Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 11-SARสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2563

11-SARสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2563

Description: 11-SARสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2564 อาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเอง การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สตู ร ปีการศกึ ษา 2563 หลกั สตู รเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อเน่ือง) (พ.ศ. 2563) วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

ลงนาม ................................... ประธานหลักสตู ร รายงานวนั ท่ี…….. เดอื น....................... ป.ี ..........

ก คำนำ รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ของสาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 ฉบบั น้ี จดั ทำขน้ึ โดยอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสตู รและอาจารยป์ ระจำหลกั สตู ร ซง่ึ เป็น คณะกรรมการ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของหลักสูตร เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคระยอง สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ดำเนินการไปอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการ ฯ จึงขอเสนอผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามคู่มือ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัตกิ าร พ.ศ. 2563 สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาและสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ของสำนกั งานคณะกรรมการ การอาชวี ศกึ ษา ซง่ึ ผลการประเมินตามแยกตามองค์ประกอบและตวั บง่ ช้ี รวมท้งั จดุ แข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา แนวทางแก้ไข ข้อเสนอแนะ และแนวทางการพัฒนาการดำเนินการของสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื เปน็ การพัฒนาให้การจดั การศกึ ษา มคี ณุ ภาพได้มาตรฐานต่อไป ขอขอบคุณคณะกรรมการที่เกี่ยวขอ้ งผู้บรหิ าร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน และสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ที่มีส่วนทำให้การจัดทำรายงานการประเมินตนเองเล่มน้ี สำเรจ็ ลุล่วงดว้ ยดี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก

ข สารบัญ หน้า คำนำ.................................................................................................................................................................................................. ก สารบญั .............................................................................................................................................................................................. ข บทสรุปผู้บริหาร..............................................................................................................................................................................1 ส่วนที่ 1 ข้อมลู พื้นฐานของหลกั สูตร.........................................................................................................................................5 1. ช่ือหลกั สูตร ......................................................................................................................................................................5 2. สถานภาพของหลักสตู รและการพิจารณาอนุมตั ิ/เห็นชอบหลกั สูตร......................................................................5 3. รูปแบบแผนการศกึ ษาของหลักสตู รเทคโนโลยสี ารสนเทศ......................................................................................5 4. รายชอื่ อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สตู รปจั จุบัน.............................................................................................................5 5. ข้อมลู โดยสรุปเกย่ี วกบั วิทยาลยั และสาขาวชิ า..........................................................................................................5 6. ข้อมลู เก่ียวกบั หลักสตู ร ..................................................................................................................................................6 7. จำนวนนกั ศึกษา ..............................................................................................................................................................8 8. จำนวนผสู้ ำเร็จการศึกษา...............................................................................................................................................8 9. แผนการรับนกั ศึกษา และผสู้ ำเร็จการศกึ ษาในระยะ 5 ปี.....................................................................................8 สว่ นท่ี 2 การบรหิ ารจดั การหลักสตู รตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน .................................................9 องคป์ ระกอบท่ี 1 การกำกบั มาตรฐาน...................................................................................................................................9 องค์ประกอบท่ี 2 บณั ฑิต ......................................................................................................................................................10 องค์ประกอบท่ี 3 นกั ศกึ ษา...................................................................................................................................................12 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์.....................................................................................................................................................14 องคป์ ระกอบที่ 5 หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผเู้ รียน.............................................................................16 องค์ประกอบท่ี 6 สิง่ สนับสนุนการเรียนรู้...........................................................................................................................20 ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมนิ ...................................................................................................................................................21 ส่วนที่ 4 ตารางการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร .......................................................................23 สว่ นท่ี 5 รายงานผลการวิเคราะห์จดุ เดน่ และจดุ ที่ควรพัฒนา.........................................................................................24 ภาคผนวก......................................................................................................................................................................................25

1 บทสรุปผู้บรหิ าร คณะกรรมการประจำหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ได้ประเมินคุณภาพของหลักสูตรตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั กิ าร พ.ศ. 2563 ในระดบั หลักสูตร มีทัง้ หมด 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการ สอน การประเมินผู้เรียน และ องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ได้สรุปข้อมูลพื้นฐานของ หลักสูตรและสรุปผลการประเมินตนเอง ไดด้ งั น้ี 1. สรปุ ข้อมลู เฉพาะพ้ืนฐานของหลักสตู ร 1.1 ชอื่ หลักสูตร (ภาษาไทย) : หลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ตอ่ เนือ่ ง) (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Technology Program in Information Technology (Continuing Program) หลกั สูตร ใหม่ พ.ศ. 2563 รหัสหลักสูตร : 413901 ที่ตั้งสถานศกึ ษา : วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง 1.2 ปรัชญาของหลกั สตู ร มุ่งผลิตบัณฑิตด้านอาชีวศึกษาที่มีความรอบรู้ และมีสมรรถนะในการปฏิบัติงานระดับ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ที่สามารถจัดการ ควบคมุ การทางาน มีคุณธรรม จรยิ ะรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และกิจนสิ ยั ท่ีเหมาะสมในการทางาน สอดคล้องกับความตอ้ งการของสังคม ชมุ ชน สถานประกอบการ พัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าทางวิชาชีพและวิชาการ บูรณาการองค์ความรู้เพื่อพัฒนาองค์กรให้ กา้ วทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี 1.3 วัตถุประสงคข์ องหลกั สตู ร 1) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วิเคราะห์และ ออกแบบระบบ การเขียนโปรแกรมจดั การฐานข้อมูล วางแผนจัดการภัยคุกคามของระบบ คอมพวิ เตอรแ์ ละระบบเครือขา่ ยและสร้างงานดา้ นมลั ตมิ เี ดยี ได้ 2) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะในการบริหารจัดการ ควบคุมการทางาน สามารถบูรณา การองคค์ วามรู้ เพอื่ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการแกป้ ญั หาและพฒั นางานทางเทคโนโลยสี ารสนเทศได้ 3) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีเจตคติที่ดีต่องาน อาชีพ ตระหนักถึงการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต การพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเอง ท้ังด้าน วิทยาการและเทคโนโลยที ี่เกยี่ วขอ้ ง 4) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความพร้อมในการศึกษาค้นคว้า สร้างสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมท่ี เป็นประโยชน์ต่องานอาชีพและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสังคมและเศรษฐกิจของ ประเทศ

2 1.4 รายชอ่ื อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตรปัจจบุ นั 1) นายปรญิ ญา จำเนยี รพล 2) นายประธีป ผลจนั ทรง์ าม 3) นางศลษิ า หนเู สมียน 4) นางสาวพัณณช์ ติ า คำมะฤทธิส์ นิ ชยั 5) นายอนิรตุ ต์ บัวระพา 1.5 สรปุ ขอ้ มลู นักศึกษาและผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา นกั ศกึ ษา 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ปีท่ี 1 - - - - - - 24 - ปีที่ 2 - - - - - - - - รวม - - - - - - 24 - สำเร็จการศึกษา - - - - - - - - ตกค้าง - - - - - - - - 2. สรปุ ผลการประเมินตนเองของหลกั สตู รตามเกณฑ์การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 สรุปผลการประเมนิ องค์ประกอบที่ 1 องค์ประกอบ/ตวั บ่งช้ี ผลการดำเนนิ การ ผา่ น ไม่ผา่ น องค์ประกอบที่ 1 การกำกบั มาตรฐาน (1 ตัวบง่ ช้)ี  1.1 การบริหารจดั การหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่อื ง  เกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร ระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ.2558  1.1.1 จำนวนอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตร  1.1.2 คณุ สมบัตอิ าจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร  1.1.3 คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลกั สูตร  1.1.4 คณุ สมบตั อิ าจารยผ์ ู้สอน ผ่าน 1.1.5 การปรับปรงุ หลักสตู รตามรอบระยะเวลาทีก่ ำหนด ผลการประเมินองคป์ ระกอบที่ 1 2.2 สรุปผลการประเมิน องคป์ ระกอบที่ 2-6 ผลการดำเนินการ ร้อยละ คะแนน องคป์ ระกอบ/ตัวบ่งช้ี -- องคป์ ระกอบที่ 2 บัณฑิต (5) ตัวบง่ ชี้ -- 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 2.2 รอ้ ยละของนกั ศกึ ษาทส่ี อบมาตรฐานวชิ าชีพผา่ นในคร้งั แรก

3 องคป์ ระกอบ/ตวั บง่ ช้ี ผลการดำเนนิ การ ร้อยละ คะแนน 2.3 รอ้ ยละของนกั ศึกษาทสี่ อบผา่ นสมทิ ธภิ าพทางภาษาองั กฤษ ระดับ B2 - - หรอื เทยี บเท่า 2.4 ร้อยละของนักศกึ ษาทีส่ อบผา่ นมาตรฐานด้านเทคโนโลยีดจิ ิทัล -- 2.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ไี ดง้ านทำหรอื ประกอบอาชีพอิสระ -- ภายใน 1 ปี (สำหรบั บณั ฑติ ที่ สำเร็จการศึกษา ปี 2562) คา่ เฉลี่ยองค์ประกอบท่ี 2 - องค์ประกอบที่ 3 นักศกึ ษา ( 3 ตวั บ่งช้)ี 3.1 การรบั นักศกึ ษา ไม่มี 3 3.2 การสง่ เสรมิ และพฒั นานกั ศกึ ษา ไมม่ ี 2 3.3 ผลที่เกิดกบั นักศกึ ษา ไมม่ ี 3 ค่าเฉล่ยี องค์ประกอบท่ี 3 2.67 องคป์ ระกอบท่ี 4 อาจารย์ (3 ตัวบง่ ช)ี้ 4.1 การบริหารและพฒั นาอาจารย์ (ไม่มี) 3 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 00 4.2.1 มคี ่าร้อยละของอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตรท่มี ีประสบการณ์ 0 0 ดา้ นปฏบิ ตั กิ ารในสถานประกอบการ 4.2.2 รอ้ ยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร 00 4.3 ผลทเ่ี กิดกับอาจารย์ (ไม่มี) 3 คา่ เฉล่ียองคป์ ระกอบที่ 4 2 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรยี นการสอน การประเมินผู้เรยี น ( 4 ตวั บง่ ชี้) 5.1 สาระของรายวชิ าในหลักสูตร (ไม่มี) 2 5.2 การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน (ไมม่ )ี 2 5.3 การประเมนิ ผ้เู รียน (ไมม่ )ี 2 5.4 ผลการดำเนินงานหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อุดมศกึ ษา 44.44 0 แห่งชาติ ค่าเฉลย่ี องคป์ ระกอบที่ 5 1.50 องค์ประกอบที่ 6 สงิ่ สนบั สนนุ การเรียนรู้ (1 ตัวบ่งชี้) 6.1 สงิ่ สนบั สนนุ การเรียนรู้ 3 ค่าเฉลยี่ โดยรวมท้ังหมด 2.09

4 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัติการ ของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง มี คะแนนเฉลยี่ รวมเทา่ กบั 2.09 คะแนน อยใู่ นระดับ ปานกลาง โดยสรปุ หลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคระยอง เป็นไปตาม มาตรฐาน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ปานกลาง การแปลผลจะเปน็ การอธิบายว่า คะแนนระดบั หลักสูตร = 0 หมายถึง หลกั สูตรไมไ่ ด้มาตรฐาน(องค์ประกอบที่ 1 ไมผ่ ่าน) คะแนนระดับหลักสูตร = 0.01 - 5.00 หมายถงึ หลกั สตู รเป็นไปตามมาตรฐานและมีระดับคุณภาพ ตามคะแนนทไ่ี ดด้ ังนี้ คะแนน ระดับคณุ ภาพ 0.01 – 2.00 นอ้ ย 2.01 – 3.00 ปานกลาง 3.01 -4.00 ดี 4.01 – 5.00 ดมี าก

5 1. ชอ่ื หลกั สตู ร ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พน้ื ฐานของหลักสูตร (ภาษาไทย) (ภาษาองั กฤษ) หลกั สูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ตอ่ เนอ่ื ง) Bachelor of Technology Program in Information Technology (Continuing Program) 2. สถานภาพของหลักสูตรและการพจิ ารณาอนมุ ตั ิ/เห็นชอบหลักสตู ร () หลกั สูตรใหม่ กำหนดเปิดสอน ภาคการศึกษาท่ี 1 พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับอนุมตั ิ/เห็นชอบหลักสตู รจากสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ในการประชุม ครั้งที่ ๒/๒๕๖๓ เมื่อวันท่ี ๑๘ เดอื น มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ( ) หลักสตู รปรบั ปรุง กำหนดเปิดสอน ภาคการศึกษาท่ี ................พ.ศ. ....................... ได้รบั อนมุ ัติ/เหน็ ชอบหลักสตู รจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ในการประชุม ครัง้ ท่ี ...................... เมือ่ วันที.่ ..................เดือน......................พ.ศ. ...................... 3. รูปแบบแผนการศึกษาของหลกั สูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ () ระดับปรญิ ญาตรี ( ) ทางวชิ าการ ( ) ทางวชิ าชพี หรือปฏิบัตกิ าร 4. รายช่ืออาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบหลกั สูตรปัจจบุ นั 1. นายปริญญา จำเนียรพล 2. นายประธีป ผลจนั ทร์งาม 3. นางศลษิ า หนเู สมยี น 4. นางสาวพณั ณช์ ิตา คำมะฤทธส์ิ นิ ชัย 5. นายอนริ ตุ ต์ บวั ระพา 5. ข้อมลู โดยสรุปเกยี่ วกับวทิ ยาลัย และสาขาวิชา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีไดพ้ ัฒนาหลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑิต เพ่ือให้เปน็ ไปตามเกณฑ์ มาตรฐานคุณวุฒิระดบั อุดมศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา และของสานกั งาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา และใหส้ อดคล้องกับการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยใี นปจั จุบัน นบั เป็น กลไกสาคัญในการพฒั นาประเทศให้ก้าวหนา้ พรอ้ มแขง่ ขนั และรองรบั การเปลย่ี นแปลงเศรษฐกจิ โลก ซงึ่ ตอ้ งการบคุ ลากรดา้ นเทคโนโลยเี ทคโนโลยีสารสนเทศทีม่ คี ุณภาพ สามารถประยุกต์ ใช้เทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนานวัตกรรมใหมๆ่ กบั หน่วยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชน พรอ้ มกบั การ ใชข้ ้อมูลและสารสนเทศทเ่ี พียงพอตอ่ การวางแผนและตัดสินใจ อนั จะเปน็ องคป์ ระกอบที่เข้มแขง็ ให้ สอดคล้องกบั นโยบายรฐั บาลเกีย่ วกบั ในการพัฒนาประเทศในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 นโยบาย \"10

6 อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย : กลไกขับเคล่อื นเศรษฐกจิ เพือ่ อนาคต\" ในด้านอตุ สาหกรรมดจิ ิทลั (Digital) รวมทงั้ ใหส้ อดคล้องกับเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) และตรงกบั ความต้องการของสถาน ประกอบการ(สรปุ โดยย่อเกีย่ วกบั วทิ ยาลยั และสาขาวิชา โดยแสดงใหเ้ หน็ ถึงวิสยั ทัศน์ วัตถุประสงค์ และนโยบายคณุ ภาพ) 6. ข้อมลู เกย่ี วกบั หลักสูตร ปรชั ญา ความสาคญั และวตั ถุประสงคข์ องหลักสูตร ปรชั ญา มุ่งผลิตบัณฑิตด้านอาชีวศึกษาที่มีความรอบรู้ และมีสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ระดับเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สามารถจัดการ ควบคุมการทางาน มีคณุ ธรรม จริยะรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพและกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทางาน สอดคล้องกับความต้องการของสังคม ชุมชน สถาน ประกอบการพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าทางวชิ าชพี และวิชาการ บูรณาการองค์ความรู้เพอื่ พัฒนา องค์กรใหก้ ้าวทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเศรษฐกจิ สงั คม และเทคโนโลยี ความสำคัญ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศทไ่ี ดพ้ ฒั นาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต เพื่อให้เป็นไป ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศกึ ษา ของสานกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา และของสา นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา และใหส้ อดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีในปัจจุบัน นับเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้า พร้อมแข่งขันและรองรับการเปลี่ยนแปลง เศรษฐกจิ โลก ซึ่งต้องการบคุ ลากรด้านเทคโนโลยีเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพ สามารถประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ กับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน พรอ้ มกับการใช้ข้อมลู และสารสนเทศท่เี พยี งพอต่อการวางแผนและตดั สนิ ใจ อนั จะเป็นองคป์ ระกอบที่ เขม้ แข็ง ให้สอดคลอ้ งกับนโยบายรฐั บาลเกี่ยวกบั ในการพัฒนาประเทศในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 นโยบาย \"10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย : กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต\" ในด้านอุตสาหกรรมดิจิทัล (Digital) รวมทัง้ ใหส้ อดคล้องกับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และตรงกับความต้องการของ สถานประกอบการ วัตถุประสงค์ 1 เพอ่ื ผลติ บณั ฑติ ท่มี คี วามรู้ ความสามารถดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ วเิ คราะห์และ ออกแบบระบบ การเขยี นโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล วางแผนจัดการภัยคกุ คามของระบบคอมพวิ เตอร์ และระบบเครอื ข่ายและสรา้ งงานดา้ นมลั ตมิ เี ดียได้ 2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะในการบริหารจัดการ ควบคุมการทางาน สามารถ บูรณาการองค์ความรู้ เพ่ือประยุกตใ์ ช้ในการแก้ปญั หาและพฒั นางานทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้

7 3 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีเจตคติที่ดีต่อ งานอาชีพ ตระหนักถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเอง ทั้งด้าน วิทยาการและเทคโนโลยีทีเ่ กย่ี วข้อง 4 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความพร้อมในการศึกษาค้นคว้า สร้างสิ่งประดิษฐ์และ นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่องานอาชีพและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสังคมและเศรษฐกิจของ ประเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อเนื่อง) วิทยาลัยเทคนิคระยอง สถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวนั ออก เอกลักษณ์ (Uniqueness) : มคี ุณธรรม เลศิ ล้าความรู้ พรอ้ มเขา้ สู่ประเทศไทย 4.0 คำอธบิ าย : มคี ณุ ธรรม หมายถงึ เปน็ องค์กรที่ผลิตบุคลากรที่มีคุณธรรมท่ดี ี เป็นที่ตอ้ งหารของสังคมและ ประเทศชาติ เลิศลาความรู้ หมายถึง เป็นองค์กรที่มีบุคลากรที่มีความรอบรู้ มีสมรรถนะ มีกิจนิสัยท่ี เหมาะสมในการปฏบิ ัตงิ านทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ พรอ้ มเขา้ สู่ประเทศไทย 4.0 หมายถึง เปน็ องคก์ ารทพี่ ฒั นาตนเองให้มีความพรอ้ ม ที่จะเข้าสู่ ประเทศไทย 4.0 อตั ลักษณ์ (Identity) : ผลิตนักปฏบิ ัติการทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ มอื อาชีพ คำอธิบาย : นักเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ย่างมืออาชีพ ระบบการจัดการศกึ ษา 1 ระบบการจัดการศกึ ษาใช้ระบบทวิภาค โดย 1 ปกี ารศกึ ษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษา ปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาการศึกษา 18 สัปดาห์ สาหรับภาคฤดูร้อน การกำหนด ระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิต ใหม้ สี ัดสว่ นเทยี บเคียงกันได้กบั ภาคการศกึ ษาปกติ 2 การจัดการเรยี นการสอนภาคฤดูร้อน ไมม่ ี 3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวภิ าค ไม่มี 4 การกาหนดจำนวนหนว่ ยกติ และจานวนชั่วโมงเรียนต่อสปั ดาห์ การคิดหน่วยกิตต่อภาคเรยี น 1) รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปราย 18 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา ปกติ รวมเวลาการวดั ผล ให้มีคา่ เท่ากบั 1 หน่วยกติ

8 2) รายวชิ าปฏบิ ตั ิที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองหรอื ปฏิบัติในห้องปฏิบัตกิ าร 2 ชั่วโมงต่อ สบั ดาห์ หรือ 36 ชัว่ โมงต่อภาคการศกึ ษาปกติ รวมเวลาการวัดผล ใหม้ คี ่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3) รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม 3 ชั่วโมงต่อสปั ดาห์ หรือ 54 ชัว่ โมงตอ่ ภาคการศึกษาปกติ รวมเวลาการวัดผล ให้มคี ่าเท่ากับ 1 หน่วย กติ 4) การฝกึ อาชีพในการศกึ ษาแบบทวภิ าคีที่ใชเ้ วลาฝึกไม่น้อยกว่า 54 ชว่ั โมง ตอ่ ภาค การศึกษาปกติ รวมเวลาการวัดผล ให้มคี า่ เทา่ กบั 1 หน่วยกติ 5) การฝกึ ประสบการณ์สมรรถนะวิชาชพี ในสถานประกอบการ ทใี่ ช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ชัว่ โมง ต่อภาคการศกึ ษาปกติ รวมเวลาการวัดผล ให้มีคา่ เท่ากับ 1 หน่วยกติ 6) การทาโครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ทใี่ ชเ้ วลาไมน่ ้อยกว่า 54 ช่ัวโมง ต่อภาค การศกึ ษาปกติ รวมเวลาการวัดผล ใหม้ คี า่ เทา่ กับ 1 หน่วยกติ ระบบทวิภาค 7. จำนวนนักศกึ ษา นักศึกษา ปีการศกึ ษา ชั้นปที ี่ 1 (คน) 2563 24 8. จำนวนผสู้ ำเรจ็ การศึกษา ไม่มี 9. แผนการรับนกั ศกึ ษา และผูส้ ำเรจ็ การศกึ ษาในระยะ 5 ปี จำนวนนกั ศกึ ษา 2563 จำนวนนกั ศกึ ษาแต่ละปีการศกึ ษา 2567 20 2564 2565 2566 20 ช้นั ปที ี่ 1 20 20 20 20 ชั้นปที ี่ 2 20 20 20 20 40 รวม - 40 40 40 20 คาดว่าจะสำเรจ็ การศึกษา 20 20 20

9 ส่วนท่ี 2 การบรหิ ารจัดการหลักสตู รตามเกณฑ์การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัติการ ระดับหลักสูตร คณะกรรมการประจำหลักสตู รเทคโนโลยสี ารสนเทศ ได้บริหารจดั การหลกั สูตรตามเกณฑ์ การ ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ. 2563 ใน ระดับหลักสูตร มีทั้งหมด 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน องค์ประกอบท่ี 2 บัณฑติ องคป์ ระกอบที่ 3 นักศกึ ษา องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ องคป์ ระกอบท่ี 5 หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผู้เรยี น และ องค์ประกอบท่ี 6 สง่ิ สนับสนุนการเรยี นรู้ ดงั นี้ องค์ประกอบที่ 1 การกำกบั มาตรฐาน ผลการดำเนนิ การ ผ่าน ไมผ่ ่าน เกณฑ์การประเมนิ  1.1 การบรหิ ารจดั การหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง  เกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตร ระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ.2558  1.1.1 จำนวนอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตร  1.1.2 คุณสมบัติอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสตู ร  1.1.3 คุณสมบตั อิ าจารยป์ ระจำหลกั สตู ร  1.1.4 คุณสมบตั อิ าจารยผ์ ู้สอน 1.1.5 การปรับปรงุ หลกั สตู รตามรอบระยะเวลาท่ีกำหนด  สรุปผลการประเมนิ การดำเนินการตามองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน ซึ่งเป็นการดำเนินการตามเกณฑ์ มาตรฐานหลกั สูตร ระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ.2558 ดำเนนิ การได้ตามเกณฑ์การประเมนิ ครบทกุ ขอ้ ดงั น้ี รายการเอกสารหลักฐาน 1.1.1 คำสงั่ แต่งตง้ั อาจารย์ผูส้ อน 1.1.2 คำส่งั แต่งตง้ั อาจารย์พเิ ศษ 1.1.3 ประวตั อิ าจารยป์ ระจำหลกั สตู ร 1.1.4 การพฒั นา/ปรับปรุงแกไ้ ขหลักสูตร ฯ

10 องค์ประกอบที่ 2 บณั ฑิต ผลการดำเนนิ การ รอ้ ยละ คะแนน เกณฑก์ ารประเมิน -- 2.1 คุณภาพบัณฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ -- 2.2 รอ้ ยละของนกั ศกึ ษาทส่ี อบมาตรฐานวิชาชพี ผา่ นในครั้งแรก -- 2.3 ร้อยละของนักศกึ ษาทีส่ อบผา่ นสมิทธภิ าพทางภาษาองั กฤษ ระดับ B2 หรือเทยี บเท่า -- 2.4 ร้อยละของนักศึกษาท่สี อบผ่านมาตรฐานด้านเทคโนโลยดี จิ ิทลั -- 2.5 ร้อยละของบัณฑติ ปริญญาตรที ไี่ ดง้ านทำหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระ ภายใน 1 ปี -- สรุปผลการประเมนิ การดำเนินการตามองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต ซึ่งเป็นผลลัพธ์การเรียนรู้ที่บัณฑิตได้รับการ พัฒนาวา่ มคี ุณภาพและมาตรฐาน คณุ ภาพของบัณฑติ ในแต่ละหลักสูตรจะสะท้อนไปท่ีคุณภาพบัณฑิต ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติโดย พิจารณาจากผลลพั ธ์การเรยี นรู้ การมีงานทำ มาตรฐานวชิ าชพี มาตรฐานภาษาอังกฤษ และมาตรฐาน เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ แสดงผล การดำเนนิ งานครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ 1) ประเมนิ โดยผใู้ ช้บัณฑิตตามมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ (TQF) ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) ไมม่ ี (นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ยังไม่ถึงกำหนดเขา้ รับการประเมนิ ) สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ มคี ่าร้อยละ - ระดบั คะแนน - คะแนน (หมายเหตุ นกั ศึกษาชั้นปที ี่ 1 ยังไม่ ถึงกำหนดเข้ารับการประเมนิ ) ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบมาตรฐานวิชาชีพผ่านในครั้งแรก แสดงผลการ ดำเนินงานครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปน้ี 1) สอบผ่านมาตรฐานวิชาชีพตามเกณฑท์ ่กี ำหนด ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) ไม่มี (นกั ศึกษาชน้ั ปที ี่ 1 ยงั ไม่ถงึ กำหนดเขา้ รบั การประเมิน)

11 สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบมาตรฐานวิชาชีพผ่านใน คร้งั แรก มคี ่าร้อยละ - ระดบั คะแนน - คะแนน (หมายเหตุ นักศกึ ษาชน้ั ปที ่ี 1 ยงั ไม่ถงึ กำหนดเขา้ รับ การประเมนิ ) ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่าน สมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือ เทียบเทา่ แสดงผลการดำเนนิ งานครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปนี้ 1) สอบผา่ นการวัดสมทิ ธิภาพทางภาษาองั กฤษ ระดบั B2 หรือเทียบเทา่ ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) ไม่มี (นกั ศกึ ษาชนั้ ปีที่ 1 ยังไม่ถึงกำหนดเขา้ รับการประเมนิ ) สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านสมิทธิภาพทาง ภาษาองั กฤษ ระดบั B2หรอื เทียบเท่า มคี ่าร้อยละ - ระดบั คะแนน - คะแนน (หมายเหตุ นกั ศึกษาชั้น ปีที่ 1 ยงั ไมถ่ งึ กำหนดเขา้ รบั การประเมิน) ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านมาตรฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล แสดงผลการ ดำเนินงานครอบคลมุ ประเด็นตอ่ ไปน้ี 1) สอบผา่ นการวัดมาตรฐานดา้ นเทคโนโลยดี ิจิทัล ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) ไม่มี (นกั ศกึ ษาช้นั ปีท่ี 1 ยังไมถ่ งึ กำหนดเขา้ รบั การประเมนิ ) สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านมาตรฐานด้าน เทคโนโลยีดิจิทัล มีค่าร้อยละ - ระดับคะแนน - คะแนน (หมายเหตุ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ยังไม่ถึง กำหนดเขา้ รับการประเมนิ ) ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ร้อยละของบณั ฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรอื ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี แสดงผลการดำเนินงานครอบคลุมประเด็นต่อไปน้ี 1) เก็บข้อมูลจากบัณฑิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ที่ได้งานทำ ประกอบอาชีพสว่ นตวั และผู้ทเ่ี ปลี่ยนงานใหมห่ รือไดร้ ับ การเลอ่ื นตำแหนง่ ภายใน 1 ปี ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) ไมม่ ี (นกั ศึกษาชน้ั ปที ี่ 1 ยงั ไม่ถงึ กำหนดเข้ารบั การประเมนิ )

12 สรุปผลการประเมนิ ตนเองตวั บง่ ชี้ท่ี 2.5 รอ้ ยละของบณั ฑิตปรญิ ญาตรที ไ่ี ด้งานทำหรอื ประกอบ อาชพี อิสระภายใน 1 ปี มีมคี ่ารอ้ ยละ - ระดับคะแนน - คะแนน (หมายเหตุ นักศึกษาชนั้ ปีท่ี 1 ยังไม่ ถึงกำหนดเขา้ รบั การประเมนิ ) องคป์ ระกอบท่ี 3 นักศึกษา ผลการดำเนนิ การ คะแนน (0-5) เกณฑก์ ารประเมนิ 3 3.1 การรับนกั ศกึ ษา 3.2 การส่งเสรมิ และพฒั นานกั ศึกษา 2 3.3 ผลท่ีเกิดกบั นกั ศึกษา 3 สรุปผลการประเมิน 2.67 องคป์ ระกอบท่ี 3 นักศกึ ษา น้ัน ความสำเร็จของการจัดการศึกษาขึน้ อยกู่ ับปัจจัยสำคัญปัจจัย หนึ่ง คือ นักศึกษา ระบบประกัน คุณภาพการศึกษา ต้องให้ความสำคัญกับการรับหรือคัดเลือก นักศึกษาเข้าศกึ ษาในหลกั สูตร ซึ่งต้องเป็น ระบบที่สามารถคัดเลือกนักศึกษาที่มีคณุ สมบตั ิและความ พร้อมในการเรียนในหลักสูตรจนสำเร็จการศึกษา และการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มีความพร้อม ทางการเรียน และมีกิจกรรมการพัฒนาในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้นกั ศึกษามีความรู้ความสามารถตาม หลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรใน องค์ประกอบด้านนักศึกษา เริ่มดำเนินการตั้งแต่ ระบบการรับนักศึกษา การส่งเสริมและพัฒนา นักศึกษา และผลลัพธท์ เี่ กิดขึน้ กับนักศึกษา ตวั บ่งชี้ท่ี 3.1 การรบั นักศกึ ษา แสดงผลการดำเนนิ งานครอบคลุมประเดน็ ต่อไปน้ี 1) การรับนักศึกษา สัดส่วนการรบั และกระบวนการรบั 2) การเตรียมความพรอ้ มก่อนเข้าศึกษา ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) ประกาศสถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก เรอื่ งการรับสมัครเขา้ เป็นนักศึกษา 2) ประกาศรายช่อื นกั ศึกษาปรญิ ญาตรี 3) ป้ายประชาสัมพนั ธก์ ารรับสมคั รเรียน 4) คมู่ ือนักศกึ ษา สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ตวั บง่ ชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา มีการดำเนนิ การได้แก่ 1) มรี ะบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนนิ งาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มี การปรับปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมิน ผลการประเมนิ อยู่ในระดับคะแนน 3 คะแนน

13 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา แสดงผลการดำเนินงานครอบคลุมประเด็น ตอ่ ไปนี้ 1) การควบคุมการดูแลการใหค้ ำปรึกษาวชิ าการ และ แนะแนวแก่นกั ศึกษาปริญญาตรี 2) การพฒั นาศักยภาพนักศกึ ษาและการเสริมสรา้ งทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 3) การควบคุมดูแลในการจัดทำโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (สัดส่วนในการควบคุม อาจารยต์ อ่ นกั ศึกษาไม่ควร เกนิ 1 : 15) ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) กระบวนการควบคุมและการใหค้ ำปรกึ ษาวิชาการ 2) กระบวนการพฒั นาศกั ยภาพของนกั ศกึ ษาและการเสรมิ สร้างทกั ษะการเรียนรู้ 3) สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน 3) มีการประเมนิ กระบวนการ ผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั คะแนน 2 คะแนน ตวั บ่งช้ที ี่ 3.3 ผลทเ่ี กิดกับนกั ศึกษา แสดงผลการดำเนินงานครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) การคงอยู่ (ยกเวน้ เสยี ชวี ิตและยา้ ยที่ทำงาน 2) การสำเร็จการศึกษา *ใชข้ ้อมลู 3 ร่นุ ต่อเนื่อง 3) ความพงึ พอใจ และผลการจดั การข้อร้องเรียนของนักศกึ ษา ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) จำนวนนักศึกษา 2) รายงานความพึงพอใจของนักศกึ ษาทม่ี ตี ่อหลักสูตร 3) สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ตัวบง่ ช้ที ่ี 3.3 ผลท่เี กดิ กบั นกั ศกึ ษา มีการดำเนนิ การได้แก่ 1) มี การรายงานผลการดำเนินการครบทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งช้ี 2) มีการรายงานผลการ ดำเนินการครบทกุ เรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ 4) มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในบางเรื่อง ผลการประเมินอยใู่ นระดบั คะแนน 3 คะแนน

14 องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดำเนินการ รอ้ ยละ คะแนน 4.1 การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ (ไมม่ )ี 3 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 00 4.2.1 มคี า่ รอ้ ยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตรที่มีประสบการณ์ 0 0 ดา้ นปฏิบัติการในสถานประกอบการ 4.2.2 รอ้ ยละผลงานทางวชิ าการของอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตร 00 4.3 ผลท่เี กิดกบั อาจารย์ (ไม่มี) 3 สรปุ ผลการประเมิน 2 องคป์ ระกอบท่ี 4 อาจารย์ เป็นปจั จยั ปอ้ นที่สำคัญของการผลติ บัณฑติ สถาบันการอาชีวศึกษา ต้องมีการออกแบบระบบการบริหารและพัฒนาอาจารย์ เพื่อให้ได้อาจารย์ที่มีคุณภาพเหมาะสม มี คณุ สมบัตสิ อดคลอ้ งกับสภาพบริบทปรัชญา วสิ ัยทศั น์ของสถาบันและของหลักสูตร องคป์ ระกอบด้าน อาจารย์เริ่มดำเนินการตั้งแต่การบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ และผลลัพธ์ที่เกิดกับ อาจารย์มผี ลการประเมินดังน้ี ตัวบ่งชี้ท่ี 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ เป็นการรายงานการดำเนินงาน อธิบาย กระบวนการหรอื แสดงผลการดำเนนิ งานอย่าง นอ้ ยใหค้ รอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ 1) ระบบการรบั และแต่งตงั้ อาจารย์ประจำหลักสูตร 2) ระบบการบริหารอาจารย์ 3) ระบบการสง่ เสริมและพฒั นาอาจารย์ ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) คำสัง่ แตง่ ต้ังอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำหลกั สูตร 2) คำสง่ั แต่งตง้ั อาจารยพ์ ิเศษ 3) ตารางสอน 4) รายงานโครงการตา่ ง ๆ ในการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ สรุปผลการประเมินตนเอง ตวั บง่ ชี้ท่ี 4.1 การบริหารและพฒั นาอาจารย์ มีการดำเนินการ ไดแ้ ก่ ไดแ้ ก่ 1) มรี ะบบ กลไก 2) มีการนำระบบกลไกไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ/ดำเนนิ งาน 3) มกี าร ประเมิน กระบวนการ 4) มีการปรบั ปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมิน ผลการประเมิน อยู่ในระดบั คะแนน 3 คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ มีการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ต้องทำให้อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณสมบัติที่เหมาะสมและ เพียงพอ โดยทำให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมี ความรู้ ความเชี่ยวชาญทางสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการในสถาน

15 ประกอบการที่เหมาะสมกับการผลิตบัณฑิตอนั สะท้อนจาก วุฒิการศึกษา ตำแหน่งทางวิชาการ และ ความกา้ วหน้าในการผลิตผลงานทางวิชาการอยา่ งต่อเนอื่ ง ครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปนี้ 1) ประสบการณด์ า้ นปฏิบัติการในสถานประกอบการ ของอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร 2) ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) - 2) - สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ตัวบ่งช้ีท่ี 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ มีผลการประเมนิ ตามประเด็น ในการพจิ ารณาตวั บ่งช้ีนี้ 4.2.1 ค่าร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการใน สถานประกอบการ ร้อยละ 0 ผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั คะแนน 0 คะแนน 4.2.2 ค่าร้อยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร รอ้ ยละ 0 ผลการ ประเมนิ อยู่ในระดบั คะแนน 0 คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ ต้องนำไปสู่การมีอัตรากำลังอาจารย์ที่มีจำนวน เหมาะสมกับจำนวนนักศึกษาที่รับเข้าศึกษาในหลักสูตร อัตราคงอยู่ของอาจารย์สูง และอาจารย์มี ความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตร ในการรายงานการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ โดยอธิบาย กระบวนการหรอื แสดงผลการดำเนนิ งาน ครอบคลมุ ประเด็นตอ่ ไปนี้ 1) การคงอย่ขู องอาจารย์ 2) ความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจของอาจารย์ ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) การคงอยขู่ องอาจารย์ 2) แบบสรปุ ความพึงพอใจของอาจารยต์ ่อการบรหิ ารจัดการหลกั สูตร 3) ขอ้ เสนอแนะของอาจารย์ต่อการบริหารจดั การหลักสูตร สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ มีการดำเนินการได้แก่ 1) มีการรายงานผลการดำเนินการครบทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ 2) มีแนวโน้มผลการ ดำเนนิ งานท่ีดีขึน้ ในบางเร่ือง ผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั คะแนน 3 คะแนน

16 องค์ประกอบท่ี 5 หลักสูตร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผเู้ รียน ผลการดำเนินการ รอ้ ยละ คะแนน เกณฑ์การประเมนิ (ไม่มี) 2 (ไมม่ ี) 2 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สูตร (ไมม่ ี) 2 5.2 การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 44.44 0 5.3 การประเมนิ ผูเ้ รยี น 5.4 ผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษา 1.50 แหง่ ชาติ สรุปผลการประเมิน องค์ประกอบที่ 5 นน้ั คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รควรมบี ทบาทหนา้ ที่ในการบริหารจัดการ 3 ดา้ นที่สำคัญ คอื (1) สาระของ รายวิชาในหลกั สูตร (2) การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรียน การสอน (3) การประเมินผู้เรียน ระบบ ประกันคุณภาพในการดำเนินการหลักสูตรประกอบด้วย หลกั สูตร การเรยี นการสอน และการประเมนิ ผ้เู รยี น เพ่ือใหส้ อดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิตามท่ี คณะกรรมการมาตรฐานอุดมศึกษา และประกาศ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง เกณฑ์ มาตรฐานคณุ วุฒอิ าชีวศกึ ษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบตั ิการ พ.ศ.2562 กำหนด ตัวบ่งชี้ในการประเมินต้องให้ความสำคัญกับการกำหนดรายวิชา ที่มีเนื้อหาที่ทันสมัยตอบสนอง ความกา้ วหน้าทางอตุ สาหกรรมทันความก้าวหน้าทางวทิ ยาการที่เปลีย่ นแปลง ตลอดเวลา รวมทั้งการ วางระบบผสู้ อนและอาจารยท์ ่ีปรึกษาซงึ่ ต้องเปน็ บคุ คลท่มี ีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์และมี คุณสมบัติเหมาะสมในการพัฒนานักศึกษาให้เต็มศักยภาพ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เน้น นักศกึ ษาเป็นสำคัญ และส่งเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ตัวบง่ ช้ีท่ี 5.1 สาระของรายวชิ าในหลกั สตู ร ครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลกั สูตร 2) การปรบั ปรงุ หลกั สูตรให้ทันสมยั ตามความก้าวหน้าในศาสตรส์ าขานน้ั ๆ ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) เลม่ หลกั สตู รเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวชี้วัดที่ 5.1 ผลที่เกิดกับอาจารย์ มีการดำเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน 3) มีการประเมิน กระบวนการ ผลการประเมนิ อยู่ในระดับคะแนน 2 คะแนน ตัวบ่งช้ีที่ 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน ครอบคลุม ประเดน็ ต่อไปนี้

17 1) การกำหนดผู้สอน 2) การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ แผนการฝึก และการ จัดการเรยี นการสอนทั้งในสถานศึกษา และสถานประกอบการ 3) การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัตกิ ารตอ้ ง ดำเนนิ การ 5 ประเด็น 4) การควบคุมหัวข้อโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพและการแต่งตัง้ อาจารย์ที่ปรึกษาให้ สอดคลอ้ งกับโครงงานของผู้เรียน ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) รายช่อื อาจารย์ผสู้ อน อาจารยพ์ ิเศษ 2) แผนการศึกษา 3) แผนการเรียน 4) ตารางสอน 5) สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวชี้วัดที่ 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการ เรียนการสอน มีการดำเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ ดำเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ ผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั คะแนน 2 คะแนน ตวั บง่ ช้ีที่ 5.3 การประเมินผูเ้ รยี น ครอบคลมุ ประเด็นตอ่ ไปน้ี 1) การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและ ทกั ษะปฏบิ ตั งิ าน การประเมินมาตรฐานวชิ าชพี และการประเมินสมทิ ธิภาพทางภาษาองั กฤษ 2) การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรขู้ องนักศึกษา 3) การกำกับการประเมนิ การจดั การเรียนการสอนและประเมินหลกั สตู ร ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) แบบบนั ทึกผลการเรียน และประเมินผล 2) 3) สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ตวั ชวี้ ัดที่ 5.3 การประเมนิ ผูเ้ รยี น มกี ารดำเนนิ การไดแ้ ก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสูก่ ารปฏิบตั ิ/ดำเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ ผลการประเมินอยู่ในระดับคะแนน 2 คะแนน ตัวบ่งช้ีที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ครอบคลุมประเด็นต่อไปน้ี

18 1) ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้การดำเนินงานตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศกึ ษาทป่ี รากฏในเอกสาร หลักสตู รฉบับทจ่ี ัดการเรยี นการสอนในขณะนัน้ (คอศ.1) หมวดที่ 7 รายละเอียดดงั น้ี ผลการดำเนินการบรรลุตามเป้าหมาย ตวั บ่งชที้ ั้งหมดอย่ใู นเกณฑ์ดตี ่อเน่ือง 2 ปีการศึกษา เพื่อติดตามการดำเนินการตาม TQF ต่อไป ทั้งนีเ้ กณฑ์การประเมินผ่าน คือ มีการดำเนนิ งานตามขอ้ 1-5 และอยา่ งน้อยร้อยละ 80 ของตัวบง่ ช้ผี ลการดำเนินงานที่ระบุไวใ้ นแต่ละปี ดชั นบี ่งชผ้ี ลการดาเนินงาน ปที ่ี ปที ี่ ปีที่ ปที ่ี ปที ่ี 12345 (1) อาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสูตร อย่างน้อยร้อยละ มสี ว่ นรว่ มในการ 80  ประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนนิ งานหลักสตู ร (2) มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ คอศ.2 (มคอ.2) ท่ีสอดคลอ้ งกบั กรอบมาตรฐานคุณวุฒแิ หง่ ชาติ หรือมาตรฐานคุณวฒุ สิ าขา/สาขาวิชา  (ถ้าม)ี (3) มีรายละเอยี ดของรายวชิ าในสถานศึกษา และรายละเอียดของรายวิชา ในสถานประกอบการ ตามแบบ คอศ.2 และ คอศ.3 อย่างนอ้ ยกอ่ น  การเปิดสอนในแต่ละภาคการศกึ ษาใหค้ รบทุกรายวิชา (4) จดั ทารายงานผลการดาเนินการของรายวชิ าในสถานศึกษา และ รายงานผลการดาเนินการของรายวิชาในสถานประกอบการ ตามแบบ คอศ.4 และคอศ.5 ภายใน 30 วนั หลังส้นิ สุดภาคการศกึ ษาทเี่ ปิดสอน  ให้ครบทกุ รายวิชา (5) จัดทารายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ตามแบบ คอศ. 6  ภายใน 60 วัน หลังส้นิ สดุ ปกี ารศึกษา (6) มีการทวนสอบผลสมั ฤทธ์ขิ องนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนร้ทู ี่ กาหนดในแบบ คอศ. 2 และ คอศ 3 อยา่ งน้อยร้อยละ 25 ของ  รายวชิ าท่เี ปิดสอนในแต่ละปีการศกึ ษา (7) มกี ารพฒั นา/ปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอน กลยทุ ธก์ ารสอน หรือ การประเมนิ ผลการเรียนรู้จากผลการประเมิน การดาเนินงาน ทีร่ ายงานในแบบ คอศ.6 หรอื มคอ.7 ปีท่ีแลว้ (8) อาจารย์ใหม่ (ถ้าม)ี ทุกคน ไดร้ ับการปฐมนิเทศหรอื คาแนะนา 

19 ดัชนบี ่งชผี้ ลการดาเนนิ งาน ปที ่ี ปีท่ี ปีท่ี ปที ี่ ปีที่ 12345 ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน (9) อาจารย์ประจาหลกั สูตรทุกคนได้รบั การพฒั นาทางวชิ าการและ/หรอื   วิชาชพี อย่างน้อยปีละหน่งึ คร้ัง (10) จานวนบุคลากรสนับสนนุ การเรียนการสอน (ถ้าม)ี ไดร้ บั การพัฒนา วิชาการ และ/หรือวชิ าชีพ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 50 ตอ่ ปี (11) ระดับความพงึ พอใจของนักศึกษาปสี ุดท้าย/บณั ฑติ ใหม่ทม่ี ตี อ่ คุณภาพหลกั สตู ร เฉลยี่ ไม่น้อยกวา่ 3.5 จากคะแนน 5.0 (12) ระดบั ความพึงพอใจของผใู้ ช้บัณฑติ ท่ีมตี อ่ บัณฑิตใหมเ่ ฉลยี่ ไมน่ ้อย กวา่ 3.5 จากคะแนนเตม็ 5.0 (13) นกั ศึกษามีงานทาภายใน 1 ปี หลังจากสาเรจ็ การศกึ ษา ไมต่ ่ากว่า ร้อยละ 80 ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) การประชมุ วางแผนเตรียมการสอน ปีการศึกษา 2563 2) เลม่ คอศ.1 3) การประชมุ วางแผนเตรยี มการสอน ปีการศึกษา 2563 4) การอบรมประจำปกี ารศกึ ษา 2563 สรุปผลการประเมินตนเอง ตวั ชว้ี ดั ท่ี 5.4 ผลการดำเนินงานหลกั สตู รตามกรอบ มาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มีการดำเนินการได้แก่ ร้อยละ 44.44 ของตัวบ่งชี้ผลการ ดำเนินงานทร่ี ะบไุ วใ้ นแต่ละปี มคี ่าคะแนนเท่ากับ 0 คะแนน

20 6. สงิ่ สนบั สนุนการเรยี นรู้ ตัวบง่ ช้ีท่ี 6.1 สงิ่ สนับสนนุ การเรยี นรู้ ครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปน้ี 1) ระบบการดำเนนิ งานของ หลักสูตรกับสถานประกอบการโดย มีส่วนร่วมของอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนนุ การเรียนรู้ 2)จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ท่ีเพยี งพอและ เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน 3) สถานประกอบการ 4)กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมิน ความพึงพอใจของนักศึกษาและ อาจารยต์ ่อสิง่ สนบั สนนุ การเรียนรู้ องคป์ ระกอบที่ 6 ส่งิ สนับสนุนการเรยี นรู้ ผลการดำเนินการ คะแนน (0-5) เกณฑก์ ารประเมนิ 6.1 สิ่งสนบั สนุนการเรียนรู้ 3 ตวั บง่ ช้ีท่ี 6.1 ส่งิ สนับสนนุ การเรียนรู้ ครอบคลุมประเดน็ ต่อไปนี้ 1) ระบบการดำเนินงานของหลักสูตรกับสถานประกอบการโดย มีส่วนร่วมของอาจารย์ ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตรเพ่ือให้มสี ง่ิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ 2)จำนวนสง่ิ สนับสนุนการเรยี นรู้ท่เี พียงพอและ เหมาะสมต่อการจดั การเรียนการสอน 3) สถานประกอบการ 4)กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมิน ความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อ สง่ิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) การดำเนนิ งานของหลักสตู ร 2) ส่งิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ หอ้ งเรียน อาคารเรียน 3) บันทึกความรว่ มมือกับสถานประกอบการ 4) สรปุ ความพึงพอใจของนกั ศึกษา และอาจารยต์ อ่ สงิ่ สนับสนุนการเรยี นรู้ สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ตวั บง่ ชีท้ ี่ 6.1 การประเมินผเู้ รียน มกี ารดำเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏบิ ัติ/ดำเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน ผลการประเมินอยู่ในระดับคะแนน 3 คะแนน

21 สว่ นที่ 3 สรุปผลการประเมิน ตารางแสดงผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบและตวั บง่ ช้ี องค์ประกอบในการ ตวั บ่งช้ี ผลการ ประกันคุณภาพหลกั สตู ร ประเมิน 1. การกำกับมาตรฐาน 1.1 การบริหารจัดการหลกั สูตรตามประกาศกระทรวง ผา่ น ศกึ ษาธกิ าร เร่ืองเกณฑ์มาตรฐานหลักสตู ร ระดบั ปริญญา - - ตรี พ.ศ. 2558 - - 1.1.1 จำนวนอาจารย์ผ้รู ับผดิ ชอบหลกั สตู ร - 3 1.1.2 คุณสมบัตอิ าจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร 2 3 1.1.3 คุณสมบัตอิ าจารย์ประจำหลกั สตู ร 3 0 1.1.4 คุณสมบัตอิ าจารย์ผสู้ อน 0 0 1.1.5 การปรบั ปรุงหลักสูตรตามระยะเวลาทีก่ ำหนด 3 2. บณั ฑิต 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับ อุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ 2.2 รอ้ ยละของนกั ศกึ ษาที่สอบผ่านมาตรฐานวชิ าชพี ใน ครั้งแรก 2.3 รอ้ ยละของนักศึกษาทส่ี อบผ่านสมทิ ธภิ าพทางภาษา อังกฤษ ระดบั B2 หรือเทยี บเทา่ 2.4 รอ้ ยละของนักศกึ ษาที่สอบผ่านมาตรฐานด้านเทคโน โลยีดิจิทัล 2.5 รอ้ ยละของบณั ฑติ ปรญิ ญาตรีที่ได้งานทำหรือ ประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปี 3. นักศกึ ษา 3.1 การรับนักศึกษา 3.2 การสง่ เสริมและพฒั นานักศกึ ษา 3.3 ผลที่เกิดกบั นกั ศกึ ษา 4. อาจารย์ 4.1 การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.2.1 รอ้ ยละของอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู รท่มี ี ประสบการณ์ด้านปฏิบัตกิ ารในสถานประกอบการ 4.2.2 ร้อยละผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผู้รบั ผิด ชอบหลักสตู ร 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์

22 องคป์ ระกอบในการ ตัวบง่ ช้ี ผลการ ประกนั คุณภาพหลักสูตร ประเมิน 5. หลกั สตู ร การเรยี นการ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 2 สอน การประเมนิ ผูเ้ รยี น 5.2 การวางระบบผ้สู อน และกระบวนการจดั การเรียน 2 การสอน 5.3 การประเมนิ ผู้เรยี น 2 5.4 ผลการดำเนนิ งานหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐาน 0 คณุ วุฒิระดับอุดมศึกษา 6. ส่ิงสนบั สนุนการเรียนรู้ 6.1 ส่ิงสนับสนุนการเรียน 3 คะแนนรวม 23 คะแนนรวมเฉลีย่ 2.09

23 สว่ นที่ 4 ตารางการวิเคราะห์คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร ตารางวเิ คราะห์คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั หลักสตู ร องค์ คะแนนผ่าน จำนวน IP O คะแนน ผลการประเมิน ประกอบที่ ตวั บ่งชี้ เฉลย่ี 0.01-2.00 ระดับคุณภาพ นอ้ ย ผ่านการประเมนิ 2.1,2.2, 2.01-3.00 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง 1 5 -- 2.3,2.4, - 3.01-4.00 ระดบั คณุ ภาพ ดี 2 คะแนน 4.01-5.00 ระดับคุณภาพ ดมี าก 3 3.1,3.2 2.5 2.67 เฉลยี่ ของทกุ 3 4.2 4.1 3.3 2.00 หลักสตู รไดม้ าตรฐาน ตวั บง่ ชใ้ี น 4 4.3 1.50 - 3 องค์ 1 5.1,5.2, 5.4 3.00 4 ประกอบท่ี 16 5.3 2.09 ปานกลาง 6.1 8 นอ้ ย 2-6 5 17 นอ้ ย 23 / 11 6 ปานกลาง รวม ปานกลาง ผลการประเมิน

24 สว่ นท่ี 5 รายงานผลการวิเคราะห์จดุ เดน่ และจดุ ทีค่ วรพฒั นา รายงานผลการวเิ คราะหจ์ ดุ เด่นและจุดทค่ี วรพฒั นา องค์ประกอบท่ี 2-6 จดุ เดน่ 1. ด้านอาจารยผ์ ้ทู ำหนา้ ทส่ี อนประจำวชิ าเปน็ ผทู้ รงคณุ วุฒิ มคี วามร้คู วามสามารถ ความเช่ียวชาญตรงตาม รายวชิ าท่ีทำการสอน 2. ดา้ นหลกั สูตรเปน็ หลักสูตรที่เปิดใหม่ เพื่อรองรบั กลมุ่ อุตสาหกรรมดิจิทลั ในเขต EEC จดุ ทค่ี วรพฒั นา 1. ดา้ นนกั ศกึ ษา ในการสง่ เสรมิ และพัฒนานักศึกษา นั้นควรมีการประเมินการบวนการ และนำผลการ ประเมินไปใช้ในการปรบั ปรงุ วธิ กี ารทำงานในคร้ังตอ่ ๆ ไป 2. ดา้ นอาจารย์ ในส่วนของการสง่ เสริมคุณภาพของอาจารย์ ในครง้ั ต่อไปควรส่งเสรมิ ให้อาจารย์เข้ารบั การฝกึ ประสบการณ์ในสถานประกอบการ 3. ด้านอาจารย์ ในสว่ นของการสง่ เสริมคณุ ภาพของอาจารย์ จะต้องมกี ารสนบั สนนุ ใหอ้ าจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบ หลกั สตู รทำผลงานทางวิชาการ

25 ภาคผนวก

องค์ประกอ ตวั บ่งช้ที ี่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสตู รตามประกาศกระท ๑. จำนวนอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร / อาจารย์ประจำหลกั สูตร ท่ี ชอ่ื -สกุล ชอื่ ปริญญาและสาขา สถาบนั ท่สี ๑ นายปรญิ ญา จำเนยี รพล วท.ม. เทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโ เกล้าเจ้าคุณท วท.บ. เทคโนโลยกี ารจัดการ สถาบนั เทคโ เกลา้ เจ้าคณุ ท

26 อบท่ี 1 การกำกบั มาตรฐาน ทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื งเกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู ร ระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 สำเรจ็ การศกึ ษา ผลงานทางวิชาการและการเผยแพร่ ประสบการณใ์ นดา้ นการปฏิบัตกิ าร ในสถานประกอบการ โนโลยพี ระจอม ปริญญา จำเนยี รพล ประทปี ผลจันทรง์ าม ทหารลาดกระบงั พัณณช์ ติ า คำมะฤทธิ์ และอนริ ตุ ต์ บัวระพา, (ชือ่ สถานประกอบการ/ระยะเวลา) โนโลยพี ระจอม (2562) “การพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ ทหารลาดกระบงั เรียนรู้โดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศใน - สถานศกึ ษา สังกัดสถาบนั การอาชวี ศึกษา” การประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรม อาชวี ศึกษา ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 3 (The 3rd National Conference On Vocational Education Innovation and Technology) 27 – 28 กมุ ภาพันธ์ 2562, โรงแรม โกลเดน้ ซติ ้ี ระยอง จงั หวัดระยอง, หนา้ 390-399, สืบค้นจาก http://www.eivt.ac.th/?page_id=2346

ที่ ชอ่ื -สกลุ ชอื่ ปรญิ ญาและสาขา สถาบันที่ส ๒ นายประทีป ผลจันทร์งาม ปร.ด. บริหารอาชีวะและเทคนิค จุฬาลงกรณ์ม ศึกษา (แขนงวิจัยและพัฒนา หลกั สตู ร) มหาวิทยาลยั กศ.ม. บรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลัย วท.ม. เทคโนโลยอี ินเทอร์เนต็ และ มหาวทิ ยาลัย สารสนเทศ สถาบันเทคโ กศ.ม. เทคโนโลยีทางการศกึ ษา ปท.ส. ไฟฟ้าสื่อสาร

27 สำเร็จการศกึ ษา ผลงานทางวชิ าการและการเผยแพร่ ประสบการณ์ในดา้ นการปฏบิ ัติการ ในสถานประกอบการ มหาวิทยาลยั ปรญิ ญา จำเนยี รพล ประทปี ผลจนั ทร์งาม พณั ณช์ ติ า คำมะฤทธิ์ และอนิรุตต์ บัวระพา, (ชอื่ สถานประกอบการ/ระยะเวลา) ยกรุงเทพธนบรุ ี (2562) “การพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ ยนเรศวร เรยี นร้โู ดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน - สถานศึกษา สงั กัดสถาบันการอาชวี ศกึ ษา” ยบรู พา การประชุมวชิ าการเทคโนโลยีและนวตั กรรม โนโลยปี ทมุ วนั อาชีวศึกษา ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 3 (The 3rd National Conference On Vocational Education Innovation and Technology) 27 – 28 กมุ ภาพันธ์ 2562, โรงแรม โกลเด้น ซติ ้ี ระยอง จงั หวัดระยอง, หนา้ 390-399, สบื คน้ จาก http://www.eivt.ac.th/?page_id=2346

ที่ ชอ่ื -สกุล ชื่อปรญิ ญาและสาขา สถาบนั ท่ีส ๓ นางศลษิ า หนูเสมยี น วท.ม. เทคโนโลยสี ารสนเทศ ปท.ส. คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ มหาวทิ ยาลัย จอมเกล้าพร วิทยาลยั พณ

28 ประสบการณใ์ นด้านการปฏบิ ตั ิการ สำเร็จการศกึ ษา ผลงานทางวิชาการและการเผยแพร่ ในสถานประกอบการ ยเทคโนโลยพี ระ (ช่ือสถานประกอบการ/ระยะเวลา) ระนครเหนือ ณิชยการธนบุรี คมสรรค์ ภทู อง วรกจิ วิรยิ ะเกษามงคล สุ - ปรยี า รตั นวทิ ยาพนั ธ์ุ และศลษิ า หนเู สมียน, (2562) “การศึกษารปู แบบการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน กรณศี กึ ษา ประเภทวชิ าเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สาร สงั กดั สถาบนั การ อาชวี ศึกษา” การประชมุ วิชาการเทคโนโลยี และนวตั กรรมอาชวี ศึกษา ระดับชาติ คร้งั ที่ 3 (The 3rd National Conference On Vocational Education Innovation and Technology) 27 – 28 กุมภาพันธ์ 2562, โรงแรมโกลเดน้ ซิต้ี ระยอง จังหวัดระยอง, หน้า 400 - 408, สืบค้นจาก http://www.eivt.ac.th/?page_id=2346

ที่ ชอ่ื -สกลุ ช่อื ปริญญาและสาขา สถาบนั ทส่ี ๔ นางสาวพัณณ์ชติ า คำมะ วท.ม. การศึกษาวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโ เกลา้ เจา้ คณุ ท ฤทธิ์สินชัย (คอมพิวเตอร)์ มหาวทิ ยาลัย นครินทร์ ค.บ. คอมพวิ เตอร์ศกึ ษา

29 สำเร็จการศกึ ษา ผลงานทางวิชาการและการเผยแพร่ ประสบการณใ์ นดา้ นการปฏิบตั กิ าร ในสถานประกอบการ โนโลยีพระจอม ปริญญา จำเนียรพล ประทีป ผลจนั ทรง์ าม ทหารลาดกระบงั พณั ณ์ชติ า คำมะฤทธ์ิ และอนริ ตุ ต์ บัวระพา, (ช่ือสถานประกอบการ/ระยะเวลา) ยราชภัฏราช (2562) “การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ เรยี นร้โู ดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศใน - สถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชวี ศึกษา” การประชุมวชิ าการเทคโนโลยีและนวัตกรรม อาชวี ศึกษา ระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 3 (The 3rd National Conference On Vocational Education Innovation and Technology) 27 – 28 กุมภาพันธ์ 2562, โรงแรม โกลเด้น ซติ ้ี ระยอง จงั หวัดระยอง, หนา้ 390-399, สบื คน้ จาก http://www.eivt.ac.th/?page_id=2346

ที่ ชอ่ื -สกลุ ช่ือปริญญาและสาขา สถาบันทีส่ ๕ นายอนิรตุ ต์ บัวระพา วท.ม. การศึกษาวทิ ยาศาสตร์ สถาบนั เทคโ (คอมพวิ เตอร์) เกลา้ เจา้ คณุ ท ค.อ.บ. คอมพวิ เตอร์ สถาบนั เทคโ เกล้าเจา้ คณุ ท

30 สำเรจ็ การศึกษา ผลงานทางวชิ าการและการเผยแพร่ ประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ ในสถานประกอบการ โนโลยพี ระจอม ปรญิ ญา จำเนียรพล ประทีป ผลจันทรง์ าม ทหารลาดกระบงั พณั ณช์ ติ า คำมะฤทธิ์ และอนิรุตต์ บัวระพา, (ช่อื สถานประกอบการ/ระยะเวลา) โนโลยีพระจอม (2562) “การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ทหารลาดกระบงั เรียนรูโ้ ดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศใน - สถานศึกษา สังกดั สถาบันการอาชวี ศกึ ษา” การประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรม อาชวี ศึกษา ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 3 (The 3rd National Conference On Vocational Education Innovation and Technology) 27 – 28 กุมภาพันธ์ 2562, โรงแรม โกลเด้น ซิตี้ ระยอง จังหวดั ระยอง, หน้า 390-399, สบื ค้นจาก http://www.eivt.ac.th/?page_id=2346

๒. จำนวนอาจารย์ผู้สอน ชื่อปรญิ ญา วท.ม. เทคโนโลยสี ารสนเทศ ที่ ชอ่ื -สกลุ ๑ นายปริญญา จำเนยี รพล วท.บ. เทคโนโลยกี ารจัดการ ๒ นายประทปี ผลจันทร์งาม ปร.ด. บริหารอาชีวะและเทคนคิ ศกึ ษ 3 นางสาวปาริชาต ธนาภรณ์ กศ.ม. บริหารการศึกษา 4 นางฤชวี ฉัตรวิรยิ าวงศ์ วท.ม. เทคโนโลยีอินเทอร์เนต็ และสาร กศ.ม. เทคโนโลยีทางการศึกษา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) วิทย วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) วิทยาศา ปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ (ปร.ด.) หลกั สตู ร นิตศิ าสตรมหาบณั ฑติ ศิลปศาสตรบ์ ณั ฑิต สาขาภาษาองั กฤษ

31 าและสาขา สถาบันทีส่ ำเร็จการศึกษา ษา (แขนงวิจัยและพัฒนาหลักสตู ร) สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหาร รสนเทศ ลาดกระบัง ยาศาสตร์สง่ิ แวดลอ้ ม สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหาร าสตรท์ ่วั ไป ลาดกระบัง รและการสอน จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ษ มหาวิทยาลัยกรงุ เทพธนบุรี มหาวิทยาลยั นเรศวร มหาวทิ ยาลยั บรู พา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง

ท่ี ช่อื -สกุล ช่อื ปรญิ ญา 5 นางสาวญาธิดา แสงรตั น์ 6 นางพิมพศิ คชเวช วทิ ยาศาสตรม์ หาบณั ฑิต (วท.ม.) คณ ครุศาสตร์บัณฑติ (ค.บ.) คณติ ศาสตร 7 นายกิตติศกั ด์ิ ห่วงมิตร ปรัชญาดุษฎบี ณั ฑติ (ปร.ด.) สาขารัฐป 7 นายอทุ ยั ศรษี ะนอก รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม 8 นายฉลาด สมพงษ์ ศิลปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) สาขาบริห ครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมมหาบัณฑติ (ค ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบณั ฑิต(ค.บ) ส วท.บ. เทคโนโลยีสารสนเทศ ปทส. คอมพวิ เตอร์ การศึกษามหาบัณฑิต(กศ.ม.) ครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.)

32 าและสาขา สถาบนั ที่สำเรจ็ การศกึ ษา ณติ ศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ ร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏจันทรเกษม ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ม.) สาขาการปกครองท้องถิน่ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น หารทรัพยากรมนษุ ย์ สถาบนั ราชภฏั รำไพพรรณี ค.อ.ม) สาขาวิชาเครอ่ื งกล มหาวทิ ยาลยั พระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาอุตสาหกรรมศลิ ป์ (เครือ่ งกล) มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม วิทยาลยั อาชวี ศึกษามหาสารคาม มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม วทิ ยาลยั ครูสวนสนุ ันทา

สรุปผลก เกณฑ์การประเมิน 1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตร 2. คุณสมบตั ิอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร 3. คณุ สมบัตอิ าจารย์ประจำหลกั สตู ร 4. คณุ สมบตั ิอาจารย์ผู้สอน 5. การปรบั ปรงุ หลักสูตรตามรอบระยะเวลาทก่ี ำหน

33 การกำกับมาตรฐาน ผ่าน ไมผ่ า่ น นด ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

34 องคป์ ระกอบที่ ๓ นักศกึ ษา ตวั บ่งช้ที ่ี 3.1 การรับนกั ศกึ ษา ๑. การรบั นกั ศกึ ษา สดั สว่ นการรับ และกระบวนการรบั (เขียนบรรยายอธบิ ายข้ันตอนการดำเนนิ การ สง่ิ ที่ทำตามบริบทของแต่ละหลักสูตร) การรับนกั ศกึ ษา สัดส่วนการรบั - หลกั สตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 รับสมคั รนกั ศกึ ษา 1 กลุ่ม กล่มุ ละ 20 คน กระบวนการรับนกั ศึกษา

35 ประกาศรบั สมัครนกั ศึกษา หลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี ประจำปกี ารศึกษา 2563

36 การคัดเลือกนกั ศึกษา หลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 วนั ท่ี ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ กำหนดให้เป็นวนั คัดเลอื กนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี ทุกสาขาของสถาบัน การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก ที่จัดการเรยี นการสอน ณ วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง ดำเนินการคัดเลือก นักศึกษาโดยใช้วธิ ีการสัมภาษณ์

37 ๒. การเตรียมความพร้อมกอ่ นเข้าศึกษา (เขียนบรรยายอธบิ ายขั้นตอนการดำเนินการสง่ิ ทีท่ ำตาม บริบทของแต่ละหลักสูตร) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดด้ ำเนนิ การดังนี้ - ปฐมนิเทศนกั ศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต ประจำปีการศึกษา 2563 เพื่อทำความเข้าใจ กับรปู แบบการจดั การเรยี นการสอน วันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๓ ปฐมนิเทศนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต (ทล.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า สาขาวิชา เทคโนโลยปี โิ ตรเคมี และสาขาวชิ าเทคโนโลยพี ลงั งาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook