Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Adobe Indesign E-BOOK

Adobe Indesign E-BOOK

Published by Ople Papatsara, 2020-10-07 20:47:46

Description: Adobe Indesign E-BOOK

Search

Read the Text Version

ม ห า วิ ท ย า ลั ย น เ ร ศ ว ร การพัฒนา โดยใช้



คำ�น�ำ หนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์เลม่ น้ี เป็นคมู่ ือการใชง้ านโปรแกรม Adobe Indesign cs6 จัดทำ�ขนึ้ เพอื่ ใช้ประกอบ โดยมเี น้อื หา สาระเก่ยี วกับขั้นตอนและเทคนิคพ้นื ฐานการใช้งาน Adobe Indesign cs6 ซง่ึ โปรแกรม Adobe Indesign cs6 ใช้ในการออกแบบและจัดทำ�สื่อสง่ิ พิมพต์ า่ ง ๆ อาทิ วารสาร หนงั สอื พิมพ์ หนงั สือเรียน จนกระทง้ั การจดั เรยี งหน้าหนงั สอื อย่างสะดวกและถูกต้อง ตามเครือ่ งมือ ต่าง ๆ ของตัวโปรแกรมอยา่ งเสรจ็ สรรพ ผจู้ ดั ท�ำ หวงั เปน็ ว่าหนงั สือคู่มอื การใชง้ านโปรแกรม Adobe Indesign cs6 จะเปน็ ประโยชน์แกผ่ ศู้ ึกษาไมม่ ากกน็ ้อย คณะผจู้ ดั ท�ำ 29 กันยายน 2563



เรอ่ื ง สารบญั หนา้ 2 บทที่ 1 10 - แบบทดสอบทา้ ยบท 14 บทท่ี 2 18 - แบบทดสอบทา้ ยบท 22 บทที่ 3 30 - แบบทดสอบทา้ ยบท 34 บทที่ 4 50 - แบบทดสอบท้ายบท 54 บทที่ 5 60 - แบบทดสอบท้ายบท 64 บทท่ี 6 76 - แบบทดสอบทา้ ยบท 80 บทที่ 7 86 - แบบทดสอบทา้ ยบท



2 บทที่ 1 ทำ�ความรู้จักกับ Adobe indesign

3 บทที่ 1 ทำความรจู้ กั กับ Adobe indesign สาระสำคญั โปรแกรม Adobe InDesign CS6 เป็นโปรแกรมสำหรบั งานด้าน ส่งิ พมิ พ์ งานออกแบบ เอกสาร หรอื เรยี ก งา่ ยๆว่าโปรแกรมจัดหน้ากระดาษ จดุ เดน่ ของ โปรแกรม InDesign คอื สามารถ ทำงานด้านการจดั หนา้ กระดาษได้ เปน็ อย่างดีซ่ึงคล้ายๆกบั การ นำเอาโปรแกรม PageMaker มารวม กับโปรแกรม Illustrator ระบบการทำงานของโปรแกรม InDesign ไม่สามารถใช้ InDesign เดี่ยว ๆ ได้ ตอ้ งมีความร้พู น้ื ฐานของ Photoshop และ illustrator ดว้ ยเตรยี มรปู ภาพจาก Photoshop และ เตรยี มคลิปอาร์ต Logo ตา่ งๆ มา จาก illustrator จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ - ผูเ้ รยี นมคี วามรพู้ ืน้ ฐานในการใช้งานโปรแกรม Adobe InDesign CS6 ได้ - ผู้เรียนสามารถใช้งานเครื่องมือพืน้ ฐานของโปรแกรม Adobe InDesign CS6 ได้ - ผ้เู รยี นอธิบายองค์ประกอบของหน้าต่างโปรแกรม Adobe InDesign CS6 ได้ 1. Adobe InDesign CS6 โปรแกรมสร้างสอ่ื สงิ่ พิมพ์ InDesign หรือมีช่อื เตม็ วา่ “Adobe InDesign CS6” เป็นโปรแกรมท่ีใชใ้ นการ สรา้ งส่อื ส่งิ พมิ พ์ และไดร้ ับความนยิ มมากท่ีสดุ ในปจั จุบัน เราจะใช้ในการออกแบบงานด้านสอื่ สิ่งพิมพเ์ ขา้ สู่ โปรแกรม InDesign CS6 1.1 คลกิ ท่ีปุ่ม start แล้วเลอื ก All Programs à Adobe InDesign 1.2 จะแสดงหน้าต่างโปรแกรม Adobe InDesign CS6 ข้ึนมา 1.3 เมื่อเข้ามาในโปรแกรม จะปรากฏหน้าตา่ ง Template สำหรบั การสรา้ งไฟลง์ าน ภาพที่ 1.1 หน้าจอแสดงไอคอนโปรแกรม

