ชุดการเรียนรู้ทางไกล คร้ังที่ 1/18 เรื่อง ÁÃ襸 µ¦Á«´°·Á°¦Ár È°n¸ วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การจัดการอาชีพ รหัสวชิ า 3001 -2001 สาขาวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเภทวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ หลกั สูตรระดับ ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) ตามหลกั สูตร สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พทุ ธศกั ราช 2557 ประทปี ผลจนั ทร์งาม เพื่อการจดั ทาเน้ือหาและพฒั นาสื่อการสอนอาชีพและวชิ าชีพ สาหรับการศกึ ษาทางไกลหรอื เรียนฝึกงานในสถานประกอบการด้วยตนเอง วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
สารบญั 1. รายละเอียดหลกั สูตรรายวชิ า 1 2. ใบวเิ คราะห์หวั ขอ้ เร่ือง 4 3. แผนภมู ิปะการัง 6 4. โครงการจดั การเรียนรู้ 8 5. แผนการจดั การเรียนรู้ 12 6. เน้ือหา (ใบความรู้) 19 7. ส่ือประกอบการสอน 50 8. แบบทดสอบก่อนเรียน 71 9. แบบทดสอบหลงั เรียน 74 10. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 77 11. เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 79 12. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 81 13. แบบบนั ทึกหลงั การเรียนรู้ 83
1 1.รายละเอียดหลกั สูตรรายวชิ า
2 ช่ือวชิ า.เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การจดั การอาชพี คาอธิบายรายวชิ า รหัสวชิ า300– แผ่นที่ 1 สาขาวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ คาอธิบายรายวชิ า ( เดมิ ) 1. รหัสและช่ือวชิ า 3000–0203. วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบอื้ งต้น 2. ระดบั รายวชิ า ระดบั ช้นั ปวส. ปี ท่ี 1 3. เวลาศึกษา 72 ชว่ั โมงตลอด 18 สัปดาห์ ทฤษฎี 2 ชว่ั โมง ปฏิบตั ิ 2 ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์ 4. จานวนหน่วยกติ 3 หน่วยกิต 5. จุดประสงค์รายวชิ า 1. เเขา้ ใจเก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์ ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศรจดั การสารสนเทศ 2. สามารถสบื ค้น จัดเก็บ คน้ คนื สง่ ผ่าน จดั ดำเนนิ การข้อมูลสารสนเทศ นำเสนอและสือ่ สารข้อมูล ส 3. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพี 6. สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั หลักการและกระบวนการสบื ค้น จัดดำเนนิ การและสอ่ื สารขอ้ มลู ฯ 2. ใชค้ อมพวิ เตอรในการสืบค้นและสอื่ สารขอ้ มลู สารสนเทศผา่ นระบบ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 3. จัดเก็บ ค้นคนื สง่ ผ่านและจดั ดำเนินการขอ้ มูลสารสนเทศตามลักษณะงานอาชพี 4. นำเสนอและสื่อสารขอ้ มลู สารสนเทศในงานอาชพี โดยประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู 7. คาอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏิบัติเก่ยี วกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณโ์ ทรคมนาคม ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และ สารสนเทศ การสบื ค้นข้อมูลสารสนเทศ การจดั เก็บ คน้ คืน ส่งผ่านและจัดดำเนนิ การขอ้ มูล สารสนเทศ การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู ในการนำเสนอและสอ่ื สารข้อมลู สารสนเทศ ตามลกั ษณะงานอาชพี
3 ชื่อวชิ า.ทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชีพ คาอธิบายรายวชิ า รหสั วชิ า3001–2001 แผ่นท่ี 2 สาขาวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ คาอธิบายรายวชิ า ( เดมิ ) ศกึ ษาและปฏิบัตเิ กย่ี วกบั คอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์โทรคมนาคม ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ และ สารสนเทศ การสบื ค้นข้อมูลสารสนเทศ การจัดเก็บ คน้ คนื ส่งผ่านและจัดดำเนินการขอ้ มลู สารสนเทศ การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รูปในการนำเสนอและสื่อสารข้อมลู สารสนเทศ ขอ้ มลู สารสนเทศเพ่ือพฒั นางานอาชีพดว้ ยคอมพวิ เตอร์ คาอธิบายรายวชิ า ( ปรับปรุง ) ศึกษาเกยี่ วกบั พ้ืนฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ขอ้ มลู และการจดั การฐานขอ้ มลู การส่ือสารขอ้ มลู เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ เทคโนโลยซี อฟตแ์ วร์ ระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ความรู้พ้ืนฐานของเทคโนโลยเี ครือขา่ ย เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต การสืบคน้ ขอ้ มูล ตามลักษณะงานอาชีพ ศกึ ษาและปฏิบตั ิเกย่ี วกบั งานทดสอบโปรแกรมการจดั การฐานขอ้ มูล MS-ACCESS งานประกอบ ไมโครคอมพวิ เตอร์PC งานทดสอบโปรแกรม MS-Word งานทดสอบโปรแกรม MS-Power Point งานทดสอบโปรแกรม MS-Excel งานติดต้งั และทดสอบระบบปฏิบตั ิการ Linux งานติดต้งั และ ทดสอบระบบปฏิบตั ิการ Windows XP งานทดสอบระบบเครือขายวนิ โดว์ งานทดสอบสาย UTP งาน ทดสอบสอบ Switching HUB งานทดสอบระบบเครือขายอินเทอร์เน็ต งานทดสอบ IP Address งาน ทดสอบการใชง้ าน Browser งานทดสอบการใช้ e-Mail งานทดสอบการสืบคน้ มูลผา่ นเครือข่าย อินเทอร์เน็ต
4 2. ใบวิเคราะห์หวั ขอ้ เร่ือง
5 ชื่อวชิ า.เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพี ใบวเิ คราะห์หัวข้อเรื่อง รหัสวชิ า300– สาขาวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ แผ่นท่ี 1 แหล่งข้อมูล หวั ข้อเรื่อง ( Topic ) ABCDE 1. พ้ืนฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 2. ขอ้ มูลและการจดั การฐานขอ้ มลู /// / 3. การส่ือสารขอ้ มลู 4. เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ / //// 5. เทคโนโลยซี อฟตแ์ วร์ 6. ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ / //// 7. ความรู้พ้ืนฐานของเทคโนโลยเี ครือข่าย 8. เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต / //// 9. การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศเพอ่ื พฒั นางานอาชีพดว้ ยเครือข่าย อินเตอร์เน็ต / //// / //// / //// / //// / //// หมายเหตุ A : คาอธิบายรายวชิ า B : ประสบการณ์ของผู้สอน C : ผู้เช่ียวชาญ D : ผู้ชานาญงาน E : เอกสาร / ตารา
6 3. แผนภมู ิปะการงั
9.1 การสบคนขอมลสารสนเทศบนอนเทอร์เน็ต 1.1 เทคโนโลยสารสนเทศ 2.1 ขอมลและสารสนเทศ 9.2 เทคนคการสบคนขอมล 1.2 วฒนาการเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร 2.2 ฐานขอมลและการจดการฐานขอมล 9.3 เวบ็ ไซต์ทเกยวของเพอประโยชน์ในการศกษา 9. การสบคนขอมลสารสนเทศเพอพฒนา 1. พนฐานเทคโนโลย 2. ขอมลและการจดการ 3.1 รปแบบของการสอสารขอมล งานอาชพดวยเครอขายอนเตอรเ์ น็ต สารสนเทศและการสอสาร ฐานขอมล 3.2 ชนดของสญญาณ อเล็กทรอนกส์ 3.3 รหสทใชแทนขอมลในการสอสาร 8. เทคโนโลยสารสนเทศกบ วชา เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพีี 3. การสอสารขอมล 3.4 ระบบการสอสารอเลก็ ทรอนกส์ อนเตอร์เนต็ รหสั 3001–2001สาขาวิชาเทคโนโลยสารสนเทศ 3.5 ทศทางของการสอสารขอมล 3.6 สอและอปกรณร์ บสงขอมล 8.1 เครอขายอนเตอรเ์ นต็ 7. ความรพนฐานของ 4. เทคโนโลยคอมพวเตอร์ 4.1 คอมพวเตอรแ์ ละฮารด์ แวร์ 8.2 การบรการเครอขายอนเตอร์เน็ต เทคโนโลยเครอขาย 5. เทคโนโลยซอฟต์แวร์ 4.2 องคป์ ระกอบพนฐานของเครอง คอมพวเตอร์ 8.3 โพรโตคอล TCP/IP 6. ระบบปฏบตการ (Transmission Control คอมพวเตอร์ 4.3 ประเภทของคอมพวเตอร์ Protocol/Internet Protocol) 4.4 เทคโนโลยคอมพวเตอรส์ วนบคคล 4.5 แนะนาการเลอกซออปกรณ์คอมพวเตอร์ 8.5 การเชอมตอเขากบอนเตอรเ์ นต็ 4.6 คอมพวเตอรก์ บเครอขาย 8.6 การใชงานและบรการตางๆ บนเครอขาย อนเตอรเ์ นต็ Control (MAC) Method) 7.1 เปาหมายของเครอขายคอมพวเตอร์ 5.1 ซอฟตแ์ วรค์ อมพวเตอร์ 7.2 ประเภทระบบเครอขายคอมพวเตอร์ 8.7 การประยกตใ์ ชอนเตอรเ์ นต็ 5.2 ภาษาคอมพวเตอร์ 8.8 เครอขายอนทราเน็ต 7.3 ระบบเครอขายLAN (Local Area Network) 5.3 แนวทางการพฒนาซอฟตแ์ วร์ 7.4 สอทใชในการสงขอมล 6.1 ระบบปฏบตการ 6.2 ระบบปฏบตการ UNIX และ Linux 5.4 ซอฟตแ์ วรป์ ระยกต์ 7.5 อปกรณ์ทใชในการเชอมตอบนระบบเครอขาย 6.3 ระบบปฏบตการวนโดว์ (ตอนท่ 1 การใชงานโปรแกรม MS Word) 7.6 วธควบคมการเขาใชงานสอกลาง (Media Access Control 6.4 ระบบปฏบต Windows mobile 5.4 ซอฟตแ์ วรป์ ระยกต์ (ตอนท่ 2 การใชงานโปรแกรม MS Power Point ) (MAC) Method) 7.7 มาตรฐานระบบเครอขายแบบ LAN ชนดตางๆ 5.4 ซอฟตแ์ วรป์ ระยกต์ 7.8 โปรโตคอลของระบบเครอขาย (Network Protocol) (ตอนท่ 3 การใชงานโปรแกรมไมโครซอฟท์ MS Excel ) 7
8 4. โครงการจดั การเรียนรู้
9 โครงการสอนทางไกล วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การจดั การอาชีพ รหสั วชิ า 3001–2001 สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ หลกั สูตรระดับ ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) ตามหลกั สูตร สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พทุ ธศกั ราช 2557 สอนคร้ังที่ หน่วยการ รายการสอน หมายเหตุ 1 เรียนท่ี 2 1. พนื้ ฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 3 1 1.1 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 1.2 วฒั นาการเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 4 3 5 2. ข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล 3 2.1 ขอ้ มลู และสารสนเทศ 6 4 2.2 ฐานขอ้ มูลและการจดั การฐานขอ้ มูล 7 4 3. การสื่อสารข้อมูล 5 3.1 รูปแบบของการสื่อสารขอ้ มูล 3.2 ชนิดของสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์ 3.3 รหสั ท่ีใชแ้ ทนขอ้ มลู ในการสื่อสาร 3.4 ระบบการส่ือสารอิเลก็ ทรอนิกส์ 3.5 ทิศทางของการส่ือสารขอ้ มลู 3.6 ส่ือและอุปกรณ์รับส่งขอ้ มลู 4. เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ 4.1 คอมพิวเตอร์และฮาร์ดแวร์ 4.2 องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 4.3 ประเภทของคอมพิวเตอร์ 4.4 เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 4.5 แนะนาการเลือกซ้ืออุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ 4.6 คอมพวิ เตอร์กบั เครือขา่ ย 5. เทคโนโลยซี อฟต์แวร์ 5.1 ซอฟตแ์ วร์คอมพิวเตอร์
10 สอนคร้ังท่ี หน่วยการ รายการสอน หมายเหตุ เรียนที่ 8 5.2 ภาษาคอมพวิ เตอร์ 9 5 5.3 แนวทางการพฒั นาซอฟตแ์ วร์ 10 5 5.4 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ 11 5 (ตอนที่ 1 การใชง้ านโปรแกรม MS Word) 12 6 5.4 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ 13 (ตอนท่ี 2 การใชง้ านโปรแกรม MS Power Point ) 14 6 5.4 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ 6 (ตอนท่ี 3 การใชง้ านโปรแกรมไมโครซอฟท์ MS 15 7 Excel ) 6. ระบบปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ 16 7 6.1 ระบบปฏิบตั ิการ 6.2 ระบบปฏิบตั ิการ UNIX และ Linux 8 6.3 ระบบปฏิบตั ิการวนิ โดว์ 6.4 ระบบปฏิบตั ิ Windows mobile 7. ความรู้พนื้ ฐานของเทคโนโลยเี ครือข่าย 7.1 เป้ าหมายของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 7.2 ประเภทระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 7.3 ระบบเครือข่ายLAN (Local Area Network) 7.4 สื่อที่ใชใ้ นการส่งขอ้ มูล 7.5 อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเช่ือมตอ่ บนระบบเครือขา่ ย 7.6 วธิ ีควบคุมการเขา้ ใชง้ านสื่อกลาง (Media Access Control (MAC) Method) 7.7 มาตรฐานระบบเครือข่ายแบบ LAN ชนิดตา่ งๆ 7.8 โปรโตคอลของระบบเครือข่าย (Network Protocol) 8. เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อนิ เตอร์เน็ต 8.1 เครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต 8.2 การบริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 8.3 โพรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
สอนคร้ังท่ี หน่วยการ รายการสอน 11 เรียนที่ 8.4 ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System) หมายเหตุ 17 8 8.5 การเช่ือมต่อเขา้ กบั อินเตอร์เน็ต 8.6 การใชง้ านและบริการตา่ งๆ บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตControl (MAC) Method) 8.7 การประยกุ ตใ์ ชอ้ ินเตอร์เน็ต 8.8 เครือขา่ ยอินทราเน็ต 18 9 9. การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศเพอื่ พฒั นางานอาชีพด้วย เครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.1 การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต 9.2 เทคนิคการสืบคน้ ขอ้ มูล 9.3 เวบ็ ไซตท์ ี่เกี่ยวขอ้ งเพอ่ื ประโยชน์ในการศึกษา
12 5. แผนการจดั การเรียนรู้
13 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังที่ 16 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชพี หน่วยที่ 8 ช่ือหน่วย เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. ชื่อเรื่อง เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต ตอนท่ี 2 จานวน 2 ชั่วโมง 1.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายการเชื่อมต่อเขา้ กบั อินเตอร์เน็ตไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2. อธบิ ายการใชง้ านและบริการต่างๆ บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตControl (MAC) Method)ได้ อยา่ งถูกตอ้ ง 3. อธบิ ายการประยกุ ตใ์ ชอ้ ินเตอร์เน็ตไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4. อธบิ ายเครือขา่ ยอินทราเน็ตไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 2. หัวข้อสาระการเรียนรู้ 1. การเชื่อมต่อเขา้ กบั อินเตอร์เน็ต 2. การใชง้ านและบริการต่างๆ บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตControl (MAC) Method) 3. การประยกุ ตใ์ ชอ้ ินเตอร์เน็ต 4. เครือข่ายอินทราเน็ต 3. สาระสาคญั การเรียนรู้ บรกิ ารบนอนิ เตอรเ์ น็ตอกี หน่ึงบรกิ ารทถ่ี อื ว่าไดร้ บั ความนิยมมากทส่ี ุดในปจั จุบนั ไดแ้ ก่ บรกิ ารเวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ ซง่ึ เป็นบรกิ ารนาเสนอขอ้ มลู ในรปู แบบของไฮเปอรเ์ ทก็ ซ์ ซง่ึ ปจั จุบนั สามารถ นาเสนอ ในระบบมลั ตมิ เี ดยี ร่วมดว้ ยได้ รวมเรยี กว่าเป็น \"ระบบไฮเปอรม์ เี ดยี \" ทาใหบ้ รกิ าร เวลิ ด์ไวดเ์ วบ็ ได้รบั ความนิยมอย่างสงู เวลิ ด์ไวด์เว็บใช้สถาปตั ยกรรมการส่งผ่านขอ้ มูลระหว่าง เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ แบบ Client/Server ผใู้ ชจ้ ะระบขุ อ้ มลู ทต่ี อ้ งการผา่ นโปรแกรมเว็บบราวเซอรซ์ ง่ึ จะทาการรอ้ งขอไปยงั เวบ็ เซริ ฟ์ เวอรโ์ ดยใชโ้ ปรโตคอล HTTP เมอ่ื เวบ็ เซริ ฟ์ เวอรไ์ ดร้ บั การรอ้ งขอก็ จะส่งขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการกลบั มาใหเ้ วบ็ บราวเซอรเ์ พอ่ื แสดงแก่ผใู้ ช้ เครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ตยงั ไดถ้ ูกประยกุ ต์ใหม้ าใชภ้ ายในองค์กรท่มี เี ครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ของตนเองอกี ด้วย โดยจะมกี ารเช่อื มต่อคอมพวิ เตอร์ และมกี ารแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ขององคก์ ร เฉพาะ ภายในองคก์ รเท่านัน้ บุคคลภายนอกทไ่ี ม่ไดเ้ ป็นสมาชกิ ขององคก์ รจะถูกกาหนดสทิ ธิ ์ ไม่ให้เข้าใช้เครอื ข่ายในส่วนน้ี ซ่ึงเรยี กเครอื ข่ายในลกั ษณะน้ีว่า \"เครอื ข่ายอินทราเน็ต\"
14 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังที่ 16 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชพี หน่วยท่ี 8 ช่ือหน่วย เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. 4. เนือ้ หาสาระ บทท่ี 8 เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต 8.5 การเช่ือมต่อเขา้ กบั อินเตอร์เน็ต 8.6 การใชง้ านและบริการต่างๆ บนเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ตControl (MAC) Method) 8.7 การประยกุ ตใ์ ชอ้ ินเตอร์เน็ต 8.8 เครือขา่ ยอินทราเน็ต จากเอกสารประกอบการเรียนรู้ของ ประทีป ผลจนั ทร์งาม. วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเบือ้ งต้น .เอกสารประกอบการเรียนรู้.อดั สาเนา. เอกสารการพมิ พว์ ทิ ยาลยั เทคนิคบา้ นคา่ ย. 2555. 5. กจิ กรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมครู กจิ กรรมนักเรียน ข้นั เตรียม ข้นั เตรียม 1. จดั เตรียมสื่อที่ใชป้ ระกอบการเรียนรู้ให้ 1. เตรียมตวั และเอกสาร หรือวสั ดุ เครื่องมือท่ี พร้อม สาหรับการเรียนการสอน ( ตามรายการ จาเป็นตอ้ งใชใ้ นการเรียนรู้ ในหวั ขอ้ ท่ี ส่ือการเรียนรู้ เลือกส่ือการเรียนรู้ได้ 2. ใหค้ วามร่วมมือกบั ครูในการตรวจสอบรายชื่อ ตามความเหมาะสม ) เขา้ เรียน 2. ตรวจสอบรายชื่อนกั เรียนท่ีเขา้ เรียน 3. ถา้ เรียนรู้ผา่ นระบบ e-Learning ใหเ้ ขา้ สู่ระบบ เพอ่ื เตรียมความพร้อมในการเรียนรู้ ข้นั สนใจปัญหา (Motivation) ข้นั สนใจปัญหา (Motivation) 1. ใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดย 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ใชเ้ วลา 30 นาที และครูตรวจคาตอบหลงั จาก 2. ร่วมสนทนาและแสดงความคิดเห็น เสร็จสิ้นการทดสอบ เพื่อแจง้ ผลการทดสอบให้ นกั เรียนทราบหลงั เรียนจบบทเรียน 2. ใชส้ ่ือช่วยสอน นาเขา้ สู่บทเรียนดว้ ยภาพ แบบจาลอง ของตวั อยา่ ง หรือสิ่งที่จะช่วยดึงดูด ความสนใจ หรือคาถาม หมายเหตุ หากเรียนรู้จากส่ือวดี ีทศั น์
15 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังท่ี 16 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจดั การอาชพี หน่วยท่ี 8 ช่ือหน่วย เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต ชั่วโมงรวม 2 ช.ม. ทางไกลผา่ นดาวเทียม หรือผา่ นอินเทอร์เน็ต ตอ้ งทาการทดสอบก่อนเรียนใหแ้ ลว้ เสร็จก่อน การเรียนรู้ จากสื่อฯ ที่ทาการออกอากาศ ข้ันศึกษาข้อมูล (Information) (60 นาท)ี ข้นั ศึกษาข้อมูล (Information) 1. ใหผ้ เู้ รียนเริ่มเรียนรู้เน้ือหา หรือฝึก 1. ผเู้ รียนเริ่มเรียนรู้เน้ือหา หรือฝึกปฏิบตั ิงาน ปฏิบตั ิงาน จากการฉายวดี ีทศั น์ในรูปแบบ จากการฉายวดี ีทศั น์ในรูปแบบ DVD หรือ สื่อวีดี DVD หรือ ส่ือวดี ีทศั นท์ างไกลผา่ นดาวเทียม ทศั นท์ างไกลผา่ นดาวเทียม หรืออินเทอร์เน็ต หรืออินเทอร์เน็ต หรือแบบออฟไลน์ หรือแบบออฟไลน์ 2. ใหผ้ เู้ รียนไดส้ อบถามหรือขอ้ สงสัย จาก 2. ผเู้ รียนไดส้ อบถามหรือขอ้ สงสัย จากการ การเรียนรู้เน้ือหา เรียนรู้เน้ือหา ข้นั พยายาม (Application) (30 นาท)ี ข้นั พยายาม (Application) 1. หลงั การเรียนรู้เน้ือหาเสร็จสิ้น ใหผ้ เู้ รียน 1. หลงั การเรียนรู้เน้ือหาเสร็จสิ้นผเู้ รียนทา ทาแบบทดสอบหลงั เรียนหรือแบบฝึกปฏิบตั ิ แบบทดสอบหลงั เรียนหรือแบบฝึกปฏิบตั ิ 2. หรือใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบบน 2. หรือทาแบบทดสอบบนออนไลน์ และ ออนไลน์ และสามารถตรวจคาตอบไดท้ นั ที สามารถตรวจคาตอบทนั ที ข้นั สาเร็จผล (Progress) ข้นั สาเร็จผล (Progress) 1. ประเมินผลการปฏิบตั ิงานหรือ 1. รับผลการทดสอบ แบบทดสอบของผเู้ รียนหลงั ข้นั พยายามโดย 2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปสาระสาคญั เทียบกบั วตั ถุประสงคก์ ารเรียนท่ีต้งั ไว้ 3. นกั เรียนสอบถามขอ้ สงสัย 2. ผสู้ อนแจง้ ผลคะแนนการปฏิบตั ิงานหรือ 4. ฟังและปฏิบตั ิตามที่ครูแนะนา การทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนใหผ้ เู้ รียน 5. ผเู้ รียนที่มีคะแนนทดสอบหลงั การเรียนที่ไม่ ทราบ เพ่ือเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ผา่ นเกณฑ์ข้นั ต่า ปฏิบตั ิตามขอ้ แนะนาตามเกณฑ์ ของตน การประเมินผล และคาแนะนาของครูผสู้ อน 3. ผสู้ อนแจง้ ใหผ้ เู้ รียนที่มีคะแนนหลงั เรียน ที่ไม่ผา่ นเกณฑข์ ้นั ต่า ปฏิบตั ิตามขอ้ แนะนาตาม เกณฑก์ ารประเมินผล 4. ผสู้ อนสรุปสาระสาคญั และตอบขอ้ สงสยั พร้อมแนะนาสิ่งท่ีเก่ียวขอ้ งในการเรียนรู้คร้ังน้ี
16 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังท่ี 16 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจดั การอาชีพ หน่วยที่ 8 ชั่วโมงรวม 2 ช.ม. ชื่อหน่วย เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต และแนะนาการเรียนรู้ในคร้ังตอ่ ไป 6. ส่ือการเรียนการสอน สื่อการเรียนรู้ ใหค้ รูผสู้ อนและผเู้ รียนเลือกใชส้ ื่อประกอบการเรียนการสอนตามสภาพความ พร้อมของของตนเอง ดงั น้ี 6.1 สื่อโสตทัศน์ 1) วดี ีทศั น์ในรูปแบบ DVD เร่ือง เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อนิ เตอร์เน็ต ตอนท่ี 2 สาหรับ ผเู้ รียน ที่เรียนรู้จากการฉายวดี ีทศั น์ 2) วดี ีทศั นท์ างไกลผา่ นดาวเทียม วงั ไกลกงั วล ตามตารางการออกอากาศ เร่ือง เทคโนโลยี สารสนเทศกบั อนิ เตอร์เน็ต ตอนท่ี 2 สาหรับผเู้ รียนท่ีเรียนรู้ทางไกลผา่ นดาวเทียม 6.2 โสตทศั น์อปุ กรณ์ 1) เคร่ืองเล่น DVD พร้อม TV ที่มีช่องรับสญั ญาณ AV (AV IN) สาหรับผเู้ รียน ท่ีเรียนรู้ จากการฉายวดี ีทศั น์ 2) เคร่ืองรับสญั ญาณดาวเทียม ท่ีรับสัญญาณจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม วงั ไกลกงั วล พร้อม TV ท่ีมีช่องรับสัญญาณ AV (AV IN) สาหรับผเู้ รียนที่เรียนรู้ทางไกลผา่ น ดาวเทียม 6.3 สื่อส่ิงพมิ พ์ 1) สาเนาส่ือโปรแกรมนาเสนอ PowerPoint เร่ือง เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อนิ เตอร์เน็ต ตอนที่ 2 2) เอกสารประกอบการเรียนรู้ เช่น ใบความรู้ แบบทดสอบฯลฯ 6.4 สื่อออนไลน์ 1) เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ีสามารถเช่ือมตอ่ อินเทอร์เน็ตได้ และเขา้ เวบ็ ไซต์ url: http://edltv.vec.go.th 2) เคร่ืองคอมพิวเตอร์พร้อมติดต้งั ระบบ edltv เพื่อพฒั นาอาชีพ แบบออฟไลน์ สามารถเขา้ ใช้ งานและเรียนรู้ไดโ้ ดยตรง
17 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังท่ี 16 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพี หน่วยท่ี 8 ช่ือหน่วย เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. 7. การวดั ผลและประเมนิ ผล 7.1 ก่อนเรียนรู้ วธิ ีการวดั ผล - ทดสอบก่อนเรียนรู้ เครื่องมือวดั - แบบทดสอบก่อนเรียนรู้ 7.2 ระหว่างเรียนรู้ วธิ ีการวดั ผล - ประเมินพฤติกรรมรายบุคคล เครื่องมือวดั - แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 7.3 หลงั เรียน วธิ ีการวดั ผล - ทดสอบหลงั เรียนรู้ เคร่ืองมือวดั - แบบทดสอบหลงั เรียนรู้ 8. เกณฑ์การประเมนิ ผล 8.1 เกณฑ์การวดั ผลสัมฤทธ์จิ ากแบบทดสอบและใบมอบงานมเี กณฑ์ดังนี้ ร้อยละ 80-100 หมายถึง ผลการเรียนรู้ดีมาก ร้อยละ 70-79 หมายถึง ผลการเรียนรู้ดี ร้อยละ 60-69 หมายถึง ผลการเรียนรู้ปานกลาง ร้อยละ 50-59 หมายถึง ผลการเรียนรู้ผา่ นเกณฑผ์ า่ น ข้นั ต่า (ควรปรับปรุงดว้ ยการศึกษาทบทวน) ต่ากวา่ ร้อยละ 50 หมายถึง ผลการเรียนไม่ผา่ นเกณฑ(์ ตอ้ งปรับปรุงและ เรียนซ่อมเสริมควรทดสอบการประเมินจนกวา่ จะผ่านข้นั ต่า) 8.2เกณฑ์การประเมนิ พฤติกรรมรายบุคคล 8-10 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมดี 5-7 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมพอใช้ ต่ากวา่ 5 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมท่ีตอ้ งปรับปรุง
18 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังที่ 16 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพี หน่วยท่ี 8 ชื่อหน่วย เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. 8.3 เกณฑ์การตัดสิน 2 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ปฏิบตั ิสม่าเสมอ 1 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ปฏิบตั ิบางคร้ัง 0 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ไม่ปฏิบตั ิ 8.4 เกณฑ์การประเมนิ 8 - 10 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมดี 5 - 7 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมพอใช้ ต่ากวา่ 5 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมท่ีตอ้ งปรับปรุง 9. แหล่งการเรียนรู้เพมิ่ เติม - ประทีป ผลจนั ทร์งาม. วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเบอื้ งต้น .เอกสารประกอบการเรียนรู้. อดั สาเนา. เอกสารการพิมพว์ ทิ ยาลยั เทคนิคบา้ นค่าย. 2555. - สืบคน้ ขอ้ มลู จากแหล่งขอ้ มูลอื่นๆ ผา่ นเครือขายอินเทอร์เน็ต
19 6. เนือ้ หา (ใบความรู้)
20 บทเรียนที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีเครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ต จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2. อธบิ ายการบรกิ ารเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 3. อธบิ ายระบบการส่อื สารโพรโตคอล TCP/IP ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 4. อธบิ ายโครงสรา้ งระบบชอ่ื โดเมนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 5. จาแนกวธิ กี ารเช่อื มต่อระบบเครอื ขา่ ยอนิ เตอรไ์ ดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 6. อธบิ ายการใชง้ านและบรกิ ารต่าง ๆ บนเครอื ขา่ ยอนิ เตอรไ์ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 7. อธบิ ายการประยกุ ตใ์ ชง้ านเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 8. อธบิ ายความหมายและการใชง้ านเครอื ขา่ ยอนิ ทราเน็ตไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง หวั ข้อเนื้อหา 1. บทนา 2. เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต 3. การบรกิ ารเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต 4. โพรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) 5. ระบบชอ่ื โดเมน (Domain Name System) 6. การเชอ่ื มต่อเขา้ กบั อนิ เตอรเ์ น็ต 7. การใชง้ านและบรกิ ารต่างๆ บนเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต 8. การประยกุ ตใ์ ชอ้ นิ เตอรเ์ น็ต 9. เครอื ขา่ ยอนิ ทราเน็ต 10. สรปุ
21 บทเรียนท่ี 8 เทคโนโลยีเครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ต 8.6 การเช่ือมต่อเข้ากบั อินเตอรเ์ น็ต ในการเช่อื มต่อเขา้ สรู่ ะบบอนิ เตอรเ์ น็ตนนั้ โดยมากแลว้ จะกระทาผา่ นหน่วยงานทเ่ี ป็นผู้ ใหบ้ รกิ ารเชอ่ื มต่อกบั อนิ เตอรเ์ น็ต (Internet Service Provider) หรอื นยิ มเรยี กทวั่ ไปอย่างยอ่ ๆ ว่า ISP ซง่ึ ISP สว่ นใหญ่แลว้ จะใหบ้ รกิ ารในลกั ษณะเชงิ พาณชิ ย์ โดยจะมวี งจรส่อื สารความเรว็ สงู เช่อื มต่อ เครอื ขา่ ยเขา้ กบั ISP รายอ่นื ๆ จานวนมากทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ การตดิ ต่อเขา้ สรู่ ะบบ อนิ เตอรเ์ น็ต สามารถแบ่งประเภทไดต้ ามลกั ษณะของการเช่อื มต่อได้ 2 แบบ ดงั น้ี 1. การเช่ือมต่อแบบหมนุ โทรศพั ท์ (Dial Up Connection) การเช่อื มต่อแบบน้เี หมาะ สาหรบั ผใู้ ชง้ านทวั่ ไป หรอื องคก์ รขนาดเลก็ ทป่ี ระสงคท์ จ่ี ะเชอ่ื มต่อเขา้ ส่เู ครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ตเฉพาะ บางเวลาตามทต่ี อ้ งการใช้ สาหรบั การเช่อื มต่อคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ สเู่ ครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตวธิ นี ้จี ะอาศยั ศูนยบ์ รกิ ารของ ISP หรอื หน่วยงานต่างๆ ซง่ึ ไดท้ าการต่อเช่อื มกบั เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตอยแู่ ลว้ เป็น เสน้ ทางผ่าน ผใู้ ชง้ านสามารถเชอ่ื มโยงคอมพวิ เตอรท์ บ่ี า้ น หรอื ทส่ี านกั งานเขา้ กบั เครอื ขา่ ย อนิ เตอรเ์ น็ตโดยผา่ นทางคสู่ ายโทรศพั ทท์ ใ่ี ชต้ ามปกติ และจะตอ้ งอาศยั \"โมเดม็ (Modem)\" ซง่ึ เป็น อุปกรณ์สาหรบั แปลงสญั ญาณระหว่างสญั ญาณคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ อยใู่ นรปู แบบดจิ ติ อล (Digital) และ สญั ญาณเสยี งซง่ึ อยใู่ นรปู แบบอะนาลอก (Analog) ภาพท่ี 8.8 การเช่อื มต่อผ่านทางสายโทรศพั ทโ์ ดยใชโ้ มเดม็
22 การเชอ่ื มต่อในลกั ษณะน้ี ผใู้ ชบ้ รกิ ารตอ้ งเป็นสมาชกิ กบั ศนู ยบ์ รกิ าร ISP หรอื หน่วยงานท่ี ใหบ้ รกิ าร โดยจะไดร้ บั บญั ชผี ใู้ ช้ (User Account) เพ่อื ใชต้ รวจสอบในการใชบ้ รกิ ารดว้ ยทุกครงั้ สาหรบั ISP ทใ่ี หบ้ รกิ ารเชงิ พาณิชยน์ นั้ เปิดโอกาสใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถเลอื กขอเป็นสมาชกิ เป็นรายเดอื น รายปีหรอื อาจเป็นการซอ้ื ชุดอนิ เตอรเ์ น็ตสาเรจ็ รปู โดยคดิ ค่าใชบ้ รกิ ารเป็นหน่วยชวั่ โมงกไ็ ด้ ภาพท่ี 8.9 โมเดม็ ชนิดตดิ ตงั้ ภายในและภายนอก 2. การเชื่อมต่อแบบโดยตรง (Direct Connection) การเช่อื มต่อลกั ษณะน้เี หมาะสาหรบั หน่วยงานทม่ี รี ะบบเครอื ขา่ ยของตนเองอยแู่ ลว้ และตอ้ งการเช่อื มต่อเครอื ขา่ ยของตนเองน้เี ขา้ สู่ เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตตลอดเวลาเสมอื นวา่ เป็นส่วนหน่ึงของ เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต ทาใหเ้ ครอ่ื ง คอมพวิ เตอรท์ ุกเครอ่ื งทอ่ี ยใู่ นหน่วยงานสามารถตดิ ต่อกบั เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตไดต้ ลอดเวลา นอกจากนนั้ หน่วยงานยงั ตดิ ตงั้ เครอ่ื งแมข่ า่ ย (Server) ต่างๆ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารแก่ผใู้ ชง้ านอนิ เตอรเ์ น็ต ทวั่ ไปได้ ตามปกตนิ นั้ คอมพวิ เตอรท์ อ่ี ยู่ เครอื ขา่ ยของหน่วยงานจะตอ้ งเชอ่ื มต่อกนั โดยใชโ้ ปรโตคอล TCP/IP เป็นหลกั โดยอาศยั แผงวงจรเชอ่ื มต่อเครอื ขา่ ย (NIC : Network Interface Card) ทต่ี ดิ ตงั้ ไวใ้ น
23 คอมพวิ เตอรแ์ ต่ละเครอ่ื งและสายสญั ญาณเช่อื มต่อ (Cable) ระหวา่ งกนั นอกจากน้ีจะตอ้ งมกี าร กาหนดหมายเลขไอพใี หส้ าหรบั คอมพวิ เตอร์ แต่ละเครอ่ื งดว้ ย ภาพท่ี 8.10 แสดงการเช่อื มต่ออนิ เตอรเ์ น็ตโดยตรงกบั ISP การตดิ ต่อของระบบเครอื ขา่ ยภายในหน่วยงานออกสเู่ ครอื ขา่ ยภายนอกจะใชช้ ่องทางท่ี เรยี กวา่ เกตเวย์ (Gateway) ซง่ึ โดยปกตจิ ะใชอ้ ุปกรณ์เครอื ขา่ ยทเ่ี รยี กว่า เราเตอร์ (Router) และเชอ่ื ม ต่อกบั ISP เพอ่ื ตดิ ต่อกบั เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตต่อไป สาหรบั การเช่อื มต่อระหว่างหน่วยงานไปยงั ISP นนั้ จะสามารถเลอื กการสง่ ผ่านสญั ญาณไดห้ ลายรปู แบบ เชน่ สายวงจรเชา่ (Leased Line) ระบบวงจร สอ่ื สารรว่ ม (ISDN) ระบบดาวเทยี ม (Satellite) ระบบไมโครเวฟ (Microwave) เป็นตน้ 8.7 การใช้งานและบริการต่างๆ บนเครือข่ายอินเตอรเ์ น็ต จากทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ วา่ บรกิ ารบนอนิ เตอรเ์ น็ตทน่ี ่าสนใจมอี ยเู่ ป็นจานวนมาก บรกิ ารท่ี น่าสนใจและเป็นทน่ี ิยมกนั มดี งั น้ี
24 8.7.1 บริการจดหมายอิเลค็ ทรอนิคส์ (Electronic Mail หรือ E-mail) เน่อื งจากในระบบเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ตนนั้ คอมพวิ เตอรท์ งั้ หลายไดถ้ ูกเชอ่ื มต่อเขา้ ดว้ ยกนั ทา ใหก้ ารส่งขอ้ มลู ระหวา่ งคอมพวิ เตอรด์ ว้ ยกนั สามารถทจ่ี ะกระทาไดโ้ ดยไม่ขน้ึ อยกู่ บั ระยะทางว่า จะ ใกลห้ รอื ไกลเพยี งใด ดงั นนั้ บรกิ าร จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกสจ์ งึ เป็นบรกิ ารทไ่ี ดร้ บั ความนิยมแพรห่ ลาย เป็นอยา่ งมาก เน่อื งจากผใู้ ชง้ านสามารถรบั ส่งขอ้ ความเพ่อื ตดิ ต่อแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสาร กบั บุคคล อ่นื ๆ ทใ่ี ชบ้ รกิ ารน้บี นเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตได้ ไมว่ า่ ผนู้ นั้ จะอยหู่ ่างไกลเพยี งใดและมคี วามสะดวก รวดเรว็ กว่าการใชบ้ รกิ ารระบบไปรษณียต์ ามปกติ นอกจากนนั้ ยงั สามารถส่งขอ้ มลู ในรปู แบบอ่นื ๆ นอกเหนือจากตวั อกั ษร เชน่ ภาพนงิ่ ภาพเคล่อื นไหว เสยี ง แนบไปพรอ้ มกบั จดหมายไดอ้ กี ดว้ ย ในการสง่ อเี มลก์ ต็ อ้ งมกี ารจา่ หน้าถงึ ผรู้ บั เช่นเดยี วกบั การสง่ จดหมายธรรมดาทวั่ ไป ผสู้ ่งและ ผรู้ บั จะตอ้ งมที อ่ี ยซู่ ง่ึ เรยี กว่า อเี มลแ์ อดเดรส (E-mail Address) สาหรบั รปู แบบของอเี มล์ แอดเดรสจะ ประกอบดว้ ย 2 ส่วนคอื ชอ่ื ผใู้ ช้ และชอ่ื เครอ่ื งบรกิ าร และใชเ้ ครอ่ื งหมาย @ (ออกเสยี งว่า \"แอท็ \") คนั่ ระหว่างทงั้ สองสว่ นน้ี ตวั อยา่ งเชน่ [email protected] ซง่ึ มชี อ่ื ผใู้ ช้ คอื pranee และช่อื เครอ่ื งบรกิ าร คอื nectec.or.th ภาพท่ี 8.11 ตวั อยา่ งโปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการสง่ จดหมายซง่ึ แสดงสว่ นประกอบหลกั ของอเี มล์ โครงสรา้ งจดหมายของอเี มลโ์ ดยทวั่ ไปแบ่งเป็น 3 ส่วน ดงั น้ี 1. สว่ นหวั จดหมาย เป็นสว่ นทใ่ี ชใ้ นการระบุอเี มลแ์ อดเดรสของผรู้ บั จดหมาย หวั ขอ้ เรอ่ื งของ จดหมาย แฟ้ม ขอ้ มลู ทแ่ี นบกบั จดหมาย โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี
25 To : คอื อเี มลแ์ อดเดรสของผรู้ บั ถา้ มผี รู้ บั หลายคนใหค้ นั่ อเี มลแ์ อดเดรสแต่ละช่อื ดว้ ย เครอ่ื งหมายจลุ ภาค (,) CC : (ยอ่ มาจาก Carbon Copy) คอื อเี มลแ์ อดเดรสของผรู้ บั คนอ่นื ๆ ทต่ี อ้ งการใหร้ บั จดหมายน้ี ดว้ ย แต่เน้นน้าหนกั ของจดหมายใหเ้ พยี งแต่ผรู้ บั เหล่าน้ีรบั ทราบเทา่ นนั้ ถา้ มผี รู้ บั ประเภทน้หี ลายคน ใหค้ นั่ อเี มลแ์ อดเดรสแต่ละช่อื ดว้ ยเครอ่ื งหมายจลุ ภาค BCC : (ยอ่ มาจาก Blind Carbon Copy) คอื อเี มลแ์ อดเดรสของผรู้ บั ซง่ึ ผสู้ ง่ มคี วามประสงคท์ จ่ี ะ ไมใ่ หป้ รากฏอเี มลข์ องผรู้ บั เหล่าน้ใี หผ้ รู้ บั คนอ่นื ๆ เหน็ วา่ ไดม้ กี ารมสี ่งจดหมายฉบบั น้ี ใหแ้ ก่ ผรู้ บั เหลา่ น้ดี ว้ ย ถา้ หากมอี เี มลแ์ อดเดรสประเภทน้ีมากกวา่ หน่งึ กใ็ หค้ นั่ อเี มล์แอดเดรสแต่ละชอ่ื ดว้ ย เครอ่ื งหมายจลุ ภาคเช่นกนั Subject : คอื หวั ขอ้ เรอ่ื งของจดหมายซง่ึ จะบอกใหผ้ รู้ บั ทราบถงึ ประเดน็ สาคญั ทอ่ี ยใู่ น เน้อื ความของจดหมาย Attach : คอื แฟ้มขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการแนบสง่ ไปพรอ้ มกบั จดหมาย ซง่ึ อาจจะมหี ลายแฟ้มขอ้ มลู กไ็ ด้ 2. สว่ นเน้อื ความ เป็นสว่ นขอ้ ความในจดหมาย 3. สว่ นทา้ ยจดหมาย เป็นส่วนปิดทา้ ยเน้อื ความในจดหมาย ซง่ึ อาจเป็นช่อื ของผสู้ ่งพรอ้ มกบั ท่ี อยตู่ าแหน่ง หรอื สถานทท่ี างาน ซง่ึ ในสว่ นน้อี าจเรยี กว่าเป็น ลายเซน็ (Signature) โปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการรบั สง่ จดหมายบางโปรแกรมอาจจะใหผ้ ใู้ ชก้ าหนด Signature เอาไวก้ ่อน และเมอ่ื มกี ารส่งอเี มลท์ กุ ครงั้ โปรแกรมกจ็ ะต่อทา้ ยขอ้ ความในสว่ น เน้อื ความจดหมายดว้ ย Singature ทก่ี าหนดไวใ้ หโ้ ดยอตั โนมตั ิ สาหรบั ส่วนทา้ ยจดหมายน้อี าจจะมหี รอื ไมม่ กี ไ็ ดโ้ ปรแกรมทใ่ี ชง้ านในการ รบั ส่งอเี มลท์ ม่ี ผี นู้ ิยมใชง้ านมอี ยหู่ ลายโปรแกรม มที งั้ ทเ่ี ป็นแบบตวั อกั ษร (Text mode) หรอื แบบทเ่ี ป็น กราฟิกส์ (Graphic mode) โดยทวั่ ไปในเครอ่ื งทใ่ี ชร้ ะบบปฎบิ ตั กิ ารยนู ิกซ์ ผใู้ ชส้ ามารถใชโ้ ปรแกรม mail หรอื mailx เพ่อื อ่านและสง่ อเี มลไ์ ด้ และอกี โปรแกรมทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มอยา่ งสงู คอื โปรแกรม pine ซง่ึ โปรแกรมทก่ี ล่าวมาทงั้ สองน้จี ะทางานในแบบตวั อกั ษร ส่วนโปรแกรมทเ่ี ป็นแบบกราฟิกสซ์ ง่ึ ทางานอยบู่ นระบบปฏบิ ตั กิ ารแบบกราฟิกสอ์ ยา่ งเชน่ ไมโครซอฟตว์ นิ โดว์ กม็ อี ยหู่ ลายโปรแกรม ตวั อยา่ งเชน่ โปรแกรม Microsoft Outlook โปรแกรม Eudora โปรแกรม Netscape Mail เป็นตน้ ปจั จบุ นั มหี น่วยงานบางแห่งไดม้ กี ารพฒั นารปู แบบการใหบ้ รกิ ารรบั ส่งอเี มลข์ น้ึ ใหมเ่ พอ่ื ให้ รองรบั การใชง้ านผ่านเครอื ข่าย WWW ไดอ้ กี ดว้ ย โดยผใู้ ชส้ ามารถทจ่ี ะสมคั รลงทะเบยี นทเ่ี วบไซต์ ของหน่วยงานทเ่ี ปิดใหบ้ รกิ ารได้ จากนนั้ กจ็ ะไดร้ บั อเี มลแ์ อดเดรสและรหสั ผา่ นเพ่อื ขอเขา้ ใชบ้ รกิ าร ผ่านเวบไซตด์ งั กล่าว บรกิ ารการรบั สง่ อเี มลผ์ า่ นเวบ็ ในลกั ษณะน้เี รยี กว่า เวบเมล์ (Web Mail) สาหรบั เวบเมลส์ าหรบั ของต่างประเทศทไ่ี ดร้ บั ความนิยมในปจั จบุ นั มอี ยหู่ ลายแห่ง เช่น http://www.hotmail.com, http://www.yahoomail.com เป็นตน้ ส่วนเวบเมลข์ องไทยทใ่ี ห้ บรกิ ารฟรี
26 หลายแหง่ กจ็ ะมคี าอธบิ ายและคาสงั่ ต่างๆ เป็นภาษาไทยเพอ่ื ความสะดวกแก่ผใู้ ชท้ เ่ี ป็นคนไทย อยา่ งเช่น http://www.chaiyomail.com, http://www.thaimail.com เป็นตน้ ภาพท่ี 8.12 ตวั อยา่ งเวบเมล์ สาหรบั การสง่ อเี มลไ์ ปยงั ผรู้ บั จานวนมาก หรอื เป็นประจาผใู้ ชอ้ าจจะกาหนดอเี มลแ์ อดเดรส ประจากลุ่มของอเี มลแ์ อดเดรสของผรู้ บั เหล่านนั้ ซง่ึ เรยี กวา่ Mailing List กไ็ ด้ เมอ่ื มอี เี มลส์ ง่ ถงึ Mailing List ระบบกจ็ ะกระจายส่งอเี มลฉ์ บบั ดงั กลา่ วไปยงั อเี มลแ์ อดเดรสของสมาชกิ ทอ่ี ยใู่ นกลุ่มนนั้ ใหโ้ ดย อตั โนมตั ิ 8.7.2 บริการเข้าใช้ระบบคอมพิวเตอรร์ ะยะไกล (Remote Login, Telnet) บรกิ ารน้อี นุญาตใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถเขา้ ไปทางานต่างๆ ทอ่ี ยใู่ นคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งอ่นื ๆ ทเ่ี ชอ่ื มต่อ อยใู่ นเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตไมว่ า่ เครอ่ื งนนั้ จะอยใู่ กลห้ รอื ไกลกต็ าม ซง่ึ ผใู้ ชไ้ ม่จาเป็นตอ้ งเดนิ ทาง เขา้ มายงั สถานทต่ี งั้ เพอ่ื ใชเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งดงั กลา่ ว ทาใหป้ ระหยดั เวลาและค่าใชจ้ า่ ยเป็นอยา่ ง มาก ในการเขา้ ใชร้ ะบบคอมพวิ เตอรร์ ะยะไกลน้ผี ใู้ ชส้ ามารถสงั่ ใหค้ อมพวิ เตอรท์ อ่ี ยรู่ ะยะไกล ดงั กล่าว การทางานต่างๆ ตามทต่ี อ้ งการไดโ้ ดยป้อนคาสงั่ ผา่ นทางเครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ผ่ี ใู้ ชง้ านคนนัน้ กาลงั นงั่ ใชง้ านอยู่ ผลลพั ธใ์ นการทางานเหลา่ นนั้ กจ็ ะถูกส่งกลบั มาแสดงทจ่ี อภาพเครอ่ื ง คอมพวิ เตอรน์ นั้ ดว้ ยเชน่ กนั ในการใชบ้ รกิ ารน้ี ผใู้ ชง้ านจะตอ้ งไดร้ บั การอนุญาตจากผดู้ แู ลเครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ต่ี อ้ งการเขา้ ไปใชง้ านก่อน ซง่ึ ผใู้ ชผ้ นู้ นั้ จะตอ้ งทราบช่อื บญั ชพี รอ้ มทงั้ รหสั ผ่านสาหรบั การเขา้ ใชเ้ ครอ่ื ง คอมพวิ เตอรน์ นั้ ๆ ดว้ ย โปรแกรมทน่ี ยิ มในการใชบ้ รกิ ารน้ี ไดแ้ ก่ โปรแกรม telnet สาหรบั โปรแกรมบน
27 ระบบปฏบิ ตั กิ ารวนิ โดวม์ อี ย่มู ากมาย เชน่ โปรแกรม QvtNet, โปรแกรม HyperTerminal เป็นตน้ เมอ่ื เรมิ่ ตน้ ใชโ้ ปรแกรมดงั กล่าวขา้ งตน้ ผใู้ ชจ้ ะตอ้ งระบุช่อื เครอ่ื งคอมพวิ เตอรห์ รอื หมายเลขไอ พขี องเครอ่ื งทต่ี อ้ งการจะตดิ ต่อเพ่อื ใชง้ าน จากนนั้ โปรแกรมจะจาลองจอภาพของคอมพวิ เตอร์ ทร่ี ะบุ เพ่อื ใหผ้ ใู้ ชก้ รอกช่อื บญั ชแี ละรหสั ผา่ น หากสามารถระบุไดถ้ กู ตอ้ งกจ็ ะอนุญาตใหผ้ ใู้ ชเ้ ขา้ ทางานต่างๆ ในคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งนนั้ ได้ ภาพท่ี 8.13 แสดงการทางานของระบบ หลกั การทางานของบรกิ ารน้ี จะมลี กั ษณะทเ่ี รยี กว่า ระบบลกู ขา่ ย/แมข่ ่าย (Client/Server) คอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอรห์ น่งึ ทเ่ี ป็นผใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นต่างๆ จะเรยี กว่า เครอ่ื งผใู้ หบ้ รกิ ารหรอื เครอ่ื ง แมข่ ่าย (Server) และเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งอ่นื ๆ ทต่ี ดิ ต่อกบั เครอ่ื งแมข่ า่ ยเพอ่ื ทาการรอ้ งขอใชบ้ รกิ าร ต่างๆ เรยี กว่า เครอ่ื งผใู้ ชบ้ รกิ ารหรอื เครอ่ื งลกู ขา่ ย (Client) โดยเครอ่ื งแมข่ า่ ยเครอ่ื งหน่งึ สามารถ รองรบั การใหบ้ รกิ ารแก่เครอ่ื งลกู ขา่ ยไดจ้ านวนหลายเคร่อื ง ซง่ึ ในการเขา้ ใชร้ ะบบระยะไกลน้ี เครอ่ื ง คอมพวิ เตอรท์ อ่ี ยรู่ ะยะไกลทผ่ี ขู้ อใชเ้ ขา้ ไปใชง้ านนัน้ จะทาหน้าทเ่ี ป็นเครอ่ื งแมข่ า่ ย สว่ น เครอ่ื ง คอมพวิ เตอรท์ ผ่ี ใู้ ชก้ าลงั ใชง้ านนนั้ จะทาหน้าทเ่ี ป็นเครอ่ื งลกู ขา่ ย โดยเครอ่ื งแม่ขา่ ยจะสามารถรองรบั การ ตดิ ต่อจากเครอ่ื งลกู ขา่ ยไดห้ ลากหลายประเภทไม่จากดั ว่าจะตอ้ งเป็นเครอ่ื งชนิด เดยี วกนั หรอื มี ระบบปฏบิ ตั กิ ารเหมอื นกนั เพราะการทางานในระบบน้จี ะไมข่ น้ึ กบั ฮารด์ แวรห์ รอื ซอฟตแ์ วร์ ผใู้ ชจ้ งึ สามารถใชง้ านโปรแกรมประเภทน้จี ากเครอ่ื งคอมพวิ เตอรไ์ ดห้ ลากหลายชนิด เช่น พชี ี แมคอนิ ทอช หรอื เครอ่ื งในระบบยนู ิกสค์ ่ายต่างๆ เพ่อื ตดิ ต่อไปยงั เคร่อื งทเ่ี ป็นเซริ ฟ์ เวอรใ์ นระบบต่าง ๆ ซง่ึ อาจเป็น เครอ่ื งพซี ที วั่ ไปจนกระทงั่ ถงึ เครอ่ื งในระดบั เมนเฟรมเลยกไ็ ด้ ขนั้ ตอนการทางานหลงั จากเรมิ่ ใชง้ านโปรแกรมจากเครอ่ื งลกู ขา่ ย เป็นดงั น้ี - ตดิ ต่อไปยงั เครอ่ื งแมข่ า่ ยทต่ี อ้ งการ - รอรบั คาสงั่ จากแป้นพมิ พ์ - แปลงรปู แบบคาสงั่ ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบมาตรฐานแลว้ สง่ ไปยงั เครอ่ื งแมข่ า่ ย
28 - รอรบั ผลลพั ธจ์ ากเครอ่ื งแมข่ ่ายในรปู แบบมาตรฐาน - แปลงรปู แบบผลลพั ธ์ นาแสดงบนจอภาพ ภาพท่ี 8.14 แสดงตวั อยา่ งการใชบ้ รกิ ารเขา้ ใชง้ าน 8.7.3 บริการโอนย้ายข้อมูล (FTP) FTP ยอ่ มาจากคาว่า File Transfer Protocol ซง่ึ เป็นการถ่ายโอนแฟ้มขอ้ มลู จากคอมพวิ เตอร์ เครอ่ื งหน่งึ ไปยงั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรอ์ กี เครอ่ื งหน่งึ ซง่ึ อาจจะอยใู่ กลห้ รอื ไกลกนั กต็ าม เช่น ถ่าย โอน แฟ้มขอ้ มลู จากเครอ่ื งพซี ไี ปยงั เครอ่ื งแมข่ า่ ย ถ่ายโอนแฟ้มขอ้ มลู จากเครอ่ื งแมข่ า่ ยมายงั เครอ่ื งพซี ี หรอื ถ่ายโอนแฟ้มขอ้ มลู ระหวา่ งเครอ่ื งแมข่ ่ายดว้ ยกนั เอง โดยปกตผิ ใู้ ชส้ ามารถถ่ายโอนแฟ้ม ขอ้ มลู ได้ จะตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากผดู้ แู ลเครอ่ื งแมข่ า่ ยนนั้ ซง่ึ จะต้องทราบช่อื บญั ชแี ละรหสั ผ่านสาหรบั การเขา้ ใชบ้ รกิ ารน้ี แต่กม็ หี ลายหน่วยงานทเ่ี ปิดใหผ้ ใู้ ชท้ วั่ ไปสามารถถ่ายโอนแฟ้มไดโ้ ดย ใชช้ ่อื บญั ชี anonymous หรอื guest โดยใชอ้ เี มลแ์ อดเดรสเป็นรหสั ผ่านหรอื บางแหง่ กไ็ มต่ อ้ งระบุรหสั ผ่านกไ็ ด้ แฟ้มขอ้ มลู ทจ่ี ะถูกถ่ายโอนมหี ลายรปู แบบ ซง่ึ สามรถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ชนิดหลกั คอื แฟ้มขอ้ มลู ชนดิ ตวั อกั ษร และแฟ้มขอ้ มลู ชนิดไบนารี ซง่ึ ในการถ่ายโอนแฟ้มขอ้ มลู นนั้ จะตอ้ งมกี ารระบุชนิดของ แฟ้มขอ้ มลู ใหถ้ ูกตอ้ งก่อนการถ่ายโอนดว้ ย รายละเอยี ดของแฟ้มขอ้ มลู ทงั้ สองชนิด มดี งั น้ี 1. แฟ้มขอ้ มลู ชนิดตวั อกั ษร (Text File) หรอื ชนิดแอสกี (ASCII File) เป็นแฟ้มขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ เฉพาะตวั อกั ษร (Character) ของขอ้ ความทงั้ หมด และไม่มรี หสั ควบคุม (Control Character) อยู่ ยกเวน้ รหสั ควบคมุ การสน้ิ สุดบรรทดั และการขน้ึ บรรทดั ใหม่ แฟ้มขอ้ มลู ประเภทน้ีมกั จะมนี ามสกุลวา่ .txt 2. แฟ้มขอ้ มลู ชนิดไบนารี (Binary File) แฟ้มขอ้ มลู ชนิดน้ีใชส้ าหรบั เกบ็ ขอ้ มลู ทวั่ ไปและขอ้ มลู ต่างๆ ท่ี ไมใ่ ชเ่ ฉพาะขอ้ ความตวั หนงั สอื และโดยสว่ นมากมกั จะเป็นแฟ้มขอ้ มลู ประเภท โปรแกรม ซง่ึ มนี ามสกุล คอื .com หรอื .exe หรอื อาจจะเป็นแฟ้มขอ้ มลู ภาพกราฟิกสป์ ระเภทต่างๆ
29 ซง่ึ มนี ามสกุลไดห้ ลากหลาย เช่น .bmp .pic .gif .tif หรอื .jpg เป็นตน้ นอกจากน้ียงั มี แฟ้มขอ้ มลู อกี ประเภททจ่ี ดั วา่ เป็นชนิดไบนารี คอื แฟ้มขอ้ มลู ทม่ี กี ารบบี อดั (Compressed File) ซง่ึ เป็นแฟ้มขอ้ มลู ทใ่ี ชเ้ ทคนิคการบบี อดั แฟ้มขอ้ มลู ทม่ี ขี นาดใหญ่ซง่ึ ไมเ่ หมาะแก่การจดั เกบ็ และ ถ่าย โอนโดยตรงใหข้ อ้ มลู มขี นาดเลก็ ลง การบบี อดั น้จี ะทาใหร้ ปู แบบขอ้ มลู ภายในเปลย่ี นไป และ เมอ่ื ตอ้ งการใชก้ ส็ ามารถแปลงคนื สสู่ ภาพเดมิ ไดโ้ ดยใชโ้ ปรแกรมขยายการบบี อดั แฟ้มทม่ี กี าร บบี อดั จะมนี ามสกุลทแ่ี ตกต่างกนั ไปตามชนิดของโปรแกรมใช้ เชน่ .zip .arj .cab .gz หรอื .Z เป็น ตน้ ในการถ่ายโอนแฟ้มขอ้ มลู เครอ่ื งทผ่ี ใู้ ชก้ าลงั ใชง้ านอยแู่ ละมกี ารเรยี กใชโ้ ปรแกรมสาหรบั การ ถ่ายโอนแฟ้ม ขอ้ มลู นนั้ จะเรยี กวา่ เครอ่ื งตน้ ทาง (Local Host) ซง่ึ ทาหน้าทเ่ี ป็นเครอ่ื งลกู ขา่ ย นนั่ เอง สว่ นช่อื เครอ่ื งทท่ี าการตดิ ต่อไปเพ่อื ถ่ายโอนแฟ้มขอ้ มลู นนั้ เรยี กว่า เครอ่ื งปลายทาง (Remote Host) โดยทาหน้าทเ่ี ป็นเครอ่ื งแมข่ ่ายสาหรบั ใหบ้ รกิ ารน้ี โดยผใู้ ชง้ านโปรแกรมทเ่ี ครอ่ื งตน้ ทางจะตอ้ งระบุ ชอ่ื เครอ่ื งหรอื หมายเลขไอพขี องเครอ่ื งปลายทางทต่ี อ้ งการใชบ้ รกิ าร การถ่ายโอนแฟ้มขอ้ มลู มกี ารทางาน 2 ลกั ษณะ คอื - get เป็นการถ่ายโอนแฟ้มขอ้ มลู จากเครอ่ื งปลายทางมายงั เครอ่ื งตน้ ทาง (Download) - put เป็นการถ่ายโอนแฟ้มขอ้ มลู จากเครอ่ื งตน้ ทางไปยงั เครอ่ื งปลายทาง (Upload) ภาพท่ี 8.15 แสดงหลกั การทางานของการถ่ายโอน ซอฟตแ์ วรโ์ ปรแกรมสาหรบั การใชบ้ รกิ ารน้มี อี ยเู่ ป็นจานวนมาก และมอี ยบู่ น ระบบปฏบิ ตั กิ ารต่างๆ แทบทกุ ระบบ ไมว่ า่ จะเป็นระบบไมโครซอฟตว์ นิ โดว์ ดอส ยนู กิ ซ์ หรอื แมคอนิ ทอช ซง่ึ ซอฟตแ์ วรเ์ หล่าน้มี ที งั้ ทเ่ี ป็นแบบแจกฟรี (Freeware) และแบบใหท้ ดลองใชก้ ่อน (Shareware) ถา้ พอใจและตอ้ งการใชง้ านต่อไปหรอื ตอ้ งการคุณสมบตั กิ ารทางานทค่ี รบถว้ นของโปรแกรม นนั้ ก็ ตอ้ งลงทะเบยี นหรอื สงั่ ซอ้ื จากผขู้ าย สาหรบั โปรแกรมบนระบบปฏบิ ตั ไิ มโครซอฟตว์ นิ โดวท์ น่ี ิยมใชก้ นั
30 โดยทวั่ ไป เชน่ WS_FTP, CuteFTP เป็นตน้ นอกจากน้ีมผี ใู้ ชจ้ านวนมากนยิ มใชบ้ รกิ าร ถ่ายโอน แฟ้มขอ้ มลู ผ่าน Web Browser (อ่านรายละเอยี ดในหวั ขอ้ 10.6) ภาพท่ี 8.16 แสดงการใชบ้ รกิ าร FTP โดยใชช้ ่อื บญั ชี anonymous ภาพท่ี 8.17 หน้าต่างแสดงการใชบ้ รกิ าร 5.7.4 บริการแลกเปลี่ยนข้อมลู และความคิดเหน็ (Usenet News) Usenet News เป็นอกี บรกิ ารหน่งึ ในอนิ เตอรเ์ น็ต ซง่ึ มลี กั ษณะเป็นกล่มุ สนทนาเพ่อื แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสารบนเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต ซง่ึ คลา้ ยคลงึ กบั การเปิดเวทสี าธารณะใหผ้ คู้ นทวั่ โลก มาแสดงความคดิ เหน็ รว่ มกนั โดยผใู้ ชส้ ามารถสมคั ร (Subscribe) เขา้ เป็นสมาชกิ กลมุ่ หวั ขอ้ ใดก็
31 ไดท้ ต่ี นเองสนใจโดยไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยแต่อย่างใด ซง่ึ เมอ่ื เป็นสมาชกิ แลว้ กจ็ ะสามารถเรยี ก ดขู อ้ มลู ขา่ วสารต่างๆ ทอ่ี ยภู่ ายในกล่มุ หวั ขอ้ นนั้ ได้ และยงั สามารถขอความคดิ เหน็ หรอื รว่ มแสดงความ คดิ เหน็ สอบถามขอ้ ปญั หา หรอื ตอบขอ้ ปญั หาของผอู้ ่นื ทถ่ี ามมาในกลมุ่ หวั ขอ้ นนั้ ๆ ได้ สาหรบั Usenet News ไดม้ กี ารจดั แบง่ เป็นกลมุ่ หวั ขอ้ ต่างๆ พรอ้ มทงั้ ยงั มกี ล่มุ หวั ขอ้ ยอ่ ยไวม้ ากมายนบั พนั ๆ กลุม่ เชน่ กลุ่มการเมอื ง กลุ่มเทคนคิ ดา้ นคอมพวิ เตอร์ กลุ่มดนตรี กลุม่ ศลิ ปะ กลมุ่ กฬี า เป็นตน้ กลุ่มหวั ขอ้ ใน Usenet News เหล่าน้จี ะเรยี กว่า Newsgroup และประเดน็ ขอ้ มลู ขา่ วสารในแต่ละกล่มุ หวั ขอ้ จะเรยี กวา่ Article หากประสงคท์ จ่ี ะ ไมต่ อ้ งการอ่านขา่ วสารในกลมุ่ หวั ขอ้ นนั้ อกี กส็ ามารถยกเลกิ การเป็นสมาชกิ (Unsubscribe) ของกลมุ่ หวั ขอ้ นนั้ ได้ รปู แบบของ Article ของคลา้ ยคลงึ กบั โครงสรา้ งของอเี มล์ ซง่ึ ประกอบดว้ ย 3 ส่วน คอื 1. สว่ นหวั เป็นส่วนทบ่ี อกขอ้ มลู ทางเทคนิคทเ่ี กย่ี วกบั Article นนั้ เช่น หวั ขอ้ เรอ่ื งอะไร ใคร เป็นผสู้ ง่ ส่งมาจากทไ่ี หน ลงวนั ทเ่ี ทา่ ไหร่ เป็นตน้ ซง่ึ ส่วนหวั น้จี ะมรี ายละเอยี ดไดไ้ ม่เกนิ 20 บรรทดั 2. สว่ นเน้อื ความ เป็นเน้อื หาของ Article นนั้ 3. สว่ นทา้ ย เป็นส่วนทบ่ี อกรายละเอยี ดของผสู้ ่ง เช่น ช่อื นามสกุล อเี มลแ์ อดเดรส และ ขอ้ ความลงทา้ ย ซง่ึ มคี วามยาวประมาณ 2-3 บรรทดั ซง่ึ ส่วนทา้ ยน้อี าจจะมหี รอื ไมก่ ไ็ ด้ เน่อื งมาจากการทม่ี กี ลุ่มหวั ขอ้ ต่างๆ ใน Usenet News เป็นจานวนมาก จงึ จดั เป็นประเภทได้ โดยใชช้ อ่ื ยอ่ นาหน้าของกลุ่มหวั ขอ้ หลกั ประเภทต่างๆ ดงั ตวั อยา่ งในตารางต่อไปน้ี
32 ตารางท่ี 8.6 แสดงประเภทของหวั ขอ้ กลมุ่ ขา่ วต่าง ๆ กลมุ่ หวั ขอ้ ต่างๆ จะมชี อ่ื คลา้ ยกบั ระบบโดเมน กลา่ วคอื จะประกอบไปดว้ ยสว่ นประกอบหลกั คอื ช่อื กลมุ่ หวั ขอ้ หลกั ชอ่ื กลมุ่ หวั ขอ้ ยอ่ ยและอาจมปี ระเภทของกล่มุ หวั ขอ้ ยอ่ ยในลาดบั ต่อไป แต่ สาหรบั ในระบบของ Usenet News นนั้ ช่อื กลุ่มหวั ขอ้ หลกั จะอยทู่ างซา้ ยมอื ส่วนช่อื ของกล่มุ หวั ขอ้ ยอ่ ย รองๆ ลงไปจะอย่ทู างขวามอื ตามลาดบั โดยคนั่ ดว้ ยเครอ่ื งหมายจดุ ชอ่ื ของกลุ่มหวั ขอ้ อาจจะมคี วาม ยาวไมแ่ น่นอน ตวั อยา่ งเช่น comp.ai.neural-nets คอื กลุ่มหวั ขอ้ หลกั ดา้ นคอมพวิ เตอร์ (computer) และ มคี วามสนใจทางสาขาดา้ นปญั ญาประดษิ ฐ์ (AI : Artificail Intelligence) และสนใจในเรอ่ื งของนวิ รอล เน็ตเวริ ก์ (neural-netswork) หรอื sci.polymers คอื กลุม่ หวั ขอ้ หลกั ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ (science) ทม่ี คี วาม สนใจเกย่ี วกบั เรอ่ื งโพลเิ มอร์ (polimers) เป็นตน้ เมอ่ื ในอดตี นนั้ บรกิ าร Usenet News ใชโ้ ปรโตคอล UUCP (Unix-to-Unix Copy) ในการ แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ข่าวสารบนเครอื ขา่ ย ปจั จุบนั ไดเ้ ปลย่ี นมาใชโ้ ปรโตคอล NNTP (Network News Transmission Protocol) แทน โปรแกรมสาหรบั ใชใ้ นบรกิ าร Usenet News น้กี ม็ มี ากมายหลาย
33 โปรแกรม เชน่ โปรแกรม rn, tin และ rtin และยงั สามารถใชบ้ รกิ ารในเครอื ขา่ ย WWW เพ่อื ใชบ้ รกิ าร Usenet News ผ่านทาง Web Browser ไดเ้ ชน่ กนั ปจั จบุ นั บนมเี วบ็ ไซตจ์ านวนมากไดเ้ ปิดใหบ้ รกิ าร Usenet News โดยจดั กลุ่มหวั ขอ้ ในลกั ษณะของไดเรก็ ทอรี ทาใหส้ ามารถคน้ หา กลมุ่ หวั ขอ้ ทน่ี ่าสนใจ ไดอ้ ยา่ งสะดวก นอกจากน้ยี งั มโี ปรแกรมทถ่ี กู สรา้ งมาเพ่อื ใชอ้ ่านขา่ วโดยเฉพาะอยา่ งเชน่ โปรแกรม Knews เป็นตน้ ภาพท่ี 8.18 แสดงการใช้ Usenet News ผ่านทางเครอื ขา่ ยุ 8.7.5 บริการแลกเปลี่ยนข้อมลู และความคิดเหน็ (Usenet News) Usenet News เป็นอกี บรกิ ารหน่งึ ในอนิ เตอรเ์ น็ต ซง่ึ มลี กั ษณะเป็นกลุม่ สนทนาเพ่อื แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสารบนเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต ซง่ึ คลา้ ยคลงึ กบั การเปิดเวทสี าธารณะใหผ้ คู้ นทวั่ โลก มาแสดงความคดิ เหน็ รว่ มกนั โดยผใู้ ชส้ ามารถสมคั ร (Subscribe) เขา้ เป็นสมาชกิ กลมุ่ หวั ขอ้ ใดก็ ไดท้ ต่ี นเองสนใจโดยไมต่ อ้ งเสยี ค่าใชจ้ ่ายแต่อย่างใด ซง่ึ เมอ่ื เป็นสมาชกิ แลว้ กจ็ ะสามารถเรยี ก ดขู อ้ มลู ขา่ วสารต่างๆ ทอ่ี ยภู่ ายในกลุ่มหวั ขอ้ นนั้ ได้ และยงั สามารถขอความคดิ เหน็ หรอื รว่ มแสดงความ คดิ เหน็ สอบถามขอ้ ปญั หา หรอื ตอบขอ้ ปญั หาของผอู้ ่นื ทถ่ี ามมาในกล่มุ หวั ขอ้ นนั้ ๆ ได้ สาหรบั Usenet News ไดม้ กี ารจดั แบ่งเป็นกลมุ่ หวั ขอ้ ต่างๆ พรอ้ มทงั้ ยงั มกี ลุ่มหวั ขอ้ ยอ่ ยไวม้ ากมายนบั พนั ๆ กล่มุ เช่น กลุ่มการเมอื ง กล่มุ เทคนคิ ดา้ นคอมพวิ เตอร์ กลุม่ ดนตรี กล่มุ ศลิ ปะ กลมุ่ กฬี า เป็นตน้ กลมุ่ หวั ขอ้ ใน Usenet News เหลา่ น้จี ะเรยี กวา่ Newsgroup และประเดน็ ขอ้ มลู ขา่ วสารในแต่ละกลุม่ หวั ขอ้ จะเรยี กวา่ Article หากประสงคท์ จ่ี ะ ไมต่ อ้ งการอ่านขา่ วสารในกลุ่มหวั ขอ้ นนั้ อกี กส็ ามารถยกเลกิ การเป็นสมาชกิ (Unsubscribe) ของกลมุ่ หวั ขอ้ นนั้ ไดบ้ รกิ ารคน้ หาขอ้ มลู จากระบบหอ้ งสมดุ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic
34 Library)เน่อื งจากมคี วามพยายามทจ่ี ะจดั ตงั้ ระบบหอ้ งสมดุ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Library) บน เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื ใหข้ อ้ มลู ประเภทต่างๆ ทก่ี ระจายอยบู่ นเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตเป็นระบบ มากยง่ิ ขน้ึ ทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถสบื คน้ ไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเรว็ บรกิ ารทเ่ี กย่ี วขอ้ งไดแ้ ก่ 8.7.6 ระบบอารช์ ี (Archie) เป็นระบบชว่ ยคน้ หาแฟ้มขอ้ มลู จากเครอ่ื งแมข่ ่ายทใ่ี หบ้ รกิ าร FTP สาธารณะ ซง่ึ มอี ยจู่ านวน มากมายบนเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต การทจ่ี ะคน้ หาแฟ้มขอ้ มลู หรอื โปรแกรมใดๆ บนเครอ่ื งทใ่ี หบ้ รกิ าร เหล่าน้ีนับวา่ เป็นเรอ่ื งทย่ี งุ่ ยากเป็นอยา่ งยง่ิ เพราะผใู้ ชอ้ าจจะไมท่ ราบว่าแฟ้มขอ้ มลู นนั้ อยบู่ นเครอ่ื งแม่ ขา่ ยใด บรกิ ารน้ถี ูกพฒั นาจากมหาวทิ ยาลยั Mc Gill ใน Montreal ประเทศแคนาดา โปรแกรม น้เี ป็น ความพยายามเรม่ิ แรกทจ่ี ะใชร้ ะบบอนิ เตอรเ์ น็ตเสมอื นเป็นคลงั เพ่อื เกบ็ และเผยแพรข่ อ้ มลู สารสนเทศ แก่ผใู้ ชง้ านเครอื ขา่ ย ผใู้ ชส้ ามารถป้อนคาสงั่ คน้ แฟ้มขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการใหก้ บั โปรแกรม แลว้ โปรแกรม จะทาการตรวจคน้ ฐานขอ้ มลู และแสดงแหล่งทเ่ี กบ็ แฟ้มขอ้ มลู ดงั กล่าวออกมา จากนนั้ ผใู้ ชก้ ส็ ามารถใช้ บรกิ าร FTP เพอ่ื ไป Download แฟ้มขอ้ มลู นนั้ ต่อไป ในปจั จบุ นั Archie ไดถ้ ูกลดบทบาทลงอยา่ งมาก เน่อื งจากไดพ้ ฒั นาระบบการจดั เกบ็ แฟ้มขอ้ มลู และคน้ หาบนเครอื ขา่ ย WWW แทน แต่ยงั มกี ล่มุ นกั วจิ ยั บางกลุม่ ทย่ี งั คงใชบ้ รกิ าร Archie อยู่ เชน่ ระบบโกเฟอร์ (Gopher ระบบ Gopher ไดร้ บั การพฒั นาโดยมหาวทิ ยาลยั Minnesota ในปี ค.ศ.1991 ระบบน้เี ป็นวธิ กี ารหน่งึ ทจ่ี ะเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ขา่ วสารของหน่วยงานต่างๆ โดย เปิดใหผ้ ใู้ ช้ สามารถสบื คน้ หาขอ้ มลู ต่างๆ จากเครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ มข่ า่ ยทใ่ี หบ้ รกิ าร Gopher ซง่ึ จะ เกบ็ ขอ้ มลู ของหน่วยงานนนั้ ๆ ได้ เครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ มข่ า่ ยจะใหบ้ รกิ ารสบื คน้ ฐานขอ้ มลู ในลกั ษณะ \"เมนูลาดบั ชนั้ (Hierarchy)\" โดยจะมเี มนูใหผ้ ใู้ ชเ้ ลอื กคน้ เขา้ ไปทลี ะหวั ขอ้ จนกระทงั่ ถงึ หวั ขอ้ ชนั้ ในสุด ซง่ึ จะแสดง ขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการทลี ะหน้า
35 ภาพท่ี 8.19 ตวั อยา่ งการใชบ้ รกิ าร ระบบ Gopher จะมเี ครอ่ื งแมข่ า่ ยใหบ้ รกิ ารอยทู่ วั่ ไปบนเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต ซง่ึ แต่ละเครอ่ื ง จะเกบ็ ขอ้ มลู ของหน่วยงานของตนเอง รวมถงึ ยงั มกี ารเชอ่ื มโยง (Link) ไปยงั Gopher ในเครอ่ื ง ใหบ้ รกิ ารอ่นื ๆ ไดอ้ กี ดว้ ย ระบบ ดงั กล่าวเป็นแนวคดิ ทพ่ี ฒั นาไปส่โู ปรโตคอลไฮเปอรเ์ ทกซท์ รานเฟอร์ (HTTP) และภาษาไฮเปอรเ์ ทกซ์ (HTML) ในปจั จบุ นั เน่อื งจากระบบ Gopher ไมไ่ ดแ้ ยกหมวดหมใู่ นการคน้ หาดว้ ยคาสาคญั (Keyword) ผใู้ ชจ้ งึ ตอ้ งอาศยั การ สมุ่ ไปตามเมนู ซง่ึ ยากต่อการคน้ หาขอ้ มลู ทต่ี นเองตอ้ งการ ดงั นนั้ มหาวทิ ยาลยั แห่ง Nevada จงึ พฒั นาระบบ Veronica (Very Easy Rodent-Oriented Net-oriented Index to Computerized Archives) ใหใ้ ชง้ านรว่ มกบั ระบบ Gopher สาหรบั ระบบดงั กล่าวน้ใี ชก้ ารคน้ หาดว้ ย Keyword ไดใ้ นทกุ เมนูและทุกเครอ่ื งแมข่ ่ายทใ่ี หบ้ รกิ าร ปจั จบุ นั ระบบการใหบ้ รกิ าร Gopher น้กี ไ็ ดร้ บั ความนยิ มน้อยลงเป็นอยา่ งมาก เน่อื งจาก บรกิ าร WWW ได้ เขา้ มามบี ทบาทแทนท่ี เพราะสามารถนาเสนอขอ้ มลู ไดห้ ลากหลายรปู แบบมาก กวา่ และผใู้ ชก้ ไ็ ดร้ บั ความสะดวกกว่าเป็นอยา่ งมาก
36 ระบบเวยส์ (WAIS) WAIS ยอ่ มาจากคาว่า Wide Area Information Sever โดยมจี ุดเรม่ิ ตน้ จากบรษิ ทั คอมพวิ เตอรช์ นั้ นา 4 บรษิ ทั ทม่ี คี วามตอ้ งการจะใชท้ รพั ยากรขอ้ มลู รว่ มกนั จงึ ไดพ้ ฒั นา ระบบ WAIS ขน้ึ มาเพ่อื ใชใ้ นการ แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสารระหว่างกนั ผใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถใช้ โปรแกรมน้คี น้ หาแหลง่ ขอ้ มลู โดยระบสุ งิ่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เน้อื หาในแฟ้มขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการโดยใชภ้ าษา ปกตทิ วั่ ไป ไมต่ อ้ ง ใชภ้ าษาเฉพาะเจาะจงหรอื ภาษาของฐานขอ้ มลู ระบบ WAIS ทางานโดยการรบั คารอ้ งเพ่อื คน้ หาขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการและจะทาการคน้ หาใน เอกสารตน้ ฉบบั วา่ เอกสารใดตรงกบั ความตอ้ งการ แลว้ สง่ รายการผลลพั ธท์ งั้ หมดมาใหแ้ ก่ผใู้ ช้ ปจั จบุ นั ระบบน้กี ไ็ ดเ้ ปลย่ี นรปู แบบมาเป็นการคน้ หาผ่านเครอื ขา่ ย WWW แทน ทาใหค้ วามนิยมใน การใชง้ านระบบน้ีน้อยลง 8.7.7 การสนทนาออนไลน์ นอกจากการตดิ ต่อระหวา่ งผใู้ ชเ้ ครอื ขา่ ยอนิ เตอรด์ ว้ ยกนั โดยผ่านทางบรกิ ารจดหมาย อเิ ลค็ ทรอนกิ สแ์ ลว้ บนเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตยงั มบี รกิ ารทผ่ี ใู้ ชส้ ามารถส่อื สารกบั ผใู้ ชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตคน อ่นื ๆ ไดใ้ นขณะเวลาเดยี วกนั ทก่ี าลงั ใชง้ านอนิ เตอรเ์ น็ตอยพู่ รอ้ มๆ กนั ได้ ซง่ึ จะมลี กั ษณะของการ สนทนาโตต้ อบกนั อยา่ งทนั ทที นั ใด โดยอาจจะเป็นการตดิ ต่กนั โดยตรงระหวา่ งบุคคลสองคน หรอื ตดิ ต่อ กนั เป็นกลมุ่ กลมุ่ ละหลายคนกไ็ ด้ ซง่ึ ลกั ษณะของการคุยโตต้ อบกนั ทาไดโ้ ดยการพมิ พข์ อ้ ความ โตต้ อบกนั หรอื การใชเ้ สยี งเพ่อื สนทนากนั ตามปกติ โปรแกรมทใ่ี ชส้ าหรบั การสนทนาในปจั จบุ นั มี พฒั นาใหม้ รี ปู แบบทน่ี ่าสนใจ โดยสามารถนาเอาภาพกราฟิกสห์ รอื ตวั การต์ ูน มาเป็นตวั แทนผสู้ นทนา ได้ นอกจากน้ยี งั สามารถพดู ตอบโตโ้ ดยใชเ้ สยี งโดยผ่านไมโครโฟนของคอมพวิ เตรไ์ ด้ หรอื สามารถ เหน็ ภาพเคลอ่ื นไหวของคสู่ นทนากไ็ ดห้ ากคอมพวิ เตอรไ์ ดท้ าการตดิ ตงั้ กลอ้ งวดิ โี อไว้ ดว้ ยการใช้ บรกิ ารในลกั ษณะน้ที าใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถตดิ ต่อกบั ผอู้ ่นื ทก่ี าลงั เขา้ ใชง้ านอนิ เตอรเ์ น็ตไดท้ วั่ โลก โดยไม่ ตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการโทรศพั ทท์ างไกล และการสอ่ื สารโตต้ อบกม็ คี ุณภาพไมด่ อ้ ยเกนิ ไปนกั เมอ่ื เทยี บกบั พดู คุยผ่านทางโทรศพั ทต์ ามปกติ โปรแกรม talk, ntalk และ ytalk เป็นโปรแกรมหน่งึ ทน่ี ิยมใชก้ นั ในระบบยนู ิกซซ์ ง่ึ สามารถ พมิ พข์ อ้ ความโตต้ อบกนั ระหวา่ งผใู้ ชส้ องคนหรอื มากกวา่ โดยผใู้ ชท้ กุ คนจะตอ้ งเชอ่ื มต่อกบั เครอื ขา่ ย อนิ เตอรเ์ น็ตและเขา้ มาใชง้ านระบบยนู ิกซอ์ ยพู่ รอ้ มกนั ในขณะทท่ี าการสนทนา สาหรบั โปรแกรม สนทนาออนไลน์ในรปู แบบกราฟิกสท์ ไ่ี ดร้ บั ความนิยมกม็ อี ยหู่ ลายโปรแกรม เช่น Internet Phone, ICQ, MSN Messenger Service, Microsft NetMeeting เป็นตน้ ซง่ึ โปรแกรมเหลา่ น้ผี ใู้ ชส้ ามารถพดู คยุ กนั ได้ โดยการส่งขอ้ ความ เสยี ง หรอื ภาพของค่สู นทนาได้ และยงั สามารถใชใ้ นการรบั สง่ แฟ้มขอ้ มลู ระหว่าง กนั ไดอ้ กี ดว้ ย ในสว่ นของการสนทนาเป็นกลุ่มกม็ โี ปรแกรมประเภท IRC (Internet Relay Chat) เป็น โปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการพมิ พข์ อ้ ความโตต้ อบ พรอ้ มๆ กนั ระหวา่ งกลุ่มคนหลายคนซง่ึ เรยี กวา่ กลมุ่
37 สนทนา (channel) โดยเมอ่ื ผใู้ ชเ้ ลอื กกลุม่ สนทนาแลว้ อาจเขา้ รว่ มในกล่มุ เฉยๆ หรอื จะพดู คยุ แสดง ความคดิ เหน็ ดว้ ยกไ็ ด้ กลมุ่ สนทนาเหล่า น้มี จี านวนมากและหลากหลายหวั ขอ้ เรอ่ื งทส่ี นทนา โดยแต่ ละกลุม่ จะมหี วั ขอ้ เรอ่ื งทไ่ี มซ่ ้ากนั ภาพท่ี 8.20 ตวั อยา่ งโปรแกรมสนทนาออนไลน์ 8.7.8 บริการเวิลดไ์ วดเ์ วบ (World Wide Web) เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ (World Wide Web) เป็นบรกิ ารทถ่ี อื วา่ ไดร้ บั ความนิยมมากทส่ี ุดของ อนิ เตอรเ์ น็ตในปจั จบุ นั ซง่ึ อาจจะเรยี กยอ่ ๆ สาหรบั บรกิ ารไดห้ ลายแบบ เชน่ WWW, W3 หรอื Web โดยต่อไปน้ีจะกล่าวเรยี กสนั้ ๆ วา่ \"เวบ (Web)\" เน่อื งจากเวบเป็นบรกิ ารทใ่ี หผ้ ใู้ ชส้ ามารถเขา้ ไปคน้ หา ขอ้ มลู ต่างๆ ในอนิ เตอรเ์ น็ตไดง้ า่ ยและสะดวก ดว้ ยลกั ษณะของการแสดงผลในรปู แบบของ Hypertext ซง่ึ เป็นวธิ กี ารทจ่ี ะเชอ่ื มโยงขอ้ มลู จากเอกสารหน่งึ ไปอกี ขอ้ มลู ของอกี เอกสารหน่งึ ทาใหก้ ารคน้ หา ครอบคลมุ ขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการมากยงิ่ ขน้ึ และดว้ ยคณุ สมบตั เิ ช่นน้ีจงึ ทาใหเ้ วบเป็นบรกิ าร ทน่ี ิยมใชใ้ นการ คน้ หาขอ้ มลู และหน่วยงานต่างๆ จงึ นิยมเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารและบรกิ ารต่างๆ ของตนเองผ่านทาง เวบกนั เป็นจานวนมากมาย ขอ้ มลู ทน่ี าเสนอในเวบประกอบดว้ ย 2 สว่ น คอื ส่วนทเ่ี ป็นขอ้ มลู และสว่ นทเ่ี ป็นตวั เชอ่ื มหรอื ลงิ ค์ (Link) โดย Link จะทาหน้าทเ่ี ชอ่ื มโยงขอ้ มลู ทผ่ี ใู้ ชเ้ ลอื กเขา้ กบั ขอ้ มลู ส่วนอ่นื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ลกั ษณะของขอ้ มลู ทม่ี ตี วั เช่อื มน้เี รยี กว่า Hypertext ตวั อยา่ งของเอกสารแบบ Hypertext ทร่ี จู้ กั คนุ้ เคย กนั ดกี ค็ อื ระบบช่วยเหลอื (Help) ในระบบปฏบิ ตั กิ ารไมโครซอฟตว์ นิ โดวน์ นั่ เอง ขอ้ มลู ทน่ี าเสนอ
38 ในเวบสามารถเป็นไดท้ งั้ ตวั อกั ษร ภาพนงิ่ ภาพเคล่อื นไหว หรอื เสยี งกไ็ ดท้ าใหร้ ปู แบบในการนาเสนอ ขอ้ มลู มคี วามน่าสนใจมากยง่ิ ขน้ึ เวบใชส้ ถาปตั ยกรรมเครอื ข่ายในรปู แบบของ Client/Server กล่าวคอื ผขู้ อใชบ้ รกิ ารจะใชโ้ ปรแกรมท่ี เรยี กว่า \"เวบบราวเซอร์ (Web Browser)\" หรอื เรยี กสนั้ ๆ วา่ Browser ทาการระบุ แหลง่ ทอ่ี ยขู่ องขอ้ มลู (URL : Uniform Resource Locator) เวบบราวเซอรจ์ ะทาหน้าทใ่ี นสถานะของ Client รอ้ งขอขอ้ มลู ท่ี ตอ้ งการไปยงั เครอ่ื ง Server ซง่ึ เป็นแหล่งทอ่ี ยขู่ องขอ้ มลู นนั้ สาหรบั เครอ่ื ง Server ทใ่ี หบ้ รกิ ารขอ้ มลู เวบจะเรยี กวา่ \"เวบเซริ ฟ์ เวอร์ (Web Server)\" หรอื \"เวบไซต์ (Web Site)\" เมอ่ื เวบเซริ ฟ์ เวอรไ์ ดร้ บั คา รอ้ งกจ็ ะส่งขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการกลบั ไปใหเ้ วบ บราวเซอรเ์ พ่อื นาไปแสดงผลใหแ้ ก่ผใู้ ชท้ างจอภาพ ในการ ตดิ ต่อระหว่างเวบบราวเซอรแ์ ละเวบเซริ ฟ์ เวอรจ์ ะใชโ้ ปรโตคอล HTTP (HyperText Transfer Protocol) และขอ้ มลู จะจดั เกบ็ ในรปู แบบมาตรฐาน HTML (HyperText Markup Language) การใชง้ านเวบไมต่ อ้ งอาศยั การพมิ พค์ าสงั่ ในการใชง้ านมากเหมอื นบรกิ ารอ่นื ๆ เน่อื งจากใน การคน้ หาขอ้ มลู นนั้ ผใู้ ชส้ ามารถกระทาโดยการเลอื กคน้ หาไปตามลงิ คต์ ่างๆ จนกว่าจะพบขอ้ มลู ท่ี ตอ้ งการ หรอื อาจจะป้อนคาหรอื ขอ้ ความทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการคน้ หากไ็ ด้ นอกจากน้เี วบยงั สามารถเชอ่ื มโยงเขา้ กบั บรกิ ารประเภทอ่นื ๆ ในอนิ เตอรเ์ น็ต เชน่ Gopher, FTP, Archie, Usenet News ไดอ้ กี ดว้ ย ดงั นนั้ การใชง้ านเวบจงึ เปรยี บเสมอื นเป็นการใชง้ านอนิ เตอรเ์ น็ตทร่ี วมบรกิ ารทุกประเภท เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั โปรแกรมทท่ี าหน้าทเ่ี ป็นเวบบราวเซอรท์ น่ี ยิ ม ไดแ้ ก่ Internet Explorer (IE), Netscape Communicator, Mosaic, HotJava เป็นตน้ ซง่ึ จะอธบิ ายรายละเอยี ดในหวั ขอ้ ถดั ไป 8.7.9 โปรแกรมบราวเซอร์ โปรแกรมเวบบราวเซอร์ (Web Browser) หรอื เรยี กยอ่ ๆ วา่ บราวเซอร์ (browser) นนั้ เป็น โปรแกรมท่ี ทาหน้าทด่ี งึ ขอ้ มลู จากเวบเซอรเ์ วอรเ์ พอ่ื มาแสดงบนจอภาพแก่ผใู้ ช้ และสามารถเชอ่ื ม โยงไปยงั ลงิ คต์ ่างๆ ทก่ี าหนดไว้ ซง่ึ ทาใหส้ ามารถคน้ หาขอ้ มลู ขา่ วสารจากแหล่งขอ้ มลู ต่างๆ ใน เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเรว็ นอกจากน้เี วบบราวเซอรย์ งั สามารถใชเ้ ช่อื มต่อเขา้ กบั แหล่งขอ้ มลู ทใ่ี หบ้ รกิ ารประเภทอ่นื ๆ ในอนิ เตอรเ์ น็ตไดด้ ว้ ย เช่น Telnet, Gopher, Usenet News, FTP เป็นตน้
39 ภาพท่ี 8.21 โปรแกรม Internet Explorer โปรแกรมเวบบราวเซอรจ์ ะทางานโดยดงึ ขอ้ มลู ซง่ึ จดั เกบ็ อยใู่ นรปู แบบทเ่ี รยี กว่า HTML (HyperText Markup Language) มาจากเวบเซริ ฟ์ เวอรแ์ ละแปลความหมายของรปู แบบขอ้ มลู ทไ่ี ด้ กาหนดเอาไวเ้ พอ่ื นาเสนอแก่ผใู้ ช้ สาหรบั ขอ้ มลู ทอ่ี ยใู่ นรปู แบบของ HTML นนั้ จะมกี ารแบง่ เป็นหน้าๆ เหมอื นกบั หน้าในเอกสารปกติ ซง่ึ แต่ละหน้านนั้ จะเรยี กว่า \"เวบเพจ (Web Page)\" เวบเซริ ฟ์ เวอรห์ รอื เวบไซตซ์ ง่ึ เป็นเครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ มข่ า่ ยทเ่ี กบ็ รวบรวมเวบเพจในเน้อื หาต่างๆ เอาไวผ้ ใู้ ชก้ ส็ ามารถ ใชเ้ วบบราวเซอรร์ อ้ งขอเพ่อื เรยี กคน้ ขอ้ มลู มาแสดงได้ ในแต่ละเวบไซตจ์ ะมวี ธิ กี ารทจ่ี ะระบุทอ่ี ย่ขู องขอ้ มลู ทไ่ี มซ่ ้ากบั เวบ็ ไซตอ์ ่นื ๆ เรยี กว่า Uniform Resource Locator หรอื URL ซง่ึ จะประกอบดว้ ยสองสว่ น คอื 1. โปรโตคอลหรอื ลกั ษณะของแหลง่ ขอ้ มลู ทต่ี อ้ งใชเ้ พอ่ื ดงึ ขอ้ มลู นนั้ เชน่ ถา้ เป็นแหล่งขอ้ มลู ท่ี เกบ็ รวบรวมแฟ้มขอ้ มลู ต่าง ๆ ทใ่ี หบ้ รกิ าร FTP ในสว่ นน้ีกจ็ ะใชค้ าว่า ftp หรอื ถา้ แหลง่ ขอ้ มลู เป็นแบบ HTML ส่วนน้กี จ็ ะใชค้ าว่า http
40 2. แหลง่ ทอ่ี ยขู่ องขอ้ มลู นนั้ โดยจะระบุชอ่ื เครอ่ื งโดยใชร้ ะบบไอพแี อดเดรสหรอื ระบบ ชอ่ื โดเมนกไ็ ดต้ ามดว้ ยชอ่ื ไดเรกทอรแี ละชอ่ื แฟ้มขอ้ มลู ของขอ้ มลู นนั้ ตวั อยา่ ง URL http://www.intel.com/index.html http://www.msn.com ftp://ftp.aw.com/pub gopher://ohiolink.edu ภาพท่ี 8.22 โปรแกรม lynx เป็นโปรแกรมบราวเซอร์ โปรแกรมบราวเซอรม์ ี 2 รปู แบบ คอื แบบตวั อกั ษร และแบบกราฟิกส์ 1. แบบตวั อกั ษร โปรแกรมทน่ี ยิ มใชก้ นั มากโปรแกรมหน่งึ คอื Lynx ซง่ึ ทางานอยบู่ น ระบบปฏบิ ตั กิ ารยนู ิกซ์ มที างานในลกั ษณะทแ่ี สดงผลทลี ะ 1 หน้าจอ และใชล้ กู ศรขน้ึ ลงและซา้ ยขวา เล่อื นเคอรเ์ ซอรไ์ ปยงั ทต่ี ่างๆ เพอ่ื ไปเลอื กลงิ คท์ ต่ี อ้ งการได้ การแสดงผลบนจอภาพจะเป็นแบบ ตวั อกั ษรทงั้ หมด และไมแ่ สดงขอ้ มลู ทอ่ี ยใู่ นรปู แบบอ่นื ๆ เช่น รปู ภาพหรอื เสยี งเพลง รวมทงั้ ตวั อกั ษร
41 ทแ่ี สดงผลจะเป็นตวั อกั ษรปกตเิ ทา่ นนั้ ไมม่ ตี วั อกั ษรพเิ ศษ เช่น ตวั เอยี ง ตวั หนา หรอื ตวั อกั ษรใน รปู แบบต่างๆ 2. แบบกราฟิค ขอ้ มลู ทอ่ี ยใู่ นรปู แบบอ่นื ๆ นอกเหนือจากตวั อกั ษรสามารถแสดงผลแก่ผใู้ ชไ้ ด้ เชน่ รปู ภาพ ภาพเคล่อื นไหว หรอื วดิ โี อ พรอ้ มทงั้ ขอ้ มลู ทเ่ี ป็นเสยี งผใู้ ชก้ ส็ ามารถฟงั ได้ ทาให้ การ ใชง้ านมคี วามน่าสนใจและสะดวกกวา่ บราวเซอรแ์ บบตวั อกั ษร การเลอื กไปยงั ลงิ คต์ ่างๆ กท็ าไดโ้ ดยการใชเ้ มาสแ์ ทนการใชค้ ยี บ์ อรด์ ตวั อยา่ งโปรแกรมบราวเซอรแ์ บบกราฟิกส์ เช่น Netscape, Mosaic, Internet Explorer (IE) เป็นตน้ 8.8 การประยกุ ต์ใช้อินเตอรเ์ น็ต เป็นทท่ี ราบกนั ดแี ลว้ ว่า ขอ้ มลู และบรกิ ารต่างๆ ในอนิ เตอรเ์ น็ตมเี ป็นจานวนมากมายและ หลายหลากประเภท ทาใหม้ กี ารพฒั นาและประยกุ ตใ์ ชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตกบั งานในดา้ นต่างๆ มากมาย จงึ จะขอยก ตวั อยา่ งการประยุกตใ์ ชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตพอสงั เขป ดงั น้ี 8.8.1 ด้านการศึกษา อนิ เตอรเ์ น็ตกเ็ ปรยี บเสมอื นหอ้ งสมดุ ขนาดยกั ษ์ทผ่ี ใู้ ชส้ ามารถเขา้ ไปคน้ หาและดงึ ขอ้ มลู ท่ี ตอ้ งการไดง้ า่ ยและรวดเรว็ มแี หล่งขอ้ มลู ความรจู้ านวนมหาศาลทม่ี กี ระจายอยทู่ วั่ โลก ไมว่ ่าจะเป็น ขอ้ มลู ความรู้ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วศิ วกรรม สงั คมศาสตร์ ศลิ ปกรรมและอ่นื ๆ ทาใหน้ ักเรยี น นกั ศกึ ษา นกั วจิ ยั ครอู าจารย์ รวมถงึ ผทู้ ส่ี นใจสามารถนาขอ้ มลู เหล่าน้ไี ปใชใ้ นการศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั หรอื การ ทางานได้ ในส่วนระบบการจดั การเรยี นการสอนทางไกลโดยใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต กท็ าใหผ้ เู้ รยี นหรอื ผสู้ อนท่ี อยหู่ ่างไกลกนั ไมจ่ าเป็นตอ้ งเสยี เวลา และเสยี ค่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางมาสถานทเ่ี ดยี วกนั ผสู้ อนและ ผเู้ รยี น สามารถอยคู่ นละสถานท่ี กย็ งั สามารถทาการเรยี นการสอนได้ เป็นการขยายโอกาสทาง การศกึ ษาใหแ้ ก่ผเู้ รยี นจานวนมากยงิ่ ขน้ึ นอกจากน้กี ารจดั ทาเวบไซตเ์ พอ่ื ใชเ้ ป็นส่อื ในการสอนกท็ า ใหผ้ เู้ รยี นสามารถ Donwload บทความดา้ นการศกึ ษาต่างๆ รวมทงั้ เป็น ส่อื กลางในการตดิ ต่อระหวา่ ง ผสู้ อนและผเู้ รยี นไดเ้ ป็นอยา่ งดี หรอื การใชจ้ ดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกสใ์ นการตดิ ต่อสง่ ขอ้ มลู การบา้ น หรอื ขอ้ ซกั ถามต่างๆ กเ็ ป็นประโยชน์อยา่ งมาก การเรยี นการสอนผ่านเวบ หรอื E-Learning เป็นอกี หน่ึงกระแสของการประยกุ ตใ์ ชอ้ นิ เตอรเ์ น็ต ทก่ี าลงั มาแรงในปจั จบุ นั น้ี และในอนาคตอนั ใกลก้ ค็ งจะไดเ้ หน็ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งขนานใหญ่ ใน แวดวงการศกึ ษาไทย ภายใตร้ ะบบ E-Learning น้ี จะมรี ะบบการจดั การทุกอยา่ งใหแ้ ก่ผูเ้ รยี นผสู้ อน นบั ตงั้ แต่การเลอื กวชิ าทจ่ี ะเรยี น ลงทะเบยี นเรยี น การชาระเงนิ ค่าลงทะเบยี น ผเู้ รยี นสามารถ เลอื ก เรยี นไดท้ งั้ แบบภายในสถานศกึ ษา หรอื ภายนอกสถานศกึ ษาผ่านทางเครอื ข่ายอนิ เตอร์ สาหรบั ใน
42 การเรยี นทุกครงั้ ในระบบ E-Learning จะมกี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู และมเี อกสารประกอบ การสอนของ อาจารยบ์ นั ทกึ ไวใ้ นระบบฐานขอ้ มลู ทงั้ หมด ทาใหน้ กั เรยี นทพ่ี ลาดการเรยี นชว่ งใดช่วงหน่งึ สามารถ กลบั มา ทบทวนดไู ดต้ ลอดเวลาตามทต่ี อ้ งการ ในการสอบกส็ ามารถทาการสอบผา่ นเครอื ขา่ ย อนิ เตอรเ์ น็ต ไดซ้ ง่ึ หลงั จากทา ขอ้ สอบเสรจ็ แลว้ กอ็ าจจะมกี ารเฉลยคาตอบ และทราบผลคะแนนเลยก็ ได้ ผเู้ รยี นสามารถตรวจสอบผลการเรยี น หรอื ขอ Transcript ฉบบั ยอ่ ผ่านทางอนิ เตอรเ์ น็ตไดอ้ กี ดว้ ย จะเหน็ ไดว้ า่ ระบบน้ที าใหส้ ถานศกึ ษาสามารถลดงบประมาณในการสรา้ งอาคารเรยี นและสามารถ ขยายขอบขา่ ยในการเรยี นการสอนออกไปยงั พน้ื ทท่ี ห่ี ่างไกลไดม้ ากยงิ่ ข้นึ เพ่อื รองรบั จานวนผเู้ รยี นได้ มากกวา่ เดมิ หอ้ งสมดุ ดจิ ติ อล (Digital Library) กเ็ ป็นอกี บรกิ ารหน่ึงทไ่ี ดร้ บั ความสาคญั มากในปจั จบุ นั โดย ไดม้ กี ารพฒั นาเน้อื หาความรสู้ าหรบั เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การศกึ ษา มเี น้อื หาความรใู้ นสาขา ต่างๆ มากมายสาหรบั นกั เรยี นและอาจารยใ์ ชใ้ นการเรยี นการสอน ตวั อยา่ งเช่น โครงการ SchoolNet หรอื โครงการเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื โรงเรยี นไทย ซง่ึ จดั ทาโดยศูนยเ์ ทคโนโลยี อเิ ลก็ ทรอนิกส ์์และคอมพวิ เตอรแ์ ห่งชาติ (เนคเทค) เป็นตน้ 8.8.2 ธรุ กิจการค้า เน่อื งจากผใู้ ชใ้ นเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตจานวนมากมายทวั่ โลก ทาใหบ้ รษิ ทั หา้ งรา้ นต่างๆ เลง็ เหน็ ถงึ ความสาคญั ในการดาเนนิ การของตนเองผ่านทางเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตน้ี ปจั จบุ นั มกี าร ใหบ้ รกิ าร โฆษณาสนิ คา้ บรกิ ารและการซอ้ื ขายสนิ คา้ บรกิ ารต่างๆ ผ่านทางอนิ เตอรเ์ น็ต หรอื ทร่ี จู้ กั กนั ดใี นช่อื วา่ E-Commerce ซง่ึ ระบบน้ผี ซู้ อ้ื สามารถเลอื กดสู นิ คา้ ตรวจสอบคณุ สมบตั ติ ่างๆ แลว้ ทาการ สงั่ ซอ้ื พรอ้ มทงั้ ชาระเงนิ ผ่านอนิ เตอรเ์ น็ตโดยหกั จากบญั ชธี นาคารหรอื บตั รเครดติ ไดท้ นั ที ทาให้ สะดวก รวดเรว็ ประหยดั ทงั้ เวลาและค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางและการสง่ เอกสาร บรษิ ทั ต่างๆ มกี าร ขายสนิ คา้ ผา่ นอนิ เตอรเ์ น็ตกนั มากขน้ึ ทาใหม้ สี นิ คา้ จาหน่ายครบทุกประเภทเหมอื นหา้ งสรรพสนิ คา้ ใหญ่ๆ ทเี ดยี ว นอกจากน้ี บรษิ ทั หรอื องคก์ รต่างๆ กส็ ามารถเปิดใหบ้ รกิ ารแก่ลกู คา้ ผ่านทาง อนิ เตอรเ์ น็ตได้ เช่น การตอบคาถาม ใหค้ าแนะนา และประกาศขา่ วสารใหม่ๆ หรอื กรณที เ่ี ป็นสนิ คา้ เกย่ี วกบั ซอฟตแ์ วร์ กอ็ าจแจกจา่ ยโปรแกรมใหท้ ดลองใช้ หรอื ใหด้ าวน์โหลดโปรแกรมแกไ้ ข ขอ้ บกพรอ่ งของผลติ ภณั ฑ์ (patch) แมก้ ระทงั่ ซอฟตแ์ วรร์ นุ่ ใหมๆ่ ไดโ้ ดยตรงอกี ดว้ ย 8.8.3 การเงินการธนาคาร ปจั จบุ นั วงการการเงนิ การธนาคารในประเทศต่างๆ คอ่ นขา้ งต่นื ตวั และใหค้ วามสนใจกบั การ ออกบรกิ าร ใหมๆ่ ใหล้ กู คา้ ไดเ้ ลอื กใชอ้ ยเู่ สมอ ในจานวนบรกิ ารใหมๆ่ ของธนาคารทน่ี ่าจบั ตามอง และไดร้ บั การกลา่ วถงึ คอ่ นขา้ งมาก ไดแ้ ก่ ธนาคารบนอนิ เทอรเ์ น็ต (Internet Banking) อนั หมายถงึ ธนาคารทใ่ี หบ้ รกิ ารบนเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต ในบางธนาคารกม็ บี รกิ ารทม่ี ชี ่อื คลา้ ยคลงึ กนั แต่ มคี วาม
43 แตกต่างกนั เลก็ น้อย นนั่ คอื ธนาคารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื Electronic Banking หรอื E-Banking ซง่ึ หมายถงึ ธนาคารทใ่ี หบ้ รกิ ารผา่ นสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ ่างๆ โดยส่อื ทน่ี ิยมใชไ้ ดแ้ ก่อนิ เทอรเ์ น็ต จะเหน็ ได้ ว่าบรกิ ารทงั้ สองรปู แบบต่างกม็ กี ารใหบ้ รกิ ารต่างๆ ของธนาคารทเ่ี หมอื นกนั ไมว่ า่ จะเป็นการ ตรวจสอบยอดบญั ชี การโอนเงนิ การสงั่ ชาระคา่ สนิ คา้ และบรกิ าร การตรวจสอบยอดค่าใชจ้ ่าย บตั ร เครดติ การสงั่ อายตั เิ ชค็ เป็นตน้ สาหรบั การระบบชาระเงนิ คา่ สนิ คา้ และบรกิ ารแบบออนไลน์ กอ็ กี บรกิ ารซง่ึ เป็นผลสบื เน่อื งมาจากกระแส ความแรงของการทา E-Commerce ทวั่ โลก ทม่ี คี วามตอ้ งการองคก์ รกลางท่ี น่าเช่อื ถอื อนั ไดแ้ ก่ธนาคาร เขา้ ไปมบี ทบาทในเรอ่ื งของการชาระเงนิ แบบออนไลน์ระหวา่ งผซู้ อ้ื และ ผขู้ าย ดว้ ยระบบน้ีทาใหล้ กู คา้ เกดิ ความสะดวกและรวดเรว็ ในการใชบ้ รกิ ารเป็นอยา่ งมาก 8.8.4 ความบนั เทิง สง่ิ ทด่ี งึ ดดู ใจแก่ผงู้ านอนิ เตอรเ์ น็ตทกุ เพศ ทกุ วยั มากทส่ี ดุ กค็ อื ความสาระบนั เทงิ ทม่ี อี ยู่ มากมายบนเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต เชน่ การอ่านขา่ วสารจากวารสารและหนงั สอื พมิ พต์ ่างๆ จาก เวบ็ ไซต์ โดยมเี น้อื ความและภาพประกอบเชน่ เดยี วกบั สง่ิ พมิ พเ์ หล่านนั้ ทอ่ี ่านกนั ตามปกติ นอกจากน้ี ยงั สามารถชมตวั อยา่ งภาพยนตรซ์ ง่ึ เป็นภาพเคล่อื นไหวพรอ้ มเสยี ง หรอื ฟงั เพลงผา่ นอนิ เตอรเ์ น็ตได้ อกี ดว้ ย การคน้ หาขอ้ มลู เพอ่ื ใชใ้ นการพกั ผ่อนหยอ่ นใจ หรอื สนั ทนาการต่างๆ กถ็ อื เป็นประโยชน์แก่ผู้ ใชไ้ ดเ้ ชน่ กนั รวมทงั้ การสนทนาพดู คุยระหว่างผใู้ ชบ้ รกิ ารอนิ เตอรเ์ น็ตดว้ ย การแลกเปลย่ี นความ คดิ เหน็ ผา่ นทางเวบบอรด์ ต่างๆ กเ็ ป็นสงิ่ หน่งึ ทท่ี าใหผ้ ใู้ ชไ้ ดท้ งั้ ความรู้ และความเพลดิ เพลนิ เป็นอย่าง มาก ทก่ี ล่าวมาน้เี ป็นส่วนหน่งึ ของผลทเ่ี กดิ จากการประยกุ ต์ใชง้ านต่างๆ บนเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต ท่ี กาลงั เรม่ิ เปลย่ี นสภาพเศรษฐกจิ และสงั คมของโลกไปทลี ะเลก็ ทลี ะน้อย ซง่ึ ทาใหม้ ผี ลกระทบต่อการ ดาเนินชวี ติ ของมนุษยท์ งั้ ในปจั จบุ นั และอนาคตโดยทอ่ี าจไมท่ นั ไดส้ งั เกตเหน็ หากว่ามกี ารนา อนิ เตอรเ์ น็ตไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพกจ็ ะทาใหค้ ุณภาพชวี ติ ของมนุษยด์ ตี ามไปดว้ ย เช่นกนั 8.9 เครือข่ายอินทราเน็ต 8.9.1 ความหมายเครอื ข่ายอินทราเน็ต อินทราเน็ตคืออะไร ในยุคทอ่ี นิ เตอรเ์ น็ตขยายตวั อยา่ งต่อเน่อื ง บรษิ ทั ธรุ กจิ และองคก์ ร ต่างๆ เรมิ่ หนั มาใชป้ ระโยชน์จากอนิ เตอรเ์ น็ต ในการโฆษณา การขายหรอื เลอื กซอ้ื สนิ คา้ และชาระเงนิ ผ่านทางเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต ในขณะทอ่ี งคก์ รบางแห่งทไ่ี มม่ งุ่ เน้นการบรกิ ารขอ้ มลู อนิ เตอรเ์ น็ต ระหวา่ งเครอื ขา่ ยภายนอก แต่จดั สรา้ งระบบบรกิ ารขอ้ มลู ขา่ วสารภายในองคก์ รและเปิดใหบ้ รกิ ารใน
44 รปู แบบเดยี วกบั ทม่ี อี ยใู่ นโลก ของอนิ เตอรเ์ น็ตจรงิ ๆ โดยมเี ป้าหมายใหบ้ รกิ ารแก่บุคลากร ในองคก์ ร จงึ ก่อใหเ้ กดิ ระบบอนิ เตอรเ์ น็ตภายในองคก์ ร เรยี กวา่ \"เครอื ขา่ ยอนิ ทราเน็ต (Intranet)\" เครอื ขา่ ยอนิ ทราเน็ตนนั้ เรม่ิ เป็นทร่ี จู้ กั กนั ทวั่ ไปในปี พ.ศ.2539 แต่แทท้ จ่ี รงิ แลว้ ไดม้ ผี รู้ เิ รม่ิ พดู ถงึ ชอ่ื น้ตี งั้ แต่ สป่ี ีก่อนหน้าแลว้ หลงั จากนนั้ ระบบอนิ ทราเน็ตจงึ ไดไ้ ดร้ บั ความนยิ มมากขน้ึ ในยคุ แรก ๆ ระบบน้มี ชี ่อื เรยี กกนั หลายช่อื เช่น แคมปสั เน็ตเวริ ก์ (Campus Network) โลคลั อนิ เตอรเ์ น็ต (Local Internet) เอนเตอรไ์ พรทเ์ น็ตเวริ ก์ (Enterprise Network) เป็นตน้ แต่ทร่ี จู้ กั กนั มากทส่ี ดุ คอื ช่อื อนิ ทราเน็ต ชอ่ื น้จี งึ กลายเป็นชอ่ื ยอดนิยมและใชม้ าจนถงึ ปจั จบุ นั สรุ ชยั ดยี ง่ิ (2544, http://isc.rsu.ac.th/intranet6.html) ไดใ้ หค้ วามหมาย อนิ ทราเน็ตกค็ อื ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบภายในทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยอี นิ เตอรเ์ น็ต ซง่ึ หมายความว่า การใชง้ าน อนิ ทราเน็ตนนั้ ใช้ โปรโตคอล ไอพี (IP) เหมอื นกบั อนิ เตอรเ์ น็ต มเี วบ็ ไซตเ์ หมอื นกนั ตอ้ งใชเ้ วบ็ เบ ราเซอรเ์ ช่นกนั และใชอ้ เี มลไ์ ดด้ ว้ ย และถา้ อนิ ทราเน็ตของเราเช่อื มต่อเขา้ กบั อนิ เตอรเ์ น็ต ผใู้ ชง้ าน อนิ ทราเน็ตกส็ ามารถใชไ้ ดท้ งั้ อนิ ทราเน็ตและอนิ เตอรเ์ น็ตไปพรอ้ มกนั ได้ สงิ่ ทแ่ี ยกความรสู้ กึ ในการใช้ งานอนิ ทราเน็ตและอนิ เตอรเ์ น็ตกค็ อื ความเรว็ การโหลดไฟลใ์ หญ่ๆจากเวบ็ ไซตใ์ นอนิ ทราเน็ต จะ รวดเรว็ กวา่ การโหลดจากอนิ เตอรเ์ น็ตมาก ดงั นนั้ ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากอนิ ทราเน็ตสาหรบั องคก์ ร หน่งึ ๆ กค็ อื สามารถใชค้ วามสามารถต่างๆทม่ี อี ยใู่ นระบบอนิ เตอรเ์ น็ตไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ ไม่ ถกู จากดั ดว้ ยแบนวดิ ธห์ รอื ความกวา้ งของถนนในการส่งถ่ายขอ้ มลู เราสามารถดวู ดิ โี อ วดิ โี อตาม สาย (streaming line) พรอ้ มกนั ได้ เชน่ เดยี วกบั ยนื ภ่วู รรณ ( 2544 ,http://oho.ipst.ac.th/digital/snet1/network/it11.htm ) ไดก้ ล่าวถงึ เครอื ขา่ ยอนิ ทราเน็ตว่าเป็นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ พ่อื ใชง้ านในองคก์ ร มกี ารใชม้ าตรฐานเดยี วกบั เครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตโดยเช่อื มโยงผใู้ ชท้ ุกคนในองคก์ รใหท้ างานรว่ มกนั มกี ารกาหนดการทางาน เป็นทมี ทเ่ี รยี กวา่ เวอรก์ กรปุ แต่ละทมี มรี ะบบขอ้ มลู ขา่ วสารของตน มสี ถานีบรกิ ารขอ้ มลู ท่ี เรยี กว่า เซิรฟ์ เวอร์ การทางานในระดบั เวอรก์ กรปุ จงึ เน้นเป้าหมายเฉพาะกลมุ่ เช่น ทมี งานทางดา้ น การขาย ทมี งานทางดา้ นบญั ชี การเงนิ การผลติ ฯลฯ กล่าวได้ว่าเครอื ข่ายอินทราเน็ต กค็ อื การใชง้ านของเทคโนโลยอี นิ เตอรเ์ น็ตโดยจากดั ขอบเขตการใชง้ าน ส่วนใหญ่อยเู่ ฉพาะภายในเครอื ขา่ ยของหน่วยงานเท่านนั้ และนอกจากน้ีระบบ อนิ ทราเน็ตยงั สามารถเชอ่ื มต่อเขา้ กบั อนิ เตอรเ์ น็ตไดเ้ ช่นกนั ซง่ึ ทาใหผ้ ใู้ ชง้ านอนิ ทราเน็ตสามารถใช้ ทงั้ อนิ ทราเน็ตและอนิ เตอรเ์ น็ตไปพรอ้ ม ๆ กนั ได้ โดยทวั่ ไปอนิ ทราเน็ตจะไมเ่ น้นการเช่อื มต่อไปส่อู นิ เตอรเ์ น็ตภายนอก เพอ่ื สบื คน้ หรอื ใช้ ประโยชน์จากขอ้ มลู ภายนอก หากแต่มงุ่ หวงั ทจ่ี ะจดั เตรยี มขอ้ มลู และสารสนเทศภายในองคก์ ร ดว้ ย การจดั เตรยี มคอมพวิ เตอรซ์ ง่ึ ทาหน้าทเ่ี ป็นเครอ่ื งแมข่ ่ายทใ่ี หบ้ รกิ ารขอ้ มลู ในรปู แบบเดยี วกบั ทใ่ี ชง้ าน
45 ในอนิ เตอรเ์ น็ต และขยายเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรไ์ ปถงึ บุคลากรทกุ หน่วยงาน ใหส้ ามารถ เรยี กคน้ ขอ้ มลู และสอ่ื สารถงึ กนั ได้ รปู แบบสาคญั ทม่ี ใี นอนิ ทราเน็ต คอื การใชร้ ะบบเวบเป็นศูนยบ์ รกิ ารขอ้ มลู และขา่ วสารภายใน สามารถใหข้ อ้ มลู ไดท้ งั้ ขอ้ ความ เสยี ง ภาพนงิ่ หรอื ภาพเคล่อื น ไหวและเป็น เครอ่ื งมอื ทง่ี า่ ยต่อการใชง้ าน โดยไดผ้ นวกบรกิ ารขอ้ มลู อ่นื รวมไวใ้ นตวั เชน่ จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การถ่ายโอนยา้ ยแฟ้มขอ้ มลู หรอื กระดานขา่ ว เป็นตน้ อนิ ทราเน็ตจะชว่ ยปรบั เปลย่ี นรปู แบบการจดั การเอกสารจากเดมิ ใชว้ ธิ ที าสาเนาแจกจ่าย ไมว่ า่ จะเป็นขา่ ว ประกาศ รายงาน สมดุ โทรศพั ทภ์ ายใน ขอ้ มลู บุคลากร มาจดั ทาใหอ้ ยใู่ นรปู อเิ ลก็ ทรอนิกส์ แทน ผใู้ ชส้ ามารถเรยี กคน้ ขอ้ มลู ขา่ วสารไดเ้ มอ่ื ตอ้ งการ การประยกุ ตใ์ ชอ้ นิ ทราเน็ตในหน่วยงานถอื เป็นการปฏริ ปู ในองคก์ รและก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบ ต่อกระบวนการและขนั้ ตอนการทางานทงั้ ในปจั จุบนั และในอนาคต ชว่ ยใหก้ ารดาเนินงานเป็น ไปได้ อยา่ งคล่องตวั และลดคา่ ใชจ้ า่ ยลงไดอ้ ยา่ งมาก หากมกี ารวางแผนงานและเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกจ็ ะ ชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการดาเนนิ งานขององคก์ รใหส้ งู ขน้ึ เครอื ขา่ ยอนิ ทราเน็ตทถ่ี ูกเชอ่ื มต่อเขา้ ดว้ ยกนั โดยตดิ ต่อกนั ผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตนนั้ เรยี กว่าเครอื ขา่ ยเอก็ ซท์ ราเน็ต (Extranet) เครอื ขา่ ยเอก็ ซท์ ราเน็ตสามารถมองเป็นส่วนหน่งึ ของ เครอื ขา่ ยอนิ ทราเน็ตทส่ี ามารถตดิ ต่อ ออกไปหน่วยงานต่างๆ นอกองคก์ รได้ การทใ่ี ชเ้ ครอื ขา่ ย อนิ เตอรเ์ น็ตเพอ่ื ตดิ ต่อกนั แทนทจ่ี ะตดิ ต่อกนั โดยตรงระหว่างเครอื ขา่ ยอนิ ทราเน็ตนนั้ ทาใหป้ ระหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย และสามารถใชข้ อ้ ดขี องบรกิ ารบนอนิ เตอรเ์ น็ตและอนิ ทราเน็ตไดม้ ปี ระโยชน์สงู สุด 8.9.2 ประโยชน์อินทราเน็ต ประโยชน์ของการนาอนิ ทราเน็ตเขา้ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นหน่วยงาน สามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี 1. การส่อื สารเป็นแบบสากล ผใู้ ชร้ ะบบอนิ ทราเน็ตสามารถสง่ ขา่ วสารในรปู ของจดหมาย อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ เ่ี ป็นมาตรฐานสากลระหว่างผรู้ ว่ มงานภายในหน่วยงานและผใู้ ชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตซ่ึงอยู่ ภายนอกหน่วยงานได้ 2. อนิ ทราเน็ตใชม้ าตรฐานเครอื ข่าย และโปรแกรมประยกุ ตไ์ ดเ้ ชน่ เดยี วกบั เครอื ขา่ ย อนิ เตอรเ์ น็ต ซง่ึ มใี ชอ้ ยา่ งแพรห่ ลาย และผา่ นการยอมรบั ใหเ้ ป็นมาตรฐานตามความนิยมไปโดย ปรยิ ายโดยมที งั้ ผลติ ภณั ฑฮ์ ารด์ แวรแ์ ละซอฟตแ์ วรใ์ หเ้ ลอื กใชไ้ ดห้ ลากหลาย 3. การลงทุนต่า ดว้ ยความตอ้ งการดา้ นฮารด์ แวรแ์ ละซอฟตแ์ วรค์ ลา้ ยคลงึ กบั ทใ่ี ชใ้ นเครอื ขา่ ย อนิ เตอรเ์ น็ตซง่ึ มผี ลติ ภณั ฑใ์ หเ้ ลอื กมากมายและราคาต่า จงึ ทาใหค้ ่าใชจ้ า่ ยการวางระบบเครอื ขา่ ยต่า กวา่ เมอ่ื เทยี บกบั ค่าใชจ้ า่ ยทต่ี อ้ งลงทุนกบั ระบบอ่นื ๆ 4. ความน่าเช่อื ถอื เทคโนโลยที ใ่ี ชน้ นั้ ไดผ้ ่านการทดลองใชแ้ ละปรบั ปรงุ จนกระทงั่ อยใู่ น สถานภาพทม่ี คี วามเช่อื ถอื ไดส้ งู 5. สมรรถนะ สามารถสอ่ื สารขอ้ มลู รองรบั การสง่ ขอ้ มลู ทป่ี ระกอบดว้ ย ขอ้ ความ ภาพและเสยี ง
46 ได้ ในปจั จบุ นั บรษิ ทั ธรุ กจิ ชนั้ นาในประเทศต่างๆ ไดน้ าเทคโนโลยอี นิ ทราเน็ตมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นองคก์ ร กนั อยา่ งแพรห่ ลาย สาหรบั อนิ ทราเน็ตในประเทศไทยกาลงั อยใู่ นชว่ งของการเรม่ิ ตน้ และการขยาย แนวความคดิ ใหก้ บั ผบู้ รหิ ารองคก์ ร อกี ทงั้ องคก์ รหลายแหง่ ยงั คงไมพ่ รอ้ มทงั้ ดา้ นงบประมาณ และ บุคลากรทจ่ี ะเชอ่ื มโยงสอู่ นิ เตอรเ์ น็ตอยา่ งแทจ้ รงิ อนิ ทราเน็ตจงึ เป็นช่องทางในการพฒั นาและเตรยี ม ความพรอ้ มในระยะแรก แต่กม็ ศี กั ยภาพทจ่ี ะเตบิ โตไดอ้ กี มาก 8.10 สรปุ เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตเป็นเครอื ขา่ ยทม่ี ขี นาดใหญ่ทส่ี ดุ ในโลก และเป็นแหลง่ รวบรวมความรู้ ความบนั เทงิ ไวจ้ านวนมหาศาล เปรยี บเสมอื นกบั หอ้ งสมดุ ขนาดใหญ่ทส่ี ดุ ในโลก อนิ เตอรเ์ น็ต มี กาเนดิ จากเหตุผลทางดา้ นการทหารของประเทศสหรฐั อเมรกิ า หลงั จากทก่ี ระทรวงกลาโหมของ สหรฐั อเมรกิ าไดส้ นบั สนุนโครงการเครอื ขา่ ยทม่ี ชี ่อื ว่า \"อารพ์ าเน็ต\" อนั เกดิ จากความรว่ มมอื กนั ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั ชอ่ื ดงั 4 แหง่ เครอื ขา่ ยดงั กล่าวกเ็ ป็นทแ่ี ลกเปลย่ี นขอ้ มลู ความรซู้ ง่ึ มปี ระโยชน์ มากทงั้ ทางดา้ นการศกึ ษาและการทหาร ภายหลงั องคก์ รและบรษิ ทั ต่างๆ กเ็ ลง็ เหน็ ประโยชน์ ในการ ใชเ้ ครอื ขา่ ยใหเ้ ป็นประโยชน์ จงึ ไดข้ อดาเนินการเชอ่ื มเครอื ขา่ ยของตนเขา้ เป็นหน่งึ เดยี วกนั ทาให้ ขนาดของเครอื ขา่ ยขยายขอบเขตจนครอบคลมุ ทวั่ โลกดงั ทเ่ี ป็นอยใู่ น ปจั จบุ นั และไดเ้ รยี กชอ่ื เครอื ขา่ ยดงั กล่าวใหมว่ า่ \"เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต\" การตดิ ต่อกนั ระหว่างคอมพวิ เตอรท์ อ่ี ยใู่ นเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตสามารถตดิ ต่อกนั ไดโ้ ดย อาศยั โปรโตคอล TCP/IP ซง่ึ ในระดบั กายภาพภายในเคร่อื งคอมพวิ เตอรแ์ ต่ละเครอ่ื งจะใชห้ มายเลข ไอพแี อดเดรสในการอา้ งองิ ถงึ คอมพวิ เตอรใ์ นเครอื ขา่ ยซง่ึ หมายเลขไอพจี ะเป็นเลขขนาด 32 บติ เครอ่ื งแต่ละเครอ่ื งจะตอ้ งมหี มายเลขไอพที ไ่ี มซ่ ้ากนั เลย สาหรบั ผใู้ ชส้ ามารถใชร้ ะบบช่อื โดเมน อา้ งองิ ถงึ คอมพวิ เตอรแ์ ทนหมายเลขไอพกี ไ็ ด้ เน่อื งจากสามารถจดจาไดง้ า่ ยกว่าหมายเลขไอพี สาหรบั การเช่อื มต่อกบั เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตนนั้ สามารถแบง่ ออกเป็น 2 วธิ หี ลกั ๆ ไดแ้ ก่ การหมนุ โทรศพั ทผ์ ่านโมเดม็ และวธิ กี ารเชอ่ื มต่อโดยตรง ทงั้ สองวธิ นี นั้ ทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถเขา้ ใช้ บรกิ ารต่างๆ ทม่ี อี ยหู่ ลากหลายบนเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตได้ ยกตวั อยา่ งเชน่ บรกิ ารจดหมาย อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บรกิ ารเขา้ ใชร้ ะบบระยะไกล บรกิ ารโอนถ่ายแฟ้มขอ้ มลู บรกิ ารคน้ หาขอ้ มลู หรอื บรกิ าร สนทนาออนไลน์ เป็นตน้ บรกิ ารบนอนิ เตอรเ์ น็ตอกี หน่งึ บรกิ ารทถ่ี อื วา่ ไดร้ บั ความนิยมมากทส่ี ุดในปจั จบุ นั ไดแ้ ก่ บรกิ ารเวลิ ดไ์ วดเ์ วบ ซง่ึ เป็นบรกิ ารนาเสนอขอ้ มลู ในรปู แบบของไฮเปอรเ์ ทก็ ซ์ ซง่ึ ปจั จบุ นั สามารถ นาเสนอ ในระบบมลั ตมิ เี ดยี รว่ มดว้ ยได้ รวมเรยี กวา่ เป็น \"ระบบไฮเปอรม์ เี ดยี \" ทาใหบ้ รกิ ารเวลิ ดไ์ วด์ เวบไดร้ บั ความนิยมอยา่ งสงู เวลิ ดไ์ วดเ์ วบใชส้ ถาปตั ยกรรมการส่งผ่านขอ้ มลู ระหว่างเครอ่ื ง คอมพวิ เตอร์ แบบ Client/Server ผใู้ ชจ้ ะระบุขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการผ่านโปรแกรมเวบบราวเซอรซ์ ง่ึ จะทาการ
47 รอ้ งขอไปยงั เวบเซริ ฟ์ เวอรโ์ ดยใชโ้ ปรโตคอล HTTP เมอ่ื เวบเซริ ฟ์ เวอรไ์ ดร้ บั การรอ้ งขอกจ็ ะสง่ ขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการกลบั มาใหเ้ วบบราวเซอรเ์ พ่อื แสดงแก่ผใู้ ช้ ดว้ ยลกั ษณะเดน่ และบรกิ ารทน่ี ่าสนใจของบรกิ ารต่างๆ บนเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ตทาให้ หน่วยงาน และบรษิ ทั ต่างๆ สนใจทจ่ี ะนาเสนอขอ้ มลู ของตนในเครอื ขา่ ย นอกจากน้ยี งั มบี รษิ ทั หลาย แห่ง ใชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตในการทาการคา้ ซง่ึ เรยี กว่า \"การพาณชิ ยอ์ เิ ลค็ ทรอนกิ ส์\" ทาใหจ้ านวนเวบไซต์ เพม่ิ ขน้ึ ดว้ ยอตั ราทเ่ี รว็ รวดมาก ทาใหเ้ ครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตมปี ระโยชน์ทงั้ ในดา้ นการทาธุรกจิ การศกึ ษา การบนั เทงิ เน่อื งดว้ ยเพราะจานวนขอ้ มลู และผใู้ ชง้ านซง่ึ มจี านวนสงู มากขน้ึ เรอ่ื ยๆ เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตยงั ไดถ้ ูกประยกุ ตใ์ หม้ าใชภ้ ายในองคก์ รทม่ี เี ครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรข์ อง ตนเองอกี ดว้ ย โดยจะมกี ารเช่อื มต่อคอมพวิ เตอร์ และมกี ารแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขององคก์ รเฉพาะ ภายในองคก์ รเท่านนั้ บคุ คลภายนอกทไ่ี มไ่ ดเ้ ป็นสมาชกิ ขององคก์ รจะถูกกาหนดสทิ ธไิ ์ มใ่ หเ้ ขา้ ใช้ เครอื ขา่ ยในส่วนน้ี ซง่ึ เรยี กเครอื ขา่ ยในลกั ษณะน้วี า่ \"เครอื ขา่ ยอนิ ทราเน็ต\" ปจั จบุ นั ระบบเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ตกย็ งั คงเจรญิ เตบิ โต และไดร้ บั การพฒั นาเพ่อื อานวย ประโยชน์ใหแ้ ก่ มวลมนุษยต์ ่อไปอยา่ งไมห่ ยดุ ยงั้ ***************************
Search