Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ การใช้ภาษา

คู่มือ การใช้ภาษา

Published by sup, 2017-09-07 05:01:23

Description: Thai Basic 1

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ หน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาเพือ่ การส่ือสาร 21 เสียง พยญั ชนะ 44 รูป ความรเู้ รอ่ื งพยญั ชนะ รูปพยญั ชนะใช้ในการเขียนคาในภาษาไทยได้ 3 ลกั ษณะ คือ 1.1 ใช้เป็ นพยญั ชนะต้น หมายถึง รูปพยญั ชนะท่ีใช้เขียนต้นคาหรือนาหน้าเสียงสระ เช่น ผม กิน ข้าวแล้ว 1.2 ใช้เป็ นตวั สะกด คือ ใช้เป็ นพยญั ชนะท้ายคาหรือท้ายพยางค์ ทาหน้าท่ีบงั คบั เสียงให้เป็ นไปตามเสียงนนั้ ๆ เป็ นพยญั ชนะที่ใช้แทนเสียงมาตราตวั สะกดทงั้ 8 เสียง ได้แก่ กกั ขงั มมู มาม หลงทาง 1.3 ใช้เป็ นตวั การันต์ คอื รูปพยญั ชนะที่ปรากฏในคาแตไ่ ม่ออกเสียง เพราะใช้เครื่องหมายทณั ฑฆาต ฆ่าเสยี งนนั้ แล้ว เชน่

สระ 32 เสยี ง 1.1 วิธีการใช้สระ สระทงั้ หมดมีวิธีการใช้ 5 วิธีคอื 1.1.1 คงรูป คือต้องเขียนรูปให้ปรากฏชดั เชน่ กะบะ กะปิ ดีน่ี ทาไม นานโข 1.1.2 ลดรูป คือไม่ต้องเขียนรูปสระให้ปรากฏหรือปรากฏแตเ่ พียงบางสว่ น แตต่ ้องออกเสียงให้ตรงกบัรูปสระท่ีลดนนั้ การลดรูปมี 2 อยา่ งคือ (1) ลดรูปทงั้ หมด ได้แก่ พยญั ชนะ + สระโอ + ตวั สะกด (ยกเว้นตวั ร) เชน่ น + โอะ + ก-สะกด = นก ม + โอะ + ด-สะกด = มด ก + ออ + ร-สะกด = กร จ + ออ + ร-สะกด = จร (2) ลดรูปบางสว่ น ได้แก่ สระท่ีลดรูปไม่หมด เหลอื ไว้แตเ่ พยี งบางสว่ นของรูปเตม็ พอเป็ นเครื่องสงั เกตให้รู้วา่ ไมซ่ า้ กบั รูปอ่ืน เช่น ก + เออ + ย-สะกด = เกย (ลดรูปตวั อ เหลอื แตไ่ ม้หน้า) ก + อวั + น-สะกด = กวน (ลดไม้หนั อากาศ เหลือแตต่ วั ว) 1.1.3 แปลงรูป คือแปลงสระรูปเดิมให้เปล่ยี นเป็นอกี รูปหนงึ่ เช่น ก + อะ + น-สะกด = กนั (แปลงวสิ รรชนีย์เป็นไม้หนั อากาศ)

ก + เอะ + ง -สะกด = เก็ง (แปลงวิสรรชนีย์เป็นไม้ไตค่ ้)ู ข + แอะ + ง-สะกด = แข็ง (แปลงวสิ รรชนีย์เป็นไม้ไตค่ ้)ูวิธีการใชส้ ระ  คงรปู คอื ตอ้ งเขยี นรปู สระชดั เจน เชน่ กะบะ กะปิ ทำไม  ลดรปู คอื ไมต่ อ้ งเขยี นรปู สระใหป้ รำกฏ กำรลดรปู มี 2 แบบ ไดแ้ ก่ ลดรปู ทงั้ หมด และ ลดรปู บางสว่ น การใชค้ าในภาษาไทยการใช้คาในภาษาไทยภาษาไทยเป็ นตระกลู ภาษาคาโดด มีลกั ษณะที่สาคญั หลายประการ ดงั นนั้ ในการใช้คาในภาษาไทย ต้องศกึ ษาเกี่ยวกบั ลกั ษณะเฉพาะของคาไทย ดงั ตอ่ ไปนี ้1. คาไทยแท้สว่ นมากเป็ นคาพยางค์เดยี ว จะเหน็ ได้จากคาพืน้ ฐานของภาษา 7 ประการ คอื1.1 คาเรียกเครือญาติ เชน่ พ่ี ป้ า น้า อา1.2 คาเรียกสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย เช่น ตา หู ลนิ ้ ใจ1.3 คาเรียกช่ือทางภมู ิศาสตร์หรือธรรมชาติ เช่น ป่ า เขา เมฆ หมอก ฟ้ า1.4 คาเรียกเคร่ืองมอื เคร่ืองใช้ในการทามาหากิน เชน่ จอบ เสียม ไถ เบด็1.5 คาเรียกชื่อเครื่องใช้ในบ้าน เชน่ ถ้วย หม้อ ชาม ไห จาน1.6 คากริยาที่สาคญั และจาเป็ น เชน่ กิน เดิน นงั่ นอน พดู1.7 คาขยายท่ีสาคญั และจาเป็ น เชน่ สวย งาม ดี ชว่ั ผอม สงู2. คาไทยเมอื่ นาไปใช้ประกอบหรือเรียบเรียงเป็นประโยค คานนั้ จะไมเ่ ปล่ียนแปลงรูปคา เชน่ คาวา่ ไปฉนั ไปวนั นี ้ ฉนั กาลงั จะไปฉนั ไปแล้วเมอ่ื วานนี ้ ฉนั ไปเดยี๋ วนี ้3. คาบางคาทาหน้าที่ได้หลายอยา่ ง และมีหลายความหมาย เชน่ คาวา่ ขดัเอารองเท้าไปขดั ให้หน่อย (เป็ นคากริยา หมายถึง ถใู ห้สะอาด)เขาชอบขดั คาสง่ั (เป็ นคากริยา หมายถึง ฝ่ าฝื น)

คาวา่ แก้วแก้วไปทางานแล้ว (เป็ นคานาม หมายถงึ ชื่อบคุ คล)ควรใช้แก้วด่ืมนา้ (เป็ นคานาม หมายถึง ภาชนะชนดิ หนง่ึ )4. ภาษาไทยมลี กั ษณนามใช้ ซง่ึ ลกั ษณนามจะอยหู่ ลงั คาบอกจานวนนบั เป็นสว่ นมาก เชน่มีบ้าน 10 หลงั อยใู่ นบริเวณนนั้หนงั สือ 2 เลม่ วางอยบู่ นโต๊ะเขาร้องเพลงไทย 5 เพลง ในคนื นนั้5. คาไทยมีเสียงวรรณยกุ ต์ ถ้าเสียงวรรณยกุ ต์ตา่ งกนั จะทาให้ความหมายของคาเปลีย่ นไป เชน่เกา : เอาเลบ็ หรือส่งิ ท่ีคล้ายเลบ็ ครูดผิวหนงั เพื่อให้หายคนัเก่า : ก่อน ไม่ใหม่เก๋า : ชื่อปลาทะเลจาพวกหนง่ึ มีหลายชนิด6. การเรียงลาดบั คาเป็ นเรื่องสาคญั ถ้าเรียงลาดบั คาสลบั ที่กนั ความหมายจะเปลย่ี นไป เชน่อยเู่ ปิ ดประตู ประตเู ปิ ดอยู่เปิ ดประตอู ยู่ อยปู่ ระตเู ปิ ด7. คาไทยมคี าราชาศพั ท์ คาสภุ าพ คาตลาด คาสแลง คาเฉพาะวงการ ใช้ตามกาลเทศะและบคุ คล เช่นขอกราบบงั คมทลู (ราชาศพั ท์)รับทราบ (คาสภุ าพ)แดกเหล้า (คาตลาด)ป๊ิ ง จ๊าบ (คาสแลง)8. คาไทยแท้มีตวั สะกดตรงตามมาตรา เช่นแม่กก ใช้ ก เป็ นตวั สะกด : ปาก บอก เปี ยกแม่กด ใช้ ด เป็ นตวั สะกด : ปวด ขาด แดดแมก่ บ ใช้ บ เป็ นตวั สะกด : ลบี พบั แบบแมก่ ง ใช้ ง เป็ นตวั สะกด : เกง่ หลงั ข้างแม่กน ใช้ น เป็ นตวั สะกด : ก้าน เรียน แดนแมก่ ม ใช้ ม เป็ นตวั สะกด : ยิม้ ล้ม ยามแม่เกย ใช้ ย เป็ นตวั สะกด : ยาย เฉย หมายแม่เกอว ใช้ ว เป็ นตวั สะกด : วา่ ว แวว แจว๋9. คาไทยแท้ไม่มีตวั การันต์ คาท่ีมีตวั การันต์มกั เป็ นคาภาษาบาลี สนั สกฤต ภาษาองั กฤษ เช่น มนุษย์ ศิลป์เมล์ ไมล์10. ภาษาไทย มีคาอทุ านและคาเลียนเสยี งธรรมชาติ ทาให้ข้อความเดน่ ชดั และสละสลวยยงิ่ ขนึ ้ เช่นเหลอื งออ๋ ย แดงแจ๋ ร้ อนจ๋ี ตาแป๋ วโอ้โห! ต๊ายตาย! อือ้ หือ! โอ๊ะ!

การใช้ประโยคการใช้ประโยคในภาษาไทย ประโยคในภาษาไทย เกิดจากการนาคามาเรียงลาดบั ไปตามหน้าที่ เพ่ือให้มีความหมายตามความต้องการประโยคแบง่ ออกเป็ น 2 ภาค คอื ภาคประธานและภาคแสดง และประโยค ถ้าแบง่ ตามโครงสร้างทางไวยากรณ์ มอี ยู่ 3 แบบ คอื 1. ประโยคความเดียว คือ ประโยคสามญั ท่ีมีบทกริยาสาคญั เพียงบทเดยี ว และเป็นกระแสความเดียว ท่ีมีความหมายครบบริบรู ณ์ เชน่ เขาไม่อยากกินอาหารมือ้ เช้า นกตวั ใหญ่บนิ ในท้องฟ้ า แดงนงั่ เลน่ คอมพวิ เตอร์ กานดาร้ องเพลงเพราะมาก 2. ประโยคความรวม คือ ประโยคท่ีมีใจความสาคญั อยา่ งน้อย 2 ใจความรวมกนั และใจความสาคญั นนั้ๆ จะต้องมลี กั ษณะเป็ นประโยค โดยมสี นั ธานเป็นบทเชื่อม หรือละสนั ธานไว้ในฐานที่เข้าใจ เช่น “ฉนั มีวิชาแตเ่ ขามีทรัพย์” มาจากสองประโยค คือ ฉนั มวี ชิ า, เขามีทรัพย์ เชื่อมด้วยสนั ธาน “แต”่ “เขาเป็ นคนดี หรือเดก็ ที่พดู กบั เธอเป็ นคนดี” มาจากสองประโยค คอื เขาเป็ นคนดี,เด็กท่ีพดู กบั เธอเป็ นคนดี เช่ือมด้วยสนั ธาน “หรือ” “ฉนั รักคนดีที่ฉนั ชอบ แตฉ่ นั ไมช่ อบคนดีท่ีฉนั ชงั ” มาจากสองประโยค คือ ฉนั รักคนดีที่ฉนั ชอบ, ฉนั ไม่ชอบคนดที ่ีฉนั ชงั เช่ือมด้วยสนั ธาน “แต”่ 3. ประโยคความซ้อน คือ ประโยคใหญ่ ที่มีประโยคเล็กตงั้ แต่ 2 ประโยคขนึ ้ ไปรวมกนั แตม่ ีประโยคหลกั ท่ีมีใจความสาคญั เพียงประโยคเดยี ว นอกนนั้ เป็ นประโยคเล็กท่ีทาหน้าท่ีแตง่ หรือประกอบประโยคหลกั โดยมีประพนัธสรรพนาม ประพนั ธวเิ ศษณ์ หรือบพุ บทเป็ นบทเช่ือม เชน่ เด็กที่ร้องเพลงนา เป็ นนกั เรียนชนั้ ปวช. ฉนั ต้องการหีบใหญ่ ซงึ่ ฉนั เก็บมนั ไว้ในห้อง สนุ ขั ตาย เพราะมนั ถกู รถยนต์ชน เขาทางาน โดยเขาหวงั รายได้ เขามาที่น่ี เพือ่ เขาจะได้พบฉนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook