Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 10-SAR-2563สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล (วท.ระยอง)

10-SAR-2563สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล (วท.ระยอง)

Description: SAR-2563สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล (วท.ระยอง) อาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเอง การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ปีการศึกษา 2563 หลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยเี ครอื่ งกล (ตอ เนอื่ ง) (พ.ศ. 2563) วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

ลงนาม ................................... ประธานหลักสตู ร รายงานวนั ท่ี…….. เดอื น....................... ป.ี ..........

1 บทสรปุ ผู้บรหิ าร คณะกรรมการประจาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเคร่ืองกล วิทยาลัยเทคนิค ระยอง ได้ประเมนิ คณุ ภาพของหลักสตู รตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2563 ในระดับหลักสูตร มีทั้งหมด 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบท่ี 1 การกากับมาตรฐาน องค์ประกอบท่ี 2 บัณฑิต องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน และ องค์ประกอบท่ี 6 สิง่ สนับสนนุ การเรยี นรู้ ได้สรุปขอ้ มูลพื้นฐานของหลักสูตรและสรุปผลการประเมินตนเอง ได้ดังนี้ 1. สรปุ ข้อมลู เฉพาะพ้ืนฐานของหลักสตู ร 1.1 ช่อื หลักสตู ร (ภาษาไทย) หลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยเี คร่อื งกล (ตอ่ เนื่อง) (ภาษาอังกฤษ) Bachelor of Technology Program in Mechanical Technology (Continuing Program) หลกั สูตร ใหม/่ ปรับปรงุ พ.ศ. 2563 รหสั หลักสูตร : 25582771102432 ท่ีต้ังสถานศกึ ษา : วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง 1.2 ปรัชญาของหลกั สูตร มุ่งผลิตบัณฑิตด้านอาชีวศึกษา ที่ความรอบรู้ความเชี่ยวชาญและมีสมรรถนะในการพัฒนางาน ระดับเทคโนโลยีด้านเครื่องกล สามารถจัดการและควบคุมการทางาน มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพและ กิจนิสัยที่เหมาะสมในการทางานสอดคล้องกับความต้องการของ สังคม ชุมชน และ สถานประกอบการ สามารถประกอบอาชีพอสิ ระ พัฒนาตนเองให้มีความกา้ วหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ 1.3 วัตถุประสงค์ของหลกั สตู ร 1) เพ่ือผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีเครื่องกล สามารถนาความรู้ ไปบูรณาการและ ประยกุ ต์ใช้ แก้ไขปัญหาและพฒั นางานดา้ นเครอ่ื งกลในงานอุตสาหกรรม 2) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมนาวิชาการ มีความรับผิดชอบ มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพด้าน เทคโนโลยเี ครื่องกล ตระหนกั ถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีการพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเอง ท้ังด้าน วิทยาการและเทคโนโลยีท่ีเกีย่ วข้อง 3) เพื่อสรา้ งความพร้อมให้กบั บณั ฑิตในการแสวงหาความรูใ้ นระดบั สูงขึ้น การศึกษา ค้นคว้าวิจัย ท่ีเป็นประโยชน์ต่องานอาชีพเทคโนโลยีเคร่ืองกลในงานอุตสาหกรรม มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา สังคม และเศรษฐกิจของประเทศ

2 1.4 รายช่ืออาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตรปจั จุบนั 1) นายประภาส พวงชืน่ 2) นายภาสกร ลดเลยี้ ว 3) นายชาญชัย เจรญิ รืน่ 4) นายบรรเจดิ แย้มกลิ่น 5) นายเฉลมิ พล ชมุ่ นา้ คา้ ง 1.5 สรุปขอ้ มูลนกั ศึกษาและผ้สู าเร็จการศกึ ษา 2563 2564 - 12 นักศึกษา 8 8 ปที ี่ 1 8 18 ปที ่ี 2 - - - - รวม สาเร็จการศกึ ษา ตกคา้ ง 2. สรุปผลการประเมินตนเองของหลักสตู รตามเกณฑก์ ารประกันคุณภาพการศกึ ษา 2.1 สรุปผลการประเมิน องค์ประกอบท่ี 1 องคป์ ระกอบ/ตัวบ่งช้ี ผลการดาเนินการ ผา่ น ไม่ผา่ น องคป์ ระกอบท่ี 1 การกากบั มาตรฐาน (1 ตวั บง่ ช้)ี  1.1 การบริหารจัดการหลักสตู รตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง  เกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู ร ระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558  1.1.1 จานวนอาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร  1.1.2 คุณสมบตั อิ าจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร  1.1.3 คุณสมบัติอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร - 1.1.4 คณุ สมบัติอาจารยผ์ ู้สอน  1.1.5 การปรบั ปรุงหลักสตู รตามรอบระยะเวลาที่กาหนด ผลการประเมนิ องคป์ ระกอบที่ 1

3 2.2 สรปุ ผลการประเมนิ องคป์ ระกอบท่ี 2-6 องค์ประกอบ/ตวั บง่ ชี้ ผลการดาเนนิ การ ร้อยละ คะแนน องคป์ ระกอบท่ี 2 บัณฑิต (5) ตวั บ่งช้ี -- 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ - - 2.2 รอ้ ยละของนักศกึ ษาทส่ี อบมาตรฐานวชิ าชพี ผา่ นในครั้งแรก -- 2.3 ร้อยละของนักศกึ ษาที่สอบผา่ นสมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ ระดบั B2 - - หรอื เทียบเทา่ 2.4 ร้อยละของนักศกึ ษาท่สี อบผา่ นมาตรฐานด้านเทคโนโลยีดจิ ิทัล -- 2.5 รอ้ ยละของบัณฑติ ปริญญาตรีทไ่ี ด้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระ -- ภายใน 1 ปี (สาหรับ บัณฑิตท่ี สาเร็จการศกึ ษา ปี 2562) ค่าเฉลีย่ องคป์ ระกอบที่ 2 องคป์ ระกอบท่ี 3 นกั ศกึ ษา ( 3 ตัวบ่งช้ี) 3.1 การรับนักศึกษา -4 3.2 การสง่ เสริมและพฒั นานักศกึ ษา -3 3.3 ผลที่เกดิ กบั นักศกึ ษา -4 คา่ เฉลีย่ องค์ประกอบที่ 3 - 3.67 องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ (3 ตวั บ่งช้ี) 4.1 การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์ (ไม่มี) 4 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ -- 4.2.1 มีค่าร้อยละของอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรท่ีมปี ระสบการณ์ - - ด้านปฏิบัตกิ ารในสถานประกอบการ 4.2.2 รอ้ ยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตร - - 4.3 ผลท่เี กดิ กบั อาจารย์ (ไมม่ ี) 4 ค่าเฉลีย่ องคป์ ระกอบท่ี 4 2.67 องคป์ ระกอบที่ 5 หลกั สูตร การเรียนการสอน การประเมนิ ผูเ้ รียน ( 4 ตวั บง่ ช้ี) 5.1 สาระของรายวชิ าในหลักสตู ร (ไม่ม)ี 4 5.2 การวางระบบผูส้ อนและกระบวนการจดั การเรียนการสอน (ไม่มี) 3 5.3 การประเมินผู้เรยี น (ไม่ม)ี 3 5.4 ผลการดาเนินงานหลกั สตู รตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุ มศึกษา 55.55 - แห่งชาติ คา่ เฉล่ียองคป์ ระกอบที่ 5 2.50

4 องค์ประกอบ/ตวั บง่ ชี้ ผลการดาเนนิ การ ร้อยละ คะแนน องค์ประกอบท่ี 6 สง่ิ สนับสนุนการเรียนรู้ (1 ตัวบง่ ช้ี) 4 6.1 ส่งิ สนบั สนุนการเรยี นรู้ 2.64 ค่าเฉลีย่ โดยรวมท้ังหมด ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการของ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเคร่ืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคเทคนคิ ระยอง มีคะแนนเฉลย่ี รวมเท่ากบั …2.64… คะแนน อย่ใู นระดับ ปานกลาง โดยสรปุ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเคร่ืองกล วิทยาลัยเทคนิคระยอง เป็นไปตาม มาตรฐาน อยู่ในระดบั คุณภาพ ปานกลาง การแปลผลจะเป็นการอธบิ ายวา่ คะแนนระดบั หลักสตู ร = 0 หมายถงึ หลักสูตรไม่ได้มาตรฐาน (องคป์ ระกอบท่ี 1 ไมผ่ า่ น) คะแนนระดับหลักสูตร = 0.01 - 5.00 หมายถึง หลักสูตรเป็นไปตามมาตรฐานและมีระดับคุณภาพตาม คะแนนทไี่ ด้ดังน้ี คะแนน ระดับคุณภาพ 0.01 – 2.00 น้อย 2.01 – 3.00 ปานกลาง 3.01 -4.00 ดี 4.01 – 5.00 ดีมาก

5 ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพ้นื ฐานของหลักสูตร 1. ชอ่ื หลักสูตร (ภาษาไทย) หลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีเครือ่ งกล (ตอ่ เนื่อง) (ภาษาองั กฤษ) Bachelor of Technology Program in Mechanical Technology (Continuing Program) 2. สถานภาพของหลักสูตรและการพจิ ารณาอนมุ ัติ/เห็นชอบหลักสูตร () หลกั สูตรปรับปรุง กาหนดเปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 พ.ศ. 2563 ไดร้ ับอนุมัติ/เหน็ ชอบหลกั สูตรจากสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ในการประชุมคร้งั ที่ 2/2563 เม่อื วันท่ี 18 เดือน มิถุนายน พ.ศ. พ.ศ. 2563 3. รูปแบบแผนการศกึ ษาของหลกั สูตรเทคโนโลยีเครอื่ งกล ( ) ทางวิชาชพี หรอื ปฏบิ ัติการ () ระดับปริญญาตรี ( ) ทางวชิ าการ 4. รายช่ืออาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสตู รปจั จุบนั 1. นายประภาส พวงชืน่ 2. นายภาสกร ลดเลย้ี ว 3. นายชาญชัย เจรญิ ร่นื 4. นายบรรเจิด แย้มกลน่ิ 5. นายเฉลิมพล ช่มุ น้าคา้ ง 5. ข้อมูลโดยสรปุ เกี่ยวกับวทิ ยาลยั และสาขาวิชา สถานทต่ี ้งั วิทยาลัยเทคนิคระยองตง้ั อยู่เลขที่ 086/13 ถนนตากสนิ มหาราช ตาบลท่าประดู่ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000โทรศัพท์ 038-611-160, 038-611-192 โทรสาร 038-870-717 มพี ้ืนที่ 76 ไร่ 2 งาน 17 ตารางวา ความเป็นมา เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2481 กรมอาชีวศึกษากรมอาชีวศึกษาร่วมกับจังหวัดระยองได้ จดั ต้งั “โรงเรียนช่างไม้ระยอง” ข้ึนโดยอาศัยศาลาการเปรียญของวัดเก๋ง ซึ่งเป็นวัดร้าง (ปัจจุบันเป็นสถาน ท่ตี ง้ั ของโรงพยาบาลระยอง) เป็นสถานทีเ่ รยี นชัว่ คราวตอ่ มาได้รบั บริจาคท่ีดินจานวน 5 ไร่ จาก นายเหลียง เป่ียมพงศส์ านต์ และจัดตัง้ เป็นสถานศกึ ษาอนั เปน็ ตาบลทีต่ ้งั ของวิทยาลัยเทคนคิ ระยองในปจั จุบัน ความเป็นมา ในปพี .ศ.2501 ได้ซื้อท่ีดินเพิม่ ขึน้ อกี 5 ไร่ ได้รับอนุมัติให้เปล่ียนชื่อเป็น “โรงเรียนการ ช่างไม้ระยอง” เม่ือ พ. ศ. 2509 กระทรวงศึกษาธิการประกาศรวม “โรงเรียนการช่างไม้ระยอง” และ “โรงเรียนการช่างสตรีระยอง” เป็นโรงเรียนเดียวกัน ให้ชื่อว่า “โรงเรียนการช่างระยอง” และได้รับอนุมัติ ให้ชื่อเป็น “โรงเรียนเทคนิคระยอง” เม่ือวันท่ี 1 พฤษภาคม 2520 ต่อมาได้รับการยกฐานะจากโรงเรียน เป็นวิทยาลัยโดยให้ชือ่ เปน็ “วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง” ต้ังแต่วนั ที่ 1 พฤษภาคม 2523 จนถงึ ปัจจบุ ัน 6. ขอ้ มูลเกี่ยวกบั หลักสตู ร ปรชั ญา

6 มุ่งผลิตบัณฑิตด้านอาชีวศึกษา ท่ีความรอบรู้ความเชี่ยวชาญและมีสมรรถนะในการพัฒนางาน ระดับเทคโนโลยีด้านเครื่องกล สามารถจัดการและควบคุมการทางาน มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพและ กิจนิสัยที่เหมาะสมในการทางานสอดคล้องกับความต้องการของ สังคม ชุมชน และ สถานประกอบการ สามารถประกอบอาชีพอิสระ พฒั นาตนเองให้มคี วามก้าวหน้าทางวิชาการและวชิ าชีพ ความสาคัญ ตามแผนยุทธศาสตร์ของชาติในการเพิ่มความเข้มแข็งและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน กับ ต่างประเทศ รัฐบาลไดก้ าหนดพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกหรือ EEC โดยจังหวัดระยองให้เป็น เขต อุตสาหกรรมหลักหน่ึงในแผนยุทธศาสตร์ของชาติ โดยมีแนวทางที่จะพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นฐานการ ผลิตของ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ทาให้ประเทศมีความต้องการนักเทคโนโลยีทางด้านเคร่ืองกลท่ีมี ความรู้ ด้านเทคโนโลยีมากข้ึน แต่ในปัจจุบันประเทศไทยยังขาดทรัพยากรบุคคลในระดับนักเทคโนโลยี ปฏบิ ัตกิ าร ดงั นัน้ รองรับการขบั เคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ของชาติ เพื่อท่ีจะทาให้ยุทธศาสตร์นี้เกิดผล ในทางปฏบิ ัติ จงึ จาเปน็ ต้องสรา้ งบคุ ลากรด้านนีเ้ พ่มิ เติมอยา่ งเร่งดว่ น วัตถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือผลิตบัณฑิตท่ีมีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีเครื่องกล สามารถนาความรู้ ไปบูรณาการและ ประยกุ ตใ์ ช้ แกไ้ ขปญั หาและพฒั นางานดา้ นเคร่อื งกลในงานอุตสาหกรรม 2) เพ่ือผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมนาวิชาการ มีความรับผิดชอบ มีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพด้าน เทคโนโลยเี ครอ่ื งกล ตระหนกั ถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีการพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเอง ท้ังด้าน วทิ ยาการและเทคโนโลยที ี่เกยี่ วขอ้ ง 3) เพอื่ สรา้ งความพรอ้ มใหก้ บั บณั ฑติ ในการแสวงหาความรใู้ นระดบั สูงขึ้น การศึกษา ค้นคว้าวิจัย ที่เป็นประโยชน์ต่องานอาชีพเทคโนโลยีเคร่ืองกลในงานอุตสาหกรรม มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา สังคม และเศรษฐกิจของประเทศ 7. จานวนนกั ศึกษา นกั ศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 2564 2565 2566 2567 2568 ชัน้ ปที ี 1 (คน) ชนั้ ปีที 2 (คน) 8- - - - - -8- - - - รวม -8- - - - 8. จานวนผสู้ าเร็จการศึกษา ปีการศกึ ษา นกั ศึกษา 2563 2564 2565 2566 2567 จานวนผู้สาเร็จการศกึ ษา (คน) -8- - -

7 9. แผนการรับนกั ศึกษา และผสู้ าเร็จการศกึ ษาในระยะ 5 ปี จานวนนักศึกษาที่จะรับเข้าศึกษาในหลักสูตร และจานวนผู้สาเร็จการศึกษา ที่คาดว่าจะจบในแต่ ละปกี ารศึกษา เปน็ ระยะเวลา 5 ปกี ารศึกษา โดยเร่ิมตน้ ต้งั แต่ปีการศกึ ษาทเ่ี ปดิ สอนหลกั สตู ร ดังนี้ จานวนนักศึกษา จานวนนักศึกษาแต่ละปีการศึกษา 2563 2564 2565 2566 2567 ชัน้ ปที ่ี 1 20 20 20 20 20 ช้นั ปีท่ี 2 - 20 20 20 20 รวมทงั้ หมด 20 40 40 40 40 คาดว่าจะสาเรจ็ การศึกษา - 20 20 20 20

8 สว่ นที่ 2 การบริหารจดั การหลักสตู รตามเกณฑ์การประกนั คุณภาพการศึกษาภายในระดับ ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัตกิ าร ระดบั หลักสตู ร คณะกรรมการประจาหลกั สูตรเทคโนโลยีเครือ่ งกล ไดบ้ ริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์การประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2563 ในระดับ หลักสูตร มีทั้งหมด 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต องค์ประกอบท่ี 3 นักศึกษา องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมนิ ผเู้ รียน และ องคป์ ระกอบที่ 6 สง่ิ สนับสนุนการเรยี นรู้ ดังน้ี องคป์ ระกอบที่ 1 การกากบั มาตรฐาน ผลการดาเนินการ ผ่าน ไมผ่ า่ น เกณฑ์การประเมนิ  1.1 การบริหารจดั การหลักสตู รตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื งเกณฑ์ มาตรฐานหลกั สูตร ระดบั ปริญญาตรี พ.ศ.2558   1.1.1 จานวนอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร  1.1.2 คณุ สมบัติอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสตู ร  1.1.3 คุณสมบัตอิ าจารย์ประจาหลกั สตู ร - 1.1.4 คุณสมบัติอาจารย์ผสู้ อน ผา่ น 1.1.5 การปรับปรุงหลักสตู รตามรอบระยะเวลาที่กาหนด สรปุ ผลการประเมิน การดาเนินการตามองคป์ ระกอบท่ี 1 การกากบั มาตรฐาน ซ่งึ เปน็ การดาเนินการตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสตู ร ระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ.2558 ดาเนินการไดต้ ามเกณฑก์ ารประเมนิ ครบทุกข้อ ดงั นี้ รายการเอกสารหลกั ฐาน ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1.1.1 คาส่ังแต่งต้ังครผู สู้ อน 1.1.2 ประวัตอิ าจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สูตร 1.1.3 เอกสารประกอบคุณสมบัติครผู ู้สอน 1.1.4 เอกสารประกอบคุณสมบตั ผิ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร

9 องคป์ ระกอบท่ี 2 บัณฑิต ผลการดาเนนิ การ รอ้ ยละ คะแนน เกณฑ์การประเมิน -- 2.1 คุณภาพบัณฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ -- 2.2 รอ้ ยละของนักศกึ ษาทสี่ อบมาตรฐานวชิ าชีพผ่านในคร้ังแรก -- 2.3 ร้อยละของนักศกึ ษาที่สอบผ่านสมทิ ธภิ าพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือเทียบเท่า -- 2.4 รอ้ ยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่านมาตรฐานด้านเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั -- 2.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรที ่ีได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี -- สรปุ ผลการประเมิน การดาเนินการตามองค์ประกอบที่ 2 บณั ฑติ ซ่ึงเป็นผลลัพธ์การเรยี นรทู้ ี่บัณฑิตไดร้ ับการพัฒนาว่ามี คุณภาพและมาตรฐาน คุณภาพของบัณฑิตในแต่ละหลักสูตรจะสะท้อนไปท่ีคุณภาพบัณฑิตตามกรอบ มาตรฐานคุณวฒุ ิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติโดยพิจารณาจากผลลัพธ์ การเรียนรู้ การมีงานทา มาตรฐานวชิ าชีพ มาตรฐานภาษาอังกฤษ และมาตรฐานเทคโนโลยดี จิ ิทลั ( หมายเหตุ* นกั ศึกษาช้ันปที ี่ ๑ ยังไมเ่ ขา้ รบั การประเมนิ ) ตัวบ่งชี้ท่ี 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ แสดงผล การดาเนินงานครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) ประเมินโดยผ้ใู ชบ้ ัณฑิตตามมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) 2) สรปุ ผลการประเมินตนเองตวั บง่ ชี้ท่ี 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แหง่ ชาติ ระดบั คะแนน - คะแนน ( หมายเหตุ* นกั ศึกษาช้นั ปที ่ี ๑ ยังไม่เขา้ รับการประเมิน ) ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบมาตรฐานวิชาชีพผ่านในคร้ังแรก แสดงผลการ ดาเนนิ งานครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ 1) สอบผา่ นมาตรฐานวิชาชีพตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1)

10 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองตวั บง่ ชที้ ี่ 2.2 รอ้ ยละของนักศึกษาทส่ี อบมาตรฐานวิชาชีพผ่านในคร้ังแรก (นักศกึ ษามจี านวน - คน สอบผ่านมาตรฐานวิชาชพี ทุกคน ) มีระดับคะแนน – คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่าน สมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือ เทียบเทา่ แสดงผลการดาเนินงานครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) สอบผ่านการวดั สมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือเทยี บเทา่ ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) แบบสรปุ ผลการประเมินการวัดสมิทธภิ าพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือเทยี บเทา่ สรุปผลการประเมนิ ตนเองตัวบ่งช้ีท่ี 2.3 ร้อยละของนักศกึ ษาทส่ี อบผา่ นสมทิ ธิภาพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือเทียบเท่า (นักศึกษามีจานวน - คน สอบผ่านสมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษทุกคน) ระดับคะแนน - คะแนน ( หมายเหตุ* นกั ศึกษาช้นั ปที ่ี ๑ ยงั ไม่เข้ารับการประเมิน ) ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านมาตรฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล แสดงผลการ ดาเนินงานครอบคลมุ ประเด็นตอ่ ไปนี้ 1) สอบผ่านการวดั มาตรฐานด้านเทคโนโลยีดิจทิ ลั ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ท่ี 2.4 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่านมาตรฐานด้านเทคโนโลยี ดิจิทัล (นักศึกษามีจานวน - คน สอบผ่านมาตรฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัลทุกคน ) มีระดับคะแนน - คะแนน ( หมายเหตุ* นกั ศกึ ษาชัน้ ปีที่ ๑ ยังไมเ่ ขา้ รบั การประเมิน ) ตัวบ่งช้ีท่ี 2.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี แสดงผลการดาเนินงานครอบคลมุ ประเด็นต่อไปน้ี 1) เกบ็ ข้อมลู จากบณั ฑติ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษา ที่ได้งานทา ประกอบ อาชีพส่วนตวั และผทู้ เ่ี ปลยี่ นงานใหม่หรือได้รบั การเล่ือนตาแหนง่ ภายใน 1 ปี ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ีได้งานทาหรือประกอบ อาชีพอิสระภายใน 1 ปี (บัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษา ปี 2562 จานวน - คน มีงานทาหรือประกอบอาชีพ อิสระภายใน ๑ ปีทุกคน) มีระดับคะแนน – คะแนน ( หมายเหตุ* นักศึกษาช้ันปีที่ ๑ ยังไม่เข้ารับการ ประเมนิ )

11 องค์ประกอบที่ 3 นกั ศกึ ษา ผลการดาเนินการ คะแนน (0-5) เกณฑก์ ารประเมนิ 4 3.1 การรับนกั ศึกษา 3 3.2 การสง่ เสรมิ และพฒั นานักศึกษา 3.3 ผลที่เกดิ กบั นักศกึ ษา 4 3.67 สรปุ ผลการประเมนิ องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา น้ัน ความสาเร็จของการจัดการศึกษาขึ้นอยู่กับปัจจัยสาคัญปัจจัยหนึ่ง คือ นักศึกษา ระบบประกัน คุณภาพการศึกษา ต้องให้ความสาคัญกับการรับหรือคัดเลือกนักศึกษาเข้า ศึกษาในหลักสูตร ซ่ึงต้องเป็น ระบบท่ีสามารถคัดเลือกนักศึกษาท่ีมีคุณสมบัติและความพร้อมในการเรียน ในหลักสูตรจนสาเร็จการศึกษา และการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มีความพร้อมทางการเรียน และมี กิจกรรมการพัฒนาในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร มีทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรในองค์ประกอบด้านนักศึกษา เริ่มดาเนินการต้ังแต่ระบบการรับนักศึกษา การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับ นักศึกษา ตัวบ่งชีท้ ี่ 3.1 การรบั นกั ศกึ ษา แสดงผลการดาเนินงานครอบคลุมประเดน็ ต่อไปนี้ 1) การรบั นักศกึ ษา สัดสว่ นการรบั และกระบวนการรับ 2) การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเขา้ ศึกษา ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) ประกาศสถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก เรือ่ งการรบั สมคั รเข้าเป็นนักศกึ ษา 2) ประกาศรายชอ่ื นักศึกษาปริญญาตรี (หนา้ เว็บไซต์ สถานศกึ ษา) 3) ป้ายประชาสมั พันธก์ ารรับสมัครเรียน 4) รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการปฐมนเิ ทศนักศึกษา ปี2563 สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ตวั บง่ ช้ีท่ี 3.1 การรับนักศึกษา มีการดาเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มีการปรับปรุง กระบวนการจากผลการประเมนิ ผลการประเมนิ อยใู่ นระดับคะแนน 4 คะแนน

12 ตัวบ่งช้ีที่ 3.2 การส่งเสรมิ และพัฒนานกั ศึกษา แสดงผลการดาเนินงานครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) การควบคมุ การดแู ลการใหค้ าปรกึ ษาวิชาการ และแนะแนวแกน่ กั ศึกษาปริญญาตรี 2) การพฒั นาศกั ยภาพนักศกึ ษาและการเสริมสรา้ งทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 3) การควบคมุ ดูแลในการจัดทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (สัดส่วนในการควบคุมอาจารย์ต่อ นกั ศึกษาไมค่ วร เกิน 1 : 15) ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) กระบวนการควบคุมดูแลการให้คาปรกึ ษาวิชาการ 2) กระบวนการพัฒนาศักยภาพของนกั ศึกษาและการเสริมสรา้ งทกั ษะการเรียนรู้ 3) สรปุ รายชอื่ โครงงานนกั ศึกษา สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา มีการดาเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มีการปรับปรุงกระบวนการจากผลการประเมิน ผลการประเมิน ระดับคะแนน 3 คะแนน ตวั บ่งช้ที ่ี 3.3 ผลท่ีเกดิ กบั นกั ศึกษา แสดงผลการดาเนนิ งานครอบคลุมประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) การคงอยู่ (ยกเว้นเสียชีวติ และยา้ ยท่ีทางาน ) 2) การสาเรจ็ การศึกษา *ใช้ข้อมูล 3 รนุ่ ต่อเนือ่ ง 3) ความพึงพอใจ และผลการจัดการขอ้ ร้องเรยี นของนกั ศึกษา ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) จานวนนักศึกษา 2) จานวนนักศกึ ษาที่สาเรจ็ การศึกษา 3) รายงานความพงึ พอใจของนักศึกษาทมี่ ตี ่อหลักสูตร 4) กระบวนการจัดการขอ้ รอ้ งเรียน สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ท่ี 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา มีการดาเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มีการ ปรับปรงุ กระบวนการจากผลการประเมิน ผลการประเมนิ อยใู่ นระดับคะแนน 4 คะแนน

13 องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ ผลการดาเนินการ รอ้ ยละ คะแนน เกณฑก์ ารประเมิน (ไม่ม)ี 4 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ - 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ -- 4.2.1 มคี ่าร้อยละของอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รท่ีมปี ระสบการณ์ (ไม่ม)ี 4 ด้านปฏิบัตกิ ารในสถานประกอบการ 2.67 4.2.2 รอ้ ยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลักสตู ร 4.3 ผลทเ่ี กดิ กับอาจารย์ สรุปผลการประเมนิ องคป์ ระกอบท่ี 4 อาจารย์ เปน็ ปจั จยั ป้อนทส่ี าคญั ของการผลิตบัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาต้องมี การออกแบบระบบการบริหารและพัฒนาอาจารย์ เพื่อให้ได้อาจารย์ท่ีมีคุณภาพเหมาะสม มีคุณสมบัติ สอดคล้องกับสภาพบริบทปรัชญา วิสัยทัศน์ของสถาบันและของหลักสูตร องค์ประกอบด้านอาจารย์เริ่ม ดาเนินการต้ังแต่การบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ และผลลัพธ์ท่ีเกิดกับอาจารย์มีผลการ ประเมนิ ดงั น้ี ตัวบง่ ชีท้ ี่ 4.1 การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ เป็นการรายงานการดาเนินงาน อธิบายกระบวนการ หรือแสดงผลการดาเนนิ งานอย่าง น้อยใหค้ รอบคลุมประเดน็ ต่อไปน้ี 1) ระบบการรบั และแตง่ ตง้ั อาจารยป์ ระจาหลักสูตร 2) ระบบการบริหารอาจารย์ 3) ระบบการสง่ เสรมิ และพฒั นาอาจารย์ ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) คาส่ังแตง่ ตง้ั อาจารย์ผสู้ อน อาจารย์ประจาหลกั สตู ร 2) คาส่ังแต่งตัง้ อาจารย์พิเศษ 3) ตารางสอน 4) รายงานโครงการต่าง ๆ ในการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ตัวบง่ ชี้ท่ี 4.1 การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์ มีการดาเนนิ การได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มีการปรบั ปรงุ กระบวนการจากผลการประเมนิ ผลการประเมินอยู่ในระดับคะแนน 4 คะแนน

14 ตัวบ่งช้ีท่ี 4.2 คุณภาพอาจารย์ มีการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ต้องทาให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรมีคุณสมบัติท่ีเหมาะสมและเพียงพอ โดยทาให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีความรู้ ความ เช่ยี วชาญทางสาขาวิชาทเ่ี ปิดสอน และ มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการในสถานประกอบการท่ีเหมาะสมกับ การผลิตบัณฑิตอันสะท้อนจาก วุฒิการศึกษา ตาแหน่งทางวิชาการ และความก้าวหน้าในการผลิตผลงาน ทางวชิ าการอยา่ งต่อเน่ือง ครอบคลุมประเดน็ ต่อไปน้ี 1) ประสบการณด์ ้านปฏบิ ตั กิ ารในสถานประกอบการ ของอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสูตร 2) ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลกั สตู ร ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ท่ี 4.2 คุณภาพอาจารย์ มีผลการประเมินอยู่ในระดับ คะแนน 0 คะแนน ตามประเดน็ ในการพจิ ารณาตัวบง่ ชีน้ ี้ 4.2.1 ค่าร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการในสถาน ประกอบการ (สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวน 5 คน และไม่ได้รับ การเข้าฝกึ ประสบการณด์ ้านการปฏบิ ัติการสอนในสถานประกอบการ) ผลการประเมินอยู่ในระดับคะแนน 0 คะแนน 4.2.2 ค่าร้อยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (สาขาวิชาเทคโนโลยี เครอ่ื งกล มอี าจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร จานวน 5 คน ในรอบประเมิน 2563 ยังไม่มีผลงานวิชาการ ผล การประเมินอยูใ่ นระดับคะแนน 0 คะแนน ตวั บง่ ชท้ี ี่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ ต้องนาไปสู่การมีอัตรากาลังอาจารย์ท่ีมีจานวนเหมาะสม กับจานวนนักศึกษาที่รับเข้าศึกษาในหลักสูตร อัตราคงอยู่ของอาจารย์สูง และอาจารย์มีความพึงพอใจต่อ การบรหิ ารหลักสูตร ในการรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งช้ีนี้ โดยอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการ ดาเนนิ งาน ครอบคลุมประเด็นตอ่ ไปน้ี 1) การคงอยขู่ องอาจารย์ 2) ความพงึ พอใจและความไมพ่ ึงพอใจของอาจารย์ ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) การคงอยู่ของอาจารย์ 2) แบบสรุปผลความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการบริหารจัดการหลักสตู ร สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งช้ีที่ 4.3 ผลท่ีเกิดกับอาจารย์ มีการดาเนินการได้แก่ 1) มกี ารรายงานผลการดาเนินการครบทุกเรื่องตามคาอธิบายในตัวบ่งช้ี 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การ ปฏิบัต/ิ ดาเนนิ งาน 3) มแี นวโนม้ ผลการดาเนินงานท่ีดีข้ึนในทุกเร่ือง ผลการประเมินอยู่ในระดับคะแนน 4 คะแนน

15 องคป์ ระกอบที่ 5 หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผ้เู รียน เกณฑก์ ารประเมิน ผลการดาเนินการ รอ้ ยละ คะแนน 5.1 สาระของรายวชิ าในหลักสตู ร (ไม่มี) 4 (ไม่ม)ี 3 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจดั การเรียนการสอน (ไม่มี) 3 5.3 การประเมินผเู้ รยี น - 5.4 ผลการดาเนินงานหลกั สตู รตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อดุ มศึกษา แห่งชาติ - 2.50 สรุปผลการประเมนิ องค์ประกอบที่ 5 น้ัน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรควรมีบทบาทหน้าท่ีในการบริหารจัดการ 3 ดา้ นทส่ี าคัญ คือ (1) สาระของ รายวิชาในหลักสตู ร (2) การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรียนการสอน (3) การประเมนิ ผู้เรียน ระบบ ประกันคณุ ภาพในการดาเนินการหลักสูตรประกอบด้วย หลักสูตร การเรียน การสอน และการประเมินผูเ้ รยี น เพือ่ ใหส้ อดคล้องกบั กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิตามท่คี ณะกรรมการมาตรฐาน อุดมศึกษา และประกาศ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เร่ือง เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ สายปฏิบัติการ พ.ศ.2562 กาหนด ตัวบ่งชี้ในการประเมินต้องให้ ความสาคัญกับการกาหนดรายวิชา ที่มีเน้ือหาที่ทันสมัยตอบสนองความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมทัน ความก้าวหนา้ ทางวิทยาการทีเ่ ปลยี่ นแปลง ตลอดเวลา รวมท้ังการวางระบบผู้สอนและอาจารย์ท่ีปรึกษาซ่ึง ต้องเปน็ บุคคลที่มคี วามรู้ ความเชีย่ วชาญ ประสบการณ์และมีคุณสมบัติเหมาะสมในการพัฒนานักศึกษาให้ เต็มศักยภาพ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ท่ีเน้นนักศึกษาเป็นสาคัญ และส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ตวั บ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวชิ าในหลักสูตร ครอบคลุมประเด็นตอ่ ไปนี้ 1) การออกแบบหลักสตู รและสาระรายวิชาในหลักสตู ร 2) การปรบั ปรุงหลักสตู รใหท้ นั สมยั ตามความกา้ วหน้าในศาสตรส์ าขานัน้ ๆ ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) แบบประเมินหลักสูตรเทคโนโลยีเครอื่ งกล 2) การปรับปรงุ หลักสตู ร สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวช้ีวัดที่ 5.1 ผลที่เกิดกับอาจารย์ มีการดาเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มกี ารปรบั ปรุงพัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั คะแนน 4 คะแนน

16 ตัวบ่งช้ีท่ี 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน ครอบคลุมประเด็น ตอ่ ไปน้ี 1) การกาหนดผู้สอน 2) การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้ แผนการฝึก และการจัดการ เรยี นการสอนท้ังในสถานศึกษา และสถานประกอบการ 3) การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการต้อง ดาเนนิ การ 5 ประเดน็ 4) การควบคุมหัวข้อโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพและการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาให้ สอดคล้องกับโครงงานของผ้เู รียน ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) รายช่อื อาจารยผ์ ู้สอน อาจารยพ์ เิ ศษ 2) แผนการศึกษา 3) แผนการเรียน 4) ตารางสอน 5) รายช่อื โครงงานนักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวชี้วัดที่ 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียน การสอน มีการดาเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มีการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน ผลการประเมิน อยู่ในระดบั คะแนน 3 คะแนน ตวั บง่ ชี้ที่ 5.3 การประเมินผเู้ รยี น ครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปน้ี 1) การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและทักษะ ปฏิบตั งิ าน การประเมนิ มาตรฐานวิชาชีพ และการประเมินสมิทธภิ าพทางภาษาองั กฤษ 2) การตรวจสอบการประเมินผลการเรยี นรขู้ องนักศึกษา 3) การกากบั การประเมนิ การจดั การเรียนการสอนและประเมนิ หลกั สูตร ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) เอกสารแสดงผลการประเมนิ นักศึกษารายวชิ าโครงงาน 2) เอกสารประกอบจัดทาโครงงานวชิ าชพี สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ตวั ชว้ี ดั ที่ 5.3 การประเมินผ้เู รียน ( หมายเหตุ* นักศึกษาช้ันปีที่ ๑ ยัง ไมเ่ ขา้ รบั การประเมิน) ผลการประเมินอยูใ่ นระดบั คะแนน 3 คะแนน

17 ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ครอบคลุมประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้การดาเนินงานตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาที่ ปรากฏในเอกสาร หลักสูตรฉบบั ทจ่ี ดั การเรียนการสอนในขณะน้ัน (คอศ.1) หมวดที่ 7 รายละเอียดดังนี้ ผลการดาเนินการบรรลุตามเป้าหมาย ตัวบ่งช้ีทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเน่ือง 2 ปีการศึกษา เพื่อ ตดิ ตามการดาเนินการตาม TQF ต่อไป ท้ังน้ีเกณฑ์การประเมินผ่าน คือ มีการดาเนินงานตามข้อ 1-5 และ อย่างน้อยรอ้ ยละ 80 ของตวั บง่ ชีผ้ ลการดาเนนิ งานทร่ี ะบุไว้ในแต่ละปี ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวชี้วัดท่ี 5.4 ผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ( หมายเหตุ* นักศึกษาชั้นปีท่ี ๑ ยังไม่เข้ารับการประเมิน) มีค่าคะแนน เทา่ กับ - คะแนน 6. สง่ิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ ตัวบ่งช้ีท่ี 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ครอบคลุมประเด็นต่อไปน้ี 1) ระบบการดาเนินงาน ของหลักสูตรกับสถานประกอบการโดย มีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพ่ือให้มีสิ่งสนับสนุน การเรียนรู้ 2)จานวนสิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรูท้ ี่เพียงพอและ เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน 3) สถาน ประกอบการ 4) กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมิน ความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อส่ิง สนับสนนุ การเรียนรู้ องคป์ ระกอบท่ี 6 ส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ ผลการดาเนนิ การ คะแนน (0-5) เกณฑก์ ารประเมนิ 4 6.1 สิ่งสนับสนนุ การเรยี นรู้ สรุปผลการประเมิน 4

18 ตวั บ่งชี้ที่ 6.1 สง่ิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ ครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปน้ี 1) ระบบการดาเนินงานของหลักสูตรกับสถานประกอบการโดย มีส่วนร่วมของอาจารย์ ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตรเพื่อใหม้ สี ิ่งสนับสนนุ การเรยี นรู้ 2) จานวนสิ่งสนับสนนุ การเรยี นร้ทู ี่เพียงพอและ เหมาะสมตอ่ การจัดการเรยี นการสอน 3) สถานประกอบการ 4) กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมิน ความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู้ ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) การดาเนนิ งานของหลกั สูตร 2) สิง่ สนบั สนุนการเรียนรู้ หอ้ งเรียน อาคารเรียน 3) บนั ทกึ ความรว่ มมือกบั สถานประกอบการ 4) สรุปความพึงพอใจของนกั ศกึ ษา และอาจารยต์ อ่ สิง่ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งช้ีท่ี 6.1 การประเมินผู้เรียน มีการดาเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มีการปรบั ปรุงพัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ ผลการประเมินอยใู่ นระดับคะแนน 4 คะแนน

19 ส่วนท่ี 3 สรปุ ผลการประเมิน ตารางแสดงผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบและตวั บ่งชี้ องคป์ ระกอบในการ ตัวบ่งช้ี ผลการ ประกันคณุ ภาพหลกั สูตร ประเมนิ 1. การกากับมาตรฐาน 1.1 การบรหิ ารจดั การหลักสูตรตามประกาศ ผ่าน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ืองเกณฑ์มาตรฐานหลักสตู ร - - ระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 - - 1.1.1 จานวนอาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร - 4 1.1.2 คณุ สมบัติอาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร 3 4 1.1.3 คณุ สมบตั อิ าจารย์ประจาหลกั สตู ร 4 - 1.1.4 คณุ สมบตั ิอาจารย์ผสู้ อน - - 1.1.๕ การปรบั ปรงุ หลักสตู รตามรอบระยะเวลาที่กาหนด 3 2. บณั ฑติ 2.1 คณุ ภาพบัณฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ ระดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ 2.2 ร้อยละของนักศึกษาทส่ี อบมาตรฐานวชิ าชพี ผ่านใน ครัง้ แรก 2.3 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผา่ นสมิทธภิ าพทาง ภาษาองั กฤษ ระดับ B2 หรอื เทียบเท่า 2.4 รอ้ ยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่านมาตรฐานด้าน เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล 2.5 รอ้ ยละของบัณฑติ ปริญญาตรีท่ีได้งานทาหรือ ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 3. นักศึกษา 3.1 การรบั นักศึกษา 3.2 การส่งเสริมและพฒั นานักศึกษา 3.3 ผลที่เกิดกบั นักศึกษา 4. อาจารย์ 4.1 การบริหารและพฒั นาอาจารย์ 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 4.2.1 ร้อยละของอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสูตรทมี่ ี ประสบการณ์ดา้ นปฏบิ ัตกิ ารในสถานประกอบการ 4.2.2 ร้อยละผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลกั สตู ร (ร้อยละ 16) 4.3 ผลทีเ่ กิดกับอาจารย์

20 องค์ประกอบในการ ตวั บ่งชี้ ผลการ ประกันคณุ ภาพหลักสูตร ประเมิน 5. หลักสตู ร การเรียนการ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4 3 สอน การประเมินผู้เรียน 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรยี น 3 การสอน - 5.3 การประเมินผู้เรียน 4 29 5.4 ผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน 2.64 คณุ วุฒิระดบั อุดมศกึ ษา 6. ส่งิ สนับสนุนการเรียนรู้ 6.1 ส่งิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ คะแนนรวม คะแนนรวมเฉลี่ย

21 ส่วนที่ 4 ตารางการวเิ คราะห์คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร ผลการประเมิน องคป์ ระกอบที่ คะแนน จานวน I P O คะแนน 0.01-2.00 ระดบั คณุ ภาพ นอ้ ย ผา่ น ตัวบง่ ช้ี 2.01-3.00 ระดบั คณุ ภาพ ปาน เฉลย่ี กลาง 3.01-4.00 ระดบั คณุ ภาพ ดี 4.01-5.00 ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก 1 ผา่ นการประเมิน หลกั สตู รผา่ นมาตรฐาน 5 - - 2.1,2. - - 2, 2 2.3,2. คะแนนเฉลย่ี 4, ของทุก 2.5 3 ตวั บ่งชี้ใน 3 3.1,3. 3.3 3.67 ดี องคป์ ระกอบ 2 4 ที่ 2-6 3 4.2 4.1 4.3 2.67 ปานกลาง 5 4 5.1,5. 5.4 2.50 ปานกลาง 25.3 6 1 6.1 4 ดมี าก รวม 16 1 7 8 ผลการประเมนิ 2.64 ปานกลาง

22 ส่วนที่ 5 รายงานผลการวเิ คราะหจ์ ดุ เด่นและจดุ ท่คี วรพัฒนา รายงานผลการวเิ คราะห์จุดเดน่ และจุดทีค่ วรพฒั นา ตามองค์ประกอบท่ี 1, 3-6 จุดเดน่ 1. การบรหิ ารจัดการหลักสตู รตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร หลักสูตรระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2558 มคี วามม่ันคงด้านบุคลากร จานวนอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลกั สูตร คณุ สมบัติ คุณวุฒิของ อาจารยผ์ ู้สอน 2. การออกแบบหลกั สูตรและสาระรายวิชาในหลักสตู ร ใหท้ ันสมัยและความก้าวหน้าของศาสตร์ใน งานอาชีพโดยความร่วมมือของสถานประกอบการ 3. การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีคานงึ ถึงความรู้ความสามารถ ความ เชีย่ วชาญในวชิ าทส่ี อน และการกากบั ตดิ ตามการจดั การเรียนการสอนทั้งในสถานศกึ ษาและสถาน ประกอบการ 4. มสี ิง่ สนับสนุนการเรยี นรูแ้ ละการจัดเตรยี มสิง่ สนับสนุนการเรียนรทู้ ่ีจาเป็นต่อการเรียนการสอน ส่งผลให้ผเู้ รยี นสามารถเรียนรู้ไดอ้ ย่างมีประสิทธิผล 5. หลักสตู รมกี ารดาเนินงานตามตัวบง่ ชี้การดาเนนิ งานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาท่ี ปรากฎในหลักสูตร (คอศ.1) จดุ ท่ีควรพัฒนา 1.องค์ประกอบดา้ นนักศึกษา ด้านการระบบการคัดเลือกนักศึกษาที่มคี ณุ สมบัตแิ ละความพรอ้ มใน การเรียนในหลกั สตู รจนสาเร็จการศกึ ษา ท้ังด้านปรมิ าณผู้เรียนและคณุ ภาพ 2.การทาความร่วมมอื จัดการศึกษารูปแบบทวิภาคีกับสถานประกอบการเพิ่มมากขึ้นกวา่ เดิม 3. ส่งเสรมิ ระบบการบริหารและพัฒนาอาจารย์อยา่ งต่อเนือ่ งด้านคณุ สมบตั ิ คณุ วุฒกิ ารศกึ ษา ประสบการณ์และผลงานวชิ าการใหเ้ ป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู ร

23 ภาคผนวก