4 2. หน้าจอแรกของโปรแกรม Adobe InDesign CS6 เม่ือเราเริ่มต้นใชง้ านโปรแกรม หน้าจอจะ ประกอบดว้ ยส่วนประกอบต่าง ๆ ซ่งึ มหี นา้ ที่การใช้ งานทแ่ี ตกตา่ งกันออกไป เราจึงต้องทำความเข้าใจกับ สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของหนา้ จอและพนื้ ท่ใี นการทำงานโดยในโปรแกรม Adobe InDesign CS6 แบง่ ส่วนประกอบตามการทำงานออกเปน็ 5 สว่ น ได้แก่ 2.1 แถบคำสั่ง (Menu bar) 2.2 กลอ่ งเครื่องมือ (Toolbox) 2.3 แถบการตั้งคา่ (Option bar) 2.4 พาเนลควบคมุ (Panel) 2.5 พื้นทีก่ ารทำงาน (Art board) ภาพที่ 1.2 แสดงหนา้ ตา่ งโปรแกรม Adobe InDesign CS6 2.1 แถบคำส่งั (Menu bar) คำสัง่ ใน Menu Bar มที ้งั หมด 9 คำสง่ั ดังต่อไปนี้ 2.1.1 File เป็นคำสงั่ การทำงานเก่ยี วกับไฟล์ 2.1.2 Edit เปน็ คำสัง่ เกยี่ วกับการปรับแตง่ ต่าง ๆ 2.1.3 Layout เป็นค าส่ังทเี่ ก่ียวกบั การวางหน้าเอกสารทั้งหมด 2.1.4 Type เปน็ คำส่งั ท่ีเกี่ยวกบั การทำงานกับตัวอักษร 2.1.5 Object เปน็ คำส่ังเกี่ยวกบั การจัดการออพเจ็กตท์ ้ังหมด 2.1.6 Table เปน็ คำสงั่ เกย่ี วกับการใช้งานตาราง 2.1.7 View กำหนดมุมมองการแสดงภาพในรปู แบบตา่ ง ๆ 2.1.8 Window จดั การแต่ละหน้าต่างทีป่ รากฏบนหน้าจอโปรแกรม 2.1.9 Help รวบรวมวธิ ีการใชง้ านและคำแนะนำเก่ยี วกับโปรแกรม ภาพที่ 1.3 แถบคำสงั่ (Menu bar)

5 ภาพท่ี 1.4 แถบคำส่งั File 2.2 กลอ่ งเคร่ืองมอื (Toolbox) เป็นเครื่องมือท่ีใชง้ านในการสรา้ ง การปรบั แตง่ และการแกไ้ ขภาพ โดยจะแบ่งกล่มุ เครื่องมือ ดังนี้ ภาพท่ี 1.5 กลอ่ งเครื่องมือ (Toolbox) 2.2.1 กลุ่มคำสง่ั Selection tools เก่ียวกบั การเลอื กวตั ถุ ภาพท่ี 1.6 กล่มุ คำสง่ั Selection tools

6 2.2.2 กลุ่มคำสงั่ Drawing and Type tools เก่ยี วกบั การวาดภาพ และใสต่ วั อักษร ภาพที่ 1.7 กลุ่มคำสั่ง Drawing and Type tools 2.2.3 กลุม่ คำสงั่ พิเศษ Transformation tools เก่ียวกับการปรับแตง่ ภาพ ภาพที่ 1.8 กล่มุ คำส่ังพิเศษ Transformation tools 2.2.4 กลุม่ คำส่งั Modification and Navigation tools เกีย่ วกบั การดูภาพ และปรบั มมุ มอง

7 ภาพที่ 1.9 กลมุ่ คำส่งั Modification and Navigation tools 2.2.5 กล่มุ คำสั่งในการเลือกสีในช้ินงานและเส้นขอบของชนิ้ งาน ภาพที่ 1.10 กลุม่ คำสั่งในการเลอื กสีในชน้ิ งานและเส้นขอบของช้นิ งาน 2.2.6 กลุ่มคำสั่งท่ีเก่ียวกบั การแสดงหนา้ จอของ InDesign ภาพท่ี1.11 กลุ่มคำสัง่ ท่ีเกย่ี วกบั การแสดงหน้าจอของ InDesign

8 2.3 แถบคอนโทรลพำเนล (Control Panel) เป็นแถบตัวเลือกสำหรับกำหนดค่าตา่ งๆ ของวัตถเุ พื่อ อำนวยความสะดวกใหแ้ ก่ผู้ใช้ โดยจะปรบั เปลี่ยนตัวเลือกไปตามการใชง้ านระหวา่ งการทำงานกบั วัตถุ และการ ทำงานกับขอ้ ความให้สามารถกำหนดค่าสี ขนาด ตำแหนง่ และคุณสมบัติต่างๆ ของวัตถุและรูปแบบของ ขอ้ ความท่เี ลอื กไดง้ ่ายข้ึน ภาพท่ี 1.12 แถบคอนโทรลพาเนล (Control Panel)



10 แบบทดสอบทา้ ยบท บทที่ 1 ทำ�ความร้จู กั กับ Adobe indesign

11 บทที่ 1 ทำความร้จู ักกับ Adobe indesign 1. โปรแกรม Adobe InDesign CS6 เปน็ โปรแกรมท่ีใช้งานด้านใด ก. ดา้ นคำนวณ ข. ดา้ นนำเสนอผลงาน ค. ดา้ นสร้างสอ่ื สงิ่ พมิ พ์ ง. ด้านเอกสารงานพมิ พ์ 2. พาเนลควบคมุ การทำงานของ Adobe InDesign CS6 มที ้งั หมดก่พี าเนล ก. 27 พาเนล ข. 28 พาเนล ค. 29 พาเนล ง. 30 พาเนล 3.ถ้าเราตอ้ งการกำหนดคียล์ ัดจะตอ้ งไปกำหนดทแี่ ถบคำส่ังใด ก. File ข. Edit ค. Type ง. Table 4. ขอ้ ใดคือขน้ั ตอนการออกจากโปรแกรม Adobe InDesign CS6 ก. เลอื กคำสั่ง File -> New ข. เลอื กคำสั่ง File -> Open ค. เลือกคำส่งั File -> Close ง. เลอื กคำสงั่ File -> Exit 5.ถ้าเราต้องการปรบั แต่งต่าง ๆ เราตอ้ งไปกดแถบตำแหนง่ ใด ก. Edit ข. File ค. Type ง. Table





14 บทที่ 2 การสรา้ งไฟลง์ าน

15 บทที่ 2 การสรา้ งไฟลง์ าน สาระสำคญั โปรแกรม Adobe InDesign CS6 เปน็ โปรแกรมสำหรับงานดา้ น ส่ิงพิมพ์ งานออกแบบ เอกสาร หรอื เรยี ก ง่ายๆว่าโปรแกรมจัดหน้ากระดาษ จุดเด่น ของ โปรแกรม Adobe InDesign CS6 คอื สามารถทำงาน ด้านการจดั หน้ากระดาษได้ เป็นอยา่ งดซี ่ึงคล้ายๆกบั การนำเอาโปรแกรม Pagemaker มารวมกับโปรแกรม Illustrator จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ - ผูเ้ รยี นสามารถสร้างไฟลง์ านใหม่ได้ 2.1 การสรา้ งไฟลง์ านจากการกำหนดเอง (Document Setup) เหมาะสำหรับผูท้ ่ีตอ้ งการรปู แบบท่ี สามารถสรา้ งสรรคก์ ราฟิก ขนาด องค์ประกอบเองได้ 2.1.1 คลกิ ที่เมนู File 2.1.2 คลกิ ท่ี new 2.1.3 เลอื ก Document เพ่ือสรา้ งไฟลใ์ หม่ ภาพท่ี 2.1 การสร้างไฟลง์ านจากการกำหนดเอง จะปรากฏภาพการต้งั ค่าหนา้ กระดาษ ภาพที่ 2.2 แสดงการต้ังค่าหน้ากระดาษ

16 2.2 การตั้งค่าหนา้ กระดาษ อธิบายดังนี้ กำหนดให้ 2.2.1 Document Preset เป็นการเลือกที่จะกำหนดคา่ เอง หรอื แบบทโี่ ปรแกรม 2.2.2 Intent คอื ประเภทของงานทส่ี ร้าง ประกอบด้วย Print (สื่อส่งิ พมิ พ์), Web (ส่ือ อินเทอร์เน็ต),Digital - Publishing (สิ่งพมิ พด์ จิ ิทัล) ควรเลอื กให้ถูกกับประเภทของงานทนี่ ำไปใช้ 2.2.3 Number of Pages คือ จำนวนหน้ากระดาษท่ีต้องการ 2.2.4 Facing Pages คือ การกำหนดหน้ากระดาษเปน็ หนา้ คูห่ รือหนา้ เดี่ยว 2.2.5 primary text frame คอื การกำหนดกรอบขอ้ ความหลกั 2.2.6 Page Size คือ การกำหนดขนาดกระดาษ สำหรับงานส่ือสิง่ พิมพ์จะมีขนาด กระดาษ มาตรฐานให้เลือกอย่จู ำนวนหน่ึง 2.2.7 Width, Height คอื การกำหนดขนาดกระดาษด้วยตัวเอง 2.2.8 Orientation คือ การกำหนดกระดาษแนวตัง้ หรือแนวนอน 2.2.9 Columns Number คอื การกำหนดจำนวนคอลัมน์ในหนา้ กระดาษ สว่ น Columns Gutter คอื การกำหนดระยะห่างระหวา่ งคอลมั น์ 2.2.10 Magins คอื การกำหนดระยะขอบกระดาษท้ัง 4 ด้าน 2.2.11 เมื่อตัง้ ค่าหน้ากระดาษได้ตามทต่ี ้องการเรียบรอ้ ยแลว้ ใหค้ ลกิ ป่มุ OK จะ ปรากฏ หน้ากระดาษตามทตี่ ัง้ ค่าไว้



18 แบบทดสอบทา้ ยบท บทท่ี 2 การสร้างไฟลง์ าน

19 บทท่ี 2 การสร้างไฟลง์ าน 1. Width, Height หมายถงึ ขอ้ ใด ก.การกำหนดขนาดกระดาษดว้ ยตัวเอง ข.การกำหนดหนา้ กระดาษเป็นหน้าค่หู รอื หน้าเดยี่ ว ค.การกำหนดกรอบข้อความหลกั ง.การกำหนดระยะขอบกระดาษทง้ั 4 ด้าน 2. Page Size หมายถึงขอ้ ใด ก.จำนวนหน้ากระดาษที่ตอ้ งการ ข.เป็นการเลือกทจี่ ะกำหนดค่าเอง หรอื แบบที่โปรแกรมกำหนดให้ ค.การกำหนดขนาดกระดาษ สำหรับงานสื่อส่ิงพิมพจ์ ะมีขนาด กระดาษมาตรฐานให้เลอื ก อยู่จำนวนหน่งึ ง.การกำหนดระยะขอบกระดาษทั้ง 4 ดา้ น 3. primary text frame หมายถงึ ขอ้ ใด ก.การกำหนดหน้ากระดาษเปน็ หน้าคู่หรอื หน้าเด่ยี ว ข.การกำหนดกรอบขอ้ ความหลกั ค.เปน็ การเลือกทจ่ี ะกำหนดคา่ เอง หรอื แบบที่โปรแกรมกำหนดให้ ง.การกำหนดระยะขอบกระดาษทั้ง 4 ดา้ น 4. Facing Pages หมายถึงข้อใด ก.เปน็ การเลือกท่ีจะกำหนดคา่ เอง หรอื แบบท่ีโปรแกรมกำหนดให้ ข.การกำหนดหน้ากระดาษเป็นหน้าคหู่ รือหน้าเด่ียว ค.การกำหนดหน้ากระดาษเป็นหน้าคู่สองหน้า ง.การกำหนดระยะขอบกระดาษท้ัง 4 ดา้ น 5. Number of Pages หมายถงึ ข้อใด ก.จำนวนหนา้ กระดาษท่ตี อ้ งการ ข.การกำหนดหน้ากระดาษเป็นหน้าคู่หรือหน้าเดย่ี ว ค.การกำหนดหนา้ กระดาษเปน็ หนา้ ค่สู องหน้า ง.การกำหนดระยะขอบกระดาษทั้ง 4 ด้าน





22 บทท่ี 3 การจัดหน้ามาสเตอร์ และการทำ�งานกบั หน้าเอกสาร

23 บทท่ี 3 การจดั หน้ามาสเตอร์และการทำงานกบั หนา้ เอกสาร สาระสำคัญ การจดั หนา้ มาสเตอร์และการทำงานกับหนา้ เอกสารในโปรแกรม Adobe InDesign CS6 ใน การ สร้างหนา้ กระดาษท่ใี ช้ในการทำหนา้ หนงั สอื หรือหนา้ นิตยสารโดยจะประกอบไปด้วย สว่ นประกอบทใี่ ชเ้ ป็น เลยเ์ อาทบ์ นหน้ามาสเตอร์การสร้างหน้ามาสเตอร์ใหม่ สามารถทำงานด้านการ ออกแบบหนา้ กระดาษการ จดั สรา้ งหน้ากระดาษไม่ว่าจะเปน็ หน้ากระดาษเดี่ยวหรือหน้ากระดาษคู่มาในแตล่ ะมาสเตอร์เพจ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ - ผูเ้ รียนมีความรูใ้ นการใชเ้ คร่อื งมอื ในการสร้างหนา้ มาสเตอร์เพจในโปรแกรม Adobe InDesign CS6 - ผเู้ รียนสามารถใชเ้ ครื่องมือในการสร้างหน้ามาสเตอรเ์ พจในโปรแกรม Adobe InDesign CS6 - ผู้เรียนอธบิ ายหลักการทำงานของโปรแกรม Adobe InDesign CS6 ได้ 3.1 ส่วนประกอบทใ่ี ชเ้ ป็นเลยเ์ อาต์บนหน้ามาสเตอร์ ใชใ้ นการสร้างมาสเตอร์บนหน้ากระดาษ 3.1.1 การสรา้ งเสน้ ไกด์ โดยการลากเสน้ ไกด์ออกมาวางตามตำแหน่งทีเ่ ราต้องการ เพ่อื ใช้ในการอา้ งองิ วตั ถุ 3.1.2เมอ่ื ลากเสน้ ไกด์ออกมาจดั วางตามตำแหน่งที่ตอ้ งการให้เป็นคอลมั นห์ รือสดั สว่ นทีต่ อ้ งการ ภาพที่ 3.1 การสร้างเส้นไกด์ ภาพท่ี 3.2 การสรา้ งเสน้ ไกดเ์ พอื่ วางตำแหนง่ ทตี่ ้องใช้วางตำแหน่ง

24 3.2 กำรสร้างหน้ามาสเตอร์ การสร้างหนา้ มาสเตอร์ใหม่ 3.2.1 คลกิ เมาสข์ วาบรเิ วณพ้ืนท่ี Master Pages แล้วเลือกคำสัง่ New Master เพอ่ื สร้างหน้า Master Pages ใหม่ 3.2.2. ปรากฏหน้าตา่ ง new Master ให้กำหนดค่าการใชง้ านท่ตี อ้ งการ 3.2.3. กำหนดจำนวนหนา้ มาสเตอรเ์ ท่ากับ 2 เพ่ือใหเ้ ป็นหนา้ คู่ 3.2.4. คลิกเลือกเพ่ือยอมรบั ค่าทก่ี ำหนด 3.2.5. ปรากฏหนา้ เอกสารในพื้นทก่ี ารสรา้ งหนา้ มาสเตอร์ 3.2.6. โดยจะได้หน้ามาสเตอร์ B-Master ในหน้าค่ตู อ่ จากหน้า A-Master ทม่ี ีอยูก่ ่อนแลว้ ภาพท่ี 3.3 การสรา้ งหน้ามาสเตอร์ใหม่ ภาพที่ 3.4 กำหนดจำนวนหน้ามาสเตอรเ์ ทา่ กับ 2 เพอ่ื ใหเ้ ป็นหนา้ คู่

25 ภาพที่ 3.5 แสดงรปู หน้ามาสเตอร์ B 3.3 การใช้งานหนา้ มาสเตอรใ์ นหน้ำกระดาษ 3.3.1 คลิกเมาส์ท่หี นา้ Master Pager ทีต่ อ้ งการนำไปใช้งานหน้าเอกสารแล้วคลิกที่เลือก คำส่ัง Apply Master to Page 3.3.2 ปรากฏหนา้ ต่าง Apply Master สำหรบั กำหนดหนา้ กระดาษท่ี ต้องการใชแ้ บบจาก หน้า มาสเตอร์ 3.3.3 เลอื กหนา้ มาสเตอร์ท่ีต้องการเปน็ ตน้ แบบ และเลือกหนา้ กระดาษที่ต้องการใช้ตน้ แบบ จาก หน้ามาสเตอร์ 3.3.4 คลกิ เลอื กเพ่ือยอมรบั ค่าที่กำหนด 3.3.5 จะแสดงรปู แบบหนา้ มาสเตอรใ์ นหน้ากระดาษทไ่ี ด้กำหนดไว้ ภาพท่ี 3.6 การสรา้ งหน้ามาสเตอร์ในหน้ากระดาษมาใชง้ าน 3.4 การใช้หน้ามาสเตอร์เพ่ิมหนำ้ กระดาษ 3.4.1 คลิกเลอื กหน้ามาสเตอรท์ ่ีต้องการ ไปยงั พ้ืนท่ีแสดงหนา้ กระดาษ 3.4.2 หนา้ กระดาษจะเพิ่มเขา้ มาในหนา้ ต่อจากหนา้ กระดาษทม่ี ีอยู่เดมิ ภาพท่ี 3.7 การใชห้ น้ามาสเตอรเ์ พิ่มหนา้ กระดาษ

26 ภาพท่ี 3.8 จะประกฎหนา้ การะดาษแบบคู่ข้ึนมา 3.5 การคัดลอกหน้ามาสเตอร์จำกหน้ามาสเตอรเ์ ดิม 3.5.1 คลิกเลือกหน้ามาสเตอรท์ ีต่ อ้ งการใชร้ ูปแบบในการเพิม่ หนา้ มาสเตอร์ 3.5.2 คลิกเมาส์ขวาบรเิ วณพ้ืนทก่ี ารจัดการหน้ามาสเตอรแ์ ล้วเลือกคำส่งั Duplicate Master Spread “B-Master B1” 3.5.3 หน้ามาสเตอร์ C-Master จะเพ่ิมเขา้ มาในพาแนลต่อจากมาสเตอร์ตน้ แบบ B-Master B1 ภาพท่ี 3.9 การคัดลอกหน้ามาสเตอร์จากหนา้ มาสเตอรเ์ ดมิ 3.6 การปรับแต่งหน้ามาสเตอร์ 3.6.1 คลิกเลือกหน้ามาสเตอร์ท่ตี ้อการปรบั แต่ง 3.6.2 คลกิ เมาสข์ วาบริเวณพื้นท่ีการจดั การหน้ามาสเตอร์แลว้ เลอื กคำส่งั Master Options for 3.6.3 ปรากฏหน้าต่าง Master Options สำหรบั กำหนดคา่ หน้ามาสเตอรท์ ่ีตอ้ งการ 3.6.4 เลือกกำหนดค่าหนา้ มาสเตอรท์ ี่ต้องการในทนี่ ้ีไดก้ ำหนดชอ่ื หน้ามาสเตอร์ ในชอ่ ง Name เป็น Master C1 และเลือกรปู แบบจาก A-Master A1 เปน็ ต้นแบบหนา้ มาสเตอร์นี้ 3.6.5 คลิกเลอื ก เพ่ือยอมรบั การใช้คา่ ที่กำหนด

27 3.6.6 ช่ือและรปู แบบของหน้ามาสเตอร์ A-Master A1 จะเพมิ่ เข้ามาในหน้ามาสเตอร์ CMaster C1 ตามท่ไี ดก้ ำหนดค่าไว้ ภาพท่ี 3.10 การปรบั แต่งหน้ามาสเตอร์ 3.7 การสร้างหน้ามาสเตอร์เพจเพอื่ ใชเ้ ป็นเอกสารต้นแบบ 3.7.1 สร้างขอบหนา้ ปก 3.7.2 เลอื ก Rectangle Tool แล้วลากลงบนหน้ากระดาษทต่ี ้องการ 3.7.3 ใสส่ ีตามใจชอบลงไป เลือก fill (x) กดเลอื กสี กด ตกลง ภาพท่ี 3.11 การสรา้ งหน้ามาสเตอร์เพจเพื่อใชเ้ ปน็ เอกสารตน้ แบบ

28 ภาพท3่ี .12 การสรา้ งขอบหน้าปก ภาพที่ 3.13 การสรา้ งใส่สีใหข้ อบหนา้ ปก ภาพที่ 3.14 ใสส่ ที ้งั 2 หน้ากระดาษ 3.8 การลบหน้ามาสเตอร์ 3.8.1 คลิกเลือกหน้ามาสเตอรท์ ต่ี ้องการลบ หากต้องการลบหลายหนา้ พรอ้ มกันให้กดปุ่ม คา้ งไว้ DMaster 3.8.2 คลกิ เมาสข์ วาบริเวณพ้ืนที่ Master Pages แล้วเลือกคำสง่ั Delete Master Spread ภาพที่ 3.15 การลบหนา้ กระดาษ โดยกด Delete Master Spread D-Master



30 แบบทดสอบทา้ ยบท บทท่ี 3 การจัดหน้ามาสเตอร์ และการท�ำ งานกับหนา้ เอกสาร

31 บทที่ 3 การจดั หน้ามาสเตอรแ์ ละการทำงานกบั หน้าเอกสาร 1.เสน้ ไกดว์ ร้างข้ึนไว้เพื่ออะไร ก.เพือ่ ใช้ในการอ้างองิ วัตถุ ข.เพอ่ื ใช้ในการอา้ งอิงตัวอกั ษร ค.เพอ่ื ใช้ในการวดั ขนาดหนา้ กระดาษ ง.เพือ่ ใช้ในการวดั ขนาดของตวั อกั ษร 2.การสรา้ งมาสเตอร์ใหม่มีลำดบั ข้ันตอนอยา่ งไร ก. Master Pages+ New Master ข. Master Pages+ New Master+ Master Pages ค.edit+ Master Pages+ Master Pages ง. edit+ Master Pages++ New Master 3.หนา้ มาสเตอรท์ ี่สร้างขน้ึ จะมีชอื่ แบบใด ก. Master ข. MasterAABB ค. A-Master/B-Master ง. MasterA/MasterB 4.การใช้งานหน้ามาสเตอร์ในหนา้ กระดาษมลี ำดับข้ันตอนแบบใด ก. Master Pager+ Apply Master to Page ข. Master Pages+ New Master+ Master Pages ค. edit+ Master Pages+ Master Pages ง. edit+ Master Pages++ New Master 5.ถา้ ต้องการลบหนา้ มาสเตอรต์ ้องใช้คำสั่งใด ก. Delete Master ข. Delete Master Pages ค. New Master Delete Master ง. Delete Master Spread D-Master





34 บทที่ 4 การปรบั แต่ง และจดั วางข้อความ

35 บทที่ 4 การปรับแตง่ และจดั วางข้อความ สาระสำคัญ โปรแกรม Adobe InDesign หวั ใจสำคัญนอกจากการจดั หนา้ กระดาษและภาพ คือการใส่ตวั อกั ษร และจดั วางองคป์ ระกอบรวม เพราะช้ินงานสว่ นใหญ่จะออกในรูปแบบงานพมิ พเ์ ผยแพร่ ซึ่งตัวอักษร จะมี ความสำคัญมากในการออกแบบ ซ่งึ สามารถใช้เคร่ืองมอื Type Tool สำหรับจัดการ Text Frame หรอื เปน็ กรอบของตวั อักษร ในทกุ ครง้ั ทต่ี อ้ งการพิมพ์ข้อความจะต้องสร้าง Frame มาก่อน แล้วจึงใชเ้ ครื่องมือ Type Tool จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ - ผู้เรียนมีความร้พู ื้นฐานในการสร้างตัวอักษรในโปรแกรม Adobe InDesign CS6 ได้ - ผ้เู รยี นสามารถใชเ้ ครื่องมือในการปรับแตง่ อักษรในโปรแกรม Adobe InDesign CS6 ได้ - ผ้เู รยี นสามารถจัดวางองคป์ ระกอบรวมข้อความในโปรแกรม Adobe InDesign CS6 ได้ การปรบั แต่งและจัดวางข้อความ โปรแกรม Adobe InDesign หัวใจสำคญั นอกจากการจัด หน้ากระดาษ คือการใส่ตัวอักษรและจดั วางองค์ประกอบรวม เพราะชิ้นงานส่วนใหญจ่ ะออกในรูปแบบงาน พมิ พ์เผยแพร่ ซง่ึ ตัวอกั ษรจะมี ความสำคัญมากในการออกแบบ 4.1 การสร้างตัวอักษร 4.1.1 ใชเ้ คร่อื งมือ Text Frame เลอื กรูปแบบ Frame ทตี่ ้องการ มี 3 รปู แบบ คือ • สีเ่ หลย่ี ม • วงกลม • หลายเหลยี่ ม 4.1.2 คลิกลากขนาดตามต้องการ ภาพที่ 4.1 วธิ ีการสร้างตวั อักษรโดยใช้เครื่องมอื Text Frame

36 4.1.3 พิมพ์ข้อความใน Frame โดยใช้เครื่องมือ Type Tool ซึ่งเครือ่ งมือ Type Tool มี 4 รปู แบบ • Me type tool ใช้พมิ พข์ ้อความธรรมดาจากซ้ายไปขวา • Me type on a path tool ใชพ้ มิ พต์ วั อักษรบนเส้น path จากซา้ ยไปขวา • Type Tool ใช้พิมพ์ขอ้ ความธรรมดา • Type on a Path Tool ใชส้ ร้างและแก้ไขตัวอกั ษรบนเสน้ Path 4.1.4 พมิ พ์ข้อความใน Frame ภาพที่ 4.2 การพมิ พข์ ้อความใน Frame โดยใช้เครอ่ื งมอื Type Tool 4.1.5 ใช้เครอ่ื งมือ Selection ปรับขนาด Frame ให้พอดีกับข้อความกรณีทมี่ เี คร่ืองหมาย บวกท่ี Frame แสดงวา่ ใน Frame นนั้ ยังซอ่ นข้อความไวอ้ ีก 4.1.6 คลกิ ลากขนาดตามต้องการ ภาพที่ 4.3 วธิ ีใช้เครอื่ งมือ Selection ปรบั ขนาด Frame ใหพ้ อดีกับข้อความ 4.2 เคร่อื งมือในการปรบั แต่งตวั อกั ษรจากคอนโทรลพาเนล 4.2.1 Character Formatting Controls ควบคุมการทำงานของตวั อกั ษร ซ่ึงมีรปู แบบการ ใชง้ านในการจดั ข้อความทหี่ ลากหลาย ดังนี้ ภาพที่ 4.4 Character Formatting Controls ควบคมุ การทำงานของตัวอักษร

37 หมายเลข 1 Font รูปแบบตัวอกั ษร หมายเลข 2 Type Style ลักษณะตวั อักษร หมายเลข 3 Font Size ขนาดตวั อักษร หมายเลข 4 Leading ระยะห่างของตัวอักษร หมายเลข 5 All Cap เปลยี่ นเป็นตัวภาษาองั กฤษพมิ พ์ใหญ่ Small Caps เปล่ียนเปน็ ตวั ภาษาอังกฤษพิมพ์ ใหญ่ขนาดเลก็ Superscript ตัวอกั ษรยก Subscript ตวั อักษรห้อย Underline ขีดเสน้ ใตต้ วั อักษร Stikethrough ขดี เสน้ ครอ่ มตัวอักษร หมายเลข 6 Kerning ปรบั ช่องไฟของตวั อักษร Trackpng ปรับชอ่ งไฟทัง้ ข้อความ หมายเลข 7 Vertical Scale เพ่มิ /ลดความสงู ตัวอักษร Horizontal Scale เพ่มิ /ลดความกว้างตัวอักษร Baseline ยก/หอ้ ยตัวอักษร Skew อกั ษรตวั เอียง หมายเลข 8 Fill สตี ัวอักษร Stroke สีเสน้ ขอบตัวอักษร หมายเลข 9 Align left จดั เรียงขอ้ ความชดิ ซ้าย Align center จดั เรยี งขอ้ ความตรงกลาง Align right จดั เรียงขอ้ ความชิดขวา Justtify with last line aligned left เหยยี ดเตม็ บรรทัดสุดทา้ ยชิดซ้าย Justtify with last line aligned center เหยยี ดเตม็ บรรทดั สุดท้ายตรงกลาง Justtify with last line aligned right เหยยี ดเตม็ บรรทดั สดุ ท้ายชิดขวา Justify all lines จัดเรยี งขอ้ ความเหยยี ดเต็มทุกบรรทัด Align towards spine จัดเรยี งขอ้ ความชดิ ดา้ นฝงั่ หยกั น้อย Align away from spine จดั เรยี งขอ้ ความชิดดา้ นฝั่งหยกั มาก 4.2.2 Parageaph Formatting Controls ควบคมุ การทำงานของย่อหนา้ ซงึ่ มีรปู แบบการ ใชง้ านในการจดั ขอ้ ความท่ีหลากหลาย ดังนี้ ภาพที่ 4.5 Parageaph Formatting Controls ควบคมุ การทำงานของย่อหน้า หมายเลข 1 Align left จดั เรียงขอ้ ความชดิ ซา้ ย Align center จดั เรยี งขอ้ ความตรงกลาง Align right จัดเรยี งขอ้ ความชดิ ขวา Justtify with last line aligned left เหยยี ดเตม็ บรรทัดสุดทา้ ยชิดซ้าย Justtify with last line aligned center เหยยี ดเต็มบรรทดั สุดท้ายตรงกลาง Justtify with last line aligned right เหยียดเต็มบรรทัดสุดท้ายชิดขวา

38 Justtify all lines จัดเรยี งข้อความเหยียดเต็มทุกบรรทดั Align towards spine จดั เรยี งข้อความชิดดา้ นฝัง่ หยักน้อย Align away from spine จดั เรียงขอ้ ความชิดดา้ นฝ่งั หยักมาก หมายเลข 2 Left-to-Right Paragraph Direction ทิศทางยอ่ หน้าจากซ้ายไปขวา Right-to-Left Paragraph Direction ทิศทางยอ่ หน้าจากซา้ ยไปขวา หมายเลข 3 Left indent เยื้องซา้ ย Right indent เยอื้ งขวา first line indent บรรทัดแรกเยอ้ื ง last line indent เยือ้ งบรรทดั สุดท้าย หมายเลข 4 space before พ้นื ทก่ี ่อน space after พืน้ ท่ีหลัง drop cap number of line จำนวนตัวเลขของบรรทัด drop cap one more character ลดลงอกี หน่งึ ตวั อกั ษร หมายเลข 5 Bullet list รายการหัวขอ้ ย่อย Numbers list รายการตัวเลข หมายเลข 6 Paragraph style รปู แบบย่อหน้า หมายเลข 7 Do not alian to baseline grid อย่าอยใู่ นเส้นตารางพ้นื ฐาน Alian to baseline grid จดั แนวใหเ้ ปน็ เส้นตารางพืน้ ฐาน หมายเลข 8 Numbers of columns จำนวนคอลัมน์ Gutter ระยะห่างระหว่างคอลมั น์ Span columns ระยะคอลัมน์ Horizontal carsor position ตำแหนง่ เคอร์เซอร์ในแนวนอน หมายเลข 9 Font รปู แบบตวั อกั ษร Type Style ลกั ษณะตัวอักษร Font Size ขนาดตวั อกั ษร Leading ระยะหา่ งของตัวอักษร 4.3 การเปล่ยี นสีขอ้ ความ การเปล่ยี นสขี ้อความเป็นการทำให้ข้อความนั้นมลี กั ษณะเดน่ มองเหน็ งา่ ย และทำให้ช้นิ งาน หรือสอื่ สิ่งพิมพม์ ีความสวยงามอีกด้วย

39 ภาพที่ 4.6 วธิ กี ารเปลย่ี นสีข้อความ 4.3.1 คลิกเลือก Type Tool เลือกข้อความทต่ี ้องการเปลีย่ นสี 4.3.2 คลกิ เลือกที่เมนู Window->Color หรอื กดคยี ์ F6 4.3.3 คลิกเลอื กโทนสีทเี่ หมาะสมกับงานและสามารถคลิกคา้ งเล่อื นแถบ เพื่อปรบั ผสมความ เขม้ ข้นของแม่สี 4.3.4 คลกิ เมาส์ท่ี OK 4.3.5 ข้อความทเี่ ลือกไวจ้ ะเปลี่ยนสตี ามต้องการ 4.4 การใสส่ ีขอบข้อความหรอื การใส่ Stroke ใหก้ ับข้อความ การใส่สีขอบขอ้ ความเป็นการทำให้ ขอ้ ความนน้ั มีมติ ิ เนน้ ขอ้ ความ มองเหน็ ง่ายและทำให้ ช้ินงานหรอื ส่อื ส่ิงพิมพ์มคี วามสวยงามทำให้ตวั อักษรดู นา่ สนใจมากยิ่งข้นึ ภาพที่ 4.7 วธิ ใี ส่สขี อบข้อความหรือการใส่ Stroke ใหก้ บั ข้อความ 4.4.1 คลิกเลือกทเี่ มนู Window->Color หรอื กดคยี ์ F6 4.4.2 คลกิ เลือก press shift of alternate panal เพื่อเลอื กสี 4.4.3 คลิกเลือกโทนสีท่ีเหมาะสมกับข้อความ 4.4.4 เลือกรูปแบบเส้นขอบท่ีต้องการ • Weight ขนาดของเส้น

40 • Miter Join ลดขนาดมุมเส้นขอบ • Round Join ปรบั เส้นขอบใหโ้ คง้ มน • Bevel Join ปรับเสน้ ขอบให้มมี ุมเอยี ง 4.4.5 ขอ้ ความท่ีเลอื กไวจ้ ะเปลีย่ นสตี ามตอ้ งการ ภาพท่ี 4.8 ขอ้ ความท่เี ลือกไว้จะเปลย่ี นสขี อ้ ความและสขี อบตามทต่ี ้องการ 4.5 การข้นึ ต้นย่อหน้าด้วยตวั อักษรขนาดใหญ่ การขนึ้ ต้นย่อหนา้ ด้วยตัวอกั ษรขนาดใหญ่ชว่ ยให้ สามารถเพิ่มตัวอักษรพิมพใ์ หญข่ ้นึ ต้น เรียกวา่ ตัวอักษรขึ้นต้นขนาดใหญส่ ไตลก์ ารจัดรูปแบบนม้ี ักใช้เพอ่ื ทำ เคร่ืองหมายย่อหนา้ เร่ิมตน้ ของสงิ่ พิมพ์เพื่อเพิม่ ความสนใจ ภาพที่ 4.9 วิธขี ึ้นต้นยอ่ หนา้ ด้วยตัวอกั ษรขนาดใหญ่ 4.5.1 คลิกเลือก Type Tool คลิกเมาส์ลงในตำแหนง่ ใดก็ไดข้ องย่อหนา้ ที่ต้องการขยาย ขนาด ตวั อักษรตวั แรก 4.5.2 คลิกเลอื กทีเ่ มนู Type->Paragroph หรอื กดคีย์ Alt+Ctrl+T 4.5.3. กำหนดขนาดตวั อักษรเปน็ จำนวนบรรทัดและตวั อักษรตวั แรกของย่อหนา้ จะขยาย ขนาดใหญ่ ตามจำนวนบรรทัดทก่ี ำหนด 4.5.4 จะไดต้ วั อักษรข้ึนตน้ ขนาดใหญต่ ามทีต่ ้องการ 4.6 การจัดตัวอกั ษรตามแนวรปู 4.6.1 สร้างรปู ภาพโดยใช้เครื่องมือ Ellipse Tool 4.6.2 คลิกลากขนาดตามต้องการ

41 ภาพท่ี 4.10 การสร้างรปู ภาพโดยใช้เครอื่ งมือ Ellipse Tool เพอ่ื จดั แนวข้อความตามรปู 4.6.3 เลอื กเครื่องมือ Type on a Path Tool 4.6.4 คลิกตำแหน่งของขอบรูปที่เราต้องการจดั แนว ภาพท่ี 4.11 การใชเ้ ครอ่ื งมือ Type on a Path Tool เพื่อพมิ พข์ ้อความตามตำแหน่งทีเ่ ราต้องการ 4.6.4 พมิ พ์ข้อความตามที่จดั แนวไว้ 4.6.4 ไดล้ ักษณะข้อความตามแนวทต่ี ้องการ ภาพที่ 4.12 การจัดตัวอกั ษรตามแนวรูป

42 4.7 การคดั ลอกข้อความจากไฟลโ์ ปรแกรม Microsoft Word โปรแกรมสว่ นใหญท่ ี่มักใช้ในการสรา้ ง ข้อความ คอื Microsoft Word ซง่ึ ในโปรแกรม InDesign จะสามารถนำ ข้อความจาก Microsoft Word เช้า มาใช้งานได้ เพ่ือความสะดวกมากยิ่งข้นึ 4.7.1 ไปท่คี ำสง่ั File 4.7.2 เลอื ก Place ภาพท่ี 4.13 วธิ ีคดั ลอกข้อความจากไฟล์โปรแกรม Microsoft Word 4.7.3 เลือกไฟล์ทต่ี ้องการ 4.7.4 กด Open ภาพที่ 4.14 วธิ เี ลอื กข้อความจากไฟล์โปรแกรม Microsoft Word 4.7.5 ข้อความจากไฟล์ Microsoft Word จะถูกนำเข้ามาในโปรแกรม Adobe InDesign

43 ภาพที่ 4.15 ข้อความจากไฟล์ Microsoft Word จะถูกนำเขา้ มาในโปรแกรม Adobe InDesign 4.8 การใชง้ าน Text Frame Option การใช้งาน Text Frame Option เปน็ การปรบั รายละเอียด ของงานใน Frame ใหส้ มบรู ณ์ ตามต้องการ 4.8.1 คลิกที่ Frame ขอ้ ความ จากน้ันไปท่ีคำสัง่ Object เลือก Text Frame Options... หรือคลิกขวาท่ี Frame ข้อความ เลอื ก Text Frame Options... 4.8.2 คลกิ ลากขนาดตามต้องการ ภาพที่ 4.16 การใชง้ าน Text Frame Option 4.8.3 เลือกเคร่ืองมือ Type Tool 4.8.4 คลิกตำแหน่งของขอบรูปที่เราตอ้ งการจัดแนว

44 ภาพที่ 4.17 เลือกเครื่องมือ Type Tool พิมพข์ ้อความทต่ี อ้ งการ 4.8.5 คลิกท่ี Frame ขอ้ ความ จากน้นั ไปท่ีคำส่งั Object 4.8.6 เลือก Text Frame Options… ภาพที่ 4.18 การใช้คำสั่ง Text Frame Option เพือ่ กำหนดคา่ การจัดรปู แบบ 4.8.7 กำหนดคา่ ใน Text Frame Options ตามตอ้ งการ แล้วคลิก OK เมื่อปรบั คา่ ตาม ตอ้ งการเรยี บร้อย ภาพท่ี 4.19 การกำหนดค่าใน Text Frame Options Columns ใชก้ ำหนดจำนวนคอลมั น์ในเฟรม

45 Width ความกว้างของคอลัมน์ Gutter ระยะหา่ งระหวา่ งคอลมั น์ Inset Spacing การเวน้ วรรค และกำหนดระยะห่างในคอลัมน์ Vertical Justification Align กำหนดรูปแบบการจัดวางตัวอกั ษร Frame Ignore Text Warp คอื การกำหนดให้ Text Warp ซ้อน Text Warp โดยไม่บงั กัน Preview การดูภาพตวั อย่างขณะปรบั เปลยี่ น 4.8.8 จะไดร้ ูปแบบตามที่ต้ังค่าไว้ แลว้ พมิ พ์ขอ้ ความทตี่ ้องการลงไป ภาพที่ 4.20 การใชง้ าน Text Frame Option เปน็ การปรับรายละเอยี ดของงานใน Frame 4.9 การซอ้ น Frame โดยใช้ Ignore Text Warp 4.9.1 ในหนา้ กระดาษที่มขี ้อความอยู่ คลกิ สร้างรูปวงกลม หรือสี่เหลี่ยม สามารถสร้างได้จาก Ellipse Tool หรือ Ellipse Frame Tool 4.9.2 พิมพ์ข้อความท่ตี ้องการลงไป ภาพท่ี 4.21 การสรา้ ง Frame 4.9.3 ปุม่ คำสงั่ windows 4.9.4 เลือก Text wrap


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook