่ืนนําสินคามาขายอยางเสรี ปราศจาก ขอ จํากดั ใดๆ ประเทศท่ใี ชนโยบายการคาเสรีจะตอ งปฏบิ ตั ิตามเง่อื นไขตอไปน้ี 1.1 ตอ งผลติ สนิ คาทมี่ ีประสิทธิภาพสูง หรือมีความชาํ นาญในการผลิตสูง 1.2 ตอ งไมเ ก็บภาษี หรอื เกบ็ นอ ยทสี่ ดุ เพือ่ ไมใหเ กิดความแตกตา งในการผลติ สนิ คา 1.3 ไมมีการแบงแยก หรือใหอ ภิสิทธิ์แกประเทศใดประเทศหน่งึ 2. นโยบายการคาแบบคุมกัน เปนนโยบายที่รัฐบาลจะใชเคร่ืองมือตาง ๆ เพ่ือจํากัดการนําเขาและ สงเสรมิ การสง ออก

232 เรื่องท่ี 7 การรวมกลุมทางเศรษฐกจิ ความเปนมาและองคป ระกอบ การคา ระหวางประเทศเกิดข้ึนเนื่องจากการที่โลกไดถูกแบง ออกเปนประเทศ แตละประเทศตางผลิต สินคาหรอื บริการแตกตางกนั เมอ่ื แตละประเทศตา งเกิดความตองการที่จะแลกเปลี่ยนสินคาและบริการที่ตน ผลิต ไดเ ปนจํานวนมากสินคาและบรกิ ารท่ีตนผลิตไดนอยหรือผลิตไมไดเลยกับประเทศอื่น ประกอบกับการ คมนาคมไปมาหาสูก ันสะดวก การคา ระหวา งประเทศจงึ เกดิ ข้นึ การที่แตล ะประเทศผลติ สนิ คา หรือบรกิ ารไดแ ตกตา งกันเปนเพราะสาเหตตุ อไปนี้ 1. แตละประเทศตา งมีลกั ษณะที่ต้งั ตา งกัน ลักษณะที่ตั้งของบางประเทศเอื้ออํานวยใหเกิดการผลิต สินคาหรือบริการ เชน ประเทศท่ีมีชายฝง ทะเลกจ็ ะมอี ุตสาหกรรมตอเรือเพื่อขนสงหรือการใหบริการขนถาย สินคาโดยใชทา เรือนาํ้ ลกึ บางประเทศมภี ูมปิ ระเทศงดงาม จะมีอตุ สาหกรรมการทองเที่ยวเกิดข้ึน 2. แตล ะประเทศมแี รธาตุซงึ่ เปนทรัพยากรธรรมชาติมากนอยตางกัน เชน สวีเดนมีเหล็ก เยอรมันมี ถา นหนิ เวเนซูเอลาและตะวันออกกลางมีนํ้ามัน แอฟริกาใตมีทองคําและยูเรเนียม ประเทศเหลานี้ก็จะนํา แรธ าตขุ ึ้นมาใชและสงเปน สนิ คา ออก 3. แตละประเทศมีลกั ษณะดนิ ฟาอากาศทีแ่ ตกตา งกนั เชน สหรัฐอเมริกาและแคนาดาประเทศทอี่ ยูใน เขตอบอุนสามารถปลูกขาวสาลไี ด ไทยอยูในเขตมรสมุ สามารถปลูกขา วได บราซลิ เปน ประเทศในเขตศูนยสูตร สามารถปลกู กาแฟได จากการทีพ่ ืชผลสามารถข้นึ ไดดี ตามสภาพดนิ ฟาอากาศแตละชนิดดังกลาวทําใหแตละ ประเทศสามารถผลติ พืชผลชนิดน้นั ไดเปนจาํ นวนมาก เม่ือมเี หลอื ก็สามารถสง เปนสนิ คาออก นอกจากนี้ยังมีทฤษฎียืนยันวา “ถาทุกประเทศแบงงานผลิตสินคาและบริการตามที่ตนถนัดหรือ เมื่อเปรียบเทยี บแลวไดเปรียบ จะทําใหมผี ลผลติ เกดิ ขน้ึ มากกวาตางคนตางผลติ ” ดลุ การคาและดุลการชาํ ระเงิน ในการทําการคา ระหวา งประเทศนนั้ ประเทศหนึง่ ๆ ยอมตองบนั ทึกรายการที่เกดิ ขึ้น เพราะจะทําให ไดทราบผลการติดตอ คา ขายกับตา งประเทศ รายการคากับตางประเทศนี้อาจบันทึกอยูใน 2 รูปแบบ ดวยกัน คอื ดุลการคา และดุลการชําระเงิน ดุลการคา (Balance of Trade) ไดแก การเปรียบเทียบมูลคาของสินคาท่ีประเทศหน่ึงสงออกขาย (Export) ใหประเทศอ่ืน ๆ กับมูลคาของสินคาท่ีประเทศน้ันสั่งซื้อเขามาจําหนายวามากนอยตางกันเทาไร ในระยะ 1 ป เพ่อื เปรยี บเทียบวา ตนไดเ ปรยี บหรือเสียเปรยี บ ตัวอยางเชน ประเทศไทยสงสินคา ออกหลายประเภทไปขายสงประเทศญี่ปุน สิงคโปร และอีกหลาย ประเทศ มีมูลคารวมกัน 589,813 ลานบาท ในป พ.ศ. 2533 และในปเดียวกันก็ไดสั่งสินคาเขาจากประเทศ ตาง ๆ มีมูลคา 844,448 ลานบาท เมื่อนํามาเปรียบเทียบกันจะทําใหทราบไดวาไดเปรียบหรือเสียเปรียบ ดลุ การคา ในการเปรียบเทยี บนอ้ี าจแบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ

233 1. ดุลการคาไดเปรียบ หรือเกินดุล ไดแกการท่ีประเทศหนึ่งสงสินคาไปขายยังตางประเทศมีมูลคา มากกวาส่งั สินคาเขามาอุปโภคบรโิ ภค 2. ดลุ การคาเสยี เปรยี บ หรือขาดดุล ไดแก การทีป่ ระเทศหนง่ึ สง สินคา ไปขายยังตางประเทศ มีมูลคา นอยกวา ทส่ี ่งั สนิ คา เขา มาอปุ โภคบรโิ ภค 3. ดุลการคาสมดุล ไมไดเปรียบเสียเทียบกันหรือเทากันมีผลลบเปนศูนยกลาวคือมูลคาสินคาเขา เทากบั มูลคา สนิ คา สง ออก โดยทั่วไปการใชดุลการเพียงอยางเดียวอาจไมทําใหทราบฐานะที่แทจริงของประเทศไดกลาวคือ ดุลการคา ท่เี สียเปรยี บนนั้ อาจไมเ ปนผลเสียใด ๆ ตอ ประเทศก็ได เนื่องจากบันทึกเก่ียวกับดุลการคานั้นจะไม รวมถงึ การนาํ เขาสนิ คา บางชนิด ท่ีไมต องชาํ ระเปน เงินตราตางประเทศกไ็ ดเ น่ืองมาจากสินคา ชนิดนน้ั จะมาจาก การบริจาคชว ยเหลือ ถา นาํ เอารายการน้ีมาหักออกอาจทําใหดุลการคาลดลงหรือการคิดราคาสินคาเขาและ สินคาออกตางกนั กลาวคอื ขณะทสี่ ินคา เขารวมมูลคาขนสงและการประกันภัยแตสินคาออกไมไดรวมไวหรือ การส่งั สนิ คาประเภททนุ เชน เครื่องจกั รกลเขา มาทําการผลติ สินคา ดเู หมอื นวาจะทําใหเสียเปรียบดุลการคา ก็จรงิ แตในระยะยาวแลวเมือ่ มีการผลติ สนิ คา เพ่อื การสงออก สนิ คานน้ั อาจทาํ ใหไดเ ปรียบดุลการคา ในระยะ ยาวก็เปนไปได เปนตน ประเทศที่ดุลการคาไดเปรียบถือวาภาวะเศรษฐกิจของประเทศนั้นเจริญ แตอาจจะไมเปนผลดีตอ เศรษฐกิจเสมอไป เชน เม่อื ไดร ับเงินตราตางประเทศ ธนาคารกลางสามารถเพ่มิ ปรมิ าณเงินในทอ งตลาดไดมาก พอคาสามารถแลกเงินตราตา งประเทศมาเปน เงนิ ในประเทศไดม าก เม่ือปรมิ าณเงินในทองตลาดมากอาจเกิด ภาวะเงินเฟอหรอื การท่ปี ระเทศใด ประเทศหน่ึงไดเปรียบดุลการคากับประเทศอ่ืนติดตอกันหลายปจะทําให ประเทศคูคาไมสามารถมีเงินมาซ้ือสินคาหรือชําระเงินได ยอมเปนผลเสียตออุตสาหกรรมภายในประเทศ ดังนั้นนักคิดทางเศรษฐศาสตรจึงเห็นวาไมควรเปรียบเทียบเฉพาะรายการสินคาเทาน้ัน จึงจะทําใหทราบ สภาวะเศรษฐกจิ ทแ่ี ทจริงของประเทศ แตค วรมรี ายการอื่นๆ เขามาแสดงเปรยี บเทียบดว ยและรายการอ่ืน ๆ ที่แสดงเปรยี บเทียบนัน้ แตละประเทศจะแสดงไวใ นรูปของดุลชาํ ระเงินระหวา งประเทศ ดุลการชําระเงินระหวา งประเทศ คอื สถิตใิ นรูปบญั ชแี สดงรายรับ (หรือ credit = +) ท่ีประเทศหน่ึง ไดรับจากตางประเทศ และรายจาย (หรือ debit = - ) ท่ีประเทศนั้นจายแกตางประเทศในรอบ 1 ป นํามา เปรียบเทียบกนั เพ่ือทราบตนไดเปรียบหรือเสียเปรยี บ โดยปกติดลุ การชําระเงินจะประกอบไปดวย 1. บญั ชีดลุ การคา 2. บญั ชีดลุ บริการ 3. บัญชีดลุ บริจาค 4. บญั ชที นุ หรือบัญชเี งินทนุ 5. บญั ชกี ารเคลอ่ื นยายเงนิ ทุนของระบบการเงนิ 6. จาํ นวนไมประจักษหรอื คา คลาดเคลอื่ นสทุ ธิ

234 จากบัญชีดุลชําระเงินทง้ั 6 ชนดิ นี้ บัญชดี ลุ การคา บัญชีดลุ บรกิ าร และบัญชีดลุ บริจาคเรยี กรวมกันวา บญั ชีเดนิ สะพัด (Current Account) เปน บญั ชแี สดงถึงการแลกเปลยี่ นเงินระหวางประเทศเฉพาะสวนท่ีเปน ผลิตภณั ฑ (สนิ คาและบริการ) เทานนั้ แตไ มมีรายการแสดงการเคลอ่ื นยา ยทรัพยส ินหรือทนุ ซึง่ ดลุ การชําระเงินจะพิจารณาจาก ดุลการชําระเงนิ = ดลุ บัญชเี ดนิ สะพัด + ดุลบัญชีทุน + จาํ นวนไมประจักษ ซง่ึ จะแสดงผลอยูใน 3 ลักษณะ คือ ถายอดรายรับมากวารายจาย เรียกวา ดุลการชําระเงินเกินดุล ถา ยอดรายรับนอ ยกวา ยอดรายจา ย เรยี กวา ดลุ การชําระเงินขาดดุล และถายอดรายรับหรือรายจายเทากัน หรือเปนศูนยเ รียกวา ดุลการชําระเงินสมดลุ อตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เงนิ ตราตางประเทศ หมายถึง เงินตราของประเทศอื่นซง่ึ อยูในความครอบครองของรฐั บาลหรือเอกชน ของประเทศใดประเทศหนึ่ง ตัวอยางเชน เงินตราตางประเทศในทัศนะของเอกชนและรัฐบาลไทยก็คือเงิน ดอลลาร มารค เยน ปอนด เปนตน สวนเงินบาทเปนเงินที่ออกโดยรัฐบาลไทย ถือเปนเงินตราตางประเทศ ทัศนะของรัฐบาลและเอกชนของประเทศอน่ื นอกจากประเทศไทย เงนิ ตราของประเทศตาง ๆ แตล ะหนว ยจะมี อํานาจซือ้ แตกตางกนั ไปตามคาของเงนิ ในแตละประเทศ ซึ่งคา ของเงนิ แตล ะประเทศจะถูกกําหนดไวในรปู ของ อตั ราแลกเปลีย่ นเงินตราระหวา งประเทศ อัตราแลกเปล่ียนเงินตราระหวางประเทศมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับการคาระหวางประเทศ เพราะอัตราแลกเปลี่ยน หมายถึง ราคาของเงินตราสกุลหนึง่ เมอื่ เปรียบเทียบกับเงินตราของสกุลอื่น ๆ อัตรา แลกเปล่ียนเปนราคาที่สําคัญเม่ือเทียบกับราคาสินคาโดยท่ัวไป เพราะอัตราแลกเปลี่ยนจะเปนตัวเช่ือมโยง ราคาสินคาของประเทศตาง ๆ หากเราไมทราบอตั ราแลกเปลี่ยนจะทาํ ใหเราไมส ามารถเปรยี บเทยี บราคาสินคา ระหวางประเทศได และอัตราแลกเปลีย่ น ราคาสนิ คาทุกชนดิ ในตา งประเทศ ซง่ึ คดิ เปน เงนิ ตราของประเทศใด ประเทศหนึง่ จะเปลยี่ นไปดว ย ตวั อยา งเชน อตั ราแลกเปลี่ยนระหวางปอนดกับบาทเปน 1 ปอนดตอ 45 บาท เสื้อขนสัตวตัวหนึ่งมีราคา 20 ปอนดในประเทศอังกฤษจะมี ราคา 900 บาทในประเทศไทย แตถาประเทศ อังกฤษลดคาเงินปอนดเปน 1 ปอนดเทากับ 35 บาท เส้ือขนสัตวตัวเดิมจะมีราคาในประเทศไทยเพียง 700 บาท เทานัน้ โดยตง้ั ขอสมมติในชั้นนี้วา ราคาเส้ือขนสัตวในอังกฤษไมเปล่ียนแตในทางปฏิบัติจริง เม่ืออังกฤษ ลดคาเงนิ ปอนด ราคาสินคา ในอังกฤษจะเปลี่ยนจากระดับเดิมและราคาเปรียบเทียบระหวางเงินบาทกับเงิน ปอนดจะเปล่ียนไป ดังนั้นราคาสินคาท่ีส่ังจากประเทศไทยไปประเทศอังกฤษจะเปลี่ยนไปเชนกัน กลาวคือ ทอี่ ัตราแลกเปลย่ี นเดิมทีเงนิ 1 ปอนดมคี า เทากบั 45 บาทนั้น ถาประเทศอังกฤษตอ งการซ้ือรองเทาซึ่งมีราคา 450 บาทจากประเทศไทย อังกฤษจะตองจายเงิน 10 ปอนด แตเ มือ่ อัตราแลกเปล่ยี นเงินตราเปลี่ยนไปเปน 1 ปอนดม คี า เทากับ 35 บาท จะทําใหองั กฤษตองจายคารองเทาคูเดียวกันถึง 12.8 ปอนด ดังนั้นจึงกลาวไดวา อัตราแลกเปล่ียนเปนปจจัยหน่ึงท่ีมีอิทธิพลตอสินคาเขาและสินคาออกของประเทศ ตลอดจนการดําเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของประเทศอกี ดว ย ฉะนั้นประเทศตา ง ๆ จงึ พยายามหาวิธีรวมกันในการกําหนดอัตรา แลกเปลี่ยนท่เี หมาะสม

235 ผลจากการรว มกลมุ ทางเศรษฐกิจ การรวมกลุมเศรษฐกิจ (Regional Economic integration) หมายถึง การที่ประเทศมากกวา 1 ประเทศขึ้นไปมารวมกนั อยางเปนทางการ (Official integration) เพ่อื เช่อื มเศรษฐกิจของภูมิภาคเดียวกนั การท่ปี ระเทศในภมู ภิ าคเดียวกันมารวมตัวกนั นน้ั เพราะประสบปญ หาทางการคา นานาประการโดยเฉพาะ ปญหาการขาดดุลการคา ซึง่ มีสาเหตมุ าจากการไรประสิทธิภาพในการผลิตและความไมม่ันคงในสินคาที่เปน วัตถุดิบที่ใชในการผลิต จึงเกิดมีการรวมกลุมกันเพ่ือการผลิตและขยายตลาดและมีการทําสัญญาตาง ๆ เพอ่ื แกปญ หาเฉพาะเรอ่ื ง การรวมกลมุ เศรษฐกจิ มหี ลายประเภท แตม ีลกั ษณะเหมือนกันอยูประการหนึง่ คอื “การใชก าํ แพงภาษี กดี กันสินคา จากประเทศนอกกลุมสมาชิก และใหมสี ิทธพิ ิเศษในการนําเขา สินคาจากประเทศสมาชิกในกลุม” การรวมกลมุ จงึ มลี ักษณะของการคาแบบเสรี และการคาคุมกันอยูในตัวซ่ึงสามารถแบงออกเปนประเภทได ดงั น้ี 1. เขตปลอดภาษี (Free Trade) เปนการวมกลุมประเทศท่ีงายท่ีสุดคือประเทศสมาชิกจะยกเวน การเกบ็ ภาษขี าเขา ระหวา งกันเอง โดยท่แี ตจะประเทศสมาชิกมีอิสระเต็มที่ในการตั้งอัตราภาษีเรียกเก็บจาก ประเทศนอกกลุม เชน เขตการคาเสรีแปซิฟค (Pacific Free Trade Area : PAFTA) เขตการคาเสรีลาติน อเมรกิ า (Latin Amereac Free Trade: LAFTA) การรวมกลมุ ประเทศในลกั ษณะน้มี กั จะมปี ญ หาเนอื่ งมาจาก การทแ่ี ตละประเทศสมาชิกมรี ะดับการพัฒนาท่ีแตกตางกันและการตั้งอัตราภาษีสําหรับประเทศนอกกลุมมี ความแตกตางกนั ทําใหป ระเทศคูค า สามารถเลอื กคา กับประเทศสมาชกิ ที่ต้ังอัตราภาษีไวตํา่ 2. สหภาพศลุ กากร (Custom Union) เปนการรวมกลุมเหมือนเขตปลอดภาษี แตมีขอตกลงเรื่อง การตั้งกําแพงภาษีรวมกันเพื่อเก็บจากประเทศนอกกลุม แตมักจะมีปญหาคืออัตราภาษีท่ีรวมกันต้ังใหม ถาแตกตางจากเดิมมากจะมผี ลกระทบตอ อัตราภาษีเดมิ ทีเ่ กบ็ ภายในประเทศและสงผลกระทบถึงราคาสินคา ในประเทศ 3. ตลาดรว ม (Common Market) มีลกั ษณะเหมือนสหภาพศุลกากรทกุ ประการ แตเพ่ิมเง่ือนไขวา ไมเ พียงแตสนิ คา เทานนั้ ที่สามารถเคลอ่ื นยายไดโ ดยเสรรี ะหวา งประเทศสมาชิกแตไมวาจะเปนการเคลื่อนยาย ทุน แรงงาน สามารถทําไดโดยเสรี การตั้งตลาดรวมจําเปนตองมีนโยบายหลาย ๆ ดานท่ีประสานกัน เชน การเก็บภาษรี ายได นโยบายการเงนิ ภายใน นโยบายการคา ตลอดจนกฎหมายตาง ๆ 4. สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) เปนการรวมกลุมกันอยางสมบูรณแบบโดยสมาชิก อยภู ายใตน โยบายเดียวกัน ใชเงนิ ตราสกลุ เดยี วกันและอยภู ายใตอาณาจกั รเศรษฐกิจเดียวกนั กลมุ ทางเศรษฐกจิ ท่สี าํ คัญมีดงั นี้ 1. กลมุ ประชาคมยุโรป (European Community : EC) เกิดจากการรวมตัวกนั ของประเทศสมาชิก ในยุโรป 12 ประเทศ ไดแก อังกฤษ เดนมารก ไอรแลนด กรีซ สเปน โปรตุเกส ฝร่ังเศส เยอรมันนี อิตาลี เบลเยียม เนเธอรแลนด และลักแซมเบิรก ปจจุบันประชาคมยุโรปมีสภาพเปนสหภาพศุลกากร กลาวคือ มีขอกําหนดใหประเทศสมาชิกยกเลิกการเก็บภาษีขาเขา ควบคุมสินคาเขาและสินคาออกระหวางประเทศ สมาชิกและไดดาํ เนนิ นโยบายและมาตรการทางการคากับประเทศนอกประชาคมรว มกัน โดยใชระบบประกัน

236 ราคาผลิตผลเกษตรแบบเดียวกัน และใชงบประมาณสวนกลางของประชาคมยุโรปเขาสูการเปนตลาดรวม ตัง้ แตป  2535 และในป 2539 ไดร วมตัวกันเปนสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน (Economic and Monetary Union) ซ่ึงจะมกี ารใชเงินตราในสกุลเดยี วกนั 2. สมาคมการคาเสรีแหงยุโรป (European Free Trade Association) มีสมาชิกในปจจุบัน 7 ประเทศ คือ นอรเวย สวีเดน ออสเตรยี สวเี ดน ออสเตรยี สวิซเซอรแลนด ไอแลนด ฟนแลนด และลิกเตน- สไตน วัตถปุ ระสงคก ารกอตั้งเปน เขตการคาเสรีมากกวาเปน สหภาพศุลกากร ในป 2527 กลุม ประเทศ น้ีไดเ คย แถลงการณ รว มมอื กนั จดั ต้งั เปนเขตเศรษฐกจิ ยโุ รป (European Economic Area : EEA) โดยมีวัตถปุ ระสงค เพ่ือขยายความรวมมือระหวางกลุมประเทศท้ังสองสวน ข้ันตอนในการจัดตั้งยังไมไดกําหนดไวชัดเจน จนกระทงั่ ป 2532 กลุมประเทศสแกนดิเนเวียวิตกวาการเปนตลาดเดียวของประเทศสมาชิกประชาคมยุโรป อาจสงผลกระทบตอการคาระหวางประเทศของตน จึงไมมีความประสงคจะกอต้ังเขตเศรษฐกิจยุโรป แตป ระชาชนยุโรปยังใหก ารสนบั สนนุ เนอ่ื งจากสมาคมการคา เสรีแหงยุโรปเปนตลาดสินคาท่ีสําคัญ และใหญ ท่สี ุดของประชาคมยุโรปจงึ ไดมกี ารจดั ตั้งอยางเปน ทางการและมกี ารใหสตั ยาบันรวมกัน โดยมีผลบังคับต้ังแต วันที่ มกราคม 2536 เปน ตน 3. ขอตกลงการคาเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free Trade Agreement : NAFTA) มีประเทศสมาชิกในปจจบุ นั 3 ประเทศ ไดแก สหรัฐอเมรกิ า แคนาดา และเมก็ ซิโก มีวัตถุประสงคเพ่ือยกเลิก การกีดกนั ทางการคาและการลงทุนระหวางประเทศสมาชิกท้ังสามและเพ่ือสรางเขตการคาเสรีที่ยอมรับการ คมุ ครองสทิ ธิในทรพั ยส ินทางปญญา 4. กลุมประเทศอาเซียน ประกอบไปดวยประเทศสมาชิก 10 ประเทศ คือ ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อนิ โดนีเซยี ฟลปิ ปน ส บรูไน เวียดนาม ลาว กัมพชู า และเมียนมาร มีวตั ถปุ ระสงคใ นการรวมตัวกันในครั้งแรก คือการแบง งานกันผลติ สินคา เพอ่ื ลดความซ้ําซอนในการผลิต และสรา งอํานาจตอรองทางการคาภายหลังไดมี ขอเสนอใหจัดต้ังเขตการคาเสรีอาเซียน (Asean Free Trade Agreement : AFTA) มีวัตถุประสงคเพื่อให ประเทศสมาชกิ คอ ย ๆ ยกเลิกหรือลดภาษีศุลกากร สําหรับสินคาสวนใหญที่คาขายกันอยูใหเหลือรอยละ 5 ภายในระยะเวลา 15 ป เชือ่ วาจะทาํ ใหการคา และการลงทุนของกลุมอาเซียนขยายตัวมากขึ้น ประเทศไทยไดร ว มมอื ทางเศรษฐกิจกบั ประเทศอน่ื ๆ อยา งกวา งขวาง และไดเขารว มเปน สมาชิกของ องคกรระหวางประเทศ หลายองคก รดังน้ี กลุม อาเซียน หรือสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) ประกอบดวย 10 ประเทศ ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร บรูไน ไทย เวียดนาม ลาว กัมพชู า และเมียนมาร สํานักงานใหญต้ังอยทู เ่ี มืองจาการต า ประเทศอนิ โดนเี ซยี องคกรน้มี ีวตั ถปุ ระสงค เพื่อสง เสรมิ ความรว มมือทางเศรษฐกิจ วทิ ยศาสตรแ ละเทคโนโลยี สังคม และ วฒั นธรรม ตลอดจนการเมอื งระหวางประเทศสมาชกิ จากการกอ ต้งั กลุมอาเซยี น มาตง้ั แต พ.ศ.2510 มาถึงปจ จบุ ัน ประเทศสมาชิกอาเซยี น มกี ารขยายตัว ทางเศรษฐกจิ อยา งรวดเร็ว โครงสรางทางเศรษฐกิจก็เปล่ียนแปลงจากภาคเกษตร ไปสูภาคอุตสาหกรรมมากข้ึน

237 สง ผลใหป ระเทศสมาชิกประสบปญหาทัง้ ทางดา นการขาดดุลการคา การเพม่ิ อัตราคา จา งแรงงาน และการขาด แคลน การบริการพน้ื ฐาน กลุมเอเปค (Asia – Pacific Economic Cooperation : APEC) กอต้ังขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2532 มี สมาชิก 12 ประเทศ ไดแ ก สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต สิงคโปร ฟลิปปนส นิวซีแลนด มาเลเซีย ญ่ีปุน อินโดนีเซีย แคนาดา บรไู น ออสเตรเลีย และไทย องคกรน้ีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมความรวมมือในการแกปญหารวมกันสงเสริมการคาเสรีตลอดจนการ ปรับปรุงแบบแผนการติดตอ การคา ระหวา งกนั และเพ่ือต้งั รบั การรวมตวั เปน ตลาดเดียวกนั ระหวางประเทศ สมาชิกคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ และสังคมสําหรับเอเชียและแปซิฟก (Economic and Social Commission for Asia and Pacific : ESCAP) องคกรน้เี ปนองคกรทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ โดยองคก ารสหประชาชาติ มีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมความรวมมือในการ พัฒนาดานเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศสมาชิกทอี่ ยูในเอเชยี และแปซฟิ ก รวมทง้ั ประเทศไทยดวย ESCAP เปนองคกรท่ีขยายมาจากคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแหงเอเชีย และตะวันออกไกล (Economic Commission for Asia and the Far East : ECAFE) ซ่ึงจัดต้ังข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2490 และ ใน พ.ศ. 2517 ไดขยายมาเปน ESCAP ทงั้ นีเ้ พ่อื ใหค รอบคลมุ ประเทศในพน้ื ที่เอเชีย และแปซฟิ กทัง้ หมด ประเทศท่ีเปนสมาชิกจะไดรับความ ชว ยเหลือในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม สํานักงานตงั้ อยูท่ี กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ขอตกลงท่ัวไปดวยภาษีศุลกากรและการคา (General Agreement on Tariffs and Trade : GATT) กอ ต้ังเมื่อวันที่ 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2409 มปี ระเทศสมาชกิ เกือบทั่วโลก ประเทศไทยเขาเปนสมาชิกเมื่อ วันท่ี 20 พฤศจิกายน 2525 องคกรนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมระบบการคาเสรี และสงเสริมสัมพันธภาพ ทางการคา และเศรษฐกิจระหวางประเทศ โดยทุกประเทศสมาชิกตอง ปฏิบัติตามกฎระเบียบของ GATT ประเทศไทยไดร บั การสง เสริมดา นการขยายตัวทางการคา ทาํ ใหค วามเสยี เปรยี บดา นการเจรจาการคา ระหวา ง ประเทศกับมหาอํานาจทางเศรษฐกิจลดลงไปมาก ความสัมพันธระหวา งเศรษฐกิจของไทยกับกลมุ เศรษฐกิจโลก ประเทศไทยเปน ประเทศสมาชิกในขอตกลงเขตการคาเสรอี าเซยี น ซ่งึ มีวัตถปุ ระสงคข องการรวมกลุม คลายกับการรวมกลมุ ของประเทศในภูมภิ าคอื่น ๆ คือ การยกเลกิ กําแพงภาษที มี่ รี ะหวางประเทศสมาชิกและ กําหนดมาตรการทางเศรษฐกิจอื่น ๆ รวมกัน เชน การผลิตสินคาบริการ การกําหนดอัตราภาษีศุลกากร เปน ตน ในขณะเดียวกนั กส็ รา งกาํ แพงภาษีเพื่อสกัดกน้ั สนิ คาทีมาจากนอกเขต ในขณะเดียวกันประเทศไทยก็ สังกัดอยูในกลุม “ขอตกลงทั่วไปวาดวยภาษีศุลกากรและสินคา (General Agreement on Tariff and Trade : GATT) ซงึ่ เปน องคกรท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติทางการคาของโลก ซ่ึงประเทศไทยมีพันธะสัญญาท่ี จะตอ งปฏิบัติตามขอ ตกลงเหลาน้ัน เชน การสงเสริมการคา แบบเสรกี ารลดอัตราภาษนี ําเขา การถอื หลกั การท่ี ไมใหมกี ารกีดกันทางการคา แตกตา งกันตามประเทศคูคา การคมุ ครองสทิ ธิในทรัพยสนิ ทางปญญา เปน ตน ซึ่งมี ขอตกลงบางอยา งก็เปน สง่ิ ท่ขี ัดกบั การคา ภายในประเทศ เชน การยอมรบั ในขอ ตกลงวาดวยการคุมครองสิทธิ ทางปญญา แตการประกอบธรุ กิจในประเทศไทยหลายประเภทมลี ักษณะละเมดิ สทิ ธิทางปญ ญา

238 เนือ่ งจากการทแ่ี ตล ะประเทศตา งรวมตัวกันเปน เขตเศรษฐกิจในลักษณะตาง ๆ กันประกอบกิจกรรม ทางเศรษฐกิจจะดําเนินการเฉพาะภายในกลุม ในขณะเดียวกันก็มีนโยบายกีดกันสินคาจากภายนอกกลุม ทาํ ใหเปนการยากทีป่ ระเทศไทยจะหาตลาดทางการคา ประเทศไทยจงึ ตองดําเนินนโยบายทางการคาโดยการ เจรจาทางการคากบั ประเทศคคู า โดยตรงเพ่ือรกั ษาตลาดทางการคา ในขณะเดียวกันก็พยายามหาทางขยาย ตลาดไปสภู ูมภิ าคท่ียงั มีการรวมกลุมทางเศรษฐกจิ ท่ไี มค อ ยเขมแข็งนกั เชน ตลาดยุโรปตะวันออก แบบฝกหัดทา ยบทเร่ืองท่ี 7 คําชแ้ี จง เมอื่ ศกึ ษาบทน้แี ลว ใหนกั ศกึ ษาคนควาและตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. ในระดับชมุ ชน มคี วามเกีย่ วเนอื่ งอยางไรกบั ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ 2. จากสภาวการณเศรษฐกจิ ปจจบุ ัน ประชาชนไดร ับผลกระทบอยา งไร ใหยกตัวอยา งประกอบ 2- 3 อยา ง 3. การกีดกันทางการคา ของประเทศคูแขง มอี ะไรบาง 4. อะไรบา งทค่ี นไทยควรปรับตัวในการทําธรุ กิจกบั ตางชาติ

239 บทที่ 4 การเมอื งการปกครอง สาระสาํ คญั การศึกษาเรื่องการเมอื งการปกครอง นอกจากผูเรียนจะไดเ รียนรถู งึ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย และการปกครองระบอบเผด็จการของประเทศตา ง ๆ ในโลกแลวยังไดร ูแ ละเขาใจถึงพัฒนาการของประเทศ ตาง ๆ นับตั้งแตย ุคโบราณ ยคุ กลาง ชวงครสิ ตว รรษ ท่ี 18, 19 และ 20 โดยจะทราบวาจุดเร่ิมตนของระบอบ ประชาธิปไตยมคี วามเปน มาอยา งไร และประชาธิปไตยของประเทศตา ง ๆ รวมทั้งประเทศไทยเปน อยางไรบา ง นอกจากน้ีผูเรียนยังไดเรียนรูถึงเหตุการณสําคัญทางการเมืองการปกครองของประเทศไทยและของโลกวา เหตุการณห รือสถานการณทางการเมืองนั้นสง ผลกระทบตอสังคมไทยและสังคมโลกอยางไร รวมทั้งผูเรียน จะไดศ ึกษาเรยี นรถู ึง หลักธรรมมาภบิ าลและแนวปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรมมาภิบาลเปนอยา งไร เพ่อื การนําไปสกู าร ปฏิบัติตนของผูเรียนไดอ ยางถูกตอง และเหมาะสมตอไป ตัวชวี้ ดั 1. รแู ละเขา ใจระบอบการเมืองการปกครองตา ง ๆ ทีใ่ ชอยปู จ จุบนั 2. ตระหนกั และเหน็ คณุ คา การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 3. รูและเขาใจผลทเ่ี กิดจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมอื งการปกครองของประเทศไทยจากอดตี 4. รูและเขา ใจผลทเี่ กิดจากการเปล่ยี นแปลงทางการเมอื งการปกครองของโลก 5. ตระหนกั และเหน็ คุณคาของหลักธรรมาภิบาลและนาํ ไปปฏิบตั ิในชีวติ จริงได ขอบขายเนื้อหา เรอ่ื งที่ 1 การปกครองระบอบประชาธิปไตย เรื่องท่ี 2 การปกครองระบอบเผด็จการ เรือ่ งท่ี 3 พฒั นาการของระบบประชาธิปไตยของประเทศตาง ๆ ในโลก เร่อื งท่ี 4 เหตุการณส าํ คัญทางการเมอื ง การปกครองของประเทศไทย เร่อื งท่ี 5 เหตกุ ารณสําคัญทางการเมอื ง การปกครองของโลกที่สงผลกระทบ ตอประเทศไทย เรื่องที่ 6 หลกั ธรรมาภิบาล

240 เรอ่ื งที่ 1 การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 1. ระบอบประชาธิปไตย คําวา “ประชาธิปไตย” เปน คําไทยท่ีบญั ญัตขิ นึ้ ใหมีความหมายตรงกับคําภาษาอังกฤษวา Democracy หมายถงึ อาํ นาจของประชาชน คาํ วา “ประชา” แปลวา ประชาชน คําวา “อธิปไตย” แปลวา ความเปน ใหญ สรุปวา คําวา “ประชาธิปไตย” หมายถึง การปกครองที่ประชาชนมีอํานาจสูงสุดในการปกครอง ประเทศ ดงั นน้ั “การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย” จึงหมายถึง ระบอบการปกครองซึ่งประชาชนมีอํานาจ สูงสุด โดยจะเห็นวา การปกครองระบอบประชาธิปไตยในปจจุบันน้ันจะแยกออกเปน 2 แบบ คือ ระบอบ ประชาธปิ ไตยแบบมีพระมหากษัตรยิ เปนประมขุ กับระบอบประชาธปิ ไตยแบบมปี ระธานาธิบดเี ปน ประมขุ ระบอบประชาธิปไตยมีความเชื่อวา มนุษยเปนสัตวประเสริฐ มีความคิด ความเฉลี่ยวฉลาดและ สติปญญาที่จะปกครองตนเองได สามารถใชเหตุผลในการแกไขปญหาของตนเอง และสังคมได ดังน้ัน การปกครองในระบอบประชาธิปไตยจึงเปนวิธีการท่ีประชาชนมีโอกาสไดเลือกสรรคนท่ีเหมาะสมเขาไปทํา หนาท่ีในการบริหารประเทศแทนตน อันเปนหนทางท่ีดีท่ีสุด การปฏิวัติรัฐประหารการใชวิธีรุนแรง การปราบปรามเขนฆา เพือ่ ใหไ ดมาซง่ึ อํานาจในการปกครองถอื เปนวิธีการท่ีดูหมิ่นเหยียดหยามและทําความ ทําลายความเปน มนุษยของประชาชนอยา งยงิ่ 2. หลกั การของระบอบประชาธิปไตย ระบอบประชาธิปไตยจะม่ันคงหรือไมนั้นข้ึนอยูกับรัฐบาลและประชาชนวาจะยึดมั่นในหลักการ ของระบอบประชาธปิ ไตยมากนอ ยเพยี งใด ซง่ึ หลักการของระบอบประชาธิปไตยมีดงั นี้ 2.1 หลักความเสมอภาค หลักความเสมอภาค หมายถงึ ทกุ คนไมวา ฐานะจะเปน อยา งไร มสี ตปิ ญญาหรือความสามารถ มากนอยแตกตางกัน หรือแมมีผิวพรรณแตกตางกัน แตทุกคนมีความเปนมนุษยอยางเทาเทียมกัน ซึ่งหลัก ความเสมอภาคแบงเปน 4 ลักษณะ ดังนี้ 1) ความเสมอภาคทางกฎหมาย หมายความวา ทุกคนมีความเทาเทียมกันทางกฎหมาย รฐั บาลจะออกกฎหมายเพือ่ คมุ ครองใครคนใดคนหน่ึงไมไ ด เม่อื มใี ครกระทําผดิ ก็จะตองถูกกฎหมายลงโทษเทา เทยี มกัน 2) ความเสมอภาคทางการเมือง หมายความวา ทกุ คนมีความเทาเทียมกันในทางการเมือง การปกครอง เชน ทุกคนมีสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเทากันคือคนละ 1 เสียง มีสิทธิตั้งพรรคทาง การเมือง มสี ิทธิลงสมัครรบั เลอื กต้ัง มีสิทธ์ิตง้ั กลุมทางการเมือง มีสทิ ธแิ สดงความคดิ เหน็ ทางการเมือง เปน ตน

241 3) ความเสมอภาคทางเศรษฐกจิ หมายความวา ประชาชนมสี ิทธิในการประกอบอาชีพทาง เศรษฐกิจ และสามารถครอบครองหรอื ไดร บั ประโยชนจากกจิ การท่ีตนทาํ ไปอยางเต็มท่ี รัฐบาลจะตอ งเปน ผูนํา ทรัพยากรภายในประเทศมาใชและจัดสรรผลประโยชนเหลานั้นสูประชาชนอยางท่ัวถึง โดยการกระจาย ความเจริญไปสสู ว นตา ง ๆ ของประเทศ 4) ความเสมอภาคในดา นโอกาส หมายความวา ความเทาเทียมกันท่ีจะไดรับโอกาสในการ พฒั นาตนเอง เชน โอกาสทางการศึกษา (ความเทาเทียมกันในการสอบเขา มหาวิทยาลัย) การประกอบอาชีพ การสรา งฐานะทางเศรษฐกิจ 2.2 หลกั สทิ ธเิ สรภี าพและหนา ท่ี สิทธิ หมายถงึ อาํ นาจหรือผลประโยชนข องบคุ คลทีก่ ฎหมายใหความคมุ ครอง บุคคลทีล่ ะเมดิ ลวงเกิน หรอื กระทาํ การใด ๆ ที่กระทบกระเทือนตอ สิทธิของบุคคลอืน่ ไมได เสรีภาพ หมายถึง ความมีอิสระในการกระทําของบุคคล การกระทําน้ันตองไมขัดตอกฎหมายหรือ ไมละเมดิ สทิ ธขิ องผอู ื่น เชน มีเสรีภาพในการเขียนแสดงความคิดเห็น แตถาไปละเมิดสิทธิของผูอ่ืน โดยการ เขยี นโจมตซี ่งึ ขาดพยานหลกั ฐาน เชน นีผ้ ูท ่ีไดรับความเสียหายกม็ สี ทิ ธิที่จะปกปองชอ่ื เสียงของตนเอง ดวยการ ฟองรองไดหรือเรามีเสรภี าพท่ีจะเปดวิทยุภายในบา นเรือน แตถ า เปดเสียงดังเกนิ ไปจนรบกวนผอู นื่ เชน นี้ถอื วา เปน การละเมดิ สิทธิของผอู น่ื ปน ตน หนาที่ หมายถงึ ภาระหรือความรบั ผดิ ชอบทีบ่ ุคคลจะตองปฏบิ ัติตามกฎหมาย สทิ ธิและเสรภี าพเปน รากฐานที่สําคญั ในการปกครองประชาธปิ ไตย ประเทศใดใหส ทิ ธิและเสรีภาพกับ ประชาชนมาก ประเทศน้ันก็มีประชาธิปไตยมาก ในทางกลับกันถาประเทศใดจํากัดสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชน แสดงวา ประเทศนั้นไมเ ปนประชาธิปไตย สทิ ธแิ ละเสรภี าพขั้นพน้ื ฐานของประชาชนทรี่ ฐั บาลจะตองใหการรบั รอง ไดแก 1) สทิ ธแิ ละเสรภี าพสว นบคุ คล เปนสทิ ธเิ สรีภาพทีท่ กุ คนพงึ มใี นฐานะทเ่ี กดิ มาเปน มนุษย ไดแ ก สทิ ธิ และเสรภี าพในการไดรับการคุมครองท้ังทางรางกายและทรัพยสินจากรัฐ สิทธิและเสรีภาพในการประกอบ อาชีพสุจริต สิทธิและเสรภี าพในการเลอื กท่อี ยู หากรัฐบาลหรือบคุ คลใดกระทาํ การละเมดิ ตอ สทิ ธแิ ละเสรีภาพ ของบุคคลอน่ื ถอื วาเปนความผดิ 2) สิทธิและเสรีภาพทางการเมือง เปนสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ที่จะเขามามีสวนรวม ในกจิ กรรมทางการเมืองการปกครอง และกิจการตา ง ๆ ของรฐั เชน สิทธิทางการเมืองระหวางเพศหญิงและ ชายมเี ทาเทยี มกัน ประชาชนมีสทิ ธิออกเสียงเลือกต้งั รบั เลอื กต้งั ต้ังพรรคการเมือง แตตอ งอยูภายใตก ฎหมาย และระเบยี บอันดงี ามของประเทศ 3) สทิ ธแิ ละเสรภี าพทางเศรษฐกจิ ประชาชนมเี สรีภาพในการเลือกประกอบอาชีพมสี ทิ ธิเปน เจา ของ ทรัพยส ินทีห่ ามาดว ยความสจุ ริต มสี ิทธิทจ่ี ะไดร ับคาจางแรงงานท่ีเปนธรรม เปนตน รฐั บาลจะตองไมละเมิดสทิ ธิและเสรีภาพของประชาชน ยกเวนในกรณีสงครามหรือเพื่อรักษาความ มั่นคงของชาติ การรักษาความสงบเรยี บรอย การคุมครองผลประโยชนของสวนรวม การรักษาศีลธรรมอันดี งามของประชาชนและการสรา งสรรคค วามเปน ธรรมใหกบั สงั คมเทา นั้น

242 2.3 หลักนิตธิ รรม กฎหมายเปน กฎเกณฑกติกาทที่ ุกคนจะตองปฏิบตั ิตาม ดงั นั้น สทิ ธิ เสรีภาพและความเสมอภาคใด ๆ จะเปนจริงไมไดห ากขาดกฎหมายทเ่ี ปน หลักประกนั คุมครองประชาชนเพราะเม่อื ไมมีกฎหมาย แตล ะคนกอ็ าจ ทาํ ตามความพอใจของตน ทาํ ใหเ กดิ การละเมิดสิทธแิ ละเสรภี าพขน้ึ ได 2.4 หลกั การยอมรับเสียงสวนมาก การอยรู วมกนั ของคนหมูมาก ยอมมีความขัดแยงหรือความเห็นไมตรงกันติดตามมา ปญหา ความขัดแยง บางอยา งท่ีเก่ียวของกับความถูกผิด สามารถใชกฎหมาย ระเบียบของสังคมหรือกฎศีลธรรมมา ตดั สินได แตค วามขัดแยงบางอยา งไมเกยี่ วของกับความถูกผิด เปนความขัดแยงของสวนรวมท่ีตองการทําส่ิง ตาง ๆ ใหดีข้ึน ดังน้ันจึงตองอภิปรายถกเถียงกัน แตละฝายช้ีแจงเหตุผล จากน้ันจึงลงมติเลือกสิ่งท่ีดีท่ีสุด ขอเสนอใดทเ่ี ปนเสยี งขา งมาก กค็ อื วา เปน มตขิ องคนสว นใหญ ซงึ่ ทุกคนตอ งนาํ มติน้ีไปปฏิบตั ิ 3. ประเภทของประชาธปิ ไตย การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 3.1 ประชาธปิ ไตยโดยทางตรง เปนวิธีการท่ีประชาชนทุกคนมีสวนรวมในการปกครองโดยตรง เหมาะกบั รฐั ทมี่ ปี ระชากรไมมาก เชน นครรฐั กรีกโบราณ ใหป ระชาชนทุกคนรว มกันพจิ ารณาตดั สินปญหา แตวธิ กี ารนีไ้ มเหมาะสมกับรฐั ท่ีมีประชากรเปน จํานวนมาก ประชาธิปไตย โดยทางออ มจึงถูกนํามาใชกับรัฐท่ีมี ประชากรเปน จํานวนมาก 3.2 ประชาธิปไตยโดยทางออม เนอ่ื งจากจาํ นวนประชากรของแตละประเทศมีจํานวนมหาศาล ดังนั้นการใหประชาธิปไตยทางตรง จึงไมสามารถกระทําได ประเทศตาง ๆ ทั่วโลกไดใชวิธีประชาธิปไตย ทางออ ม ซ่งึ กค็ อื การเลือกตัวแทนเขาไปทําหนาที่แทนประชาชน การใชอํานาจอธิปไตยของประชาชนจะใช ผา นตวั แทน ซง่ึ ไดแก อํานาจนติ กิ ับบัญญัติคือรัฐสภา อาํ นาจบริหารคอื รัฐบาล อาํ นาจตลุ าการคือศาล 4. ขอดแี ละขอ เสียของระบอบประชาธิปไตย 4.1 ขอ ดขี องระบอบประชาธิปไตย 1) ทําใหประชาชนยดึ หลกั การทถ่ี กู ตอง ชอบธรรม มรี ะเบยี บวินยั รูจักประสานผลประโยชน รว มกนั ของคนภายในชาติ เสรมิ สรางจรยิ ธรรม คุณธรรม ความถูกตองดีงามกอใหเกิดความเรียบรอยสงบสุข ความเจริญงอกงาม ขวญั กาํ ลังใจ ศกั ดิ์ศรี และความภาคภูมิใจในการเปนเจา ของประเทศอยางแทจรงิ 2) การปกครองระบอบประชาธิปไตย เปนการปกครองที่ประชาชนทุกคนมีสวนในการ ปกครองตนเอง เปนเจาของอํานาจสูงสุดของประเทศคืออํานาจอธปิ ไตย จึงทําใหการปกครองมเี สถยี รภาพ 3) ประชาชนมีสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคเทา เทียมกัน 4) เปน การปกครองทป่ี ฏิบตั ติ ามมตขิ องเสียงสวนมาก ขณะเดียวกันก็เคารพเสียงสวนนอย โดยต้งั อยูบนหลักการของประโยชนส วนรว ม ความถกู ตอง และตองไมละเมดิ สทิ ธิและเสรีภาพของผอู ่นื 5) ชว ยแกไขปญหาความขัดแยง ภายในหมปู ระชาชน ระหวางรัฐกับประชาชน หรือระหวาง รฐั กับรฐั โดยอาศยั กฎหมายท่กี ําหนดข้ึนเปนกตกิ า หรือใชก ารอภปิ รายลงมติเพ่อื หาขอสรุป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook