Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore kทักษะการเป็นวิทยากร

kทักษะการเป็นวิทยากร

Published by spycdd, 2017-05-18 23:22:31

Description: kทักษะการเป็นวิทยากร

Search

Read the Text Version

ทกั ษะการเปน็ วิทยากร วทิ ยากรหรอื ผ้สู อนมีบทบาทสาคญั ในการเป็นผถู้ ่ายทอดความรู้ต่างๆ มีทกั ษะในการถ่ายทอดที่หลากหลายทีเ่ ป็นบทบาทสาคญั ของความเป็นวิทยากร การจะใชท้ ักษะใดมากนอ้ ยนั้นขึน้ อยู่กับวตั ถปุ ระสงค์เปา้ หมายในการเรยี นรคู้ รง้ั น้ันๆ เป็นสาคญั หากกล่าวได้วา่ ความเปน็วิทยากร ควรมที กั ษะสาคญั ๆ ดังน้ี๑.ทกั ษะความคิด  มีความยดื หยนุ่ ทางความคดิ  มีความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์สูง  มีความคดิ เชงิ ระบบ/องค์รวม  มคี วามคิดเชิงเหตผุ ล  มีความสามารถจบั ประเดน็ ความคิด  มคี วามสามารถเชอื่ มโยงความคิด  มคี วามสามารถในการสรุป๒.ทักษะการใชค้ าถาม  เตรียมคาถามล่วงหน้า  ตรงประเด็น  ใชภ้ าษาชัดเจน กระชบั  ไม่ซับซ้อน  ถามจากเน้อื หาง่ายเน้อื หายาก/เฉพาะเจาะจง  คาถามปลายเปิดเพอ่ื แสดงความคดิ เหน็ ถามให้คดิ  ท้ิงเวลารอคอยคาถาม (ให้เวลาเขาคิดบา้ ง)  ถามแล้วตอบไมไ่ ด้ เปลี่ยนคาถามหรืออธบิ ายเพม่ิ เตมิ  กระจายคาถามให้ทวั่ ถงึ ทุกคนไดต้ อบ

๓.ทักษะการสรา้ งบรรยากาศ  สรา้ งบรรยากาศเปน็ กันเอง ระหว่างสมาชิกกลมุ่ ดว้ ยกนั เองและสมาชิกกลมุ่ กับ วทิ ยากร  จดั กจิ กรรมนันทนาการเพอ่ื ละลายพฤติกรรม สร้างสัมพันธภาพ ความสนกุ สนาน  การใชเ้ กม เพลง นทิ าน กอ่ นการเชื่อมโยงเข้าสเู่ นือ้ หา หรอื คนั่ เมื่อบรรยากาศตึง เครยี ด  มีการเคลื่อนไหว หรือเปลีย่ นสถานท่ี เชน่ จากในหอ้ งออกไปสู่สถานท่โี ลง่ ๆ มี ธรรมชาตแิ วดล้อม๔.ทกั ษะการสื่อสาร การใช้ภาษาพูด การใช้ภาษากาย (วจนภาษา) (อวจนภาษา) สื่อใหช้ ดั เจน ไม่กากวมคลุมเครอื เข้าใจ  การวางตัว กริ ิยาเคลอื่ นไหว ง่าย  การแสดงสหี นา้ แววตา ยม้ิ การประสาน นา้ เสยี งออ่ นโยน นุ่มนวล เนน้ สูงต่า สบตา หนักเบา  การวางตัวสบายๆ แสดงความเปน็ พดู กระตนุ้ ให้คดิ เป็นระยะๆพดู คยุ สร้าง กนั เอง บรรยากาศกรณเี ห็นว่าเรมิ่ เครียด  การจัดสถานที่ ส่งิ แวดล้อมเก้าอ้ีใหม้ ี ทบทวนขอ้ ความท่ีจะสอ่ื ออกไปก่อน ความใกล้ชดิ คุ้นเคย เป็นกันเอง เสมอ คิดก่อนพูด หากผรู้ บั ไมเ่ ขา้ ใจหรอื ทาท่าไม่เข้าใจ ตอ้ งขยายความให้ชดั เจนขนึ้ พดู ซ้าหรอื ใช้คาถามชว่ ย หากมกี ารตอบสนองทางลบจากผรู้ บั สื่อ อย่าแสดงอาการตอบโต้ พยายามทา ความเขา้ ใจมีอะไรเข้าใจผิดหรอื ไม่ โดย การใชค้ าถามเพอื่ ใหเ้ กิดความชดั เจน

๕.ทักษะการฟงั  สนใจ ใส่ใจ ต่อสมาชกิ ทกุ คน  ถามเพือ่ ใหเ้ กิดความกระจ่าง  ไม่เสนอแนะตราบทีย่ งั อยใู่ นฐานะผู้รบั ขอ้ มลู  อยา่ ด่วนสรุปเรื่องราวต่างๆ อยา่ งง่ายดาย  ตอ้ งเกดิ ใจยอมรบั ความคดิ เห็นทห่ี ลากหลาย  ต้องพยายามทาความเข้าใจสมาชกิ ทุกคน และใจความสาคญั ในการอภปิ ราย๖.ทักษะการสงั เกต  ผสู้ ังเกตตอ้ งเปิดใจกวา้ งเป็นกลาง  คน้ หาขอ้ มูล ทศั นคติ ความสนใจ ขอ้ เสนอแนะ ปฏิกิริยาโตต้ อบ ทแี่ สดงอาการ กริ ิยาตา่ งๆเข้าใจ สนใจ  ไม่ดว่ นสรุปเหตกุ ารณ์ จากกิริยาที่เหน็ ต้องประกอบกับขอ้ มลู ชอ่ งทางอนื่ ด้วย๗.ทกั ษะการเร้าความสนใจ การเรา้ ความสนใจ หมายถึง การกระตุ้นให้ผเู้ รียนหรือกลมุ่ เปา้ หมายเกิดความสนใจ ไม่เบอื่ หน่าย ผสู้ อนหรอื วิทยากรจะต้องใช้เทคนิคต่างๆมาช่วยกระตุ้นและควบคุมความสนใจของกลุ่มเปา้ หมายใหอ้ ยูก่ ับเนอื้ หาและกระบวนการเรยี นรตู้ ลอดเวลาทักษะของการเร้าความสนใจ  การเคล่ือนที่ของวทิ ยากร อาจจะเปน็ การเดนิ จากทหี่ นง่ึ ไปที่หน่ึงอยา่ งมจี ดุ หมายไมใ่ ช่ เคลอื่ นไปอยา่ งเล่อื นลอย เช่น เดินไปดูกลุ่มเป้าหมายขณะทากจิ กรรมต่างๆ  การใช้ทา่ ทางประกอบ ไดแ้ ก่ การแสดงท่าทางดว้ ยมือ รา่ งกาย หรือศรี ษะ เพอื่ ประกอบการพดู ให้เห็นภาพ เช่น ใชม้ ือทาท่าท่างบอกขนาด บอกจานวนของเนือ้ หาทก่ี าลงั อธิบาย

 การเปลี่ยนลีลาในการพูด พูดจงั หวะเรว็ ช้า สงู ต่า หนักเบา เนน้ คา วลี หรือหยดุ การพดู ชวั่ ครู่  การเปล่ียนประสาทสัมผัส ไดแ้ ก่ การแปรเปลี่ยนประสาทการรับร้ขู องผู้เรยี น เช่น เปลย่ี น จากฟังเป็นดู จากอ่านเป็นเขียน จากอภปิ รายเปน็ ลงมือทา หรือดูวีดีทัศน์ ภาพยนตร์ สไลด์  ผู้เรยี นมีส่วนร่วมพูด เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นเป็นผู้พูดบ้าง ถามหรอื ตอบ แสดงความคดิ เห็น เสนอแนะ  ให้ผเู้ รยี นเคล่อื นที่ ได้แก่การจดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นปฏบิ ตั ิ เช่น เล่นละคร แสดงบทบาท สมมตุ ิ ไปหาข้อมูลจากจุดทก่ี าหนด แบ่งกลมุ่ ทางาน๘.ทักษะการใชก้ ระดาน/บอรด์  ทุกครัง้ ที่ใช้กระดาน/บอร์ด ควรทาความสะอาดกระดาน/บอร์ด ให้สะอาด  ข้อความทเี่ ขียนตอ้ งเขียนให้อ่านง่าย ชดั เจน  ควรฝกึ เขียนกระดาน/บอร์ด โดยเอยี งตวั เข้าหากระดานบอรด์ จะไดไ้ มบ่ งั คับ ข้อความทีเ่ ขียนไวแ้ ล้ว  หากมีขอ้ ความทส่ี าคญั หรือต้องการเนน้ หวั ข้อสาคญั ควรขีดเสน้ ใตห้ รอื ทา เคร่อื งหมายวงกลมลอ้ มรอบ หรือใชป้ ากกา/ชอลก์ สีทีแ่ ตกตา่ งกัน เพอ่ื เนน้ ให้เหน็ ความสาคญั  วิทยากรควรพยายามฝกึ การใชภ้ าพการต์ นู ลายเส้น หรอื เทคนิคอืน่ ๆท่ีทาให้ ข้อความนา่ สนใจมากข้ึน  เปดิ โอกาสให้ผูเ้ รยี นมีสว่ นร่วมออกมาเขียนกระดาษ/บอรด์  เม่ือหมดเวลาแล้ว ควรลบกระดาน/บอร์ดให้สะอาดเรยี บรอ้ ย  ไม่ควรใชส้ ีหลากหลายเกนิ ไป

๙.ทกั ษะการเล่าเรื่อง การเลา่ เร่ือง หมายถงึ ทักษะท่ีผู้สอน/วทิ ยากรนาเอาเรอ่ื งราว เช่น นทิ าน เรือ่ งราวในประวัติศาสตร์ พงศวดาร เหตกุ ารณ์ เรื่องจริง เร่ืองแตง่ หรอื อ่นื ๆ ทเี่ ปน็ เรอื่ งราวมาเล่าให้กลมุ่ เปา้ หมายฟงั เพื่อจุดประสงคต์ า่ งๆ เช่น เพือ่ ใหว้ ิเคราะห์ ใหป้ ระเมนิ เพื่อให้ได้คติ เพื่อให้เกิดความซาบซงึ้ เพลิดเพลนิการเตรียมการเล่าเรอ่ื ง  เลอื กเรอื่ งที่จะนามาเล่า อา่ นใหต้ ลอด และจับจุดสาคัญของเร่อื งให้ได้  ควรลาดับเรื่องต้ังแตต่ ้นจนจบอย่างย่อๆ และพยายามหาข้อปลีกย่อยเพมิ่ เติม เพอ่ื ให้เกดิ ความเขา้ ใจยงิ่ ขึ้น เช่น ยกตวั อยา่ งประกอบนาสุภาษิต และคาพงั เพยมา ยกตวั อยา่ งเพิม่ เตมิ  ทาความเขา้ ใจเกย่ี วกับสานวน โวหาร และคาศพั ท์ต่างๆกอ่ นจะเลา่ เรื่อง  เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ ไวใ้ ช้ใหเ้ หมาะสมกบั เร่ืองราวน้นั ๆ  ถ้าเปน็ เรือ่ งราวท่แี ตง่ ข้ึนเอง ควรใชภ้ าษาง่ายๆ เนื้อเรอื่ งไมส่ บั สน ควรให้ความรู้ ข้อคิด หรือคติ สอดแทรกในเรื่องทีแ่ ต่งขึ้นด้วย  เรอื่ งทเี่ ลา่ ควรสอดคลอ้ งกบั เนื้อหา โยงเข้าสู่บทเรยี นและสอดคลอ้ งกบั กลุ่มผูเ้ รียนเทคนิคในการเลา่ เร่ือง  ใช้ทา่ ทางประกอบการเลา่ เชน่ ใชแ้ ขนสื่อความหมาย การเคลือ่ นไหวตวั ของผู้เล่า แสดงท่าทางไปตามบทบาท ความร้สู ึก การโกรธ เกลยี ด รัก โศก พอใจ เสยี ใจ  การใช้ภาษาและนา้ เสียง ภาษาทใ่ี ชไ้ ด้แก่ภาษาของผู้เล่า และภาษาของตัวละครใน เรอื่ งภาษาที่ใช้จะตอ้ งเหมาะกบั ระดบั ของผฟู้ งั น้าเสียงเนน้ หนักเบา สงู ตา่ ตาม เนอื้ เรื่องของตัวละคร  แสดงออกทางสหี น้าอารมณ์ เชน่ การพยกั หนา้ สา่ ยหน้า ย้ิมแย้ม บง้ึ ตงึ  การใช้อุปกรณ์ประกอบการเลา่ เร่อื ง เพื่อเรา้ ใจ หรอื ใหร้ วดเรว็ ข้ึน เชน่ ภาพประกอบแผนที่ เครอื่ งบนั ทกึ เสยี งท่บี นั ทกึ เร่ืองราวต่างๆไวแ้ ล้ว

 ให้ผ้ฟู ังเกดิ ความคิดหรอื จนิ ตนาการ เช่น เลา่ เรือ่ งใหค้ ้างไว้ ให้คิดตอ่ ตั้งคาถามให้ คดิ ตอ่ หรอื แบ่งกลุ่มอภปิ รายหลังฟังเร่ืองจนจบ๑๐.ทกั ษะการยกตัวอย่าง ทักษะการยกตวั อยา่ ง หมายถงึ ทกั ษะที่ผสู้ อน/วิทยากร ใชต้ ัวอยา่ งเพอ่ื ให้เกิดความเขา้ ใจ หรือไดแ้ นวคดิ ในสิ่งที่เป็นนามธรรมตวั อย่างทดี่ ีควรมีลกั ษณะ ดงั น้ี  เร่มิ จากตัวอย่างท่ีงา่ ยๆ ไปหาตัวอยา่ งทีย่ ากขน้ึ ตามหลกั การสอนใหเ้ กิดความคดิ รวบยอด แกผ่ ู้เรยี น  คานงึ ประสบการณแ์ ละความรขู้ องผเู้ รยี น ผูส้ อนรจู้ กั ผเู้ รยี นมากขนึ้ เพียงใด กจ็ ะสามารถ เลอื กตวั อย่างไดเ้ หมาะสมมากขน้ึ  ตรวจสอบความเขา้ ใจของผูเ้ รยี น อาจให้ผู้เรยี นเปน็ ฝา่ ยยกตัวอย่างเพ่มิ เติมเพราะหาก ผเู้ รียนยกตวั อย่างได้ถูกตอ้ ง กต็ ีความได้ว่าเกดิ ความเข้าใจ หากยกตัวอย่างไม่ไดห้ รือ ผิด ผูส้ อนตอ้ งเข้าใจ ปรบั บทเรยี นใหม่

๑๑.ทกั ษะการเสริมกาลงั ใจ ทกั ษะการเสริมกาลังใจ หมายถงึ ความสามารถในการใช้ท่าทางและคาพดูเพื่อกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนเต็มใจในการเรียนรู้การเสริมกาลังใจด้วยวาจา ประเภทของการเสริมกาลังใจ การเสรมิ กาลังใจด้วยการให้ การเสริมกาลังใจดว้ ยท่าทาง รางวัล/สญั ลักษณ์ต่างๆ - เก่งมาก - ชัดเจนดี - ตั้งใจฟงั - การให้ส่งิ ของ - ดีมาก - การพยกั หน้า - การให้เครอื่ งหมายดีเด่น - เป็นข้อสงั เกตทีด่ ี - แสดงการตอบรบั ระหวา่ ง - การติดประกาศผลงาน - ใช้ได้ - การติดประกาศรายชอ่ื - นา่ สนใจ ทผ่ี ู้เรียนพูด - เปน็ ความคดิ ที่ดี - การยม้ิ - การเขียนคาตอบของ ผู้เรียนบนกระดาน/ บอร์ด/แผน่ ใสหลักในการเสริมกาลงั ใจ  ควรเสรมิ กาลังใจทันที ทีแ่ สดงพฤติกรรมทพี่ งึ ปรารถนา  ควรเลอื กวิธีเสรมิ กาลังใจ ให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน  ไมค่ วรเสริมกาลังใจบางประเภทบ่อยเกนิ ไป  พยายามหาโอกาสเสริมกาลงั ใจให้ทัว่ ถงึ กัน  การเสริมกาลงั ใจไมค่ วรมาจากผสู้ อนฝ่ายเดยี ว ควรมาจากผเู้ รียนด้วยกนั บา้ ง เชน่ การปรบมือใหเ้ พ่อื ตัดสินผลงาน  ไมค่ วรพูดเกินความจริง พดู ตรงไปตรงมาตามพฤตกิ รรมทผ่ี ้เู รียนแสดงออกมา เชน่ ถา้ ตอบถูกหมดกบ็ อกวา่ ดีมาก ถ้าถูกบางส่วนกว็ ่าใช้ได้  ควรเสรมิ กาลงั ใจดว้ ยท่าทางจรงิ จงั และตั้งใจให้กบั ผู้เรยี น  ควรใช้การเสรมิ กาลังใจ ด้วยวาจา ท่าทาง ประกอบกันไป  หากผูเ้ รียนตอบผดิ ควรใหค้ ดิ ใหม่ หรือใชค้ าถามงา่ ยข้นึ จะไดไ้ มเ่ สยี กาลังใจ

๑๒.ทักษะการสรปุ บทเรียน ทักษะการสรุปบทเรยี น หมายถึงการประมวลสาระสาคัญๆ ของบทเรียน เนื้อหา แต่ละครงั้ ทีไ่ ดเ้ รยี นจบลง เพื่อใหผ้ ู้เรยี นได้แนวคดิ ทถ่ี กู ตอ้ งเหมาะสมในบทเรียนนนั้ และ เชื่อมโยงไปสูก่ ารเรยี นรใู้ นเนื้อหาต่อไปการสรุปบทเรยี นกระทาเม่ือใด? o สรุปใจความสาคัญแต่ละตอนในระหวา่ งบทเรยี น o สรุปเมอ่ื จบบทเรียน (กรณสี รุปแล้วมผี ูแ้ สดงความคิดเห็น สงสัยหรือโตแ้ ยง้ ควร อธบิ ายเพ่มิ เติมและสรุปอีกครง้ั ) o เม่อื ผู้เรียนอภปิ ราย หรอื ฝกึ ปฏบิ ตั จิ บลงวธิ ีการสรุปบทเรยี นอาจทาไดห้ ลายวธิ ี  การสรปุ ทบทวน ผ้สู อนไมจ่ าเป็นตอ้ งทบทวนสรุปเองทัง้ หมด ควรให้ผเู้ รยี นมสี ่วน รว่ ม โดยผสู้ อนจะใชค้ าถามและพยายามใหม้ ีแต่สาระสาคัญ และเรียบเรียงอยา่ ง เหมาะสม  สรุปจากการปฏบิ ตั ิ เชน่ ใหผ้ เู้ รียนสงั เกตการสาธติ การทดลองและพยายาม ช้ใี ห้เหน็ ความสัมพนั ธ์ของวิชาความร้เู ดิม บทเรยี นท่ีเพง่ิ เรยี นจบกับบทเรยี นที่จะ เรยี นตอ่ ไป  สรุปผลการสรา้ งสถานการณ์ โดยผสู้ อนสรา้ งสถานการณ์ใหส้ อดคล้องกบั บทเรยี น และให้ผู้เรยี นแสดงความคิดเห็นออกมาข้อควรคานงึ ถงึ ในการสรุปบทเรียน  การสรปุ ทบทวน โดยการใช้คาถามตอ้ งสัมพนั ธก์ ับเนอ้ื หา และจดุ ประสงค์ของ บทเรยี น  การสรปุ ตอ้ งเช่อื มโยงระหว่างสง่ิ ท่ีผู้เรียนรู้แล้วไปยงั สง่ิ ท่ยี ังไม่รู้  การสรุปต้องสามารถใชป้ ระเมินบทเรยี น วา่ มีสาระและผลต่อการเรียนรูข้ องผู้เรยี น ได้  วิธกี ารสรปุ ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ความสนใจของความสามารถของผู้เรียน

 การสรปุ ต้องเปน็ การแนะนาแนวการเรยี นหรอื เชื่อมโยงกบั บทเรียนท่จี ะเรียนตอ่ ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook