Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดการเรียนรู้ทางไกล ครั้งที่ 11/18 เรื่อง ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (ตอนที่ 1)

ชุดการเรียนรู้ทางไกล ครั้งที่ 11/18 เรื่อง ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (ตอนที่ 1)

Description: วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น รหัสวิชา 3000 -0203
สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ประเภทวิชา พาณิชยกรรม
หลักสูตรระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ตามหลักสูตร พุทธศักราช 2546

Search

Read the Text Version

ชุดการเรียนรู้ทางไกล คร้ังท่ี 11/18 เร่ือง ระบบปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ (ตอนที่ 1) วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้ืองตน้ รหสั วชิ า 3000 -0203 สาขาวชิ า คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ประเภทวชิ า พาณิชยกรรม หลกั สูตรระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) ตามหลกั สูตร สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พทุ ธศกั ราช 2546 เพ่ือการจดั ทาเน้ือหาและพฒั นาสื่อการสอนอาชีพและวชิ าชีพ สาหรับใส่ในระบบ eDLTV เพื่อพฒั นาอาชีพ ตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและกาลงั คนอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

สารบญั 1. รายละเอียดหลกั สูตรรายวชิ า 1 2. ใบวเิ คราะห์หวั ขอ้ เร่ือง 4 3. แผนภมู ิปะการัง 6 4. โครงการจดั การเรียนรู้ 8 5. แผนการจดั การเรียนรู้ 12 6. เน้ือหา (ใบความรู้) 19 7. ส่ือประกอบการสอน 34 8. แบบทดสอบก่อนเรียน 67 9. แบบทดสอบหลงั เรียน 70 10. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 73 11. เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 75 12. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 77 13. แบบบนั ทึกหลงั การเรียนรู้ 79

1 รายละเอียดหลกั สูตรรายวชิ า

2 ช่ือวชิ า.เทคโนโลยสี ารสนเทศเบอื้ งต้น คาอธิบายรายวชิ า รหัสวชิ า3000–0203 แผ่นท่ี 1 สาขาวชิ า คอมพิวเตอร์ธุรกิจ คาอธบิ ายรายวชิ า ( เดิม ) 1. รหสั และชื่อวชิ า 3000–0203. วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบอื้ งต้น 2. ระดับรายวชิ า ระดบั ช้นั ปวส. ปี ท่ี 1 3. เวลาศึกษา 72 ชวั่ โมงตลอด 18 สปั ดาห์ ทฤษฎี 2 ชวั่ โมง ปฏิบตั ิ 2 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์ 4. จานวนหน่วยกติ 3 หน่วยกิต 5. จุดประสงค์รายวชิ า 1. เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจพ้ืนฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการจดั การสารสนเทศ 2. เพือ่ ใหส้ ามารถประยกุ ตใ์ ชค้ อมพวิ เตอร์ในงานสารสนเทศ 3. เพือ่ ใหม้ ีกิจนิสัยในการคน้ ควา้ หาความรู้เพิม่ เติม 6. มาตรฐานรายวชิ า 1. ประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบคอมพิวเตอร์เพ่อื การจดั การสารสนเทศ 2. ประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบคอมพวิ เตอร์เครือขา่ ยเพ่ือการจดั การสารสนเทศ 3. ประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบอินเทอร์เน็ตเพอ่ื การจดั การสารสนเทศ 4. ประยกุ ตใ์ ชค้ อมพิวเตอร์สืบคน้ ขอ้ มูล สารสนเทศ เพอ่ื พฒั นางานอาชีพ 7. คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกบั พ้นื ฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศ ระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์และ ซอฟตแ์ วร์ รูปแบบขอ้ มูล อุปกรณ์รับ-ส่งขอ้ มลู การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การสืบคน้ และการจดั การขอ้ มูล โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ โปรแกรมประยกุ ตใ์ ชง้ าน ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศเพ่ือพฒั นางานอาชีพดว้ ยคอมพิวเตอร์

3 ชื่อวชิ า.เทคโนโลยสี ารสนเทศเบอื้ งต้น คาอธิบายรายวชิ า แผ่นท่ี 2 รหสั วชิ า3000–0203 สาขาวชิ า คอมพิวเตอร์ธุรกิจ คาอธิบายรายวชิ า ( เดิม ) ศึกษาและปฏิบตั ิเก่ียวกบั พ้นื ฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศ ระบบคอมพวิ เตอร์ ฮาร์ดแวร์และ ซอฟตแ์ วร์ รูปแบบขอ้ มลู อุปกรณ์รับ-ส่งขอ้ มลู การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การสืบคน้ และการจดั การขอ้ มลู โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ โปรแกรมประยกุ ตใ์ ชง้ าน ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศเพื่อพฒั นางานอาชีพดว้ ยคอมพวิ เตอร์ คาอธิบายรายวชิ า ( ปรับปรุง ) ศึกษาเกยี่ วกบั พ้นื ฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ขอ้ มลู และการจดั การฐานขอ้ มูล การส่ือสารขอ้ มลู เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยซี อฟตแ์ วร์ ระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ความรู้พ้ืนฐานของเทคโนโลยเี ครือข่าย เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต การสืบคน้ ขอ้ มลู สารสนเทศเพ่ือพฒั นางานอาชีพดว้ ยเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต ปฏิบตั เิ กยี่ วกบั งานทดสอบโปรแกรมการจดั การฐานขอ้ มูล MS-ACCESS งานประกอบ ไมโครคอมพิวเตอร์PC งานทดสอบโปรแกรม MS-Word งานทดสอบโปรแกรม MS-Power Point งานทดสอบโปรแกรม MS-Excel งานติดต้งั และทดสอบระบบปฏิบตั ิการ Linux งานติดต้งั และ ทดสอบระบบปฏิบตั ิการ Windows XP งานทดสอบระบบเครือขายวนิ โดว์ งานทดสอบสาย UTP งาน ทดสอบสอบ Switching HUB งานทดสอบระบบเครือขายอินเทอร์เน็ต งานทดสอบ IP Address งาน ทดสอบการใชง้ าน Browser งานทดสอบการใช้ e-Mail งานทดสอบการสืบคน้ มลู ผา่ นเครือขา่ ย อินเทอร์เน็ต

4 2. ใบวิเคราะห์หวั ขอ้ เร่ือง

5 ช่ือวชิ า.เทคโนโลยสี ารสนเทศเบอื้ งต้น ใบวเิ คราะห์หัวข้อเร่ือง รหสั วชิ า3000–0203 สาขาวชิ า คอมพิวเตอร์ธุรกิจ แผ่นที่ 1 แหล่งข้อมูล หัวข้อเรื่อง ( Topic ) ABCDE 1. พ้นื ฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 2. ขอ้ มูลและการจดั การฐานขอ้ มลู /// / 3. การสื่อสารขอ้ มลู 4. เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ / // // 5. เทคโนโลยซี อฟตแ์ วร์ 6. ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ / // // 7. ความรู้พ้ืนฐานของเทคโนโลยเี ครือขา่ ย 8. เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต / // // 9. การสืบคน้ ขอ้ มลู สารสนเทศเพือ่ พฒั นางานอาชีพดว้ ยเครือข่าย อินเตอร์เน็ต / // // / // // / // // / // // / // // หมายเหตุ A : คาอธิบายรายวชิ า B : ประสบการณ์ของผู้สอน C : ผู้เช่ียวชาญ D : ผู้ชานาญงาน E : เอกสาร / ตารา

6 3. แผนภมู ิปะการงั

7

8 4. โครงการจดั การเรียนรู้

9 โครงการสอนทางไกล วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้ืองตน้ รหัสวชิ า 3000–0203 สาขาวชิ า คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ หลกั สูตรระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) ตามหลกั สูตร สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พุทธศกั ราช 2546 สอนคร้ังท่ี หน่วยการ รายการสอน หมายเหตุ 1 เรียนที่ 2 1. พนื้ ฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 3 1 1.1 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 1.2 วฒั นาการเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 4 3 5 2. ข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล 3 2.1 ขอ้ มูลและสารสนเทศ 6 4 2.2 ฐานขอ้ มูลและการจดั การฐานขอ้ มูล 7 4 3. การส่ือสารข้อมูล 5 3.1 รูปแบบของการส่ือสารขอ้ มลู 3.2 ชนิดของสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์ 3.3 รหสั ท่ีใชแ้ ทนขอ้ มูลในการสื่อสาร 3.4 ระบบการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ 3.5 ทิศทางของการส่ือสารขอ้ มลู 3.6 สื่อและอุปกรณ์รับส่งขอ้ มูล 4. เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ 4.1 คอมพิวเตอร์และฮาร์ดแวร์ 4.2 องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 4.3 ประเภทของคอมพิวเตอร์ 4.4 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ส่วนบุคคล 4.5 แนะนาการเลือกซ้ืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 4.6 คอมพวิ เตอร์กบั เครือขา่ ย 5. ซอฟต์แวร์คอมพวิ เตอร์ 5.1 ซอฟตแ์ วร์คอมพิวเตอร์ 5.2 ภาษาคอมพวิ เตอร์ 5.3 แนวทางการพฒั นาซอฟตแ์ วร์

10 สอนคร้ังที่ หน่วยการ รายการสอน หมายเหตุ 8 เรียนที่ 9 5.4 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ 10 5 (การใชง้ านโปรแกรม MS Word) 11 5 5.4 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ 12 5 (การใชง้ านโปรแกรม MS Power Point ) 13 6 5.4 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ (การใชง้ านโปรแกรมไมโครซอฟท์ MS Excel ) 14 6 6. ระบบปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ 6 6.1 ระบบปฏิบตั ิการ 15 7 6.2 ระบบปฏิบตั ิการ UNIX และ Linux 6.3 ระบบปฏิบตั ิการวนิ โดว์ 7 6.4 ระบบปฏิบตั ิ Windows mobile 8 7. ความรู้พนื้ ฐานของเทคโนโลยเี ครือข่าย 7.1 เป้ าหมายของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 7.2 ประเภทระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 7.3 ระบบเครือขา่ ยLAN (Local Area Network) 7.4 สื่อท่ีใชใ้ นการส่งขอ้ มลู 7.5 อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเช่ือมต่อบนระบบเครือข่าย 7.6 วธิ ีควบคุมการเขา้ ใชง้ านส่ือกลาง (Media Access Control (MAC) Method) 7.7 มาตรฐานระบบเครือข่ายแบบ LAN ชนิดต่างๆ 7.8 โปรโตคอลของระบบเครือข่าย (Network Protocol) 8. เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อนิ เตอร์เน็ต 8.1 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต 8.2 การบริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 8.3 โพรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) 8.4 ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System)

11 สอนคร้ังท่ี หน่วยการ รายการสอน หมายเหตุ 16 เรียนท่ี 8.5 การเช่ือมต่อเขา้ กบั อินเตอร์เน็ต 17 8 8.6 การใชง้ านและบริการตา่ งๆ บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตControl (MAC) Method) 9 8.7 การประยกุ ตใ์ ชอ้ ินเตอร์เน็ต 8.8 เครือขา่ ยอินทราเน็ต 9. การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศเพอ่ื พฒั นางานอาชีพด้วย เครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.1 การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต 9.2 เทคนิคการสืบคน้ ขอ้ มูล 18 9 9.3 เวบ็ ไซตท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งเพ่อื ประโยชน์ในการศึกษา

12 5. แผนการจดั การเรียนรู้

13 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังท่ี 11 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้ืองตน้ หน่วยท่ี 5 ช่ือหน่วย ระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. ช่ือเรื่อง ระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ตอนท่ี 1 จานวน 2 ช่ัวโมง 1.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายหน้าทข่ี องระบบปฎบิ ตั กิ าร ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 2. อธบิ ายองคป์ ระกอบระบบปฏิบตั ิการ UNIX และ Linux ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 3. ทดสอบการใชง้ านระบบปฏิบตั ิการ UNIX และ Linux ไดต้ ามทก่ี าหนดให้ 2. หัวข้อสาระการเรียนรู้ 1. ระบบปฏิบตั ิการ 2. ระบบปฏิบตั ิการ UNIX และ Linux 3. สาระสาคญั การเรียนรู้ ระบบปฏบิ ตั ิการเป็นโปรแกรม (Software) ทาหน้าท่ี ควบคุมการทางานของเคร่อื ง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ท่ตี ่อพ่วงกับเคร่อื งคอมพิวเตอร์ ซ่งึ ระบบปฏิบตั ิการทาหน้าท่ีเป็น ตัวกลางในการติดต่อกับฮาร์ดแวร์ของเคร่ืองโดยตรงและโปรแกรมการใช้งานต่าง ๆ บน ระบบปฏบิ ตั ิการเพ่อื เช่อื มต่อกบั ผู้ใชง้ าน ซ่งึ โปรแกรมระบบปฏบิ ตั กิ ารท่ใี ช้งานในปจั จุบนั มามี หลายบริษัทท่ีผลิตข้ึนมาเพ่ือแข่งขันกันมากมาย ดังจาเป็นจะต้องมีการเลือกใช้งาน ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสมกับฮาร์ดแวร์ กับงบประมาณท่ีใช้งาน หรือตามภาระงานท่ี จาเป็นตอ้ งใช้ ในบทเรยี นน้จี ะกลา่ วถงึ ระบบปฏบิ ตั กิ ารทม่ี ใี ชง้ านอย่างกวา้ งขวางในปจั จบุ นั Unix เป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารทใ่ี ชบ้ นเคร่อื ง SUN ของบรษิ ทั SUN Microsystems แต่ไมไ่ ด้ เป็นค่แู ข่งกบั บรษิ ทั Microsoft ในเร่อื งของระบบปฏบิ ตั กิ ารบนเครอ่ื ง PC แตอย่างใด แต่ Unix เป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยแี บบเปิด (Open system) ซง่ึ เป็นแนวคดิ ทผ่ี ใู้ ชไ้ มต่ ้อง ผูกตดิ กบั ระบบใดระบบหน่ึงหรอื อุปกรณ์ย่หี ้อเดียวกัน นอกจากน้ี Unix ยงั ถูกออกแบบมาเพ่ือ ตอบสนองการใชง้ านในลกั ษณะให้มผี ู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดยี วกนั เรยี กว่า ระบบหลายผูใ้ ช้ (Multiuser system) และสามารถทางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดยี วกนั ในลกั ษณะทเ่ี รยี กว่า ระบบหลายภารกจิ (Multitasking system)

14 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังท่ี 11 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้ืองตน้ หน่วยท่ี 5 ชั่วโมงรวม 2 ช.ม. ชื่อหน่วย ระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ 4. เนือ้ หาสาระ บทที่ 6 ระบบปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ 6.1 ระบบปฏิบตั ิการ 6.2 ระบบปฏิบตั ิการ UNIX และ Linux จากเอกสารประกอบการเรียนรู้ของ ประทีป ผลจนั ทร์งาม. วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเบือ้ งต้น .เอกสารประกอบการเรียนรู้.อดั สาเนา. เอกสารการพิมพว์ ทิ ยาลยั เทคนิคบา้ นค่าย. 2555. 5. กจิ กรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมครู กจิ กรรมนักเรียน ข้นั เตรียม ข้นั เตรียม 1. จดั เตรียมสื่อที่ใชป้ ระกอบการเรียนรู้ให้ 1. เตรียมตวั และเอกสาร หรือวสั ดุ เครื่องมือที่ พร้อม สาหรับการเรียนการสอน ( ตามรายการ จาเป็นตอ้ งใชใ้ นการเรียนรู้ ในหวั ขอ้ ท่ี สื่อการเรียนรู้ เลือกสื่อการเรียนรู้ได้ 2. ใหค้ วามร่วมมือกบั ครูในการตรวจสอบรายช่ือ ตามความเหมาะสม ) เขา้ เรียน 2. ตรวจสอบรายช่ือนกั เรียนที่เขา้ เรียน 3. ถา้ เรียนรู้ผา่ นระบบ e-Learning ใหเ้ ขา้ สู่ระบบ เพือ่ เตรียมความพร้อมในการเรียนรู้ ข้นั สนใจปัญหา (Motivation) ข้นั สนใจปัญหา (Motivation) 1. ใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดย 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ร่วมสนทนาและแสดงความคิดเห็น ใชเ้ วลา 30 นาที และครูตรวจคาตอบหลงั จาก เสร็จสิ้นการทดสอบ เพ่ือแจง้ ผลการทดสอบให้ นกั เรียนทราบหลงั เรียนจบบทเรียน 2. ใชส้ ื่อช่วยสอน นาเขา้ สู่บทเรียนดว้ ยภาพ แบบจาลอง ของตวั อยา่ ง หรือสิ่งที่จะช่วยดึงดูด

15 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังที่ 11 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้ืองตน้ หน่วยท่ี 5 ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. ช่ือหน่วย ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ความสนใจ หรือคาถาม หมายเหตุ หากเรียนรู้จากส่ือวดี ีทศั น์ ข้นั ศึกษาข้อมูล (Information) ทางไกลผา่ นดาวเทียม หรือผา่ นอินเทอร์เน็ต 1. ผเู้ รียนเริ่มเรียนรู้เน้ือหา หรือฝึกปฏิบตั ิงาน ตอ้ งทาการทดสอบก่อนเรียนใหแ้ ลว้ เสร็จก่อน การเรียนรู้ จากส่ือฯ ที่ทาการออกอากาศ จากการฉายวดี ีทศั น์ในรูปแบบ DVD หรือ สื่อวีดี ทศั นท์ างไกลผา่ นดาวเทียม หรืออินเทอร์เน็ต ข้ันศึกษาข้อมูล (Information) (60 นาท)ี หรือแบบออฟไลน์ 1. ใหผ้ เู้ รียนเร่ิมเรียนรู้เน้ือหา หรือฝึก 2. ผเู้ รียนไดส้ อบถามหรือขอ้ สงสัย จากการ ปฏิบตั ิงาน จากการฉายวดี ีทศั น์ในรูปแบบ เรียนรู้เน้ือหา DVD หรือ ส่ือวีดีทศั น์ทางไกลผา่ นดาวเทียม หรืออินเทอร์เน็ต หรือแบบออฟไลน์ ข้นั พยายาม (Application) 1. หลงั การเรียนรู้เน้ือหาเสร็จสิ้นผเู้ รียนทา 2. ใหผ้ เู้ รียนไดส้ อบถามหรือขอ้ สงสัย จาก การเรียนรู้เน้ือหา แบบทดสอบหลงั เรียนหรือแบบฝึกปฏิบตั ิ 2. หรือทาแบบทดสอบบนออนไลน์ และ ข้นั พยายาม (Application) (30 นาท)ี 1. หลงั การเรียนรู้เน้ือหาเสร็จสิ้น ใหผ้ เู้ รียน สามารถตรวจคาตอบทนั ที ทาแบบทดสอบหลงั เรียนหรือแบบฝึกปฏิบตั ิ ข้นั สาเร็จผล (Progress) 2. หรือใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบบน 1. รับผลการทดสอบ 2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปสาระสาคญั ออนไลน์ และสามารถตรวจคาตอบไดท้ นั ที 3. นกั เรียนสอบถามขอ้ สงสยั ข้นั สาเร็จผล (Progress) 4. ฟังและปฏิบตั ิตามท่ีครูแนะนา 1. ประเมินผลการปฏิบตั ิงานหรือ 5. ผเู้ รียนท่ีมีคะแนนทดสอบหลงั การเรียนที่ไม่ ผา่ นเกณฑ์ข้นั ต่า ปฏิบตั ิตามขอ้ แนะนาตามเกณฑ์ แบบทดสอบของผเู้ รียนหลงั ข้นั พยายามโดย การประเมินผล และคาแนะนาของครูผสู้ อน เทียบกบั วตั ถุประสงคก์ ารเรียนที่ต้งั ไว้ 2. ผสู้ อนแจง้ ผลคะแนนการปฏิบตั ิงานหรือ การทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนใหผ้ เู้ รียน ทราบ เพือ่ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ของตน 3. ผสู้ อนแจง้ ใหผ้ เู้ รียนที่มีคะแนนหลงั เรียน ที่ไม่ผา่ นเกณฑข์ ้นั ต่า ปฏิบตั ิตามขอ้ แนะนาตาม

16 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังที่ 11 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้ืองตน้ หน่วยที่ 5 ช่ือหน่วย ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. เกณฑก์ ารประเมินผล 4. ผสู้ อนสรุปสาระสาคญั และตอบขอ้ สงสยั พร้อมแนะนาส่ิงท่ีเก่ียวขอ้ งในการเรียนรู้คร้ังน้ี และแนะนาการเรียนรู้ในคร้ังตอ่ ไป 6. สื่อการเรียนการสอน ส่ือการเรียนรู้ ใหค้ รูผสู้ อนและผเู้ รียนเลือกใชส้ ่ือประกอบการเรียนการสอนตามสภาพความ พร้อมของของตนเอง ดงั น้ี 6.1 สื่อโสตทัศน์ 1) วดี ีทศั น์ในรูปแบบ DVD เร่ือง ระบบปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ ตอนท่ี 1 สาหรับผเู้ รียน ที่เรียนรู้จากการฉายวีดีทศั น์ 2) วดี ีทศั น์ทางไกลผา่ นดาวเทียม วงั ไกลกงั วล ตามตารางการออกอากาศ เร่ือง ระบบปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ ตอนที่ 1 สาหรับผเู้ รียนที่เรียนรู้ทางไกลผา่ นดาวเทียม 6.2 โสตทศั น์อุปกรณ์ 1) เคร่ืองเล่น DVD พร้อม TV ท่ีมีช่องรับสญั ญาณ AV (AV IN) สาหรับผเู้ รียน ที่เรียนรู้ จากการฉายวดี ีทศั น์ 2) เครื่องรับสญั ญาณดาวเทียม ที่รับสัญญาณจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม วงั ไกลกงั วล พร้อม TV ท่ีมีช่องรับสญั ญาณ AV (AV IN) สาหรับผเู้ รียนที่เรียนรู้ทางไกลผา่ น ดาวเทียม 6.3 สื่อสิ่งพมิ พ์ 1) สาเนาสื่อโปรแกรมนาเสนอ PowerPoint เรื่อง ระบบปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ ตอนที่ 1 2) เอกสารประกอบการเรียนรู้ เช่น ใบความรู้ แบบทดสอบฯลฯ 6.4 สื่อออนไลน์ 1) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเชื่อมตอ่ อินเทอร์เน็ตได้ และเขา้ เวบ็ ไซต์ url: http://edltv.vec.go.th 2) เคร่ืองคอมพวิ เตอร์พร้อมติดต้งั ระบบ edltv เพอ่ื พฒั นาอาชีพ แบบออฟไลน์ สามารถเขา้ ใช้ งานและเรียนรู้ไดโ้ ดยตรง

17 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังที่ 11 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้ืองตน้ หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย ระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ชั่วโมงรวม 2 ช.ม. 7. การวดั ผลและประเมนิ ผล 7.1 ก่อนเรียนรู้ วธิ ีการวดั ผล - ทดสอบก่อนเรียนรู้ เครื่องมือวดั - แบบทดสอบก่อนเรียนรู้ 7.2 ระหว่างเรียนรู้ วธิ ีการวดั ผล - ประเมินพฤติกรรมรายบุคคล เครื่องมือวดั - แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 7.3 หลงั เรียน วธิ ีการวดั ผล - ทดสอบหลงั เรียนรู้ เคร่ืองมือวดั - แบบทดสอบหลงั เรียนรู้ 8. เกณฑ์การประเมินผล 8.1 เกณฑ์การวดั ผลสัมฤทธ์จิ ากแบบทดสอบและใบมอบงานมเี กณฑ์ดงั นี้ ร้อยละ 80-100 หมายถึง ผลการเรียนรู้ดีมาก ร้อยละ 70-79 หมายถึง ผลการเรียนรู้ดี ร้อยละ 60-69 หมายถึง ผลการเรียนรู้ปานกลาง ร้อยละ 50-59 หมายถึง ผลการเรียนรู้ผา่ นเกณฑผ์ า่ น ข้นั ต่า (ควรปรับปรุงดว้ ยการศึกษาทบทวน) ต่ากวา่ ร้อยละ 50 หมายถึง ผลการเรียนไมผ่ า่ นเกณฑ(์ ตอ้ งปรับปรุงและ เรียนซ่อมเสริมควรทดสอบการประเมินจนกวา่ จะผ่านข้นั ตา่ ) 8.2เกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรมรายบุคคล 8-10 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมดี 5-7 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมพอใช้ ต่ากวา่ 5 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมท่ีตอ้ งปรับปรุง

18 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังท่ี 11 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้ืองตน้ หน่วยท่ี 5 ช่ือหน่วย ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. 8.3 เกณฑ์การตัดสิน 2 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ปฏิบตั ิสม่าเสมอ 1 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ปฏิบตั ิบางคร้ัง 0 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ไม่ปฏิบตั ิ 8.4 เกณฑ์การประเมนิ 8 - 10 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมดี 5 - 7 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมพอใช้ ต่ากวา่ 5 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมท่ีตอ้ งปรับปรุง 9. แหล่งการเรียนรู้เพม่ิ เติม - ประทีป ผลจนั ทร์งาม. วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเบอื้ งต้น .เอกสารประกอบการเรียนรู้. อดั สาเนา. เอกสารการพิมพว์ ทิ ยาลยั เทคนิคบา้ นค่าย. 2555. - สืบคน้ ขอ้ มลู จากแหล่งขอ้ มลู อ่ืนๆ ผา่ นเครือขายอินเทอร์เน็ต

19 6. เนือ้ หา (ใบความรู้)

20 บทเรยี นท่ี 6 เรอ่ื ง ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายระบบปฏบิ ตั กิ ารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2. อธบิ ายระบบปฏบิ ตั กิ าร UNIX และ Linux 3. อธบิ ายคุณสมบตั ขิ องระบบปฏบิ ตั กิ ารวนิ โดวไ์ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 4. อธบิ ายคุณสมบตั ริ ะบบปฏบิ ตั ิ Windows mobile ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง หวั ข้อเนื้อหา 1. ระบบปฏบิ ตั กิ าร 2. ระบบปฏบิ ตั กิ าร UNIX และ Linux 3. ระบบปฏบิ ตั กิ ารวนิ โดว์ 4. ระบบปฏบิ ตั ิ Windows mobile

21 บทเรียนที่ 6 ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ( Computer Operation System ) ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรม (Software) ทําหน้าท่ี ควบคุมการทํางานของเคร่อื ง คอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์ทต่ี ่อพว่ งกบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ ระบบปฏบิ ตั กิ ารทําหน้าท่ีเป็น ตวั กลาง ในการตดิ ต่อกบั ฮารด์ แวรข์ องเครอ่ื งโดยตรงและโปรแกรมการใชง้ านต่าง ๆ บนระบบปฏบิ ตั กิ ารเพ่อื เช่อื มต่อกบั ผใู้ ชง้ าน ซง่ึ โปรแกรมระบบปฏบิ ตั กิ ารท่ใี ชง้ านในปจั จุบนั มามหี ลายบรษิ ทั ท่ผี ลติ ขน้ึ มา เพอ่ื แขง่ ขนั กนั มากมาย ดงั จาํ เป็นจะตอ้ งมกี ารเลอื กใชง้ านระบบปฏบิ ตั กิ ารใหเ้ หมาะสมกบั ฮารด์ แวร์ กบั งบประมาณทใ่ี ชง้ าน หรอื ตามภาระงานทจ่ี าํ เป็นตอ้ งใช้ ในบทเรยี นน้ีจะกล่าวถงึ ระบบปฎบิ ตั กิ าร ทม่ี ใี ชง้ านอยา่ งกวา้ งขวางในปจั จบุ นั 6.1 ระบบปฏิบตั ิการ 6.1.1 ความหมายระบบปฏิบตั ิการ โปรแกรมระบบปฏบิ ตั กิ าร หรอื เรยี กสนั้ ๆ ว่า OS (Operating System) เป็นโปรแกรม ควบคุมการทํางานของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ทําหน้าทค่ี วบคุมการทํางานต่าง ๆ เช่น การแสดงผล ขอ้ มูลการตดิ ต่อกบั ผู้ใช้ โดยทําหน้าทเ่ี ป็นส่อื กลาง ระหว่างผู้ใช้กบั เคร่อื งใหส้ ามารถส่อื สารกนั ได้ ควบคมุ และจดั สรรทรพั ยากรใหก้ บั โปรแกรมต่าง ๆ 6.1.2 ประเภทของระบบปฏิบตั ิการ การทํางานของคอมพวิ เตอรจ์ ะไมส่ ามารถทํางานดว้ ยตวั เองได้ แต่จะต้องอาศยั โปรแกรมสงั่ ใหค้ อมพวิ เตอรท์ ํางานซง่ึ เรยี กว่า “ซอฟต์แวร”์ (Software) โดยทวั่ ไปซอฟต์แวรจ์ ะแบ่งเป็น 2 ประเภท คอื โปรแกรมสาํ เรจ็ รปู และโปรแกรมระบบปฏบิ ตั กิ าร ซง่ึ ระบบปฏบิ ตั กิ ารน้ีจะมีหน้าท่ี ใน การจดั การและควบคุมการทํางานและอุปกรณ์ต่างๆ ของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ เช่น การจดั การ เก่ยี วกบั การแสดงผลบนจอภาพ รบั ขอ้ มูลทางแป้นพมิ พ์หรอื เมาส์ การจดั การเก่ยี วกบั แฟ้มขอ้ มูล การจดั เก็บขอ้ มูลลงแฟ้ม การตดิ ตงั้ โปรแกรม นอกจากน้ีระบบปฏบิ ตั กิ ารยงั ช่วยสรา้ งส่วนตดิ ต่อ ระหว่างผู้ใชก้ บั คอมพวิ เตอร์ (User interface) ให้ง่ายต่อการใช้งาน ระบบปฏบิ ตั กิ ารมอี ย่หู ลาย ระบบ ซง่ึ มกี ารพฒั นาจากผผู้ ลติ หลายบรษิ ทั แต่ทส่ี ําคญั ๆ มดี งั น้ี 1) ระบบปฏิบตั ิการ DOS (Disk Operating System) ระบบ DOS เป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารทถ่ี ูกพฒั นาขน้ึ โดยบรษิ ทั IBM เพ่อื ใหเ้ ป็นระบบปฏบิ ตั กิ าร สําหรบั เคร่อื งพซี ี ซ่งึ ตวั โปรแกรม DOS จะถูก Load หรอื อ่านจากแผ่นดสิ ก์เขา้ ไปเก็บไว้ใน หน่วยความจาํ ก่อน จากนนั้ DOS จะไปทําหน้าทเ่ี ป็น ผปู้ ระสานงานต่าง ๆ ระหว่างผใู้ ชก้ บั อุปกรณ์

22 คอมพวิ เตอรท์ งั้ หลายโดยอตั โนมตั ิ โดยท่ี DOS จะรบั คําสงั่ จากผใู้ ชห้ รอื โปรแกรมแลว้ นําไปปฏบิ ตั ิ ตาม โดยการทาํ งานจะเป็นแบบ Text mode สงั่ งานโดยการกดคาํ สงั่ เขา้ ไปทซ่ี พี รอ็ ม (C:\\>)ดงั นนั้ ผใู้ ชร้ ะบบน้จี งึ ตอ้ งจาํ คาํ สงั่ ต่าง ๆ ในการใชง้ านจงึ จะสามารถใชง้ านได้ ระบบปฏบิ ตั กิ าร DOS ถอื ได้ วา่ เป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารทเ่ี ก่าแก่. และปจั จบุ นั น้ีมกี ารใชง้ านน้อยมาก 2 )ระบบปฏิบตั ิการ Microsoft Windows Windows เป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารท่พี ฒั นาโดยบรษิ ทั Microsoft ซ่งึ จะมสี ่วนติดต่อกบั ผู้ใช้ (User interface) เป็นแบบกราฟิก หรอื เป็นระบบทใ่ี ชร้ ปู ภาพแทนคาํ สงั่ เรยี กว่า GUI (Graphic User Interface) โดยสามารถสงั่ ใหเ้ ครอ่ื งทาํ งานไดโ้ ดยใชเ้ มาสค์ ลกิ ทส่ี ญั ลกั ษณ์หรอื คลกิ ทค่ี ําสงั่ ท่ี ตอ้ งการ ระบบน้ีอนุญาตใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใชง้ านโปรแกรมไดม้ ากกว่า 1 โปรแกรมในขณะเดยี วกนั ซง่ึ ถา้ เป็นระบบ DOS หากต้องการเปลย่ี นไปทํางานโปรแกรมอ่นื ๆ จะต้องออกจาก โปรแกรมเดมิ ก่อนจงึ จะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอ่นื ๆ ได้ ในลกั ษณะการทํางานของ Windows จะมสี ่วนท่ี เรยี กว่า “หน้าต่าง” โดยแต่ละโปรแกรมจะถอื เป็นหน้าต่างหน่ึงหน้าต่าง ผูใ้ ชส้ ามารถ สลบั ไปมา ระหว่างแต่ละหน้าต่างได้ นอกจากน้ีระบบ Windows ยงั ใหโ้ ปรแกรมต่าง ๆ สามารถ แชรข์ ้อมูล ระหว่างกนั ไดผ้ ่านทางคลปิ บอรด์ (Clipboard) ระบบ Windows ทาํ ใหผ้ ใู้ ช้ ทวั่ ๆไปสามารถทําความ เขา้ ใจ เรยี นรแู้ ละใชง้ านเครอ่ื งคอมพวิ เตอรไ์ ดง้ า่ ยขน้ึ 3) ระบบปฏิบตั ิการ Unix Unix เป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารทใ่ี ชบ้ นเคร่อื ง SUN ของบรษิ ทั SUN Microsystems แต่ไม่ไดเ้ ป็น ค่แู ขง่ กบั บรษิ ทั Microsoft ในเร่อื งของระบบปฏบิ ตั กิ ารบนเครอ่ื ง PC แตอย่างใด แต่ Unix เป็น ระบบปฏบิ ตั กิ ารท่ใี ช้เทคโนโลยแี บบเปิด (Open system) ซง่ึ เป็นแนวคดิ ทผ่ี ูใ้ ช้ไม่ตอ้ ง ผกู ตดิ กบั ระบบใดระบบหน่งึ หรอื อุปกรณ์ยห่ี อ้ เดยี วกนั นอกจากน้ี Unix ยงั ถูกออกแบบมาเพ่อื ตอบสนองการ ใชง้ านในลกั ษณะใหม้ ผี ใู้ ชไ้ ดห้ ลายคนในเวลาเดยี วกนั เรยี กว่า ระบบหลายผใู้ ช้ (Multiuser system) และสามารถทํางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ในลกั ษณะท่เี รยี กว่า ระบบหลายภารกิจ (Multitasking system) 4) ระบบปฏิบตั ิการ Linux Linux เป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารเช่นเดยี วกบั DOS, Windows หรอื Unix โดยLinuxนนั้ จดั ว่าเป็น ระบบปฏบิ ตั กิ าร Unix ประเภทหน่ึง การท่Lี inuxเป็นท่กี ล่าวขานกนั มากในช่วงปี 1999 – 2000 เน่ืองจากความสามารถของตวั ระบบปฏบิ ัติ การและโปรแกรมประยุกต์ท่ี ทํางานบนระบบ Linux โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ โปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU’s Not UNIX) และสง่ิ ทส่ี าํ คญั ทส่ี ุดก็ คอื ระบบ Linux เป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารประเภทฟรแี วร์ (Free ware) คอื ไม่เสยี ค่าใชจ้ ่ายในการซ้อื โปรแกรม Linux นัน้ มี นักพฒั นาโปรแกรมจากทวั่ โลกช่วยกนั แก้ไข ทาํ ใหก้ ารขยายตวั ของ Linux เป็นไปอยา่ งรวดเรว็ โดยในส่วนของใจกลางระบบปฏบิ ตั กิ าร หรอื Kernel นนั้ จะมกี ารพฒั นาเป็น รุ่นท่ี 2.2 (Linux Kernel 2.2) ซง่ึ ไดเ้ พม่ิ ขดี ความสามารถและสนับสนุนการทํางานแบบหลายซพี ยี ู หรอื SMP (Symmetrical Multi Processors) ซง่ึ ทาํ ใหร้ ะบบLinux สามารถนําไปใชส้ ําหรบั ทาํ งาน

23 เป็น Saver ขนาดใหญ่ไดร้ ะบบ Linux ตงั้ แต่ร่นุ 4 นนั้ สามารถทํางานไดบ้ นซพี ยี ทู งั้ 3 ตระกูล คอื บนซพี ยี ขู อง อนิ เทล (PC Intel) ดจิ ทิ ลั อลั ฟาคอมพวิ เตอร์ (Digital Alpha Computer และซนั สปารค์ (SUN SPARC) เน่ืองจากใช้เทคโนโลยที ่เี รยี กว่า RPM (Red Hat Package Management) ถงึ แมว้ ่าขณะน้ี Linux ยงั ไม่สามารถแทนท่ี Microsoft Windows บนพซี หี รอื Mac OS ไดท้ งั้ หมดก็ ตาม แต่ก็มผี ูใ้ ช้ จาํ นวนไม่น้อยทส่ี นใจมาใชแ้ ละช่วยพฒั นาโปรแกรมประยุกต์บน Linux และเรอ่ื ง ของการดแู ล ระบบ Linux นนั้ กม็ เี ครอ่ื งมอื ชว่ ยสาํ หรบั ดาํ เนินการใหส้ ะดวกยง่ิ ขน้ึ 6.2 ระบบปฏิบตั ิการ UNIX และ Linux 6.2.1 ประวตั ิความเป็นมาของระบบปฏิบตั ิการ UNIX และ Linux ก่อนท่ยี นู ิกซ์จะเป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารทก่ี ําลงั นิยมกนั อย่างทุกวนั น้ี การพฒั นายูนิกซ์ไม่ได้ใช้ เวลาเพยี งปีหรอื สองปี แต่ไดร้ บั การพฒั นามาเป็นเวลาร่วม 30 กว่าปี ดงั นนั้ ระบบปฏบิ ตั กิ าร UNIX ได้มปี ระวตั อิ นั ยาวนาน และไดบ้ ่งบอกถงึ การพฒั นาต่างๆ เพ่อื ให้ผู้ใชไ้ ดส้ ามารถทํางานไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธภิ าพ การพฒั นาระบบปฏบิ ตั กิ าร UNIX ไดเ้ รมิ่ ตน้ จาก ค.ศ. 1965 หน่วยงานวจิ ยั ของบรษิ ทั เอทแี อนดท์ ี (American Telephone and Telegraph (AT&T)) ในส่วนของศูนยว์ จิ ยั เบลล์ (Bell Telephone Laboratories)และสถาบนั เอ็มไอที (Massachusetts Institute of Technology) และบรษิ ทั จอี ี (General Electric Company) ไดเ้ ขา้ รว่ มกนั ในการออกแบบและพฒั นาระบบปฏบิ ตั กิ ารทช่ี ่อื ว่า MULTICS (Multiplexed Information and Computing System) ค.ศ. 1969 ศูนยว์ จิ ยั เบลลไ์ ด้ตดั สนิ ใจถอนออกจากโครงการ MAC เน่ืองจากมองไม่เห็น แนวโน้มในความสําเรจ็ ของโครงการแต่ผูร้ ่วมงานในศูนยว์ จิ ยั เบลลห์ ลายคนยงั ไมล่ ดละทจ่ี ะพฒั นา ระบบปฏิบตั ิการน้ีต่อเพ่ือให้บริการผู้ใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ได้ดียิ่งข้นึ โดยผู้ร่วมงานหลัก ประกอบดว้ ย เคน ทอมป์สนั (Ken Thompson) เดนนิส รติ ช่ี (Dennis Ritchie) ด.ี เมลลร์ อย (D.Mellroy) และโจเซฟ ออสแซนนา (Joseph Ossnna) โดยทําการพฒั นาระบบปฏบิ ตั กิ ารต่อบน เคร่อื ง DEC-10 จากการทํางานในครงั้ น้ีเองทําให้เคน ทอมป์สนั พบว่าการท่ี MULTICS มเี พยี ง System Files เท่านัน้ ไม่เพยี งพอ เคน ทอมป์สนั และทมี งานจงึ ทําการเขยี นโปรแกรมท่เี รยี กว่า เชลล์ ซง่ึ เป็นตวั แปลคาํ สงั่ (Command interpreter) และยทู ลิ ติ ท้ี ช่ี ่วยจดั การกบั ระบบแฟ้มขอ้ มลู ขน้ึ ค.ศ. 1970 ไบรอนั เคอรน์ ิงแฮน (Brian Kerninghan) ไดต้ งั้ ช่อื ระบบปฏบิ ตั กิ ารใหมน่ ้ีว่า UNICS ซง่ึ ยอ่ มาจาก (Uniplexed Information and Computing System) ซง่ึ เป็นการล้อเลยี น MULTICS ระบบดําเนินงานต้นแบบว่าเป็น Many Unnecessarily Large Tables In Core Simultaneously และต่อมาชอ่ื UNICS ไดก้ ลายมาเป็น UNIX ทใ่ี ชใ้ นปจั จบุ นั แทน ค.ศ. 1971 ศนู ยว์ จิ ยั เบลลม์ องเหน็ แนวโน้มความสาํ เรจ็ ของปฏบิ ตั กิ ารยนู ิกซใ์ นอนาคต จงึ ได้ ทุ่มเทความสนใจให้กับยูนิกซ์มากข้ึน เคน ทอมป์ สัน ในฐานะผู้บุกเบิกคนหน่ึงเห็นว่าควรมี คอมไพเลอร์สําหรบั ภาษาชนั้ สูงบนระบบปฏบิ ตั ิการยูนิกซ์ด้วย จงึ ไดพ้ ยายามเขยี นคอมไพเลอร์

24 ภาษาฟอรแ์ ทรนบนเครอ่ื ง PDP-7 ซง่ึ โครงการน้ีไดส้ น้ิ สุดไปในระยะเวลาสนั้ และเน่ืองจากลกั ษณะ ของภาษาไมอ่ ํานวยแก่การดาํ เนินการ แต่โครงสรา้ งของคอมไพเลอรท์ เ่ี ขยี นขน้ึ นนั่ ยงั คงสามารถใช้ งานได้ ดงั นนั้ ผลทไ่ี ดก้ ลบั กลายมาเป็นภาษาโปรแกรมอกี ภาษาหน่ึงคอื ภาษา บี ( B Language) แทนเพราะแนวความคดิ ส่วนใหญ่มาจากภาษา BCPL และเม่อื ยูนิกซ์ทําการยา้ ยมาเป็นระบบ ดําเนินงานบน PDP-11 ภาษาบกี ถ็ ูกนํามาใชด้ ว้ ย แต่เกดิ ปญั หาความล่าชา้ ในการทํางาน ซง่ึ ต่อมา ภาษาบนี ้เี องไดถ้ กู เดนนิส รติ ช่ี ทาํ การพฒั นาปรบั ปรงุ ภาษาบขี น้ึ ใหม่ แลว้ ตงั้ ช่อื ว่า ภาษาซี ซง่ึ เป็น อกั ษรตวั ถดั มา ค.ศ. 1973 จากปญั หาต่าง ๆ จาํ นวนมากท่ปี ระสบในการใช้ภาษา PL/I ในการออกแบบ ปฏบิ ตั กิ าร MULTICS เคน ทอมป์สนั และเดนนิส รติ ช่ี จงึ ไดเ้ ขยี นส่วนของเคอรเ์ นลในยนู ิกซแ์ ละ เชลลใ์ หม่ดว้ ยภาษาซี ซง่ึ เป็นภาษาโครงสรา้ งทม่ี คี วามยดื หยนุ่ สงู ทําใหร้ ะบบมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขน้ึ และงา่ ยต่อการตรวจสอบขอ้ ผดิ พลาดต่างๆ ถงึ แมว้ ่าภาษาซจี ะไมส่ ามารถใชแ้ ทนภาษาแอสเซมบลี ไดท้ งั้ หมดกต็ าม แต่กระนนั้ ภาษาซกี เ็ ป็นภาษาหลกั ทใ่ี ชใ้ นยนู กิ ซ์ ค.ศ. 1974 เคน ทอมป์สนั และเดนนิส รติ ช่ี ได้เขยี นบทความเก่ียวกบั ระบบปฏบิ ตั ิการ ยนู ิกซล์ งในวารสารเอซเี อม็ (Communications of the ACM) ซง่ึ ส่งผลใหร้ ะบบดาํ เนินงานยนู ิกซ์ เป็นทย่ี อมรบั กนั อย่างแพร่หลายมากขน้ึ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ เมอ่ื โปรแกรมทเ่ี ขยี นดว้ ยภาษาซไี ดถ้ ูก แจกจา่ ยใหแ้ ก่สถาบนั การศกึ ษาในราคาถูก ยนู ิกซจ์ งึ ไดร้ บั การพฒั นาและตดิ ตงั้ การใชง้ านกนั อยา่ ง กวา้ งขวางในระยะเวลาอนั สนั้ เคน ทอมป์สนั และเดนนิส รติ ชไ่ี ดจ้ ดั ตงั้ กลุ่มช่อื ว่า \"Research\" หรอื \"1127\" ไวค้ อยคาํ ปรกึ ษาและแกป้ ญั หาต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วกบั ระบบปฏบิ ตั กิ ารยนู ิกซน์ อกจากน้ียงั มกี ลุ่ม PWB (Programmer's Workbench) เพอ่ื ทาํ หน้าทค่ี อยใหบ้ รกิ ารแก่กลุ่มผใู้ ชย้ นู ิกส์ ซง่ึ ในกลุ่ม PWB น้เี องสรา้ ง PWB/UNIX 1.0 ออกมาใหม่ ค.ศ. 1975 ยนู ิกซไ์ ดแ้ พร่หลายอยา่ งกวา้ งขวาง ไมค์ เลสก์ (Mike Lesk) ไดต้ ดิ ตงั้ Portable C Library ซง่ึ เป็นรทู นี เก่ยี วกบั อนิ พุตเอาต์พุต (I/O) ซง่ึ เป็นจุดเรมิ่ ต้นในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของ C ในการออก Portable และในเวลาต่อมาเดนนิช รติ ช่ี ไดป้ รบั ปรุงใหมแ่ ลว้ เรยี กว่า Standard I/O Library ค.ศ.1977มีการติดตัง้ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์อีกหลายระบบทัง้ Interdata 8/32, Interdata 7/32, แต่ยงั มปี ญั หาเกดิ ขน้ึ บา้ งเน่ืองจากฮารด์ แวรข์ องบางระบบจะ รองรบั ระบบปฏบิ ตั กิ ารเฉพาะแบบเทา่ นนั้ ค.ศ 1979 มกี ารพฒั นาขดี ความสามารถทางดา้ นหน่วยความจาํ เสมอื น โดยเรยี กชอ่ื วา่ V32 แลว้ ทาํ การตดิ ตงั้ บนเคร่อื ง VAX 32 บติ ซง่ึ ต่อมากลายเป็น 3 BSD (และ 4 BSD .ในปี ค.ศ. 1980) และไดท้ กี ารรวมกล่มุ เพ่อื ดาํ เนินการเกย่ี วกบั ปญั หาต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ค.ศ. 1981 บรษิ ทั UniSoft Corporation ไดส้ รา้ งยนู กิ ซท์ เ่ี รยี กว่า UNIPLUS+และ SCO (The Santa Cruz Operation) ไดร้ ่วมมอื กบั ไมโครซอฟต์สรา้ ง XENIX ขน้ึ ซง่ึ เป็นการพฒั นายนู ิกซบ์ น ชปิ ของอนิ เทล 8086

25 ค.ศ. 1982 AT&T ไดเ้ รม่ิ จาํ หน่ายยนู กิ ซท์ างการคา้ ดว้ ย UNIX System III ค.ศ. 1983 ยกั ษ์ใหญ่แห่งวงการคอมพวิ เตอรโ์ ลกอย่างไอบเี อม็ ไดป้ ระกาศตวั อย่างเตม็ ทโ่ี ดย การตดิ ตงั้ ยูนิกซ์บนพซี ี 16 บติ บนชปิ อินเทล 8088 และในปีน้ีเอง AT&T พยามยามประกาศตวั เพ่อื ใหต้ นเองเป็นมาตรฐานของระบบการดําเนินงานยนู ิกซโ์ ดยการพฒั นา UNIX System V ค.ศ. 1984 AT&T ไดพ้ ฒั นา UNIX System V Release 2.0 สาํ เรจ็ โดยการทาํ เพจจง้ิ การ โหลดดไี วซไ์ ดรเวอรแ์ ละการดแู ลระบบแบบพน้ื ฐาน ค.ศ. 1986 AT&T ไดพ้ ฒั นา UNIX System V Release 3.0 ซง่ึ มคี วามสามารถทางดา้ น เครอื ขา่ ยส่อื สารและการจดั การใชท้ รพั ยากร จนถงึ ปจั จุบนั การพฒั นาระบบปฏบิ ตั กิ าร เพ่อื ใหเ้ คร่อื งคอมพวิ เตอรข์ นาดเลก็ สามารถใชง้ าน ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ ทําใหม้ กี ารพฒั นาจากระบบปฏบิ ตั กิ าร UNIX มาเป็นระบบปฏบิ ตั กิ าร LINUX ถูกพฒั นาขน้ึ โดย นาย ลนี ุส ทอรว์ าลดส์ (Linus Benedict Torvalds) เป็นผรู้ เิ รมิ่ การพฒั นา ระบบปฏบิ ตั กิ าร Linux ขณะเป็นนกั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั Helsinki ประเทศฟินแลนด์ ภาพท่ี 6.1 ลนี ุส ทอรว์ าลดส์ (Linus Benedict Torvalds) 6.2.2 โครงสรา้ งของระบบปฏิบตั ิการ Linux UNIX คอื ระบบปฏบิ ตั กิ ารประเภทหน่ึงทจ่ี ดั ว่าเป็นเทคโนโลยแี บบเปิด (open system) ไดร้ บั การออกแบบมาเพ่อื ตอบสนองการใชง้ านในลกั ษณะใหม้ ผี ู้ใชไ้ ดห้ ลายคนในเวลาเดยี วกนั เรยี กว่า มลั ติยูสเซอร์ (Multiusers) และสามารถปฏบิ ตั งิ านได้หลายๆงานในเวลาเดยี วกนั เรยี กว่า มลั ติ ทาสกง้ิ (Multitasking) ยนู ิกสม์ กี ารพฒั นาต่อเน่ืองกนั มาจากอดตี จนถงึ ปจั จุบนั มขี ดี ความสามารถ เช่อื มโยงเป็นระบบเครอื ขา่ ยและมกี ารจดั สรรทรพั ยากรต่างๆ ทใ่ี ช้รว่ มกนั และให้สามารถใหบ้ รกิ าร ในลักษณะแม่ข่ายคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ สามารถแบ่งออกเป็น สว่ นประกอบใหญ่ๆ ได้ 4 ส่วน

26 Application Operating Shell System Kernel USER Hardware ภาพท่ี 6.2 แสดงโครงสรา้ งของระบบปฏบิ ตั กิ ารยนู กิ ซ์ 1. ฮารด์ แวร์ (Hardware) เป็นส่วนต่างๆ ของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ รวมถงึ อุปกรณ์ต่างๆ ท่ี รองรบั การทํางานของระบบเช่น ซพี ยี ู หน่วยความจาํ อุปกรณ์จดั เกบ็ ขอ้ มลู ต่างๆ และอุปกรณ์อ่นื ๆ เช่น Modem, Printer เป็นตน้ ฮารด์ แวร์ เป็นอุปกรณ์ทไ่ี ม่สามารถทํางานดว้ ยตนเองได้ ทําใหต้ ้อง อาศยั ระบบปฏบิ ตั กิ ารเป็นตวั ควบคมุ การทาํ งานใหอ้ ุปกรณ์ต่างๆทํางานรวมกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. เคอรเ์ นล (Kernel) เป็นส่วนทท่ี ําหน้าทค่ี วบคุมการทาํ งานในระดบั ล่างคอื ทําการควบคุม ส่วนทเ่ี ป็นฮารด์ แวรท์ งั้ หมดรวมถงึ การจดั สรรการใช้ทรพั ยากรร่วมกนั การเตรยี มระบบการจดั เกบ็ ขอ้ มลู บรหิ ารหน่วยความจาํ อุปกรณ์แต่ละแบบจะมเี คอรเ์ นลควบคุมต่างกนั ดงั นนั้ ในส่วนของเคอร์ เนลจะตอ้ งมกี ารเปลย่ี นแปลงเมอ่ื มกี ารเปลย่ี นตวั อุปกรณ์ 3. เชลล์ (Shell) ทําหน้าทเ่ี ป็นตวั เช่อื มระหว่างผใู้ ชก้ บั ส่วนของเคอรเ์ นล หรอื เมอ่ื เทยี บกบั ระบบปฏบิ ตั กิ าร DOS แลว้ จะเทยี บไดก้ บั command.com โดยเซลลจ์ ะทําหน้าทใ่ี นการรบั คําสงั่ จากผใู้ ช้ แลว้ ทาํ การแปลความหมายเพอ่ื ส่งต่อใหก้ บั ส่วนเคอรเ์ นล หรอื ยทู ลิ ติ ต้ี ่าง ๆ เพ่อื ใชค้ วบคุม การทาํ งาน อกี ทงั้ ขดี ความสามารถของเชลลไ์ ดพ้ ฒั นาขน้ึ เทยี บไดเ้ ท่ากบั ภาษาหน่ึงทเี ดยี ว ดงั นนั้ จงึ มกี ารพฒั นา Shell ขน้ึ มาใชม้ ากมายดงั จะกล่าวต่อไป

27 4. Application และ Utilities เป็นส่วนของโปรแกรมและเคร่อื งมอื ในการช่วยเหลอื ใหเ้ ครอ่ื ง คอมพวิ เตอรท์ ํางานไดอ้ ย่างสมั พนั ธ์กนั โดยหลกั แล้ว Application จะเป็นโปรแกรมท่เี ราใช้งาน ทวั่ ไป เชน่ Word, Calculator, Photo shop เป็นตน้ สว่ น Utilities นนั้ ไดถ้ ูกออกแบบมา สาํ หรบั การ ชว่ ยเหลอื งานดา้ นต่าง เช่น โปรแกรมป้องกนั ไวรสั คอมพวิ เตอร์ การกูข้ อ้ มลู ทเ่ี สยี หาย เป็นต้น การ ทํางานจะทํางานภายใต้ระบบปฏบิ ตั กิ าร โดยมชี นั้ ของเชลลเ์ ป็นตวั แบ่งทําใหส้ ามารถบรกิ ารงานท่ี ซบั ซ้อนได้ซง่ึ ส่วนน้ีเองจะเป็นส่วนท่แี สดงถงึ ความโดดเด่นและขดี ความสามารถของระบบปฏบิ ตั กิ าร ยนู ิกซแ์ ละอกี สง่ิ หน่งึ ทม่ี สี าํ คญั มากในระบบปฏบิ ตั กิ ารยนู ิกซค์ อื เรอ่ื งของการจดั การระบบแฟ้มขอ้ มลู (File System) เช่น การเกบ็ ขอ้ มลู การเรยี กและคน้ หาขอ้ มลู 6.2.3 ระบบไฟลแ์ ละ Shell ใน Linux Files คอื โครงสรา้ งการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ลงในอุปกรณ์เกบ็ ขอ้ มูล เช่น Floppy Disk หรอื Hard Drive ระบบ Files บนระบบปฏบิ ตั กิ าร Linux นนั้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคอื Executable Files เป็นแฟ้มขอ้ มลู สาํ หรบั ทาํ หน้าทเ่ี ป็นชุดคาํ สงั่ หรอื ทาํ ใหค้ อมพวิ เตอรท์ าํ ใน สงิ่ ทต่ี อ้ งการได้ Configuration Text: Administrator Only เป็นแฟ้มขอ้ มลู ทม่ี ผี ลต่อสภาพการทํางานของ ระบบ สามารถกําหนดใหท้ าํ งานไดแ้ บบมเี งอ่ื นไข หรอื จดั ลาํ ดบั การทาํ งานก่อนหลงั แฟ้ มข้อมูลข้อมลู ทวั่ ไป อาจประกอบไปดว้ ยขอ้ มลู ต่างๆ ทผ่ี ใู้ ชง้ านสรา้ ง หรอื จดั เกบ็ ขอ้ มูล ของตนไวใ้ ชง้ านในระบบช่อื แฟ้มขอ้ มูลบนระบบปฏบิ ตั กิ าร สามารถมไี ด้สูงสุด 256 ตวั อกั ษร และ ขนาดของตวั อกั ษรมผี ลกบั การเขา้ ถงึ แฟ้มขอ้ มลู นัน้ ๆ เช่น Fun.txt จะไม่เป็นแฟ้มขอ้ มลู เดยี วกนั กบั fun.txt และควรหลกี เลย่ี งการใชเ้ ครอ่ื งหมายพเิ ศษ ในตอนเรม่ิ แรกของการพฒั นาระบบปฏบิ ตั ิการ Unix ขนาดในการเก็บแฟ้มข้อมูลของ ระบบปฏบิ ตั กิ าร Linux นนั้ ไม่สามารถเกบ็ ไดเ้ กนิ 64 KB จงึ ทาํ ใหค้ ่อนขา้ งลําบากในการจดั การใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพ ดงั นนั้ จงึ มกี ารพฒั นาโครงสรา้ งของแฟ้มขอ้ มลู แบบใหม่ขน้ึ มาเรยี กว่า Ext (Extended File System) แต่กถ็ ูกจาํ กดั อยทู่ ค่ี วามจุ 2 MB และในทส่ี ุดกม็ กี ารพฒั นาเพ่อื ใหก้ ารเกบ็ ขอ้ มลู ได้ มากขน้ึ และทาํ ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ ในการบรหิ ารแฟ้มขอ้ มลู ดงั นนั้ ไดม้ กี ารแก้ไขเป็นระบบแฟ้มขอ้ มลู Ext2 (Extended File System) ทาํ ใหร้ องรบั ความจไุ ดส้ งู ถงึ 4 เทอราไบต์ โครงสรา้ งของแฟ้มขอ้ มลู บนระบบปฏบิ ตั กิ าร Linux นนั้ ใชโ้ ครงสรา้ งแบบ FHS (File system Hierarchy Standard) มกี ารจดั เป็นแบบลําดบั ชนั้ มลี กั ษณะเป็นต้นไมก้ ลบั หวั โดยหลกั ของ แฟ้มขอ้ มลู จะใช้ / (root) เป็นการเรมิ่ ตน้ ของชนั้ แรก รปู แบบการเกบ็ ขอ้ มลู แบบเป็นลําดบั นนั้ จะทํา ใหง้ า่ ยต่อการดแู ลโครงสรา้ งหลกั การของการจดั การแฟ้มขอ้ มลู

28 / root bin boot dev etc home lib sbin usr var / เป็นไดเรค็ ทอรร่ี ากทใ่ี ชเ้ กบ็ เคอรเ์ นลไฟล์ เรยี กวา่ root root /bin เป็นไดเรค็ ทอรส่ี าํ หรบั เกบ็ คาํ สงั่ ต่างๆของระบบ /dev เป็นไดเรค็ ทอรส่ี าํ หรบั เกบ็ ไฟลท์ ต่ี ดิ ต่อกบั อุปกรณ์ เช่น CD-ROM /etc เป็นไดเรค็ ทอรส่ี าํ หรบั เกบ็ ไฟลก์ ําหนดคณุ สมบตั ขิ องระบบ หรอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ /home เป็นไดเรค็ ทอรส่ี าํ หรบั เกบ็ ไฟลส์ าํ หรบั ผใู้ ช้ /lib เป็นไดเรค็ ทอรส่ี าํ หรบั เกบ็ ไฟลไ์ ลบราร่ี /sbin เป็นไดเรค็ ทอรส่ี ําหรบั เก็บไฟล์โปรแกรมท่ถี ูกใช้โดย ผู้ดูแลระบบ(Adminstrator) หรอื ผทู้ ่ี login เขา้ มาใน root เป็นไดเรค็ ทอรท่ี จ่ี าํ เป็นในการใช้ Boot ระบบ /usr เป็นไดเรค็ ทอรส่ี าํ หรบั เกบ็ ไฟลส์ าํ หรบั ผใู้ ชท้ วั่ ไป /var เป็นไดเรค็ ทอรส่ี าํ หรบั เกบ็ ไฟลส์ าํ หรบั เป็นจดุ เช่อื มต่อกบั System /tmp เป็นไดเรค็ ทอรส่ี าํ หรบั เกบ็ ไฟลช์ วั่ คราว /root เป็นไดเรค็ ทอรส่ี าํ หรบี เกบ็ ไฟลส์ าํ หรบั ผดู้ แู ละระบบ โครงสรา้ งของระบบปฏบิ ตั กิ ารนนั้ มโี ครงสรา้ งเป็นชนั้ ๆ โดยมี Hardware และถูกควบคุมโดย ชนั้ ของโครงสรา้ งของระบบปฏบิ ตั กิ าร และชนั้ บนสุดของโครงสรา้ งคอื การตดิ ต่อกบั ผใู้ ชโ้ ดยผ่านทาง Application 6.2.4 การ mount และ unmount ระบบไฟล์ การ mount จะเป็นการนําไฟล์เขา้ ไปเช่อื มต่อกบั ไฟลท์ ่มี ีอยู่เดมิ แล้วโดยการนําไฟล์ท่ี ตอ้ งการเช่อื มต่อมาทบั ตรงจุดทต่ี ้องการเช่อื ม ซง่ึ จุดน้ีจะเรยี กว่า(mount point) ส่วนคาํ สงั่ umount หรอื unmount นนั้ จะเป็นการยกเลกิ การเช่อื มต่อไฟลเ์ ขา้ กบั โครงสรา้ งของไฟล์ ในการเรยี กใช้ อุปกรณ์บางอย่างเช่น CD-ROM กจ็ าํ เป็นจะตอ้ ง Mount เพ่อื ใหร้ ะบบปฏบิ ตั กิ ารสามารถตดิ ต่อกบั อุปกรณ์ได้ และจะตอ้ งทาํ การ Unmout หลงั จากการใชง้ านสน้ิ สุดลง 6.2.5 Shell ของระบบปฏิบตั ิการ Linux

29 Shell ของระบบปฏบิ ตั กิ าร ทาํ หน้าทต่ี ดิ ต่อระหว่าง Application กบั Kennel ระบบ Shell ของระบบปฏบิ ตั กิ าร Linux นนั้ มหี ลายแบบ แต่ทน่ี ยิ มใชไ้ ดแ้ ก่ 1) บอรน์ เชลล์ (Bourne Shell หรือ sh) พฒั นาโดย สตฟี บอรน์ (Steve Bourne) ถอื ว่า เป็นมาตรฐานของระบบปฏบิ ตั กิ าร UNIX เนืองจากหลาย Shell ไดพ้ ฒั นาจาก Shell น้ี นอกจากน้ี ยงั สามารถเขยี น Shell Script จงึ ทาํ ใหม้ คี วามยอื หยนุ่ ในการปฏบิ ตั งิ านสงู สามารถยา้ ยเชลลส์ ครปิ ต์ ขา้ มเครอ่ื งไปยงั ระบบปฏบิ ตั กิ ารยนู กิ ซท์ ุกรนุ่ ทใ่ี ชบ้ อรน์ เชลลไ์ ด้ 2) ซีเชลล์ (C Shell หรือ csh) เป็นเชลลท์ บ่ี ลิ ล์ จอย (Bill Joy) แห่งเบอรก์ เลยไ์ ดส้ รา้ งเชลล์ ใหม่ขน้ึ มาโดยมลี กั ษณะของไวยากรณ์คล้ายกบั ภาษาซี มขี ดี ความสามารถสูงกว่าบอรน์ เชลล์ มี แฟ้มเกบ็ คาํ สงั่ การทาํ งาน แต่ไมส่ ามารถเขา้ ใจโครงสรา้ งของสครปิ ตบ์ อรน์ เชลลไ์ ด้ แต่สามารถเรยี ก บอรน์ เชลลม์ าเพ่อื รนั สครปิ ตข์ องบอรน์ เชลลไ์ ด้ 3) คอรน์ เชลล์ (Korn Shell หรือ ksh) เป็นเชลลท์ อ่ี อกแบบและพฒั นาโดยเดวลิ จี.คอรน์ (David G.Korn) แห่งศูนยว์ จิ ยั เบลล์ โดยเชลล์น้ีเป็นลกั ษณะของคําสงั่ โต้ตอบ และคอรน์ เชลลม์ ี ขนาดใหญ่กว่าเชลล์อ่นื ทําใหส้ ามารถขยายขอบเขตและเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใชง้ านไดม้ ากยงิ่ ขน้ึ ไดด้ งึ ลกั ษณะเด่นของทงั้ บอรน์ เชลลแ์ ละซเี ชลลเ์ ขา้ ดว้ ยกนั แต่คอรน์ เชลลน์ ้จี ะไมม่ ยี นู กิ ซท์ กุ ระบบ 4) บอรน์ อะเกนเชลล์ (Bourn again shell หรือ bash) Shell น้ีไดพ้ ฒั นาต่อมาจากคอรน์ เชลลด์ งั นนั้ คุณสมบตั จิ ะคลา้ ยกบั คอรน์ เชลล์ แต่เน่ืองจากไม่ไดพ้ ฒั นาเพ่อื ธุรกจิ ดงั นนั้ จงึ ไดเ้ ปรยี บ คอรน์ เชลล์ ดงั นนั้ จงึ เป็นเชลลห์ น่งึ ทร่ี ะบบปฏบิ ตั กิ าร Linux ใชเ้ ป็นเชลลห์ ลกั 6.2.6 การ Login เข้าส่รู ะบบและการเปลี่ยนแปลรหสั ผ่านของผใู้ ช้ การทผ่ี ใู้ ชจ้ ะขอใชบ้ รกิ ารบนระบบปฏบิ ตั กิ ารยนู ิกซ์หรอื ลนี ุกส์ไดน้ นั้ จะตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจาก ผดู้ แู ลระบบ(System Administrator: SA) เมอ่ื ผดู้ แู ลระบบเหน็ ชอบและอนุมตั แิ ลว้ ผดู้ แู ลระบบจะทํา การเพม่ิ รายช่อื ผใู้ ชง้ าน จากนนั้ ผใู้ ชง้ านจะไดร้ บั รายช่อื ผใู้ ช้ (login name)และรหสั ผ่าน (password) แต่สําหรบั ผู้ใช้ชวั่ คราวแล้วในหลาย ๆ ระบบจะมกี ารเตรยี มรายช่อื อิสระเพ่อื ให้บรกิ ารแก่ผู้ใช้ เหล่าน้โี ดยอาจมรี ายช่อื ผใู้ ชเ้ ป็น guest ซง่ึ อาจไมม่ รี หสั ผ่าน การเขา้ ใชแ้ ละข้อปฏบิ ตั ใิ นการเรม่ิ ต้นเขา้ สู่ระบบ(login) โดยทวั่ ไปเม่อื ระบบพร้อมท่จี ะ ให้บรกิ ารแก่ผู้ใช้งานในระบบแล้วจะปรากฏขอ้ ความว่า login: เรยี กว่า ล๊อกอนิ พรอมต์ (login prompt) ใหผ้ ใู้ ช้งานพมิ พร์ ายช่อื ผใู้ ชง้ าน จากนัน้ ระบบจะสอบถามรหสั ผ่านจากผใู้ ชอ้ กี หลงั จาก ระบบตรวจสอบว่ารหสั ผ่านท่ผี ู้ใช้ป้อนเข้ามานัน้ ถูกต้อง ระบบจะแสดงเคร่อื งหมายพรอมต์ให้ สาํ หรบั สญั ลกั ษณ์ของเคร่อื งหมายเตรยี มพรอ้ มน้ีจะขน้ึ อย่กู บั ชนิดของเชลลท์ ใ่ี ชง้ าน ถ้าเป็นบอรน์ เชลล์ (Bourne Shell) หรอื คอรน์ เชลล์ (Korn Shell) จะใชเ้ คร่อื งหมายเป็น $ ส่วนซเี ชลลจ์ ะใช้ เคร่อื งหมาย % สําหรบั ผดู้ แู ลระบบจะมเี คร่อื งหมายเตรยี มพร้อมเป็น # แต่ในกรณีขอการเขา้ สู่ ระบบไมส่ าํ เรจ็ ระบบจะปรากฏเครอ่ื งหมายพรอมตเ์ พอ่ื ทาํ การลอ๊ กอนิ ใหใ้ หม่ เม่อื ผู้ใช้ไดร้ บั รายช่อื และรหสั ผ่านแล้ว ควรจะทําการเปล่ยี นรหสั ผ่านโดยทนั ที เพราะเม่อื เรม่ิ ตน้ ในการเขา้ เป็นสมาชกิ ของระบบนนั้ ผดู้ ูแลระบบ จะเป็นผกู้ ําหนดช่ือและรหสั ผ่านใหก้ บั ผใู้ ช้

30 ทุกคน ดงั นัน้ ขนั้ ตอนการแจกรายช่อื และรหสั ผ่านแก่ผูใ้ ช้นัน้ อาจจะไม่มคี วามรดั กุมเพยี งพอ ควร พยายามเปลย่ี นรหสั ผ่านอยา่ งสม่าํ เสมอในระยะเวลาทเ่ี หมาะสม การเปลย่ี นรหสั ผ่านนนั้ ผใู้ ชท้ ุกคน สามารถกระทาํ ไดโ้ ดยใชค้ าํ สงั่ passwd เมอ่ื ผใู้ ชต้ อ้ งการออกจากระบบสามารถกระทําไดโ้ ดยการพมิ พค์ าํ สงั่ exit หรอื logout หรอื กด คยี ์ Ctrl-d การออกระบบจะสมบรู ณ์ เมอ่ื ยนู ิกซข์ น้ึ เครอ่ื งหมาย Prompt สาํ หรบั การ loginใหม่ เน่อื งจากยนู กิ ซเ์ ป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารแบบมลั ตยิ สู เซอรก์ ลา่ วคอื เป็นระบบทใ่ี หผ้ ใู้ ชส้ ามารถใช้ งานพรอ้ ม ๆ กนั ไดห้ ลาย ๆ คน โดยอาศยั หลกั การของการจดั สรรเวลาใหผ้ ใู้ ชแ้ ต่ละคนทาํ งานตาม หน้าทข่ี องผใู้ ชน้ นั้ ๆ ยนู กิ ซจ์ งึ เตรยี มคําสงั่ เพ่อื ขอดรู ายช่อื ผใู้ ชง้ านระบบในขณะนนั้ คอื คําสงั่ who และคาํ สงั่ finger คาํ สงั่ who ใชใ้ นกรณที ต่ี อ้ งการใหร้ ะบบแสดงรายช่อื ผใู้ ชง้ านระบบขณะนนั้ คาํ สงั่ finger ใช้ในกรณีผูใ้ ชต้ ้องการทราบรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ของผรู้ ่วมใชง้ านแต่ละคนใน ระบบขณะนนั้ 6.2.7 การใช้ vi Editor โปรแกรม vi Editor เป็นโปรแกรมทใ่ี ชช้ ่วยดแู ลและแกไ้ ขขอ้ มลู ในแฟ้มขอ้ มลู มรี ปู แบบการ เกบ็ ในแฟ้มขอ้ มลู ดว้ ยรหสั ASCII ผใู้ ชส้ ามารถทจ่ี ะแกไ้ ข เพม่ิ เตมิ ลบตวั อกั ษรได้ โปรแกรม vi editor ได้รบั การพฒั นาโดยมหาวิทยาลยั แคลิฟอร์เนียแห่งเบรกิ เลย์ โดยถูกนําไปใช้อยู่ใน ระบบปฏบิ ตั กิ าร UNIX และ Linux โหมดการทาํ งานของ Vi Editor แบง่ ออกเป็น 2 โหมดหลกั โหมดคําสงั่ (Command Mode) เป็นโหมดทท่ี ํางานเก่ยี วกบั การเคล่อื นยา้ ยคอรเ์ ซอรล์ บ ตวั อกั ษร โหมดป้อนขอ้ มลู (Input Mode) เป็นโหมดทส่ี ามารถป้อนขอ้ มลู ลงในแฟ้มขอ้ มลู และจะสน้ิ สุด การทาํ งานกต็ ่อเมอ่ื กดปมุ่ Esc ระหว่าง Command mode และ Input Mode command mode เพ่อื ทาํ การเคล่อื นยา้ ยเคอรเ์ ซอร์ ลบ แก้ไขหรอื คน้ พบขอ้ ความ สง่ิ ทค่ี อม มานโหมด ไม่สามารถทําได้คอื การใส่ขอ้ ความเพม่ิ เขา้ ไปจากข้อมูลเดมิ ในขณะท่ี Input made สามารถทาํ ได้ จงึ เป็นความแตกต่างระหวา่ ง command mode กบั Input mode คําสงั่ command mode ส่วนใหญ่ เป็นแค่ตวั อกั ษรตวั เดยี วหรอื สองตวั เท่านนั้ บางทก่ี อ็ าจมี ตวั เลขผสมอย่ดู ว้ ย คําสงั่ เหล่าน้ีพเิ ศษตรงทไ่ี มต่ อ้ งกด Enter เพ่อื ใหโ้ ปรแกรมปฏบิ ตั งิ าน ยกเวน้ คาํ สงั่ ทข่ี น้ึ ตน้ ดว้ ย “ : “ ทจ่ี าํ เป็นตอ้ งกด Enter ตามดว้ ย จงึ จะทาํ ใหโ้ ปรแกรมปฏบิ ตั งิ าน เริม่ ต้นใช้งาน vi editor พมิ พค์ ําสงั่ vi ตามดว้ ยช่อื แฟ้มขอ้ มลู ทจ่ี ะทาํ การแกไ้ ขขอ้ มลู ถ้าไม่มแี ฟ้มขอ้ มลู นัน้ อย่กู ่อน จะเป็นการสรา้ งขอ้ มลู ใหก้ บั แฟ้มขอ้ มลู ใหมท่ จ่ี ะเกดิ ขน้ึ แต่ถา้ มแี ฟ้มขอ้ มลู ช่อื นนั้ อย่แู ลว้ สงิ่ ทเ่ี กบ็ ไว้ ในแฟ้มขอ้ มูลก็จะปรากฏขน้ึ มาบนหน้าจอ เม่อื ผู้ใช้จดั การใชใ้ ห้ vi กระทําการใด ๆ ไม่ได้ หมายความว่าขอ้ มูลของแฟ้มขอ้ มลู นัน้ จะถูกแก้ไข เพราะโปรแกรม vi editor จะอ่านขอ้ มลู ใน

31 แฟ้มขอ้ มลู มาไวใ้ นหน่วยความจาํ ท่เี รยี กว่า เวริ ก์ บพั เฟอร์ (work buffer) และทําการแก้ไข โปรแกรมน้ี จนกระทงั่ ผใู้ ชส้ งั่ ให้ vi บนั ทกึ ขอ้ มลู Command mode และ Input Mode เม่อื เรากดแป้นอกั ษรตวั i (insert) จะเปลย่ี นจากสภาพ command mode เขา้ ส่สู ภาพ Input mode เมอ่ื เราพมิ พ์ขอ้ ความเขา้ ไป ขอ้ ความทพ่ี มิ พจ์ ะแทรกตรงดา้ นหน้าของ เคอรเ์ ซอรพ์ รอ้ มกบั ดนั ขอ้ ความในบรรทดั ทางขวาไปเรอ่ื ย ๆ อกี วธิ หี น่ึงสามารถเปลย่ี นจาก command mode เขา้ สู่ Input mode ไดน้ นั้ สามารถทาํ ใชโ้ ดยการกดอกั ษรตวั a (append) แต่จะต่างจากการกดแป้น อกั ษรตวั i ตรงทข่ี อ้ ความท่พี มิ พเ์ ขา้ ไปนัน้ จะไปแทรกท่ดี า้ นหลงั ของเคอร์เซอร์ แทนท่จี ะเป็น ดา้ นหน้าเหมอื นเมอ่ื กดแป้นอกั ษรตวั i เมอ่ื เราตอ้ งการเปลย่ี นสภาพจาก Input mode ไปยงั command mode สามารถทําไดด้ ว้ ย การกดปุ่ม Esc เพยี งปุ่มเดยี ว เพยี งเท่านัน้ ก็จะสามารถเขา้ ส่สู ภาพ command mode ได้ ส่วนมากแลว้ นัก UNIX มกั จะยดึ สภาพ command mode เป็นหลกั ในการทํางานอยใู่ น vi ต่อเมอ่ื ต้องการพมิ พข์ อ้ ความเพม่ิ กจ็ ะเขา้ สู่ Input mode และเมอ่ื พมิ พข์ อ้ ความเสรจ็ แลว้ กจ็ ะกลบั เขา้ สภาพ Command mode ตามเดมิ คาํ สงั่ เพมิ่ ขอ้ มลู ของ vi เพอ่ื เขา้ สู่ Input Mode i แทรกขอ้ มลู ณ. ตําแหน่งหน้าเคอรเ์ ซอร์ I แทรกขอ้ มลู ณ. ตําแหน่งหน้าตวั อกั ษรแรกของแถวปจั จบุ นั a แทรกขอ้ มลู ณ. ตาํ แหน่งหลงั เคอรเ์ ซอร์ A แทรกขอ้ มลู ณ. ตาํ แหน่งทา้ ยแถวปจั จบุ นั o แทรกขอ้ มลู ณ. ตําแหน่งแถวใหมใ่ ตแ้ ถวปจั จบุ นั O แทรกขอ้ มลู ณ. ตาํ แหน่งแถวใหมเ่ หนือแถวปจั จบุ นั การเลกิ ใชง้ านโปรแกรม vi editor มหี ลายลกั ษณะดงั น้ี ใชค้ าํ สงั่ :w ทาํ การบนั ทกึ ใชค้ าํ สงั่ :q ออกจากโปรแกรมโดยไมท่ าํ การบนั ทกึ ใชค้ าํ สงั่ :wq ออกจากโปรแกรมโดยทาํ การบนั ทกึ ใชค้ าํ สงั่ :q! ออกจากโปรแกรมโดยทนั ที การควบคมุ ตาํ แหน่งเคอรเ์ ซอร์ (Command Mode) I เลอ่ื นเคอรเ์ ซอรไ์ ปทางขวา h เลอ่ื นเคอรเ์ ซอรไ์ ปทางซา้ ย j เลอ่ื นเคอรเ์ ซอรล์ งขา้ งล่าง 1 บรรทดั k เลอ่ื นเคอรเ์ ซอรข์ น้ึ ขา้ งบน 1 บรรทดั w เล่อื นเคอรเ์ ซอรไ์ ปทางขวาหาตวั แรกของคาํ ต่อไป b เล่อื นเคอรเ์ ซอรไ์ ปทางซา้ ย ใหเ้ จอตวั แรกของคาํ ก่อนหน้า

32 $ เลอ่ื นเคอรเ์ ซอรไ์ ปปลายแถวปจั จบุ นั ( เลอ่ื นเคอรเ์ ซอรไ์ ปตน้ ประโยคปจั จบุ นั ) เลอ่ื นเคอรเ์ ซอรไ์ ปตน้ ประโยคต่อไป { เล่อื นเคอรเ์ ซอรไ์ ปตน้ ยอ่ หน้าปจั จบุ นั } เลอ่ื นเคอรเ์ ซอรไ์ ปตน้ ยอ่ หน้าต่อไป คาํ สงั่ ทใ่ี ชใ้ นการลบ (Command Mode) x ลบตวั ทเ่ี คอรเ์ ซอรว์ ่างอยู่ 1 ตวั X ลบตวั ทางขวาเคอรเ์ ซอร์ 1 ตวั dw ลบตงั้ แต่ตาํ แหน่งเคอรเ์ ซอรถ์ งึ ทา้ ยคาํ ทเ่ี คอรเ์ ซอรอ์ ยู่ dW ลบตงั้ แต่ตําแหน่งเคอรเ์ ซอรถ์ งึ ทา้ ยคาํ นบั ตามจรงิ ทเ่ี คอรเ์ ซอรอ์ ยู่ db ลบตงั้ แต่ตาํ แหน่งเคอรเ์ ซอรย์ อ้ นถงึ ตน้ คาํ ทเ่ี คอรเ์ ซอรอ์ ยู่ dB ลบตงั้ แต่ตําแหน่งเคอรเ์ ซอรย์ อ้ นถงึ ตน้ คาํ นบั ตามจรงิ ทเ่ี คอรเ์ ซอรอ์ ยู่ d แลว้ (Enter) ลบแถวทเ่ี คอรเ์ ซอรอ์ ยแู่ ละแถวต่อมา dd ลบแถวทเ่ี คอรเ์ ซอรอ์ ยู่ do ตงั้ แต่ตาํ แหน่งเคอรเ์ ซอรย์ อ้ นถงึ ตน้ แถวทเ่ี คอรเ์ ซอรอ์ ยู่ D ตงั้ แต่ตําแหน่งเคอรเ์ ซอรถ์ งึ ทา้ ยแถวทเ่ี คอรเ์ ซอรอ์ ยู่ d) ตงั้ แต่ตาํ แหน่งเคอรเ์ ซอรถ์ งึ ทา้ ยประโยชน์ทเ่ี คอรเ์ ซอรอ์ ยู่ d( ตงั้ แต่ตําแหน่งเคอรเ์ ซอรย์ อ้ นถงึ ตน้ ประโยคทเ่ี คอรเ์ ซอรอ์ ยู่ d ตงั้ แต่ตาํ แหน่งเคอรเ์ ซอรย์ อ้ นถงึ ตน้ ประโยชน์ทเ่ี คอรเ์ ซอรอ์ ยู่ d ตงั้ แต่ตําแหน่งเคอรเ์ ซอรย์ อ้ นถงึ ตน้ ยอ่ หน้าเคอรเ์ ซอรอ์ ยู่ การควบคมุ การเลอื นตําแหน่งขอ้ มลู บนจอภาพ (Command Mode) Ctl-U เล่อื นหน้าจอขน้ึ ดขู อ้ มลู ขา้ งบนครง่ึ หน้า Ctrl-D เล่อื นหน้าจอลงดขู อ้ มลู ขา้ งล่างครง่ึ หน้า Ctrl-F เล่อื นหน้าจอลงดขู อ้ มลู หน่งึ หน้า Ctrl-B เล่อื นหน้าจอขน้ึ ดขู อ้ มลู หน่งึ หน้า คาํ สงั่ คน้ หาขอ้ มลู ของวไี อ /คาํ ทค่ี น้ หา (Enter) หาคาํ ไปทางทา้ ยแฟ้มขอ้ มลู ?/คาํ ทค่ี น้ หา (Enter) หาคาํ ไปทางตน้ แฟ้มขอ้ มลู n หาต่อไปในทศิ ทางเดมิ N หาต่อไปในทศิ ทางตรงขา้ มกบั เดมิ คาํ สงั่ เปลย่ี นขอ้ มลู ของ vi ใน (command mode) r พมิ พท์ บั ได้ 1 ตวั R พมิ พท์ บั ไปจนกว่า (Esc)

33 cw จากเคอรเ์ ซอรถ์ งึ จบคาํ cW จากเคอรเ์ ซอรถ์ งึ จบคาํ นบั ตามจรงิ cb จากตน้ คาํ ถงึ เคอรเ์ ซอรื cB จากตน้ คาํ นบั ตามจรงิ ถงึ เคอรเ์ ซอร์ cc ทงั้ แถวทเ่ี คอรเ์ ซอรก์ ําลงั อยู่ co จากตน้ แถวถงึ เคอรเ์ ซอร์ c$ จากเคอรเ์ ซอรถ์ งึ จบแถว C จากเคอรเ์ ซอรถ์ งึ จบแถว c) จากเคอรเ์ ซอรถ์ งึ จบประโยค C) จากตน้ ประโยคถงึ เคอรเ์ ซอร์ c จากเคอรเ์ ซอรถ์ งึ จบยอ่ หน้า C จากตน้ ยอ่ หน้าถงึ เคอรเ์ ซอร์ ปจั จุบนั เน่ืองจากมโี ปรแกรมท่ใี ช้สําหรบั ในการแก้ไขขอ้ มูลท่เี ป็นตวั อกั ษร มอี ย่างมากมาย เลอื กให้ใช้ดงั นัน้ ผู้ใช้งานควรเลอื กศกึ ษาและเลอื กใช้งาน ให้เหมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพในการ ทาํ งาน ขอ้ เด่นของ Vi Editor คอื สามารถนําไปใช้ร่วมทงั้ ระบบปฏบิ ตั กิ าร UNIX และ Linux แต่ ขอ้ จาํ กดั คอื ผใู้ ชต้ อ้ งจาํ คาํ สงั่ มากมาย อาจทาํ ใหม้ คี วามยงุ่ ยากในการใชง้ าน 6.2.8 การใช้โปรแกรม pico เป็น Editor หลงั จากท่ไี ดเ้ รยี นรกู้ ารใชง้ านโปรแกรม VI ซง่ึ เป็น editor อนั ดบั ต้นๆ แล้วนัน้ ปจั จุบนั ระบบปฏบิ ตั กิ าร Linux ของ RedHat ยงั มี editor อกี โปรแกรมหน่ึงซง่ึ ไดร้ บั ความนิยมเน่ืองจาก ความสะดวกในการใชง้ าน คอื โปรแกรม pico อนั เป็นการพฒั นาของมหาวทิ ยาลยั วอชงิ ตนั ในการ ใชง้ านโปรแกรม pico เพยี งแต่ทา่ นเขา้ สรู่ ะบบปฏบิ ตั กิ าร หลงั จากนนั้ พมิ พค์ าํ ว่า pico แลว้ <Enter> กส็ ามารถใชง้ านโปรแกรมได้ โดยภายในโปรแกรมจะมเี มนูคําสงั่ มากมายอยดู่ า้ นล่างของโปรแกรม สาํ หรบั ความหมายในคาํ สงั่ เช่น ^G Get Help หมายถงึ ว่า ใหเ้ รากดปุ่ม Ctrl ค้างไวต้ ามดว้ ย ตวั อกั ษร G จะเป็นการเรยี กความช่วยเหลอื ของโปรแกรม ซง่ึ จะมคี าํ อธบิ ายการใชง้ านต่างๆ

34 7. ส่ือประกอบการสอน

35 คร้ังท่ี 11 หน่วยที่ 6 ระบบปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์(ตอนท่ี 1) ระบบปฏิบตั ิการ UNIX เบ้ืองตน้  จุดประสงค์การสอน  เข้าใจองค์ประกอบ และโครงสร้างของระบบปฏบิ ัติการ UNIX  รู้จกั วธิ ีการจัดการไฟล์ข้อมูลของระบบปฏิบตั กิ าร UNIX  รู้จกั การทาํ งานของ Shell  เข้าใจความแตกต่างระหว่างระบบปฏิบตั กิ าร UNIX กบั Microsoft Windows  สามารถใช้ vi Editor เพอื่ เป็ นเครื่องมอื ในการกาํ หนดตวั แปร ระบบได้

36 โครงสร้างของระบบปฏิบตั ิการ UNIX Utility ทาํ หน้าทตี่ ิดต่อระหว่างผู้ใช้กบั User comSmHaEnLdLs FDieleviScyesDtermivesrลsกSทคกาําhรไาาํํารKตพสทรeะมหสระ่ื่ปาอlาeํงับร่่ัlสงบงนหrสสรับเตตบๆาnบ้พา่ัะงนาม่้คาอไทeแรผเมอ้่ืางพดlางาํผรลเี่่าทวๆขปรรแ้ทออะ่ื้นะูใลต้็เี่ถอลอชนยาํหปทยม่ผางะปใ้ง่าง็ตตงัวนจ่ีชงขาลายงาฏท่อ่ๆวั้าะจนงตมนตงัองิบผไคาํทาาท่ตัวบปีารปหนก่าวตัUาํงกาํะารรนนกบอๆิงหมKtลบิกะiไาาุ้ปคาาโนlแสาบeปรนเiปงุมกรกลtrิ้ทาจยไyใรตรnอะบท็นดัดธงั ณแe่ราุปไแี่แร้สิภตกlงกวฟป์กละาราาจหรมรดรละลพมรามรถณ์บักือทึง์ ่ี Shell Kernel Kernel Hardware Hardware ระบบไฟลแ์ ละ Shell ใน UNIX  Executable Files เป็นแฟ้ มขอ้ มลู สาํ หรับทาํ หนา้ ที่เป็นชุดคาํ สงั่ หรือ ทาํ ใหค้ อมพิวเตอร์ทาํ ในสิ่งที่ตอ้ งการได้  Configuration Text: Administrator Only เป็นแฟ้ มขอ้ มลู ที่มีผลต่อ สภาพการทาํ งานของระบบ สามารถกาํ หนดใหท้ าํ งานไดแ้ บบมี เงื่อนไข หรือจดั ลาํ ดบั การทาํ งานก่อนหลงั  แฟ้ มข้อมูลข้อมูลทว่ั ไป อาจประกอบไปดว้ ยขอ้ มลู ต่างๆ ที่ผใู้ ชง้ าน สร้าง หรือจดั เกบ็ ขอ้ มลู ของตนไวใ้ ชง้ านในระบบ

37 Unix file system // bin usr home etc โครงสร้างของระบบไฟล์เริ่มจาก '/‘หรือ root directory Subdirectories ภายใต้ the root directory username รตะัวบอบย่าfงihleosmyestdemirecatonrสyาขมอางรผถู้ใถชูก้ Subdirectory อน่ื ๆ รแะลบะุบsuภbาdยiใrตe้crtoortydรiวreมcถtoึงrfyil.es ต่างๆ prot letter project seq4 seq3 seq2 seq1 /home/username/prot ระบบไฟลแ์ ละ Shell ใน UNIX  / เป็นไดเร็คทอร่ีรากที่ใชเ้ กบ็ เคอร์เนลไฟล์ เรียกวา่ root  /bin เป็นไดเร็คทอร่ีสาํ หรับเกบ็ คาํ สงั่ ต่างๆของระบบ  /dev เป็นไดเร็คทอรี่สาํ หรับเกบ็ ไฟลท์ ่ีติดต่อกบั อุปกรณ์ เช่น CD-ROM  /etc เป็นไดเร็คทอรี่สาํ หรับเกบ็ ไฟลก์ าํ หนดคุณสมบตั ิของระบบ หรือ เครื่องคอมพวิ เตอร์  /home เป็นไดเร็คทอร่ีสาํ หรับเกบ็ ไฟลส์ าํ หรับผใู้ ช้  /lib เป็นไดเร็คทอร่ีสาํ หรับเกบ็ ไฟลไ์ ลบรารี่

38 ระบบไฟลแ์ ละ Shell ใน UNIX  /sbin เป็นไดเร็คทอรี่สาํ หรับเกบ็ ไฟลโ์ ปรแกรมที่ถกู ใชโ้ ดย ผดู้ ูแล ระบบ(Adminstrator) หรือ ผทู้ ี่ login เขา้ มาใน root เป็นไดเร็คทอรี่ที่ จาํ เป็นในการใช้ Boot ระบบ  /usr เป็นไดเร็คทอรี่สาํ หรับเกบ็ ไฟลส์ าํ หรับผใู้ ชท้ วั่ ไป  /var เป็นไดเร็คทอร่ีสาํ หรับเกบ็ ไฟลส์ าํ หรับเป็นจุดเชื่อมต่อกบั System  /tmp เป็นไดเร็คทอร่ีสาํ หรับเกบ็ ไฟลช์ ว่ั คราว การ Login เข้าสู่ระบบ การติดต่อกบั ระบบปฏิบตั กิ าร unix สามารถใช้โปรแกรมเหล่านีใ้ นการ Login ConnectingTteolneemtbnet.org Connected.Xterm Welcome toStehceuEruerSopheealnl Molecular Biology Network. Kermit Login: username Password: Other terminaบlางeคmร้ังuอาlจaพtบoขr้อsความทถ่ี ูกส่งมาโดยผู้ unix เป็ นครวะบบคบุมทรไี่ ะวบตบ่อกหารรือคผวู้ใาชม้งแาตนกอตนื่ ่าๆง. Tahfetersnyosotnemfowrilmlabinetรuueะnnnหixaaวvnจ่าะacงตไeiมัวl.่แอaสกั bดษlงรeขให้อoญคnว่แาลfมะrใเดลiๆก็dทaด่ี yไงั มน่ว้ัน่าจuะseพrมิnพam์ e ขจ้งึอไคมว่เาหมมใอืดนpaUsssewronradm. e หรือ USERNAME You have new mail. username@embnet ~>

39 การใช้ Vi Editor โปรแกรม Vi Editor เป็ นโปรแกรมทใ่ี ช้ช่วยดูแลและแก้ไขข้อมูลในแฟ้ มข้อมูล มี รูปแบบการเกบ็ ในแฟ้ มข้อมูลด้วยรหัส ASCII ผู้ใช้สามารถทจ่ี ะแก้ไข เพม่ิ เตมิ ลบ ตัวอกั ษรได้ Command mode และ Input Mode  Command mode เพอื่ ทาํ การเคลอื่ นย้ายเคอร์เซอร์ ลบ แก้ไขหรือค้นพบข้อความ สามารถ กลบั เข้าสู่ Command Mode โดยการกดป่ ุม Esc  Input made คอื การใส่ข้อความเพม่ิ เข้าไปจากข้อมูลเดมิ ในขณะที่ Command Mode ไม่ สามารถทาํ ได้ คาํ ส่ังเพม่ิ ข้อมูลของวไี อ เพอื่ เข้าสู่ Input Mode  i แทรกข้อมูล ณ. ตําแหน่งหน้าเคอร์เซอร์  I แทรกข้อมูล ณ. ตําแหน่งหน้าตวั อกั ษรแรกของแถวปัจจุบนั  a แทรกข้อมูล ณ. ตาํ แหน่งหลงั เคอร์เซอร์  A แทรกข้อมูล ณ. ตําแหน่งท้ายแถวปัจจุบนั

40 การเคลอื่ นย้าย Cursor ใน Vi Editor’s การลบใน vi editor

41 คาํ สั่งพนื้ ฐานของระบบปฏิบัตกิ าร UNIX จุดประสงค์การสอน  สามารถใชค้ าํ ส่งั Shell Command ไดเ้ ป็นอยา่ งดี  สามารถสั่งงานการจดั การแฟ้ มขอ้ มลู ของระบบ UNIX ได้  สามารถตรวจสอบ Process และจดั การ Process ในระบบ UNIX ได้  สามารถคน้ หาขอ้ มูลในไฟลข์ อ้ มลู และทาํ การบีบอดั ขอ้ มลู ได้ (Simple Command, Complex Command และ Compound Command ของ Bourn Shell) 1. Simple Command คือ ใชค้ าํ สง่ั เดียวเพือ่ ใหร้ ะบบปฏิบตั ิงาน 2. Complex Command คือคาํ สง่ั ท่ีใช้ simple command พร้อมท้งั Option หรือ argument ในการสง่ั ใหร้ ะบบปฏิบตั ิงานได้ 3. Compound Command คือคาํ สง่ั ที่ ประกอบไปดว้ ย Simple Command และ Complex Command ในการสงั่ ใหร้ ะบบ ปฏิบตั ิงานไดเ้ รียงกนั ตามลาํ ดบั โดยมีการคนั่ ดว้ ยเครื่องหมาย ;

42 องค์ประกอบของคาํ ส่ังมีดังนีค้ ือ ls -l /etc Command name Options Arguments (flags) Redirecting Output  เป็นการกาํ หนดใหส้ ่ง Output ลงไปในไฟล์ เคร่ืองพมิ พ์ หรือ อุปกรณ์แสดงผลต่างๆ ls -l > output “>” is used to specify the output file

43 Redirecting Input  เป็นการกาํ หนดใหร้ ับ Input จากไฟล์ wc <input “<” is used to specify the input file การเชื่อมดว้ ย Pipes เพ่ือใหท้ าํ งานไดห้ ลายคาํ สง่ั  ผลลพั ธข์ องบางคาํ สง่ั อาจเป็น Input ของอีกคาํ สง่ั ps aux | grep netscape | wc -l

44 Common Commands  pwd – ตรวจสอบตาํ แหน่งทที่ าํ งานอยู่ปัจจุบนั  cd <dir> - เปลยี่ นตาํ แหน่งทอ่ี ย่ใู น directory ปัจจุบันสู่ dir  ls – ทาํ การแสดงข้อมูลของรายการไฟล์และ directory ต่างๆ  who ตรวจสอบว่ามผี ้ใู ดอยู่ในระบบบ้าง  whoami รายงานการเข้าใช้ของผ้ใู ช้โดยละเอยี ด  ps ตรวจสอบ Process ทป่ี ฏบิ ตั งิ านอยู่  ps aux แสดง Process ทท่ี าํ งานอยู่ท้งั หมดภายในระบบ  echo “A string to be echoed” แสดงข้อความออกทางจอภาพ File Commands  cp <fromfile> <tofile>  Copy from the <from file> to the <to file>  mv <fromfile> <tofile>  Move/rename the <from file> to the <to file>  rm <file>  Remove the file named <file>  mkdir <newdir>  Make a new directory called <new dir>  rmdir <dir>  Remove an (empty) directory

45 Processes  โปรเซส คอื โปรแกรมหรืองานต่างๆทรี่ ะบบปฏบิ ตั กิ ารทาํ การ ประมวลผลในขณะน้ัน เน่ืองจากการทาํ งานหลายๆ โปรเซสพร้อมๆ กนั ดงั น้ันจึงมีการจัดการโปรเซสทดี่ ีเพอื่ ทจี่ ะให้มกี ารแบ่งปัน ทรัพยากรในการทาํ งานอย่างมปี ระสิทธิภาพ จงึ มีการประมวลผลใน รูปแบบทเ่ี รียกว่า การจดั สรรเวลา (Time Sharing) ทาํ การสลบั การ ทาํ งานไปมาระหว่างงาน  Linux กาํ หนดให้ process ID (PID) คอื หมายเลขประจํา Process Processes  โปรเซสฉากหน้า (foreground process) เป็นลกั ษณะของโปรแกรมหรือ คาํ สงั่ ทว่ั ไปท่ีทาํ การประมวลผลในขณะน้นั และจาํ ทาํ จนกระท้งั เสร็จสิ้น คาํ สง่ั น้นั การทาํ งานในลกั ษณะน้ีเครื่องหมาย Prompt จะปรากฎข้ึนรอรับ คาํ สงั่ ใหม่อีกคร้ังเมื่อโปรแกรมหรือคาํ สงั่ ต่าง ๆ น้นั ไดท้ าํ การประมวลผล เสร็จสิ้นแลว้  โปรเซสฉากหลงั (background Process) เป็นโปรเซสที่มีการประมวลผล โดยที่จะไม่ตอ้ งรอโปรเซสและการทาํ งานในลกั ษณะน้ีเคร่ืองหมาย Prompt จะปรากฎข้ึนรอรับคาํ สง่ั ทนั ทีท่ีสง่ั การประมวลผลโปรเซสเสร็จ โปรเซส ประเภทน้ีในบางระบบจะใหค้ วามสาํ คญั ต่าํ กวา่ โปรเซสฉากหนา้ โปรเซส ฉากหลงั มกั จะเป็นโปรแกรมประเภทท่ีจะตอ้ งใชเ้ วลาในการประมวลผล คอ่ นขา้ งนาน

46 Processes & causes process to be run in “background” [root@penguinvm log]# sleep 10h & TIME CMD [1] 6718 00:00:00 sleep 10h [root@penguinvm log]# ps -ef UID PID PPID C STIME TTY root 6718 6692 0 14:49 ttyp0 Job Number Process ID (ID) Parent Process ID การยุติ Process  kill - เป็ นการส่ังยุติ process or process group  ถ้า login เข้ามาโดยเป็ นผู้ดูแลระบบ root จะสามารถยุติ Process ได้ ท้งั หมด UID PID PPID C STIME TTY TIME CMD root 6715 6692 2 14:34 ttyp0 00:00:00 sleep 10h root 6716 6692 0 14:34 ttyp0 00:00:00 ps -ef [root@penguinvm log]# kill 6715 [1]+ Terminated sleep 10h

47 การกาํ หนดสิทธิ  ทาํ การตรวจสอบสิทธิของไฟล์ โดยใชค้ าํ สง่ั (ls -l) -rwxrwxr-x 1 rvdheij rvdheij 5224 Dec 30 03:22 hello -rw-rw-r-- 1 rvdheij rvdheij 221 Dec 30 03:59 hello.c -rw-rw-r-- 1 rvdheij rvdheij drwxrwxr-x 7 rvdheij rvdheij 1514 Dec 30 03:59 hello.s 1024 Dec 31 14:52 posixuft Permissions Group Owner สิทธิในการเขา้ ถึงไฟลใ์ นแต่ละกลุ่ม -rwxrwxrwx กล่มุ ผ้ใู ช้ทว่ั ไป Other permissions กลุ่ม Group permissions เจ้าของไฟล์ Owner permissions Directory flag (d=directory; l=link)