Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการทำปริญญานิพนธ์ พ.ศ. 2564

คู่มือการทำปริญญานิพนธ์ พ.ศ. 2564

Description: คู่มือการทำปริญญานิพนธ์ พ.ศ. 2564 อาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก โดย ดร.ประทีป ผลจันทร์งาม

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การทาปริญญานพิ นธ์ พ.ศ. 2564 อาชีวศึกษาบณั ฑิต สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2564

ข คานา คู่มือการทาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ฉบับนี้ได้จัดทา ขึ้นเป็นคร้ังแรกในปีการศึกษา 2560 เพ่ือให้นักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก ได้ใช้เป็นแนวทางในการเรียบเรียงงานเขียนโครงการพัฒนาทักษะ วชิ าชีพให้มีรูปแบบทถ่ี ูกต้อง ตรงกัน เปน็ มาตรฐานเดียวกัน และสดคล้องกบั การพิมพเ์ อกสารทางวชิ าการ ตามสากลท่วั ไป หากคู่มือการทาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพฉบับน้ีมีข้อบกพร่องประการใด ผู้จัดทายินดีรับฟัง ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเพ่ือนามาพจิ ารณาปรับปรุงใหเ้ หมาะสมต่อไป โดยหวังเปน็ อย่างยิง่ ว่าคูม่ ือการ ทาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์กับนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี ในการทีจ่ ะชว่ ยให้ ทาโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพได้ถูกต้องตรงตามระเบียบแบบแผนตอ่ ไป สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก มิถนุ ายน 2560

สารบัญ ค คานา หนา้ สารบญั ข บทที่ 1 ข้นั ตอนการทาโครงการพฒั นาทักษะวิชาชพี ค 1 1.1 การเสนอโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 1 1.2 การสอบหัวขอ้ โครงการพฒั นาทักษะวิชาชพี 1 2 1.3 การพมิ พ์และการทาสาเนาเลม่ โครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี 2 1.4 การสง่ โครงการพฒั นาทักษะวิชาชพี ฉบบั สมบรู ณ์ 3 1.5 ข้นั ตอนการจัดทาโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 6 บทท่ี 2 สว่ นประกอบของโครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ 6 2.1 สว่ นนา 8 2.2 ส่วนเนือ้ หา 14 2.3 ส่วนอา้ งองิ หรอื สว่ นท้าย 15 บทที่ 3 การพมิ พ์โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 15 3.1 กระดาษทีใ่ ช้ 15 3.2 การวางรูปหนา้ กระดาษพมิ พ์ 15 3.3 การพมิ พ์ 18 3.4 การลาดบั หนา้ และการพมิ พ์เลขหนา้ 18 3.5 การพมิ พบ์ ทที่ หวั ขอ้ สาคัญ และหวั ข้อย่อย 19 3.6 การพมิ พ์ตาราง 20 3.7 การพิมพภ์ าพประกอบ 22 3.8 การพิมพส์ มการ 22 3.9 การเขยี นอ้างองิ แบบนาม-ปี 24 3.10 การพมิ พบ์ รรณานกุ รม 26 3.11 การเขยี นอ้างองิ แบบตัวเลข 26 3.12 การพมิ พเ์ อกสารอา้ งอิง 27 3.13 การเขียนรายการบรรณานุกรมหรอื เอกสารอ้างองิ ทา้ ยเลม่ 40 3.14 การพิมพภ์ าคผนวก 41 3.15 การทาสาเนา

ภาคผนวก ก 42 ตวั อย่างการพิมพ์โครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี 43 59 ภาคผนวก ข การแบ่งเนอ้ื หาและการตง้ั ชื่อไฟลบ์ ันทกึ ขอ้ มลู โครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ ภาคผนวก ค แบบฟอรม์ ต่าง ๆ

บทท่ี 1 ขนั้ ตอนการจดั ทาโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี 1.1 การเสนอโครงการพัฒนาทักษะวชิ าชพี ในการเสนอโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพให้นักศึกษาดาเนินการตามข้อกาหนดและขั้นตอน ต่อไปน้ี 1.1.1 การจดั ทาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี ประกอบดว้ ย 1.1.1.1 หัวขอ้ โครงการพฒั นาทักษะวชิ าชพี 1.1.1.2 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (นิยามปัญหาและความสาคัญของปัญหา ความจาเปน็ ทีค่ ิดใช้การวจิ ยั มาแก้ปัญหา) 1.1.1.3 วัตถุประสงค์ (ระบุวตั ถปุ ระสงค์ท่ีเดน่ ชดั ถา้ มกี ารศึกษาตัวแปรใหร้ ะบุสมมตฐิ านใน การวิจยั ไวด้ ว้ ย) 1.1.1.4 ขอบเขตของการวจิ ยั (ระบขุ อบเขตของเนอ้ื หา พื้นที่ และระยะเวลาในการศกึ ษา) 1.1.1.5 วิธีการวจิ ัย (ระบุการออกแบบวจิ ัย ขนั้ ตอนการวิจยั เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการวิจยั วธิ ีการ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล และการแปลผล) 1.1.1.6 ประโยชนข์ องการวิจยั (ระบุอย่างเด่นชัดวา่ ผลท่ีไดจ้ ากการวิจัยคอื อะไร จะนาเสนอ ผลการวิจัยหรอื ประโยชน์ในการแก้ปัญหาได้อย่างไร) 1.1.1.7 รายชือ่ เอกสารอา้ งอิง (ระบชุ ่ือเอกสารตา่ ง ๆ ที่ใช้เป็นหลักในการวิจยั ตามรูปแบบ ที่ ระบไุ วใ้ นค่มู ือการจัดทาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ) 1.1.1.8 รายละเอียดอื่น ๆ นอกเหนือจากน้ีให้เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตรและ สาขาวิชา 1.1.2 นกั ศกึ ษาจะเสนอโครงการพัฒนาทักษะวชิ าชพี จะต้องได้ ตอ้ งลงทะเบียนรายวิชาโครงการ พัฒนาทักษะวิชาชีพไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต ในภาคเรียนท่ี 3 หรือภาคเรียนท่ี 4 โดยมีอาจารย์ท่ี ปรึกษาควบคุมดูแล และสรุปผลรายงานเสนอต่ออาจารย์ผูส้ อนหรอื ในรปู คณะกรรมการโครงการ ที่ สาขาวชิ าแตง่ ตั้ง 1.1.3 นกั ศึกษายน่ื แบบขอเสนอหวั ข้อโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชพี (Project-001) ตอ่ อาจารย์ท่ี ปรกึ ษาโครงการ และประธานหลักสูตร เพื่อรับรองหวั ขอ้ โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ 1.2 การสอบหัวข้อโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ข้อกาหนดและข้นั ตอนการดาเนินการในการสอบหวั ข้อโครงการพัฒนาทักษะวชิ าชพี ดังน้ี 1.2.1 นกั ศึกษายื่นคาร้องขอสอบหัวขอ้ โครงการพฒั นาทักษะวิชาชพี (Project-002) พรอ้ มกบั แนบแบบขออนุมัตหิ ัวขอ้ โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (Project-001) ภายใน 15 วนั นับแต่วันที่ยื่น แบบเสนอหัวขอ้ โครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพ

2 1.2.2 เมือ่ นกั ศกึ ษาได้สอบหัวขอ้ โครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชีพผ่านเรียบร้อยแล้ว ใหอ้ าจารยท์ ี่ ปรึกษาโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชพี หลักรายงานผลการสอบผา่ นประธานหลกั สูตรไปยังผู้อานวยการ วทิ ยาลัย และอาชีวศึกษาบัณฑิตภายใน 1 สัปดาห์นับจากวันสอบ เพ่ือประกาศเป็นหัวข้อโครงการ พัฒนาทกั ษะวิชาชีพ 1.2.3 ในกรณที ี่ผลการสอบของนกั ศกึ ษาเปน็ “ผ่านโดยมีการปรับปรุงแก้ไข” นกั ศึกษาจะต้อง ดาเนินการแก้ไขปรับปรงุ โครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี ตามขอ้ เสนอแนะของอาจารยท์ ป่ี รึกษา โครงการ และย่ืนคาร้องขอสอบหัวข้อโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (Project-002) ฉบับแก้ไข ต่อ อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการฯ หรอื คณะกรรมการสอบหัวขอ้ โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ ภายใน 10 วัน นับแต่วันท่ีสอบหัวข้อโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ เพื่อเสนอนุมัติและประกาศเป็นหัวข้อ โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 1.2.4 กรณี “ไม่ผา่ น” ให้เสนอโครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชีพใหม่และสอบหวั ขอ้ โครงการพฒั นา ทกั ษะวิชาชพี ใหม่ 1.2.5 การเปลยี่ นแปลงใด ๆ เกีย่ วกบั โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพทไ่ี ดร้ ับอนมุ ัติแล้ว หากเปน็ การ เปลี่ยนแปลงหัวข้อโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ หรือสาระสาคัญของโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ให้อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ประเมินผลโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ท่ี ลงทะเบยี นผา่ นมาทั้งหมดเป็นระดับคะแนน 0 ซง่ึ นักศกึ ษาต้องลงทะเบียน และย่ืนขออนมุ ัตโิ ครงการ ใหม่ 1.3 การพิมพ์และการทาสาเนาเลม่ โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ การจดั พมิ พ์โครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี ทมี่ เี ลขหน้าตง้ั แตห่ น้า 81 ขึน้ ไป (นับต้งั แต่บทที่ 1 ถึง ประวตั ิผ้วู ิจัย) ให้ดาเนนิ การจดั พิมพ์ 2 หนา้ ต่อกระดาษ 1 แผน่ โดยกาหนดใหห้ น้าเลขคีอ่ ยู่แผ่นหน้า และหนา้ เลขคู่ อยูด่ ้านหลงั ของแผ่นกระดาษ สว่ นการขนึ้ บทใหมใ่ ห้เปน็ หน้าเลขค่เี ท่าน้นั 1.4 การส่งโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพฉบับสมบรู ณ์ นักศกึ ษาต้องสง่ โครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพฉบบั สมบรู ณ์พร้อมใบรับรองโครงการพัฒนา ทักษะวิชาชีพ ท่ีมลี ายมอื ชื่อ คณะกรรมการสอบครบถ้วนทกุ คน จานวน 3 เล่ม โดยบรรจุฉบับสมบรู ณ์ ใสซ่ องมาตรฐานขยายข้างสนี า้ ตาลและให้สาเนาปกในปะไวห้ น้าซองจานวน 1 ซอง พร้อมบนั ทึกข้อมลู โครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี ลงบนแผ่น CD ตามท่ีกาหนด ท้ังน้ี เพอื่ ให้โครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพ ของ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก มีมาตรฐานเดียวกัน สถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวันออก ขอสงวนสทิ ธทิ์ ีไ่ มร่ บั โครงการพฒั นาทักษะวชิ าชพี ทไี่ ม่ทาตามมาตรฐานทก่ี าหนด

3 1.5 ขน้ั ตอนการจดั ทาโครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพ การเสนอโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ - นกั ศึกษาตอ้ งลงทะเบียนกลุม่ วชิ าโครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี ไมน่ อ้ ยกว่า 2 หนว่ ยกิต - นักศึกษาย่ืนคาร้องขอเสนอโครงการพฒั นาทักษะวิชาชพี - สาขาวิชาแต่งตง้ั อาจารยท์ ่ปี รึกษาโครงการ อาชวี ศกึ ษาบณั ฑติ วทิ ยาลัยตรวจสอบและอนุมัตโิ ครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพ นกั ศกึ ษายืน่ เสนอหวั ข้อโครงการ (แบบ Project-001) ตอ่ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา อาจารยท์ ปี่ รึกษารบั รองหวั ข้อโครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี นกั ศึกษาย่ืนคาร้องขอสอบหวั ขอ้ โครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ (แบบ Project-002) พรอ้ มแบบเสนอเค้าโครงโครงการ (Project-003) ภายใน 15 วนั อาชวี ศึกษาบัณฑติ วทิ ยาลยั กาหนดวัน เวลา และสถานท่สี อบ นกั ศกึ ษาดาเนนิ การสอบ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาหลกั รายงานผลการสอบผ่านประธานหลกั สูตรไปยงั อาชวี ศกึ ษาบัณฑิตวทิ ยาลยั ไม่ผา่ น ผา่ น ผ่านโดยมกี ารปรับปรงุ เสนอโครงการพฒั นาทกั ษะ นักศึกษายื่นคารอ้ งขอเสนอหัวขอ้ วิชาชพี และสอบใหม่ โครงการฯฉบับแก้ไขภายใน 15 นับแต่วันที่สอบหวั ขอ้ โครงการฯ การเปลย่ี นแปลงใด ๆ เกีย่ วกับโครงการ พฒั นาทกั ษะวิชาชีพที่ได้รบั อนุมัติแล้ว อาชีวศกึ ษาบณั ฑติ วทิ ยาลัย/ประธานหลกั สูตรฯ ประกาศ หากเปน็ การเปล่ียนแปลงหัวขอ้ อนุมตั หิ ัวข้อโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ โครงการฯหรือสาระสาคญั ของ โครงการฯ ใหอ้ าจารยท์ ่ีปรึกษา ประเมินผลโครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ นักศกึ ษาดาเนนิ การจดั ทาโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ ทลี่ งทะเบียนมาทง้ั หมดเปน็ 0 ซ่ึง นกั ศกึ ษาจะตอ้ งลงทะเบียนและยนื่ ขอ อนมุ ัติโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชพี ใหม่

4 การสอบความก้าวหนา้ โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชพี - นกั ศึกษาย่ืนคาร้องขอสอบความก้าวหนา้ โครงการพฒั นาทักษะวชิ าชพี (แบบ Project-004) พรอ้ มโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ บทท่ี 1 – 3 จานวน 5 เล่ม จะตอ้ งไดร้ บั อนมุ ัติหัวข้อ โครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชีพไม่น้อยกว่า 60 วนั อาชวี ศกึ ษาบัณฑิตวทิ ยาลัย/ประธานหลักสูตรฯ กาหนดวัน เวลา และสถานท่ีสอบ นักศกึ ษาดาเนินการสอบ อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาหลักรายงานผลการสอบผา่ นประธานหลกั สตู รไปยังอาชีวศึกษาบณั ฑติ วิทยาลัย ผ่าน ผ่านโดยมกี ารปรบั ปรุง ดาเนินการแก้ไขตามความเห็นของ อาจารย์ที่ปรกึ ษาโครงการพัฒนา ทักษะวิชาชพี นกั ศึกษาดาเนินการจัดทาโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี

5 การสอบจบโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ - นักศกึ ษาย่ืนคารอ้ งขอสอบจบโครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี (แบบ Project-005) - นกั ศกึ ษาต้องเรยี นรายวิชาครบตามหลักสูตร เกรดเฉลย่ี สะสมตลอดหลกั สตู รไมต่ า่ กว่า 2.00 - ไดร้ ับอนมุ ตั หิ ัวข้อโครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี แล้ว - ไดผ้ ่านการสอบความกา้ วหน้าโครงการไมน่ ้อยวา่ 60 วนั อาชีวศึกษาบณั ฑติ แต่งต้งั คณะกรรมการสอบโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี - อาชีวศกึ ษาบัณฑิต ส่งใบประเมินผลการสอบจบ โครงการพฒั นาทักษะวชิ าชพี กาหนดวนั เวลา สถานท่สี อบ นกั ศกึ ษาดาเนินการสอบ ประธานกรรมการสอบรายงานผลการสอบผา่ นประธานหลกั สูตรไปยงั อาชีวศกึ ษาบณั ฑติ ไม่ผ่าน ผ่าน ผ่านโดยมีการปรับปรุงแก้ไข นักศกึ ษาสอบไมผ่ ่าน มีสิทธ์ยิ ื่นคารอ้ งขอสอบใหม่ นักศกึ ษาต้องดาเนนิ การแกไ้ ขภายใน 30 ไดอ้ กี 1 ครั้ง ภายในระยะเวลาทคี่ ณะกรรมการ วนั นับจากวันสอบ มฉิ ะนนั้ จะถอื วา่ การ สอบกาหนดมฉิ ะนั้นผลการสอบจะถกู ปรับเป็น สอบคร้ังนี้ไมผ่ า่ น (หมายเหตุ ต้องเปน็ ไป ระดับคะแนน 0 นกั ศึกษาต้องดาเนนิ การ ตามเงอ่ื นไขเวลาสถานภาพของนกั ศกึ ษา) ลงทะเบยี นกลุ่มวชิ าโครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพ ใหม่ พร้อมท้งั เร่มิ ขั้นตอนการทาโครงการพฒั นา ทักษะวชิ าชพี ใหม่ทัง้ หมด นักศึกษาเสนอเล่มโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี ฉบับสมบรู ณต์ ามทีอ่ าชีวะบณั ฑิตกาหนดภายใน 30 วัน นับแตว่ นั สอบผ่าน มฉิ ะนนั้ จะถือว่าการสอบคร้งั นัน้ ไม่ผ่าน (หมายเหตุ ต้องเป็นไปตามเงอื่ นไขเวลาสถานภาพของนกั ศกึ ษา)

บทท่ี 2 ส่วนประกอบของโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชพี สว่ นประกอบของโครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชพี ประกอบดว้ ย 3 ส่วนคอื สว่ นนา สว่ นเนื้อหา สว่ นอา้ งองิ หรือสว่ นท้าย 2.1 สว่ นนา ส่วนนาประกอบด้วย 2.1.1 ปกนอก ปกนอกของเล่มโครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชีพเปน็ ปกแขง็ สีแดงเลอื ดหมู ตัวอักษรบนปกนอกพิมพ์ด้วยอักษร สีทอง ข้อความในหน้าปกนอกให้มีข้อความเหมือนปกในทุก ประการ 2.1.2 สนั ปก ให้พมิ พ์ช่อื เร่อื งและปีการศกึ ษาทส่ี าเรจ็ การศกึ ษา 2.1.3 กระดาษเปล่า ถดั จากปกแขง็ ดา้ นหน้าและก่อนปกแข็งด้านหลงั ใหม้ กี ระดาษสีขาวด้าน ละ 1 แผ่น 2.1.4 ใบรับรองโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ ให้ใชแ้ บบฟอร์มท่ีอาชีวศกึ ษาบัณฑติ กาหนด โดย พมิ พข์ อ้ ความการลงนามใน ใบรบั รองโครงการให้ลงลายมอื ชื่อจรงิ ของคณะกรรมการสอบโครงการ พฒั นาทกั ษะวิชาชพี ดว้ ยหมกึ สดี าเทา่ น้นั 2.1.5 ปกใน หมายถงึ หวั ขอ้ โครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี ขอ้ ความบนปกในให้เขยี นเปน็ ภาษาไทย และ ภาษาต่างประเทศเพียงภาษาเดียวบนกระดาษขาวที่ใช้พิมพ์โครงการพัฒนาทักษะ วชิ าชพี โดยมี สาระดงั น้ี 2.1.5.1 หัวขอ้ โครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชีพที่ได้รับอนมุ ัตใิ นการศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ัย 2.1.5.2 ชอ่ื ผู้จดั ทาโครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชีพ มคี านาหน้าช่อื นาย นาง หรอื นางสาว ใน กรณที ผ่ี ้แู ตง่ มียศ เชน่ รอ้ ยตารวจเอก พันตรี หม่อมราชวงศ์ เปน็ ตน้ ให้ใชย้ ศนัน้ ๆ นาหนา้ ชื่อ 2.1.5.3 ระบวุ า่ โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพนเี้ ป็นส่วนหน่งึ ของการศกึ ษาใน หลักสตู ร เทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ า .................. (ตอ่ เนื่อง) วทิ ยาลยั ................. สถาบันการอาชวี ศกึ ษา ภาคตะวนั ออก และปกี ารศึกษาทสี่ าเรจ็ การศึกษา 2.1.5.4 ระบคุ าว่า ลขิ สทิ ธข์ิ องสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก 2.1.5.5 ข้อความบนปกในท่ีเขียนเป็นภาษาไทยให้ใช้ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ ตัวอักษร ธรรมดา (Normal) ถา้ เขียนเป็นภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวพิมพ์ช่ือ Times New Roman ขนาดตัวอักษร 12 พอยต์ ตัวอกั ษรธรรมดา (Normal) พมิ พต์ ัวอกั ษรภาษาองั กฤษตวั พิมพใ์ หญ่ (Capital Letters) 2.1.6 บทคัดย่อ ถ้าโครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชพี เขียนเปน็ ภาษาไทยใหเ้ ขียนบทคัดย่อเปน็

7 ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 2.1.6.1 ช่ือ-สกุลผู้จัดทาโครงการพัฒนาทักษะวาชีพ พร้อมคานาหน้านามเช่นเดียวกับท่ี ปรากฏบนปกใน หัวข้อโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ สาขาวิชา ชื่อสถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวันออก รายนามอาจารยท์ ป่ี รึกษาโครงการฯ และปีการศกึ ษาท่ี สาเรจ็ การศึกษา 2.1.6.2 วัตถปุ ระสงค์ ขอบเขต วธิ กี ารศกึ ษาวจิ ยั ผลการวิจยั และสรุป 2.1.6.3 ระบุจานวนหนา้ รวมของเลม่ โครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี 2.1.6.4 ระบคุ าสาคัญที่เป็นคาหลกั เพือ่ ใชใ้ นการค้นหาขอ้ มูลบนอินเทอร์เน็ต 2.1.6.5 อาจารย์ทป่ี รกึ ษาลงนามอนมุ ตั ิ (ลงนามด้วยปากกาหมึกสดี า) หมายเหตุ บทคดั ยอ่ ที่ดี ควรมลี กั ษณะดังน้ี 1. ความถกู ตอ้ ง โดยระบวุ ัตถุประสงคแ์ ละเนอื้ หาของเร่ืองตามท่ีปรากฏในโครงการ พฒั นาทักษะวชิ าชีพ 2. ความสมบูรณ์ เช่น คายอ่ คาท่ีไม่คุ้นเคยให้เขียนเต็มเมอื่ กลา่ วถงึ คร้งั แรกไม่ จาเป็นต้องอ้างเอกสาร ยกตัวอย่าง ยกข้อความ สมการ หรือภาพวาด คาท่ีใช้ในบทคัดย่อเป็นคา สาคัญเพื่อประโยชน์ ในการทาดรรชนสี าหรับการสืบค้นขอ้ มูล 3. ความเฉพาะ กระชับ ชัดเจน ประโยคแต่ละประโยคมีความหมาย โดยเฉพาะประโยค นาพยายามเขียนใหส้ ัน้ ทส่ี ดุ 4. ลกั ษณะของการรายงานมากกวา่ การประเมนิ จงึ ไม่ควรมีคาวจิ ารณ์ นอกจากรายงาน ผล ขอ้ มูลตวั เลขท่ีสาคญั ท่ไี ดจ้ ากการวจิ ยั 5. ความนา่ อ่านและราบรน่ื การเขียนข้อความในบทคัดยอ่ ควรใชป้ ระโยคสมบูรณใ์ นรูป ของ อกรรมกรยิ า (Intransitive Verb) มากกวา่ ในรูปของสกรรมกริยา (Transitive Verb) 6. ใชค้ าท่เี ป็นปจั จบุ ันกาล (Present Tense) เมอ่ื สรปุ และนาผลการวิจยั ไปใช้ และใช้ คาที่เป็น อดตี กาล (Past Tense) เมื่อกล่าวถึงวธิ ีวิจยั และผลการวิจยั 2.1.7 กติ ตกิ รรมประกาศ (ACKNOWLEDGEMENTS) เป็นข้อความแสดงความขอบคุณบุคคล สถาบันและ/หรือหน่วยงานท่ีให้ความช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือในการค้นคว้าเพื่อเขียนโครงการ พัฒนาทักษะวชิ าชพี ตลอดทง้ั คณะกรรมการสอบ ผ้สู นับสนนุ เงินทุน ผใู้ ห้ขอ้ คิดเห็น ใหข้ ้อมูล และผู้ ทีอ่ นญุ าตใหใ้ ช้ ข้อเขยี นหรอื ให้ใช้เคร่ืองมือในการวิจยั ซง่ึ เป็นการแสดงถึงจรรยาบรรณทางวิชาการท่ี ผู้วิจัยควรถือปฏิบตั ิ แต่ควรจากัดการเขียนเฉพาะการได้รับความช่วยเหลอื เป็นกรณพี ิเศษ ข้อความ ดงั กลา่ วควรเขยี นเปน็ ภาษาทางวิชาการ ไม่ควรใชภ้ าษาพดู และใช้คาสแลง การระบุชอ่ื บุคคลให้ใชช้ ือ่ จริงพร้อมนามสกุล และคานาหน้า ห้ามใช้ชื่อเล่น เช่น พ่ีหมี น้องแมว น้าหมู ถ้าเป็นบุคคลท่ีมียศ/ ตาแหน่งทางวิชาการ และมีตาแหน่งหน้าที่การงาน ให้ระบุไว้ด้วย มีความยาวไม่เกิน 1 หน้า ท้าย

8 ขอ้ ความให้ระบชุ ่ือ-สกุล ผ้เู ขียนโครงการไวด้ ้วย แต่ไมต่ ้องระบุคานาหนา้ ชอื่ (นาย นาง หรอื นางสาว) โดยให้จัดพิมพ์ขนาด ตัวอักษร 16 พอยต์ ตัวหนา (Bold) คาว่า “กิตติกรรมประกาศ” อยู่กลาง หน้ากระดาษ 2.1.8 สารบัญ (TABLE OF CONTENTS) เปน็ รายการทแ่ี สดงสว่ นประกอบสาคัญทง้ั หมดของ โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพให้เขียนเป็นภาษาท่ีใช้เขียนโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ให้จัดพิมพ์ ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ ตัวหนา (Bold) ดังน้ี “สารบัญ” หากสารบัญไม่จบในหนึ่งหน้า โดยให้ พมิ พค์ าวา่ “สารบัญ (ต่อ)” อยู่กลางหนา้ กระดาษหนา้ ถดั ไป 2.1.9 สารบัญตาราง (LIST OF TABLES) เป็นสว่ นที่แจ้งหมายเลขหนา้ ของตารางท้ังหมดทมี่ ีอยู่ ในโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ (ถ้ามี) ให้จดั พิมพ์ขนาดตัวอกั ษร 16 พอยต์ ตวั หนา (Bold) ดังนี้ “สารบัญตาราง” หากสารบัญตารางไม่จบในหน่ึงหน้า โดยให้พมิ พ์คาว่า “สารบัญตาราง (ต่อ)” อยู่ กลางหนา้ กระดาษหน้าถัดไป 2.1.10 สารบญั ภาพ (LIST OF FIGURES) เป็นสว่ นทแ่ี จ้งหมายเลขหนา้ ของภาพ (รูปภาพ แผน ท่ีแผนภูมิ กราฟ ฯลฯ) ท้งั หมดท่ีมอี ยูใ่ นโครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชพี ให้จัดพิมพ์ขนาดตวั อักษร 16 พอยต์ ตวั หนา (Bold) ดังนี้ “สารบัญภาพ” หากสารบัญภาพไมจ่ บในหน่ึงหน้า โดยให้พิมพค์ าว่า “สารบัญภาพ (ต่อ)” อยกู่ ลางหนา้ กระดาษหน้าถัดไป 2.1.11 คาอธิบายสญั ลกั ษณ์และคายอ่ (LIST OF ABBREVIATIONS AND SYMBOLS) เปน็ ส่วนที่ อธิบายถึงสัญลักษณ์และคาย่อต่าง ๆ ท่ีใช้ในโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (ถ้ามี) โดยให้จัดพิมพ์ขนาด ตัวอักษร 16 พอยต์ ตวั หนา (Bold) คาวา่ “คาอธบิ ายสญั ลกั ษณ์และคาย่อ” ทัง้ น้ี ใหส้ ัญลกั ษณ์และคาย่อมี ความหมาย เดียวกนั ตลอดทงั้ เล่ม และให้พิมพ์เรยี งตามลาดับตวั อักษร 2.2 สว่ นเน้อื หา สว่ นเนอ้ื หาโครงการ ประกอบด้วยบทต่าง ๆ จานวน 5 บท ดังนี้ 2.2.1 บทที่ 1 บทนา (Introduction) ควรประกอบด้วยส่วนตา่ ง ๆ ดงั น้ี 2.2.1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา (Statement of the Problems) กลา่ วถงึ ความเป็นมาของปัญหา ประเด็นสาระสาคัญของหัวเรื่อง กรอบแนวคิดของการวิจัย (Conceptual Framework) ที่นาเสนอแนวคิด หลักการสาคัญ จากการประมวลมาจากทฤษฎีและ งานวิจัยท่ี เกีย่ วขอ้ ง และความจาเป็นทจี่ ะต้องศกึ ษาวิจยั ในปัญหานั้น เพ่ือความกา้ วหนา้ ของวิทยาการ ในแขนง น้นั รวมถงึ การกลา่ วถงึ ประเดน็ สาคญั ทผี่ ู้ทาโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี ประสงค์ที่จะคน้ หา คาตอบ โดยใช้แนวทางการวิจัย ตลอดจนข้อความท่ีชี้ให้เห็นว่าเม่ือทาวิจัยแล้วเสร็จ จะสามารถ นาไปใช้ ประโยชน์ได้อยา่ งไร 2.2.1.2 วัตถุประสงคข์ องการวิจยั (Objectives) เปน็ ข้อความท่รี ะบเุ ป้าหมายท่ผี ู้ทาโครงการ

9 พัฒนาทักษะวิชาชพี ต้องการค้นหาขอ้ เท็จจริงในประเด็นต่าง ๆ ซ่ึงสว่ นใหญ่นยิ มเขียนข้นึ ตน้ ด้วยคา ว่า “เพื่อ....” เช่น เพ่ือศึกษา… เพื่อพัฒนา... เพ่ือวิเคราะห์… เพ่ือสังเคราะห์... และ เพื่อประเมิน… เปน็ ตน้ ถา้ มวี ัตถปุ ระสงคห์ ลายขอ้ นิยมเขยี นเป็นขอ้ ๆ โดยเรียงลาดบั ตามเปา้ หมายทจี่ ะทาการวจิ ัย 2.2.1.3 สมมติฐานของการวิจัย (Research Hypothesis) (ถ้ามี) เป็นขอ้ ความท่กี าหนด ข้ึน เพ่ือคาดคะเนถึงผลการวิจัยทจี่ ะเกิดขนึ้ วา่ จะเป็นลกั ษณะใดหรอื มีผลอยา่ งไรทงั้ ในเชิงปรมิ าณหรอื เชิง คณุ ภาพ ซึง่ นิยมเขียนเป็นขอ้ ๆ โดยมีสาระสอดคล้องตามวตั ถุประสงคข์ องการวิจยั สามารถเขียน ได้ ท้ังสมมติฐานการวิจัย (Research Hypothesis) และสมมตฐิ านทางสถติ ิ (Statistical Hypothesis) 2.2.1.4 ขอบเขตของการวิจัย (Scope of Study) เปน็ ขอ้ ความทกี่ าหนดหรอื จากดั วงให้ ชดั เจนลงไปวา่ การวิจัยคร้ังน้ีจะกระทาอะไร ปริมาณเท่าใด กระทากับใคร สิ่งใด และ/หรือกระทา เมอื่ ใด เพอื่ ใหก้ ารวจิ ัยสามารถกระทาได้สาเรจ็ ภายในเวลา ภายใตก้ รอบของปัญหาและความต้องการ ท่ีระบุไว้ในความเป็นมาและความสาคัญของปญั หาและครอบคลุมวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั โดยทั่วไป นิยมกาหนดขอบเขตของการวิจัยใน 3 ประเด็นดังนี้ 1) เน้ือหาสาระ (Content) กล่าวถึง ขอบเขต ของเนอ้ื หา ปริมาณงาน เทคนิคทใ่ี ช้ วิธีการทีใ่ ช้ ทฤษฎที ี่ใช้ ลักษณะขอ้ มลู และเครือ่ งมือและอุปกรณ์ ที่เก่ียวข้อง เป็นต้น 2) พื้นท่ีหรืออาณาเขต (Area) กล่าวถึง พ้ืนที่ในการวิจัย พ้ืนที่ศึกษาข้อมูล ขอบเขต อาณาเขต พันธะ รวมทั้งประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเป้าหมาย กลมุ่ ผู้เชยี่ วชาญ และ จานวนข้อมูล เป็นต้น และ 3) เวลา (Time) กล่าวถึง ระยะเวลาท่ีใช้ในการวิจัย เวลาในการศึกษา ข้อมูล เวลาในการดาเนนิ การทดลองหรอื การสงั เกตผล และเวลาในขัน้ ตอนต่าง ๆ ทีค่ าดว่าจะมผี ลตอ่ การวิจยั 2.2.1.5 ขอ้ ตกลงเบอื้ งต้น (Basic Assumption) (ถา้ ม)ี เปน็ ข้อความทกี่ าหนดข้นึ เพ่ือระบุ ความคิดพ้นื ฐานหรอื ขอ้ จากัดบางประเดน็ ทผี่ ูท้ าโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพต้องการทา ความเข้าใจ กับผอู้ ่านว่า การวิจัยครั้งน้ันมีข้อจากัด มขี ้อยกเว้น หรือมีข้อตกลงอะไรบ้าง ซึ่งจะต้องเป็น ประเด็น สาคัญท่ีส่งผลต่อการวจิ ยั เทา่ น้นั มใิ ช่ประเด็นทั่ว ๆ ไป 2.2.1.6 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ (Definitions) เป็นข้อความทอ่ี ธิบายความหมายของคาสาคญั บาง คา (Keywords) ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนั้น ซ่ึงคาเหล่านั้นจะมีความหมายเฉพาะในการวิจัยครั้งน้ัน เทา่ นั้น ไมใ่ ชเ่ ป็นความหมายทั่ว ๆ ไป โดยทั่วไปนยิ มเขียนเป็นขอ้ ๆ หรือเป็นคา ๆ และมักจะขนึ้ ข้อ ใหม่หรอื ย่อหนา้ ใหมเ่ ม่อื เป็นคาสาคัญคาใหม่ 2.2.1.7 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ (Expected Outcome) เป็นข้อความที่ร้อยเรียง ถึง ผลการวจิ ยั วา่ จะนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ย่างไร ซึ่งขนึ้ อยกู่ บั วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั คร้งั นัน้ โดยอาจจะ นาผลการวิจยั ไปใชใ้ นการวางแผน กาหนดนโยบาย ปรับปรงุ กระบวนการทางาน พัฒนาระบบงาน ใช้ ในการบริหาร ใชเ้ ป็นขอ้ มูลสาหรบั การตดั สินใจ และใช้แกป้ ญั หาเป็นตน้ ในการเขยี น ประโยชนท์ ่ีคาด ว่าจะได้รับจากการวิจยั น้ันจะต้องสอดคล้องกับประเด็นปญั หาของการวิจัยที่ผ้วู ิจัย ยกข้นึ มาในความ

10 เปน็ มาและความสาคัญของปัญหา ไม่ใช่ประโยชน์ที่เป็นข้อความเลื่อนลอย โดยท่ี ไมท่ าวิจัยเร่ืองน้ีก็ เขียนได้ การเขียนประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ สามารถเขยี นเปน็ ความเรยี งหรือเขียน เปน็ ข้อ ๆ กไ็ ด้ 2.2.2 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วข้อง (Literature Review and Related Research) ควรประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 2.2.2.1 แนวคดิ และทฤษฎีที่เก่ียวข้อง (Idea and Theories) เปน็ ส่วนทผ่ี ูท้ าโครงการพัฒนา ทกั ษะวิชาชีพหรือผู้วิจยั ได้ทาการรวบรวม ทฤษฎี หลักการ แนวคิด เทคนิค วธิ ีการ และขอ้ มลู ต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง กับการวิจัยครั้งน้ัน โดยทาการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินสาระสาคัญ ดังกล่าวอย่าง ครอบคลมุ กว้างขวาง และเจาะลกึ ในประเด็นทีจ่ ะศึกษาวิจัย เพ่อื ให้เกิดความเขา้ ใจใน เร่ืองท่จี ะทา วิจยั อย่างชดั เจน สมบูรณ์ และครอบคลมุ ตามทีร่ ะบไุ ว้ขอบเขตของการวิจยั การเขยี นใน ส่วนนี้นิยม นาเสนอประเด็นสาคัญเป็นข้อ ๆ ก่อนในตอนต้น หลังจากนั้นจึงนาเสนอรายละเอียดแต่ ละข้อ ๆ หรือ แต่ละประเด็น ๆ โดยจะตอ้ งสรปุ ให้เห็นอย่างชดั เจนว่าผูว้ จิ ัยได้นาแนวคิดและทฤษฎีท่ี เกี่ยวข้องมาใช้ ในการวิจัยของตนอย่างไรและเก่ียวข้องกับส่วนใด รวมทั้งแต่ละประเด็นๆมีความ สัมพันธ์หรือมีการเช่ือมโยงกันอย่างไร ไม่ใช่นาเสนอแนวคิดและทฤษฎีแต่ละประเด็น ๆ อยา่ งเล่ือน ลอย ปราศจาก การเชอ่ื มโยงเข้ากับงานวิจยั ของตน 2.2.2.2 งานวิจยั ท่ีเกย่ี วข้อง (Related Research) เปน็ สว่ นทีน่ าเสนอผลงานวจิ ัยทม่ี ี ผทู้ ามา กอ่ นท้ังงานวิจัยในประเทศและต่างประเทศ ซ่ึงเก่ียวข้องกับการวิจัยคร้งั น้ัน โดยพิจารณาคาสาคัญ จากช่ือเรื่องว่ามีความเก่ียวข้องหรือใกล้เคียงกับช่ือเรื่องหรือประเด็นในการวิจัยมากน้อย เพียงใด รวมทั้งพิจารณาความใหม่หรือความเป็นปัจจุบัน โดยพิจารณาจากปีของการพมิ พ์ ถา้ มากกวา่ 10 ปี ไม่ควรจะนามาอ้างอิง (ยกเว้นเอกสารท่ีแสดงทฤษฎีท่ีเป็นจริง) ถ้าเป็นวิทยานิพนธ์ก็ควร พิจารณา ระดับการศกึ ษาของการวจิ ยั เร่อื งนัน้ ด้วย เชน่ ถ้าเป็นดษุ ฎนี พิ นธก์ ็ควรพิจารณางานวจิ ัยท่ี เกย่ี วขอ้ งใน ระดับดุษฎีนพิ นธ์เช่นกนั ในการเขียนงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง นิยมเขยี นอ้างอิงจากงานวจิ ยั ใน อดีตมาถึง งานวจิ ัยทเ่ี ปน็ ปัจจบุ นั โดยนาเสนอเรียงลาดับจากปี พ.ศ. จากอดีตมาจนถงึ ปัจจุบนั 2.2.3 บทที่ 3 วธิ ดี าเนินการวจิ ัย (Research Methodology) เป็นเน้ือหาส่วนสาคัญและถอื ได้ วา่ เปน็ หวั ใจสาคัญของโครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี ซึง่ ผู้วิจยั จะต้องรายงานเกีย่ วกับแผนการและ วิธี ดาเนินงานเป็นลาดับ ก่อนลงมือทาการวิจัย รวมถึงประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ น การ วิจัย ข้ันตอนการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนาไปสู่การสรุปผล อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะตอ่ ไป การเขียนวธิ กี ารดาเนนิ งานวิจัย มีรูปแบบการเขียนแตกตา่ งกนั ขึน้ อยู่กับประเภท ของการวจิ ัย เนื้อเร่ือง และการออกแบบวิธีวจิ ัย ซึ่งการเขียนบทท่ี 3 มีสาระสาคัญที่จะต้องพิจารณา ดังนี้ 2.2.3.1 ส่วนท่ี 1 กระบวนการรวบรวมข้อมูล เป็นการอธิบายให้เห็นอย่างชัดเจน สมบูรณ์ และกะทดั รัด เกี่ยวกับวิธีการที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล โดยให้เหตุผลของการเลอื กขอ้ มูลน้ันๆขัน้ ตอน

11 โดยละเอียดเก่ียวกับวิธีการรวบรวมข้อมูลน้ัน โดยทั่วไปจะยึดหลัก 3 ประการ ได้แก่ ประการแรก ข้อมลู ท่ีรวบรวมมาจะต้องตอบปัญหาการวจิ ัยได้ ประการท่สี อง ระบุแหลง่ ท่มี าของข้อมลู โดยละเอยี ด และประการท่ีสาม จะตอ้ งสอดรบั ตามวตั ถุประสงคข์ องผวู้ ิจัยในการนาข้อมูลมาใช้ 2.2.3.2 ส่วนที่ 2 กระบวนการกระทากับข้อมลู เปน็ กระบวนการที่จะตอ้ งอธิบายถึง แผนงาน ขั้นตอน และวิธกี ารในการกระทาตอ่ ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมมา โดยกาหนดถงึ วิธีการจัดหมวดหมู่ ของข้อมูล อย่างชัดเจน มีการช้ีแจงขั้นตอนการกระทากับข้อมูลและการแปลความหมาย เช่น การตรวจสอบ ข้อมูล วิธีการเก็บข้อมลู ซงึ่ อาจเปน็ การสอบถาม การสงั เกตการณ์ หรือการสัมภาษณ์ รวมทั้งวิธีการ วิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนค่าสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยว่ามีวธิ ีการออกแบบ อยา่ งไร เพื่อให้ เหมาะสมกบั ข้อมลู ทรี่ วบรวมมาได้ เพอื่ ให้สามารถนามาใชย้ นื ยันผลการวิจัยวา่ เปน็ ส่ิงทีน่ า่ เชอ่ื ถือ โดยทั่วไปการเขยี นเนอื้ หาบทท่ี 3 ควรประกอบด้วยสว่ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง (Population and Sample) ประชากร (Population) หมายถึง คน สัตว์ ส่ิงของ หรือข้อมูล เป็นหน่วยข้อมูลทุกหน่วยท่ีต้องการศึกษา การกล่าวถึง ประชากร จะตอ้ ง ระบุคณุ สมบัติหรือคุณลักษณะ ขอบเขต และจานวนของประชากรให้ชดั เจน สว่ น กล่มุ ตัวอย่าง (Sample) หมายถึง สว่ นหน่ึงของประชากรทีจ่ ะนามาศึกษา ซึ่งต้องระบุขนาดของกลุ่ม ตัวอยา่ ง วิธีการและขนั้ ตอนการเลือกกลุม่ ตัวอยา่ งโดยละเอียดว่าใช้วิธกี ารใด คัดเลอื กอย่างไร และได้ กลุ่มตัวอย่างจานวนเท่าใด 2. เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย (Research Tools) เป็นการใหร้ ายละเอียดเก่ยี วกับ เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบสังเกตการณ์ (Observation Form) แบบสมั ภาษณ์ (Interview Form) แบบทดสอบ (Test Sheet) แบบประเมิน (Evaluation Form) หรอื เครือ่ งมอื วิจยั อน่ื ๆ โดยจะต้องระบรุ ายละเอียดของเครอ่ื งมอื วา่ มีกี่ประเภท หรือกี่ฉบบั แต่ละฉบบั ต้องใช้ภายใต้สภาพแวดล้อมอย่างไร ใช้ในข้ันตอนใด มีวธิ ีการใช้อย่างไร และ นาผลไปใช้ อย่างไร รวมท้ังแจกแจงเก่ียวกบั ขั้นตอนการสร้างเคร่ืองมือ ตลอดจนวิธีการหาคุณภาพ ของเครือ่ งมอื เพอื่ ใหผ้ ู้อา่ นมนั่ ใจวา่ เครื่องมอื วจิ ยั ท่ีใช้มมี าตรฐานเช่อื ถอื ได้ 3. วิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู (Data Collection) เป็นการอธบิ ายวา่ การเก็บรวบรวม ข้อมลู มีข้นั ตอนและวิธีการอย่างไร ใชแ้ บบแผนการดาเนินการอะไร หรืออา้ งอิงตามแบบแผนของผู้ใด ซึ่งจะตอ้ งอธบิ ายขนั้ ตอนนี้อยา่ งชัดเจน 4. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถติ ิทีใ่ ช้ (Data Analysis and Statistics) เปน็ การอธบิ าย ถึง วิธีการจดั กระทากับข้อมูลท่ีได้มา เพื่อให้ได้คาตอบตามวัตถุประสงคแ์ ละสมมติฐานของการวิจัย ซึ่งผ้วู ิจัยอาจแบง่ การวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิติที่ใช้ออกเปน็ 2 สว่ น ไดแ้ ก่ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสถิติ ท่ีใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพเคร่ืองมือวิจัย และการวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ ผลการวจิ ัย

12 สาหรบั การเขียนเนื้อหาในบทท่ี 3 อาจนาเสนอด้วยแผนภูมิหรอื ไดอะแกรมที่แสดงขน้ั ตอน ต่าง ๆ ก่อนในตอนต้นบท เช่น เขียนผังไหล (Flowchart) บล็อคไดอะแกรม (Block Diagram) ไดอะแกรม เครือข่าย (Network Diagram) หรือไดอะแกรมขั้นบันได (Ladder Diagram) เป็นต้น แผนภาพหลัง จากนั้นจึงนาเสนอรายละเอียดในแต่ละขั้น ๆ ท้ังน้ีเพ่ือนาเสนอวิธีดาเนินการวิจัยใน ภาพรวมเพอื่ ให้ ผ้อู า่ นเขา้ ใจก่อนลงสรู่ ายละเอียด 2.2.4 บทที่ 4 ผลการวิจยั (Results) เปน็ เนือ้ หาท่ีนาเสนอผลการวจิ ัยท่ีเกดิ จากการวเิ คราะห์ ขอ้ มลู ในรปู ของตารางหรือในรูปอ่ืน ๆ ให้สอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย ซ่ึงผู้วจิ ยั จะต้อง นา เสนอผลการวิเคราะห์ตามความจรงิ ในสว่ นของการแปลผลนั้นควรแปลผลเฉพาะประเด็นสาคัญ ๆ เท่าน้ัน ไมเ่ ขียนวกวน ซ้าซ้อน ต้องระมัดระวังการคัดลอกตัวเลขและการแปลความ ส่วนท่ีสาคัญใน บทน้ีก็คือต้องไมน่ าความคดิ เห็นของผูว้ จิ ยั เขา้ ไปอธบิ ายประกอบ บางครงั้ ในการวเิ คราะหข์ ้อมูลอาจมี อกั ษรย่อและสญั ลักษณจ์ านวนมาก ผู้วจิ ัยอาจนาเสนอ อักษรยอ่ และสญั ลักษณก์ ่อนท่จี ะนาเข้าสกู่ าร นาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู กไ็ ด้ ซึ่งโครงสร้างการเขียน เนื้อหาบทท่ี 4 จะแบง่ ออกเปน็ 3 สว่ นดังนี้ 1. สว่ นแรก กลา่ วถึง ผลงานวจิ ยั ท่ีเกดิ ข้ึน โดยพิจารณาตามวัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย ผู้วจิ ัย จะต้อง นาเสนอทลี ะประเดน็ ๆ จนครบตามวัตถปุ ระสงค์ 2. สว่ นทส่ี อง กล่าวถงึ ผลการศึกษาทางสถติ ิ นาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทาง สถติ ิในรูป ของ ตาราง กราฟแท่ง กราฟวงกลม กราฟเส้น หรอื รปู แบบอ่ืน ๆ ตามท่ีเห็นสมควร 3. ส่วนที่สาม กล่าวถึง ผลการทดสอบสมมติฐาน (ถ้ามี) โดยการนาเสนอผลการทดสอบ สมมตฐิ านทลี ะข้อ ๆ จนครบ เพอ่ื สรปุ ว่าผลการทดสอบนน้ั สอดคลอ้ งตามสมมตฐิ านหรือไม่ โดยยัง ไม่ ตอ้ งอภิปรายผล 2.2.5 บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ (Conclusions, Discussion and Suggestions) ควรประกอบดว้ ยสว่ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี 2.2.5.1 สรปุ (Conclusions) เปน็ สว่ นที่แสดงบทสรปุ ความสาคญั จากการวิจัย โดยสว่ นใหญ่ จะแสดงวัตถุประสงคง์ านวจิ ัย วิธดี าเนนิ การวิจยั และผลการวจิ ัยทค่ี ้นพบ การเขียนเนื้อหาในบทน้จี ะ เป็นการเขียนด้วยภาษาท่ีเข้าใจง่าย ไม่นาเสนอตัวเลขทางสถิติท่ีซับซ้อน โดยถือว่าเป็นสรุปสาระ สาคัญของการทาวจิ ัยตามวัตถุประสงค์ทีละขอ้ ๆ 2.2.5.2 อภิปรายผล (Discussion) เป็นส่วนท่ีแสดงการให้เหตุผลว่า เพราะเหตุใดการวิจัย ครงั้ น้ีจึงได้ผลเชน่ นนั้ ขอ้ คน้ พบท่ีไดเ้ ป็นไปตามสมมตฐิ านที่ต้ังไวห้ รอื ไม่ มีประเด็นสาคัญ อะไรบ้างที่ เปน็ ขอ้ สังเกต ในการอภปิ รายผลสว่ นนี้ผู้วิจยั จงึ ควรอภปิ รายผลการวจิ ยั โดยอาศัยแนวคิด ทฤษฎี และ ผลการวิจัยต่าง ๆ ท่ีสรุปไว้ในบทท่ี 2 ว่าผลการวิจัยมีความเหมือนหรือแตกต่างจาก แนวคิดทฤษฎี ของผู้อืน่ ท่ไี ดส้ รุปไวใ้ นบทท่ี 2 อยา่ งไร ซึง่ การอภิปรายผลการวจิ ัยสามารถทาได้ 2 แนวทาง ได้แก่ผล

13 การ วจิ ัยดังกล่าวหมายความว่าอย่างไร ทาไมจึงเปน็ เช่นนน้ั และผลการวิจัย ดงั กลา่ วสอดคล้องหรือ ขัดแย้งกับผลการวิจัยในอดีตของผู้วิจัยใดบา้ ง ซึง่ ในการอภิปรายผลส่วนน้ี ผู้วิจัยสามารถเสนอความ คิดเห็นส่วนตวั ประกอบได้ 2.2.5.3 ข้อเสนอแนะ (Suggestions) เป็นส่วนของเนื้อหาที่นาเสนอความคิดเห็นของผู้วิจัย เพ่อื ให้ผู้อ่านทราบว่าเม่ือนางานวิจยั เรื่องนไี้ ปใช้ จะมีขอ้ เสนอแนะสาคญั ๆ อะไรบ้าง และ ถ้าจะทา วจิ ัยในคร้งั ตอ่ ไปในแนวทางเดียวกันนี้ ผวู้ ิจัยมีประเด็นสาคัญแนะนาท่จี ะให้นักวิจยั คนอ่ืนทา อย่างไร หรือเตรียมการอย่างไร โดยท่ัวไปการเขียนข้อเสนอแนะจะแบ่งเป็น 2 หัวข้อ ได้แก่ ข้อเสนอแนะ สาหรบั การนาผลการวจิ ัยไปใช้ และข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครง้ั ตอ่ ไป สาหรบั การเขยี นข้อเสนอ แนะการวิจยั จะตอ้ งเป็นประเดน็ ทเ่ี กดิ ข้ึนจากการทาวิจัยครงั้ นจ้ี รงิ ๆ เทา่ น้ันไมค่ วรเสนอแนะประเดน็ ที่ไมเ่ กี่ยวข้องหรือเป็นประเด็นท่ีไม่ทาวจิ ัยเรื่องดังกล่าวน้ีก็เสนอแนะได้ หมายเหตุ สาหรับการวิจัย เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เน้ือหาของการวิจัยอาจ ไม่จาเป็นต้องแบ่งออกเป็น 5 บท อาจจะมีมากกว่า 5 บทก็ได้ โดยมีส่วนประกอบท่ีแบ่งเป็นส่วนนา ส่วนเน้ือเรื่อง และส่วนอ้างอิง เหมือนรายงานการวจิ ยั เชิงปรมิ าณ (Quantitative Research) แต่ความแตกตา่ งอยู่ท่ีรายละเอียดของส่วนเนอ้ื หา กล่าวคอื เน้ือหาอาจประกอบด้วยบทต่าง ๆ ดังนี้ 1. บทที่ 1 บทนา กลา่ วถงึ ความเปน็ มาของเร่อื งที่วิจัย วตั ถุประสงค์ และวธิ กี ารวิจัย 2. บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวข้อง กลา่ วถงึ วรรณกรรมทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ซึง่ รวมถึงแนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง (ซง่ึ อาจจะมหี รอื ไมม่ กี ็ได้) 3. บทที่ 3 และบทอน่ื ๆ ที่รายงานผลการวิจยั ซ่งึ อาจจะมหี ลายบท 4. บทสุดท้าย ตวั อยา่ ง : การวิจัยเรื่อง “การราเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง : เพลงตระ (ตัวพระ)” ของชมนาด (2553) เน้ือหาแบ่งออกเปน็ 6 บท ดังน้ี บทท่ี 1 บทนา บทที่ 2 บริบทสาคญั ของราหน้าพาทยช์ ัน้ สงู บทท่ี 3 จารตี ของราหน้าพาทยช์ ัน้ สูง บทที่ 4 การราหนา้ พาทยเ์ พลงตระ บทที่ 5 การวิเคราะหท์ ่าราหน้าพาทย์ช้ันสงู เพลงตระ บทที่ 6 สรปุ อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ

14 นอกจากนี้การวิจัยเชิงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology Research) ซึง่ เป็นการวิจัยท่ีเนน้ การพัฒนา เพื่อให้เกิดการค้นพบความจรงิ บางประการ อาจจะนาเสนอเน้ือหา ได้มากกว่า 5 บทกไ็ ด้เชน่ กัน 2.3 ส่วนอ้างองิ หรอื สว่ นท้าย สว่ นอา้ งอิงซงึ่ มีท้ังการอ้างองิ ภายในและการอ้างองิ ทา้ ยเรือ่ ง ประกอบดว้ ย บรรณานุกรมหรือ เอกสารอา้ งอิง ภาคผนวก (ถ้ามี) ประวัติผู้วจิ ัย ในสว่ นอ้างอิงน้ีอาจมีส่วนประกอบอ่ืน ๆ นอกเหนือ จากนี้ ไดต้ ามความเหมาะสมของโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพฉบับนนั้ ๆ ทัง้ นี้ ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจของ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ และความต้องการของสาขาวชิ า โดยมีรายละเอียดดงั นี้ 2.3.1 บรรณานุกรม (BIBLIOGRAPHY) หรือเอกสารอา้ งองิ (REFERENCES) เป็นสว่ นที่แสดง รายช่ือหนังสือ หรือส่ิงพิมพ์อ่ืน ๆ ท่ีใช้สาหรับการค้นคว้าอ้างอิงประกอบการเขียนโครงการพัฒนา ทักษะวิชาชีพ เร่ืองน้ัน ๆ โดยอยูต่ ่อจากสว่ นเนื้อหาและก่อนภาคผนวก ให้จัดพิมพ์ขนาดตัวอักษร 20 พอยต์ ตัวหนา (Bold) 2.3.2 ภาคผนวก (APPENDIX) เป็นสว่ นทเ่ี พิ่มเติมข้นึ เพอื่ ชว่ ยเสรมิ ความเข้าใจในเนือ้ หาสาระของ โครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี เร่อื งน้ันอาจมีหรือไม่มกี ็ได้ตามความเหมาะสมและความจาเปน็ ซึ่งไดแ้ ก่ อภิธานศพั ท์ รายการ คาย่อ ภาพประกอบ การคานวณต่าง ๆ แบบสอบถาม และอน่ื ๆ เปน็ ตน้ 2.3.3 ประวตั ผิ วู้ จิ ยั (BIOGRAPHY) การเขียนประวตั ผิ ูว้ จิ ยั ถ้าโครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพเขยี น เป็นภาษาไทยให้เขียนประวัติผู้วิจัยเป็นภาษาไทย ถ้าโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพเขียนเป็น ภาษาองั กฤษหรอื ภาษาต่างประเทศอื่นใด กใ็ ห้เขยี นประวัติผ้วู ิจัยเป็นภาษาทใี่ ช้เขียนโครงการพัฒนา ทักษะวิชาชีพ นั้น ใหจ้ ัดพิมพ์ขนาดตวั อกั ษร 16 พอยต์ ตัวหนา (Bold) ดังนี้ “ประวัติผู้วิจัย” โดย ให้เขียนโดยจาแนกเป็นหัวข้อโดยมีข้อความดังนี้ 2.3.3.1 ประวตั ิการศึกษา ต้งั แตร่ ะดบั ปวส. หรอื เทียบเท่าเปน็ ตน้ ไป โดยระบุช่ือ สถานศกึ ษาและปกี ารศกึ ษาทส่ี าเรจ็ การศึกษาในแต่ละระดบั ดว้ ย 2.3.3.3 สถานท่ตี ดิ ตอ่ ปจั จุบนั

บทที่ 3 การพมิ พ์โครงการพฒั นาทักษะวิชาชพี 3.1 กระดาษท่ีใช้ กระดาษทใ่ี ช้พิมพ์โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ หรอื ทาสาเนาโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ ต้อง เป็นกระดาษปอนดข์ าวพเิ ศษ หรือ กระดาษถนอมสายตา ไม่มีเส้นบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 (ขนาด 297x210 มิลลเิ มตร) นาหนัก 80 กรัม ต่อตารางเมตร 3.2 การวางรปู หนา้ กระดาษพมิ พ์ การเว้นขอบระยะหา่ งจากรมิ กระดาษให้เว้นระยะห่างดังนี 3.2.1 หัวกระดาษ ใหเ้ ว้น 3.81 เซนติเมตร (1.5 นิว) ยกเวน้ หนา้ ท่ีขนึ บทใหม่ของแตล่ ะบทให้เวน้ 5.08 เซนติเมตร (2 นิว) 3.2.2 ขอบลา่ งและขอบขวามอื ใหเ้ วน้ 2.54 เซนติเมตร (1 นวิ ) 3.2.3 ขอบซา้ ยมือให้เวน้ 3.81 เซนตเิ มตร (1.5 นิว) 3.3 การพมิ พ์ 3.3.1 ขนาดและแบบตวั พมิ พ์ ให้ใช้ตวั พมิ พ์ (Font) ดงั ตอ่ ไปนี ไดแ้ ก่ TH SarabunPSK โดยใช้ ขนาดตัวอกั ษร 16 พอยต์ สาหรบั ตัวอกั ษรธรรมดาที่เปน็ ตัวพนื ของการพิมพ์ตลอดทงั เล่ม และใหใ้ ช้ ขนาดตวั อกั ษร 16 พอยต์ ตัวหนา (Bold) เมอ่ื ใช้พิมพ์หวั ขอ้ สาคัญ โดยใช้หมึกพมิ พ์สีดา ตลอดทัง เล่ม 3.3.2 การเวน้ ระยะระหวา่ งบรรทัดใหเ้ ปน็ แบบเดียวกันตลอดทงั เลม่ บรรทดั ระหว่างหัวขอ้ สาคญั ให้เว้น 1 บรรทดั (Single Line Spacing) 3.3.3 การย่อหนา้ เวน้ วรรค และการตดั คาเมื่อสนิ สุดบรรทดั ให้จดั พมิ พด์ ังนี 3.3.3.1 การย่อหน้า ให้เว้นระยะจากกรอบพิมพ์ด้านซ้ายมือ 1 เซนติเมตร (0.39 นิว) และ ควรย่อหน้าในกรณีที่สินสุดเนือความ ถ้ายงั ไม่สินสุดเนือความแต่ย่อหนา้ ยาวมาก ก็ควรย่อหน้า เมื่อ สนิ สุดประโยค 3.3.3.2 หลักการเว้นวรรคตามราชบณั ฑิตยสถานกาหนดไว้ว่าการเว้นวรรคแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะดังนี 1) การเว้นวรรคเล็ก มีระยะห่างระหว่างวรรคเท่ากับความกว้างของพยัญชนะ (หรือ 1 เคาะ) และ 2) การเว้นวรรคใหญ่ มีระยะห่างระหว่างวรรคเท่ากับความกว้างของพยัญชนะ (หรือ 2 เคาะ) การเว้นวรรคเลก็ ใชใ้ นกรณตี ่อไปนี 1. เว้นวรรคเล็กระหวา่ งช่ือกบั นามสกุล

16 2. เวน้ วรรคเล็กหลังคานาพระนามพระบรมวงศานวุ งศ์ พระนาม และฐานันดรศกั ดิ์ เช่น สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ 3. เว้นวรรคเล็กระหว่างคา “บรษิ ัท จากดั ” กับชอ่ื เชน่ บรษิ ัท ชลบุรี จากดั 4. เว้นวรรคเล็กระหว่างช่ือสถานที่ต่าง ๆ เช่น ถนน ตาบล อาเภอ จังหวัด เช่น ตาบล บ้าน สวน อาเภอ เมอื งชลบุรี จงั หวดั ชลบรุ ี 5. เว้นวรรคเลก็ ระหวา่ งคานาหน้านามแตล่ ะชนิด เชน่ รองศาสตราจารย์ ดร.วรศกั ดิ์ ทมุ มานนท์ 6. เวน้ วรรคเลก็ ระหว่างยศกับชื่อ เช่น พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา ว่าทรี่ ้อยตรี นพรตั น์ ลิกค์ 7. เวน้ วรรคเล็กระหวา่ งตวั หนงั สือกับตัวเลข เชน่ พระราชบญั ญตั กิ ารบญั ชี พ.ศ. 2543 8. เวน้ วรรคเล็กหลังข้อความท่ีเป็นหน่วยมาตราตา่ ง ๆ กับขอ้ ความ เชน่ โต๊ะขนาดกว้าง 1.60 เมตร ยาว 2.80 เมตร บริษัท จากัด ที่มีทุนจดทะเบียนและชาระแล้วเกิน 5 ลา้ นบาท ต้องเสียภาษี เงินได้นิติบุคคล 20% ของกาไรสทุ ธิ 9. เว้นวรรคเล็กระหวา่ งตวั หนงั สือไทยกบั ตัวหนังสือภาษาอื่น เชน่ การก้ยู มื แบบ Call Loan 10. เวน้ วรรคเลก็ หนา้ และหลงั เครอื่ งหมายไปยาลใหญ่ (ฯลฯ) ไมย้ มก (ๆ) เทา่ กบั (=) ทวิภาค (:) วิภัชภาค (:-) เช่น สว่ นประกอบต่าง ๆ ของรถยนต์ งาน = แรง x ระยะทาง กรณีศึกษา : ชุมชน คลองเตย ไดแ้ ก่ :- 10.1 เว้นวรรคเลก็ หน้าเคร่ืองหมายวงเล็บเปิดและวงเลบ็ ปิด เช่น โลภะ (ความโลภ) โทสะ (ความโกรธ) การวเิ คราะหก์ ารถดถอย (Regression Analysis) 10.2 เวน้ วรรคเล็กหลงั เครื่องหมายจุลภาค (,) อัฒภาค (;) ไปยาลนอ้ ย (ฯ) อัญประกาศปิด (”) และวงเล็บปิด เช่น คู่มือนักศึกษาฯ ท่ีใช้อยู่ปัจจุบัน ลาต้นมีลักษณะคล้าย “เถาวัลย์” บางทีกค็ ลา้ ย “กาฝาก” 11. เว้นวรรคเลก็ หน้าคา “เช่น” เช่น ส่วนหน่ึงแหง่ จักรวาล เช่น มนุษยโลก เทวโลก พรหม โลก 12. เว้นวรรคเล็กหน้าคา “เป็นต้น” ทอ่ี ยู่หลงั รายการ เช่น ชื่อตาบลต่าง ๆ มี บา้ นหมอ้ บ้าน หมี่ บ้านไร่ บา้ นนา บา้ นบอ่ เปน็ ตน้ การเวน้ วรรคใหญ่ ใชใ้ นกรณีเมือ่ จบขอ้ ความแต่ละประโยค กรณีท่ไี มเ่ วน้ วรรค ใชใ้ นกรณีตอ่ ไปนี 1. ไมเ่ ว้นวรรคระหวา่ งคานาหนา้ ชอ่ื กับชือ่ เช่น นายราฆพ ป่ินแกว้ พระมหาสมปอง ตาลปตุ โต 2. ไม่เวน้ วรรคระหวา่ งคานาหนา้ ชื่อที่เป็นตาแหน่งหรืออาชพี กับชอื่ เช่น

17 ศาสตราจารย์เลิศ ใจดี 3. ไม่เวน้ วรรคระหว่างคานาหน้าชื่อทแ่ี สดงฐานะของนติ ิบุคคล หน่วยงาน หรือกลมุ่ บุคคล กบั ชือ่ เช่น โรงเรยี นชลกัลยานุกลู วิทยาลัยพาณิชยศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช 4. ไมเ่ ว้นวรรคทงั หน้าและหลังเคร่อื งหมายยัติภงั ค์ (-) เช่น เงนิ ลงทนุ ในหลกั ทรัพย-์ เพือ่ ค้า ปัจจยั นาเขา้ -การประมวลผล-การแสดงผล หมายเหตุ หลักเกณฑน์ เี ป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิ โดยทวั่ ไปทีก่ าหนดขึนโดยราชบณั ฑิตยสถาน แตบ่ างครังอาจเว้นวรรคหรอื ไมเ่ วน้ วรรคก็ได้ ทังนีขนึ อยู่ กับความเหมาะสมและดุลยพนิ จิ ของ อาจารย์ที่ปรกึ ษาโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 3.3.3.3 การตดั คาเมื่อสนิ สุดบรรทัด ในการตดั คาต้องใสย่ ตภิ งั ค์ (-) เสมอ แตต่ ้องพจิ ารณาตดั อย่างรอบคอบ คาท่ีตดั แล้วความหมายเปล่ียนก็ไมค่ วรตดั เชน่ แม่-นา นกั การ-ศกึ ษา ยกตัว-อยา่ ง ฯลฯ คาที่ออกเสยี งเชือ่ มกนั จะตัดคาไม่ได้ เชน่ ราช-การ และคาทเ่ี ป็นหนว่ ยคาเดยี วกนั กไ็ ม่ควรตัด เชน่ กระ-ทรวง บญั -ชี) 3.3.3.4 ไมค่ วรฉกี คา เมอ่ื พมิ พค์ าสดุ ทา้ ยไม่จบในบรรทัดนนั ๆ ใหย้ กคานนั ไปพิมพใ์ น บรรทัดตอ่ ไปทงั คา ไมค่ วรตัดสว่ นท้ายของคาไปพมิ พ์ในบรรทดั ใหม่ เชน่ ผ-สมผสาน รวบร-วม fi- gure, ta-ble เป็นตน้ 3.3.4 การใชเ้ คร่อื งหมายจุลภาค (จดุ ลูกนา,) ในภาษาไทยไม่ควรใช้ เนอื่ งจากมวี รรคตอนเปน็ การ แบง่ ขอ้ ความอยู่แล้ว เคร่ืองหมายจลุ ภาคควรใชเ้ ฉพาะท่จี าเปน็ ซง่ึ หากไม่ใชอ้ าจเข้าใจผิดพลาดได้ เช่น ตัวเลขหลายหลัก ช่ือนามสกุลทีอ่ าจปะปนกัน เช่น บัวขาว บญั ชาเมฆ, โสภี พรรณราย, บุษยมาศ, พนมเทียน, โสภาค สวุ รรณ, รัชนก อนิ ทนนท์ เป็นต้น 3.3.5 การขึนหน้าใหม่ 3.3.5.1 ถ้าพมิ พม์ าถงึ บรรทดั สดุ ทา้ ยของหนา้ กระดาษ ใหเ้ วน้ ขอบล่าง 2.54 เซนตเิ มตร (1 นิว) 3.3.5.2 หากมขี ้อความเหลอื อีกเพยี งบรรทัดเดยี วกจ็ ะจบย่อหน้าเดมิ ให้พมิ พ์ตอ่ ไปในหน้า เดิมจนจบแล้วจงึ ขนึ ยอ่ หนา้ ใหม่ในหน้าถดั ไป 3.3.5.3 หากมีเนือท่เี หลอื ให้พมิ พไ์ ด้อกี เพียงบรรทัดเดยี วในหน้านนั แล้วจะขนึ ย่อหนา้ ใหม่ ใหย้ กย่อหน้านันไปตังต้นพิมพ์ในหน้าถดั ไป 3.3.6 การพิมพ์คาทเี่ ปน็ ภาษาต่างประเทศ เช่น คาศพั ท์เทคนคิ (Technical Term) ให้พิมพเ์ ป็น ภาษาไทยตามดว้ ยวงเล็บภาษาตา่ งประเทศ ซึง่ คาท่ีเป็นภาษาไทย ควรพจิ ารณาจากคาท่ไี ด้มกี าร บญั ญตั ไิ ว้แล้ว โดยราชบณั ฑิตยสถาน แต่ถา้ มไิ ด้บญั ญตั ิไวใ้ หพ้ ิจารณาใช้ คาตามความเหมาะสม การ วงเลบ็ ภาษาต่างประเทศ ให้พจิ ารณาพมิ พเ์ ฉพาะคาทอี่ าจจะทาให้เขา้ ใจไขว้เขว ดงั นัน คาทสี่ ่วนใหญ่ เข้าใจความหมายตรงกันแลว้ จงึ ไม่ควรวงเลบ็ เชน่ คอมพวิ เตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ เครดิต เดบติ เป็นต้น การวงเลบ็ คาภาษาตา่ งประเทศ ให้พิจารณาเฉพาะ เทา่ ที่จาเปน็ โดยท่วั ไปควรวงเลบ็ เฉพาะในครงั

18 แรก ๆ ท่กี ล่าวถึงคานี หลงั จากนันกไ็ ม่ตอ้ งวงเลบ็ อีก เมอ่ื กลา่ วถึงคานใี นครังต่อ ๆ ไป การพมิ พ์ วงเลบ็ ภาษาตา่ งประเทศ ควรขึนต้นดว้ ยตวั พิมพ์ใหญ่ (Capital Letters) ตามด้วย ตัวพมิ พ์เล็ก เช่น ห้างหนุ้ สว่ นสามัญ (General Partnership) จริยธรรมทางธรุ กิจ (Business Ethics) เปน็ ตน้ ไม่ควรใช้ ตัวพมิ พใ์ หญห่ รือตัวพมิ พเ์ ล็กทงั หมด เช่น ห้นุ กู้ (DEBENTURE) ความเสี่ยงในการลงทุน (investment risk) เป็นต้น นอกจากนียงั ควรใช้วธิ ีการเดยี วกันตลอดทงั เลม่ ตวั อยา่ ง เมนบอรด์ (Main board) มาเธอรบ์ อร์ด หากเปดิ ฝาเคสออกกจ็ ะพบแผงวงจร ขนาดใหญ่ ซ่งึ เรียกวา่ เมนบอรด์ เปน็ อปุ กรณท์ ส่ี าคญั เปน็ แผงวงจร หลกั ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรบั เมนบอรด์ แบบ AT ซง่ึ เป็นเมนบอร์ดท่แี ทบจะไม่ใชก้ นั แล้ว ก็จะไมอ่ ธิบายรายละเอยี ด อะไรมาก จะเน้นเพียง เมนบอร์ดแบบ ATX โดยแบ่งเปน็ 2 พวกใหญ่ๆ ตามชนิดของซพี ียทู ี่ใชก้ ัน อยใู่ นปัจจุบัน เมนบอรด์ แบบ Socket 7 และ Slot I ร่นุ เกา่ ท่ีอาจไมใ่ ช้กันแล้วหรอื ใช้กันนอ้ ยมาก 3.4 การลาดับหนา้ และการพมิ พเ์ ลขหนา้ 3.4.1 การลาดับหน้าในส่วนนาเร่อื ง ให้ใชต้ ัวอกั ษรเรียงตามลาดับพยัญชนะในภาษาไทย ก, ข, ... โดยพมิ พ์ไว้ริมขอบขวาของกรอบกระดาษห่างจากขอบบนและขอบขวามอื ของกระดาษ ดา้ นละ 2.54 เซนตเิ มตร (1 นวิ ) โดยเร่ิมนับจากหน้าปกใน แตจ่ ะไมพ่ มิ พ์ลาดบั หน้าใน หน้าปกใน ใหเ้ ร่มิ พมิ พล์ าดบั หน้าจากหนา้ บทคดั ย่อเปน็ ตน้ ไป 3.4.2 การลาดับหน้าในสว่ นเนอื หาและสว่ นอา้ งอิง ใหใ้ ช้ตวั เลขอารบคิ 1, 2, 3, ... กากบั หน้าเรยี ง ตามลาดับตลอดทังเล่ม โดยพิมพ์ไว้ริมขอบขวาของกรอบกระดาษห่างจากขอบบนและขอบขวามือ ของกระดาษด้านละ 2.54 เซนติเมตร (1 นิว) ยกเว้นหน้าแรกของบทที่ขึนบทใหม่ หน้าแรก ของ บรรณานุกรม และหน้าแรกของภาคผนวกแตล่ ะภาค ไม่ตอ้ งใสเ่ ลขหนา้ กากบั แตใ่ หน้ ับจานวนหนา้ รวม ไปด้วย 3.5 การพิมพบ์ ทที่ หวั ขอ้ สาคญั และหัวขอ้ ย่อย 3.5.1 บท (CHAPTERS) เมอ่ื ขนึ บทใหมใ่ หข้ นึ หนา้ ใหมเ่ สมอและมีเลขประจาบท โดยใหใ้ ช้ เลขอารบคิ เทา่ นนั ใหพ้ ิมพค์ าว่า “บทท”ี่ ไว้ตรงกลางตอนบนสุดของหน้ากระดาษ สว่ นช่อื บท ให้ พมิ พ์ ไว้ตรงกลางหน้ากระดาษเช่นกนั โดยให้พิมพบ์ รรทัดตอ่ ไปไม่ต้องเวน้ บรรทัด ช่ือบทที่ยาวเกิน 1 บรรทัด ใหแ้ บง่ เปน็ 2-3 บรรทดั ตามความเหมาะสม การพิมพบ์ ททแ่ี ละชอื่ บทให้ใช้ขนาดตัวอกั ษร 20 พอยต์ ตัวหนา (Bold)

19 3.5.2 หัวข้อสาคัญ ในแต่ละบทใหพ้ ิมพ์ชดิ กรอบกระดาษดา้ นซา้ ยมอื ใหใ้ ช้ขนาดตัวอกั ษร 16 พอยต์ ตวั หนา (Bold) และไม่ตอ้ งขีดเสน้ ใต้ ใหใ้ ส่ตวั เลขกากับตามบท โดยพมิ พเ์ ว้นหา่ ง จากบรรทดั ชอ่ื บท 1 บรรทดั การพมิ พ์บรรทดั ต่อ ๆ ไปไม่ต้องเว้นบรรทดั 3.5.3 หวั ข้อย่อย ใหพ้ ิมพย์ อ่ หนา้ โดยเวน้ ระยะให้ตรงกบั ตวั อักษรตวั แรกของชอ่ื ขอ้ ความของ หวั ขอ้ สาคัญนัน หากหัวข้อย่อยมีการแบง่ มากกว่า 5 ระดบั ใหใ้ ส่ตวั เลขหรอื ตวั อักษรภาษาไทยคือ ก, ข, ค, ... 1.1**หัวข้อสาคญั (เครื่องหมาย ** หมายถึงเวน้ 2 เคาะ กรณหี วั ข้อย่อยมีถงึ หลกั สบิ ให้จัดให้ ตรงกันทงั หมด) 1.1.1**หวั ขอ้ ย่อย…….…..…….………………….………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.1.2**หัวข้อย่อย……...……….………………….………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1.1.2.1**หวั ขอ้ ย่อย…………………………………...………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1.1.2.2**หัวขอ้ ยอ่ ย.……………………………………………………………………………………………. ก)**หัวข้อยอ่ ย……………………………………………………………………………………… ข)**หัวขอ้ ย่อย………………………………………………………………………………………. 3.6 การพิมพต์ าราง 3.6.1 ตารางประกอบด้วย เลขท่ขี องตาราง ชอื่ ของตาราง ส่วนข้อความและท่มี าของตาราง โดย ปกติใหพ้ มิ พอ์ ยหู่ น้าเดียวกันทังหมด ซง่ึ ตารางอาจมีทังแบบแนวตังและแบบแนวนอนกไ็ ด้ 3.6.2 ใหพ้ ิมพ์คาว่าตารางท่ี ชิดรมิ กรอบกระดาษซ้ายมอื ตามดว้ ยเลขที่ของตารางตามการแบง่ บท และช่ือตาราง กากับไว้ดา้ นบนของตารางนัน โดยเรียงลาดบั หมายเลขตารางตามบทจาก 1 ไปจน จบบท ตารางในภาคผนวกก็ใหพ้ ิมพ์ในลกั ษณะเดยี วกนั ใหพ้ มิ พต์ ัวอกั ษรตัวหนา (Bold) คาวา่ ตาราง ท่แี ละ เลขทตี่ าราง เช่น ตารางที่ 1-1 (อย่ใู นบทที่ 1) ตารางที่ 2-1 (อยู่ในบทที่ 2) ตารางที่ ก-1 3.6.3 ให้พมิ พช์ ่ือตารางตอ่ จากเลขท่ขี องตารางโดยเวน้ ระยะหา่ ง 2 เคาะ กรณชี ่ือตารางยาวเกนิ กว่า 1 บรรทดั ใหพ้ มิ พ์ตัวอักษรตวั แรกของบรรทดั ถัดไปตรงกับตัวอกั ษรตัวแรกของชอื่ ตาราง เช่น ตารางท*่ี 1-1**ข้อมลู แสดงความตอ้ งการวศิ วกรอตุ สาหกรรมในรอบ 5 ปี จาแนกตามเพศ อายุ ประสบการณก์ ารทางานและภมู ลิ าเนา

20 3.6.4 ตารางท่อี ้างองิ จากแหล่งอืน่ ใหเ้ ขยี นอ้างองิ แหล่งทม่ี าไวท้ ้ายตาราง เชน่ ท่มี า : บญุ เสรมิ (2551) SOURCE : Yang (2005) 3.6.5 ขนาดของตารางตอ้ งไมเ่ กินกรอบของหนา้ พมิ พโ์ ครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชพี สาหรบั ตาราง ขนาดใหญ่ ควรย่อขนาดลง โดยใชเ้ คร่อื งถ่ายเอกสารเพ่ือยอ่ สว่ น หรอื วธิ ีอนื่ ๆ ตามความเหมาะสม แต่จะต้องชัดเจนและอ่านงา่ ย สาหรบั ตารางทม่ี ขี นาดใหญแ่ ละไมส่ ามารถย่อขนาดไดใ้ หอ้ ยู่ในดลุ ย พินิจของอาจารยท์ ีป่ รึกษาโครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชพี 3.6.6 กรณที ตี่ ารางมีความยาว หรือกว้างมากจนไมส่ ามารถบรรจุในหนา้ กระดาษเดยี วกันได้ให้ ย่อส่วนหรอื แยกมากกว่า 1 ตาราง ใหพ้ ิมพส์ ว่ นทเ่ี หลือในหน้าถัดไป โดยจะต้องพิมพเ์ ลขท่ีตารางและ ตามด้วยคาวา่ ตอ่ ในวงเลบ็ เช่น ตารางที่ 1-1 (ต่อ) เปน็ ต้น โดยไม่ตอ้ งใส่ช่อื ตารางและคดั ลอกหวั ตารางมาจัดพิมพด์ ว้ ย 3.7 การพมิ พ์ภาพประกอบ 3.7.1 ภาพ ประกอบดว้ ย รูปภาพ แผนที่ แผนภมู ิ กราฟ ฯลฯ 3.7.2 ภาพประกอบแต่ละภาพตอ้ งมีเลขทข่ี องภาพ และชื่อหรือคาอธิบายภาพกากับไวใ้ ต้ ภาพประกอบกลางหน้ากระดาษ โดยเรยี งลาดับหมายเลขของภาพตามบทจาก 1 ไปจนจบบท ภาพท่ี ปรากฏในภาคผนวก กใ็ หพ้ มิ พใ์ นลกั ษณะเดียวกนั ใหพ้ มิ พ์ตวั อกั ษรตวั หนา (Bold) คาวา่ ภาพท่ีและ เลขทีข่ องภาพ เชน่ ภาพที่ 1-1 (อยู่ในบทที่ 1) ภาพที่ 2-1 (อยู่ในบทท่ี 2) ภาพท่ี ก-1 (อย่ใู น ภาคผนวก ก) เปน็ ต้น 3.7.3 ให้พมิ พช์ ่ือภาพตอ่ จากเลขท่ขี องภาพโดยเว้นระยะหา่ ง 2 เคาะ กรณชี อื่ ตารางยาวเกิน กว่า 1 บรรทดั ใหพ้ มิ พต์ วั อักษรตัวแรกของบรรทดั ถัดไปตรงกับตัวอักษรตวั แรกของชอ่ื ภาพ เชน่ ภาพท่ี*1-1**การบรหิ ารงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ของสถาบนั อุดมศึกษาไทยตามหลกั การประกัน คุณภาพการศึกษา (สานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน), 2555) 3.7.4 ภาพทีอ่ ้างอิงจากแหล่งอื่น ใหเ้ ขียนอ้างองิ แหลง่ ท่ีมาไวท้ ้ายชอื่ หรอื คาอธบิ ายภาพ เชน่ บุญเสรมิ (2551) Yang (2005) 3.7.5 กรณภี าพทมี่ ีความยาวหรอื กว้างมากจนไมส่ ามารถบรรจุในหน้ากระดาษเดียวกนั ได้ ให้ ยอ่ สว่ น หรือแยกมากกว่า 1 ภาพ ให้พมิ พ์สว่ นทเ่ี หลือในหนา้ ถัดไป โดยจะตอ้ งพมิ พเ์ ลขที่ภาพและ ตามด้วย คาว่าต่อในวงเลบ็ เช่น ภาพที่ 1-1 (ตอ่ ) เป็นต้น โดยไม่ต้องใส่ช่ือภาพ 3.7.6 ภาพใด ๆ กต็ าม จะตอ้ งพิมพเ์ ปน็ ภาพบนกระดาษใหช้ ดั เจน ห้ามใชว้ ธิ กี ารตดิ ภาพดว้ ยกาว หรอื วสั ดตุ ดิ ภาพอยา่ งอืน่ และภาพประกอบทีเ่ ป็นภาพสี จะตอ้ งพิมพเ์ ปน็ ภาพสีลงบนกระดาษขาว

21 อยา่ งชัดเจน 3.8 การพมิ พ์สมการ 3.8.1 สมการแต่ละสมการตอ้ งมเี ลขทก่ี ากับของสมการ โดยพิมพ์เรยี งลาดบั หมายเลขของ สมการ ตามบทจาก 1 ไปจนจบบท สมการทป่ี รากฏในภาคผนวกใหพ้ มิ พ์ในลกั ษณะเดยี วกัน โดยให้ พิมพต์ ัวอักษรธรรมดา (Normal) ชดิ ขอบดา้ นขวา เชน่ สมการที่ 1 อยใู่ นบทท่ี 1 ให้พิมพ์ (1-1) สมการที่ 1 อยใู่ นบทที่ 2 ใหพ้ มิ พ์ (2-1) สมการท่ี 1 อยูใ่ นภาคผนวก ก ใหพ้ มิ พ์ (ก-1) หรอื (1-1) และสมการทปี่ รากฏในเนอื หาให้พมิ พใ์ น ลกั ษณะเดยี วกนั 3.9 การเขยี นอ้างองิ แบบนาม-ปี 3.9.1 ใชร้ ะบบการอ้างองิ แบบนาม-ปี ซง่ึ ประกอบดว้ ยชอื่ ผู้แตง่ หรือชือ่ กลมุ่ ผู้แตง่ และปีทพี่ มิ พ์ ของเอกสาร เมือ่ ชอื่ ผแู้ ตง่ ปรากฏในประโยคใหร้ ะบเุ ฉพาะปใี นวงเลบ็ เอกสารอา้ งองิ ภาษาไทย ให้ ขนึ ตน้ ช่อื ผูแ้ ต่งด้วยชอ่ื ต้นเทา่ นัน โดยไมต่ ้องใสช่ อ่ื สกลุ เอกสารอ้างองิ ภาษาต่างประเทศ ใหข้ นึ ตน้ ช่ือผู้ แตง่ ดว้ ยชอ่ื สกุลเท่านันเป็นภาษาองั กฤษ โดยไม่ต้องกากบั ชอื่ ภาษาไทยในวงเล็บ 3.9.2 การอ้างองิ เอกสารทุกประเภทไว้ในเนอื หา ให้ใส่ไวใ้ นวงเลบ็ แทรกอยกู่ บั เนือหา กรณีทม่ี ีเลข หนา้ เลขทต่ี ารางหรือเลขท่ีภาพของเอกสารทนี่ ามาอ้างองิ ใหใ้ ส่เลขท่นี ัน ๆ ตามหลงั ปีทพี่ มิ พ์โดย คั่น ด้วยเคร่อื งหมายมหัพภาคคู่ (Colon) ตวั อยา่ ง คนเปน็ ปจั จัยสาคญั ทสี่ ุดในการบรหิ ารเพราะคนเป็นผผู้ ลติ และผใู้ ช้ปจั จัยอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นเงนิ วัสดุ และวิธกี ารจดั การ (สมาน, 2523 : 1-2) จากการสารวจในปี พ.ศ. 2528 ปรากฏว่ามีโรงงานอุตสาหกรรมผลติ ผลติ ภัณฑ์พลาสติกใน ประเทศทงั รายใหญ่และรายยอ่ ยอยไู่ ม่น้อยกวา่ 2,000 ราย โรงงานสว่ นใหญ่ หรอื ประมาณรอ้ ยละ 46.3 ผลติ ผลิตภัณฑ์ประเภทของใชใ้ นครัวเรือน อกี ร้อยละ 35 ผลิตภาชนะของบรรจผุ ลติ ภัณฑ์ รวม กาลังผลติ ทงั สนิ ประมาณปลี ะ 250,000-300,000 ตนั ซ่ึงคาดหมายไดว้ า่ ในอนาคตอุตสาหกรรม ผลิต ผลิตภณั ฑพ์ ลาสตกิ จะเจริญมากขึนเป็นเทา่ ตวั และจะขยายไปได้ตามความต้องการของผบู้ รโิ ภค (กมลลักษณ,์ 2528 : 18) หลกั สูตรประกอบด้วย 3 สว่ น คอื จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม กจิ กรรมการเรียนการสอน และ การประเมนิ ผล (Tyler, 1970 : 22) 3.9.3 ถา้ ต้องการอ้างเอกสารท่ีผแู้ ต่งได้อ้างถึงในงานของตน การอ้างเชน่ นีถือวา่ มิได้เปน็ การอา้ ง ถึงเอกสารนนั โดยตรง ใหร้ ะบนุ ามผู้แตง่ ของเอกสารทงั สองรายการ โดยระบนุ ามผแู้ ตง่ และปที ีพ่ มิ พ์

22 ของเอกสารอนั ดบั แรก ตามดว้ ยคาอา้ งถึงใน แล้วระบนุ ามผแู้ ตง่ ของเอกสารอนั ดบั รอง และปีทพ่ี มิ พ์ ตัวอย่าง ...แทจ้ ริงประโยชน์ท่ีหอพระสมดุ สาหรบั พระนครจะทาใหแ้ กบ่ ้านเมืองได้ ไมใ่ ชแ่ ต่รวมหนังสือ เก็บไวเ้ ป็นสมบัติของบา้ นเมอื งอย่างเดียว ถา้ หากสามารถตรวจสอบหนังสอื อนั เปน็ เหตใุ ห้เกิด วชิ าความรูพ้ มิ พ์ให้แพรห่ ลายได้ ยงั เปน็ ประโยชนย์ ่งิ ขึนเหมอื นกับแจกจา่ ยสมบัตนิ ันไปให้ถึง มหาชน อกี ชันหน่ึง กรรมการจงึ เหน็ เป็นข้อสาคญั มาแต่แรกตังหอพระสมดุ สาหรับพระนคร ซ่ึง หอพระสมุดควรเอาเปน็ ธุระในเรื่องพมิ พ์หนังสอื ด้วย (สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ, 2459 : 110 อา้ งถงึ ใน แมน้ มาส, 2509) 3.9.4 การคัดลอกขอ้ ความ (Quotations) การพมิ พ์ข้อความที่คดั ลอกมาอ้างองิ โดยตรง ถ้าเป็น ข้อความสนั ๆ ที่มคี วามยาวไมเ่ กิน 3 บรรทดั ให้พมิ พต์ อ่ ไปในเนอื หาโดยไม่ตอ้ งขึนบรรทัดใหมใ่ ห้ เขียนไว้ในเครือ่ งหมายอญั ประกาศ (“ ”) หากขอ้ ความที่คดั ลอกมานันมีความยาวตดิ ต่อกัน 3 บรรทัด ให้พมิ พแ์ ยกจากเนือหาโดยขึนบรรทดั ใหม่ไม่เว้นบรรทดั ไมต่ ้องใสเ่ คร่ืองหมายอญั ประกาศ (“ ”) กากับ แต่ให้พมิ พ์ติดตอ่ กันไปโดยดา้ นซา้ ยของขอ้ ความอยใู่ นระดบั เสมอย่อหน้า กรณีขอ้ ความท่ีคัดลอกมาไมไ่ ดเ้ รมิ่ จากตัวแรกของย่อหนา้ และท้ายขอ้ ความท่ีคัดลอกมาไม่ จบย่อหน้าของข้อความเดมิ ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมายมหพั ภาค (.) สามครังไวห้ นา้ และหลงั ข้อความทีค่ ดั ลอก มา กรณตี ้องการละขอ้ ความส่วนกลางใหใ้ ส่เครื่องหมายมหพั ภาค (.) สามครังแทนขอ้ ความท่ลี ะไว้นัน ตัวอย่าง “...คนยังนยิ มความไม่มีศีลธรรม จะยกตวั อย่างงา่ ย ๆ เช่น อบายมขุ ทงั 6 ยังเต็มไปในโลก ดื่ม นาเมา เท่ียวกลางคืน...” (พทุ ธทาสภิกข,ุ 2556 : 71) “...อกี วธิ ีหนึ่งในการลดฟรแี รดิคัลคอื ลดการใช้ออกซเิ จนของร่างกายลง การฝกึ น่งั สมาธิ สามารถชะลอความแกไ่ ด้ดีกวา่ การกินอาหารเสริม...” ไม่วา่ จะผา่ นไปสกั เทา่ ไร (อรสม, 2556 : 8) 3.9.4.1 ขอ้ ความทค่ี ัดลอกมาไม่เกิน 3 บรรทัด ตวั อยา่ ง ประเทศไทยในปจั จบุ ัน ววั และควาย นอกจากจะยังคงเปน็ แรงงานในฟาร์มส่วนใหญอ่ ยแู่ ล้ว ยังเป็นแหลง่ โปรตีนทส่ี าคญั อกี ด้วย พิจารณาในแง่อาหารสตั ว์ “...สตั วป์ ระเภทนสี ามารถทจี่ ะใช้ ประโยชน์ จากผลติ ผลในไร่นา... ซึ่งไม่มีค่าทางเศรษฐกจิ ใหเ้ ปล่ยี นมาเปน็ พลงั งานและเนือได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ...” (ณรงค์, 2522 : 10)

23 3.9.4.2 ขอ้ ความทค่ี ัดลอกมาเกิน 3 บรรทดั ในการศกึ ษาเพอื่ คน้ คว้าหาความรใู้ หม่ ๆ นนั ไดม้ ีการวเิ คราะห์วจิ ยั เพอื่ หาวิธีการใน การศึกษา และการถา่ ยทอดความรสู้ ึกดว้ ยวิธกี ารต่าง ๆ ทีแ่ ตกต่างกนั มาแลว้ มากมายหลายวธิ ี และ วธิ ีการทาง วทิ ยาศาสตร์ กน็ บั เป็นวิธีการหน่ึงทสี่ ามารถชว่ ยในการศกึ ษาค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ เปน็ ไปอย่าง หนา้ เช่ือถอื ได้มากกวา่ วธิ กี ารอน่ื ๆ อีกหลายวิธี ดงั คากลา่ วของ Cohen and Hagel (1897 : 195) ซงึ่ กลา่ วไวว้ า่ ตัวอยา่ ง ...วธิ กี ารอื่น ๆ นนั แตกตา่ งไปจากวิธีการทางวทิ ยาศาสตรท์ ่วี ่า วธิ ีการเหลา่ นนั ไมส่ ามารถเอือตอ่ การปรับเปลี่ยนขอ้ ผดิ พลาดทอี่ าจเกดิ ขึนได้จากการคน้ พบ จงึ เป็นการแตกต่างจากวธิ ีการทาง วทิ ยาศาสตร์ เพราะวิธีการทางวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ กระบวนการทเ่ี น้นการพฒั นา และชว่ ยส่งเสรมิ และกระต้นุ ใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งต่อเนอื่ งของผลลัพธท์ ่ีไดจ้ ากกระบวนการศึกษา ไม่วา่ จะเปน็ ไปตามสมมติฐานหรอื ไมก่ ต็ าม จะนาไปส่กู ารคน้ ควา้ ใหม่อย่างตอ่ เน่ืองและก้าวหน้าตอ่ ไปไดอ้ ีก เร่ือย ๆ โดยไมห่ ยุดยงั โดยอาศยั ขอ้ คน้ พบก่อน ๆ มาเป็นขอ้ มลู สนบั สนนุ อกี ขันหนึ่ง เพื่อให้ได้ ขอ้ คน้ พบใหม่ ๆ ตอ่ ไปเรอ่ื ย ๆ... ดังนนั วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ จึงเปน็ กระบวนการศึกษาหาความรทู้ ่ีน่าเชื่อถือได้เป็นอย่างย่ิง เปรยี บเสมอื น แสงสว่างนาทางให้กับนกั วจิ ัยหรือนักศกึ ษา เพ่ือไปสกู่ ารค้นพบความรู้ใหม่ ๆ ต่อไป อยา่ งไมห่ ยุดยงั 3.9.5 ในกรณีทีร่ ะบชุ ือ่ ผแู้ ตง่ ไวแ้ ล้วในเนือหาหรอื ข้อความนนั การอา้ งองิ ไม่ต้องระบถุ งึ ชือ่ ผู้แตง่ ซา อีกในวงเลบ็ ใหร้ ะบเุ ฉพาะปที ่ีพิมพแ์ ละเลขหน้าท่อี า้ งอิง (ถา้ มี) ตวั อยา่ ง การคานวณหาคา่ การใช้ประโยชนอ์ าคารสถานท่ีของการศกึ ษา มักจะพิจารณาจากความจุและ เวลา ซงึ่ Vickery (1979) ได้ให้ความเหน็ เก่ยี วกบั การใช้อาคารสถานท่เี รียนไวว้ า่ ... Bernett (1953 : 55) ได้ให้ความหมายของ “นวตั กรรม” ไวว้ ่า ... นภาภรณ์ (2531 : 1) ได้แบง่ ประเภทของสือ่ ทีใ่ ช้ในการประชาสมั พนั ธ์ไว้ 4 ประเภทคอื ... ในการใช้สือ่ เป็นเครอื่ งมือในการประชาสมั พนั ธ์นัน จาเป็นทจี่ ะตอ้ งทราบถงึ ลกั ษณะและความ แตกต่างของสอ่ื แตล่ ะชนดิ ซงึ่ วิจติ ร (2522 : 116-118) ได้จาแนกไว้ดังนี ... 3.9.6 ถ้าผวู้ ิจยั อ้างอิงเอกสารของผู้แตง่ คนเดียวกัน ซงึ่ ได้เขยี นเอกสารไวห้ ลายเลม่ ในปเี ดียวกนั ก็ ใหใ้ ส่ตัวอักษร ก, ข, ค, ... กากบั ไวท้ ปี่ ีทพ่ี ิมพด์ ว้ ยสาหรบั เอกสารอา้ งองิ ภาษาไทย หรอื อักษร a, b, c, ... สาหรับเอกสารอา้ งองิ ภาษาตา่ งประเทศ เช่น (ศกั ด์ิ, 2512 ก) และ (ศักดิ์, 2512 ข : 12) เปน็ ต้น

24 3.10 การพิมพ์บรรณานกุ รม หลกั เกณฑ์การพมิ พบ์ รรณานุกรม มขี อ้ กาหนดดงั นี 3.10.1 การพิมพบ์ รรณานุกรม ให้อยตู่ อ่ จากสว่ นเนอื หาและก่อนภาคผนวกให้พมิ พ์คาวา่ “บรรณานุกรม” กลางหน้ากระดาษขนาดตัวอกั ษร 20 พอยต์ ตวั หนา โดยเวน้ ขอบกระดาษพมิ พ์ เชน่ เดียวกบั การเร่มิ บทใหม่ โดยใหเ้ ว้นระยะหา่ งจากช่ือบรรณานกุ รม 1 บรรทัด จึงเรม่ิ พิมพบ์ รรทัด แรกของแตล่ ะรายการของเอกสารท่ใี ชอ้ า้ งองิ 3.10.2 ใหเ้ รียงเอกสารทใ่ี ช้อ้างองิ ทงั หมดไว้ดว้ ยกัน โดยเรียงลาดบั ตามตัวอักษรตวั แรกของ รายการทอี่ ้างองิ โดยยึดวิธกี ารเรยี งลาดบั ตามแบบพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน โครงการ พัฒนาทกั ษะวิชาชพี ท่ีเขียนดว้ ยภาษาไทย ใหเ้ รยี งลาดบั รายการบรรณานุกรมภาษาไทยไว้ก่อน แล้ว จงึ ตามด้วยรายการบรรณานุกรมภาษาองั กฤษ 3.10.3 การพมิ พ์แตล่ ะรายการท่ีอา้ งอิง ใหพ้ มิ พ์ชดิ กรอบกระดาษด้านซา้ ยมือ หากมีขอ้ ความท่ี จะตอ้ งพมิ พ์ตอ่ จากบรรทัดแรก ใหพ้ มิ พบ์ รรทดั ต่อไปโดยยอ่ หน้าเวน้ ระยะ 1.5 เซนติเมตร (0.59 นวิ ) 3.10.4 กรณีการอ้างอิงหนงั สือหลายเล่มที่มผี ู้แต่งเป็นช่อื เดยี วกนั ใหเ้ ขยี นชื่อผแู้ ตง่ เฉพาะเลม่ แรก เล่มตอ่ ๆ ไป ให้ขดี เสน้ ใต้ยาว 1.5 เซนติเมตร (0.59 นวิ ) แล้วตามดว้ ยเคร่อื งหมายมหพั ภาค (.) และ ใหเ้ รยี งลาดบั งานของผู้แต่งคนเดียวกันตามลาดบั เวลาของผลงาน หรือลาดบั ตัวอกั ษรของชื่อ ผลงาน 3.10.5 ถา้ ผ้แู ตง่ เป็นชาวต่างประเทศ ใหพ้ มิ พ์ชอื่ สกุลตามดว้ ยชือ่ ต้นและช่อื กลาง (ถ้ามี) เช่น Reynolds, F. E., Mullen, N. D., Red, K. P., Muttiko, M., Turabian Kate L., เปน็ ตน้ 3.10.6 ถ้าผแู้ ตง่ เป็นคนไทยใหพ้ มิ พช์ อ่ื ตน้ กอ่ นแลว้ ตามด้วยนามสกลุ ถ้าเขียนเอกสารเปน็ ภาษาต่างประเทศ ให้ใชน้ ามสกลุ กอ่ นแล้วตามด้วยชอื่ ต้น ในกรณที ผี่ ้แู ต่งชาวไทยมฐี านันดรศักด์ิ บรรดาศกั ดิ์ สมณศกั ดิ์ ให้พิมพ์ชือ่ ตามด้วยเครอ่ื งหมายจลุ ภาค (,) และฐานนั ดรศักดห์ิ รอื บรรดาศักดิ์ ตามดว้ ยเครือ่ งหมายมหพั ภาค (.) เชน่ ธรรมศกั ด์ิมนตรี, เจา้ พระยา. วจิ ติ รวาทการ, หลวง. เปน็ ตน้ 3.10.7 ถา้ มผี ู้แตง่ 2 คน หรอื มากกว่า 2 คน แตไ่ มเ่ กนิ 3 คน ใหล้ งชื่อผูแ้ ต่งทุกคนโดยใชค้ าว่า และ (หรือ and) กอ่ นช่อื ผูแ้ ต่งคนสุดทา้ ย แต่ถ้ามผี ูแ้ ต่ง 4 คน หรือมากกวา่ 4 คน ให้ลงชือ่ ผู้แต่ง คนแรก ตามด้วยคาวา่ และคนอื่น ๆ (หรอื และคณะ หรอื et al. หรอื and others) 3.10.8 ถา้ เอกสารไมป่ รากฏสานักพมิ พ์ หรอื สถานทพ่ี ิมพ์ใหร้ ะบุ (ม.ป.ท.) หรอื (n.p.) แล้วแต่ กรณี 3.10.9 ถ้าเอกสารไมป่ รากฏปีท่ีพมิ พ์ ใหร้ ะบุ (ม.ป.ป.) หรือ (n.d.) แล้วแต่กรณี 3.10.10 ช่ือหนังสอื ชื่อวารสาร ช่อื วทิ ยานิพนธ์ ฯลฯ ใหเ้ นน้ ขอ้ ความโดยเลือกพิมพ์ดว้ ยตัวหนา (Bold) หรอื ขดี เสน้ ใต้ (Under Line) หรอื ตวั เอน (Italic) ตามความเหมาะสม แต่ใหเ้ ป็นแบบเดียวกัน ตลอดทงั เลม่ 3.10.11 การเรียงบรรณานกุ รม ใช้หลกั เดียวกนั กบั การเรยี งคาในพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ย-

25 สถาน โดยคาทีม่ ตี ัวสะกดจดั เรียงไวก้ อ่ นคาท่ีมรี ปู สระตามลาดบั ตังแต่ กก-กฮ ดังนี ก ข ค ต ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤา ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ คาท่ีขึนตน้ ด้วยพยัญชนะตัวเดยี วกัน เรยี งลาดบั ตามรปู สระ ดังนี อะ อัว อวั ะ อา อา อิ อี อื อุ อู เอะ เอ เอาะ เอา เอิน เอีย เอยี ะ เออื เอือะ แอ แอะ โอ โอะ ใอ ไอ 3.10.12 การเว้นระยะในการพมิ พ์เครอื่ งหมายวรรคตอน มดี ังนี - หลงั เคร่ืองหมายมหัพภาค (.- Period) เว้น 2 เคาะ ยกเวน้ ช่ือย่อผูแ้ ตง่ ภาษาอังกฤษ ใหเ้ ว้น 1 เคาะ - หลังเครื่องหมายจลุ ภาค (,- Comma) เว้น 1 เคาะ - หลงั เครื่องหมายอฒั ภาค (;- Semi-colon) เวน้ 1 เคาะ - หน้าและหลังเคร่ืองหมายมหัพภาคคู่ (:- Colon) เว้น 1 เคาะ 3.10.13 การใชค้ าย่อ ควรใชค้ ายอ่ ทเ่ี ป็นทยี่ อมรบั ในการเขยี นรายการอ้างอิง ตัวอย่างมีดงั นี คายอ่ คาเต็ม ความหมาย หมายเหตุ comp. compiler ผูร้ วบรวม พหูพจน์ใช้ comps. ed. editor บรรณาธกิ าร, ผูจ้ ดั พิมพ์ พหพู จน์ใช้ eds. editor by จัดพิมพโ์ ดย enl.ed. enlarged edition ฉบับพิมพ์ใหม่ มกี ารเพ่มิ เตมิ rev.ed. revised edition ฉบับพิมพ์ใหม่ มกี ารแก้ไข 2nd ed. second edition พมิ พ์ครงั ที่ 2 3rd ed. third edition พมิ พค์ รังท่ี 3 ed al. et alii และคณะ หรอื คนอืน่ ๆ (and others) ibid ibidem เร่ืองเดียวกัน (in the same place) n.d. no date ไม่ปรากฏปที ี่พมิ พ์ ภาษาไทยใช้ ม.ป.ป. n.p. no place ไมป่ รากฏสถานท่ีพิมพ์ ภาษาไทยใช้ ม.ป.ท. no. number ฉบบั ที่ p. page หน้า (หลายหน้า) พหูพจนใ์ ช้ pp. r.p.m. revolution per รอบตอ่ นาที ความเรว็ ของแผ่นเสียง minute ทห่ี มนุ ไป tr. translator ผแู้ ปล พหพู จนใ์ ช้ trs. translated by แปลโดย

26 3.11 การเขียนอ้างองิ แบบตวั เลข (กรณีการอ้างอิงในเนอื หา) การอา้ งองิ แบบตัวเลขเปน็ การระบุแหลง่ ท่ีใช้อา้ งองิ ในการเรียบเรยี งโครงการพฒั นาทกั ษะ วิชาชพี เป็นหมายเลข เรียงลาดบั กันไป โดยใชว้ ธิ กี ารดงั นี 3.11.1 ใหใ้ ส่ตวั เลขกากบั ไว้ทา้ ยข้อความ หรอื ชือ่ บคุ คลทีอ่ า้ งองิ ด้วยตวั เลขอารบิคในเครอื่ งหมาย วงเลบ็ สเ่ี หล่ียม [ ] เช่น [1, 2, 3, 4] หรือ [5, 6], [8] หรอื [9], [11], [20], [35] เป็นต้น 3.11.2 ตัวเลขจะต้องเรียงลาดับตงั แตเ่ ลข 1 เป็นต้นไปจนจบเล่ม 3.11.3 ในกรณที ่ีมกี ารอ้างองิ ซา ให้ใช้ตวั เลขเดิมทเี่ คยใช้อ้างอิงมาก่อนแลว้ 3.11.4 แหลง่ ทใ่ี ช้อ้างองิ ทงั หมดนนั ต้องนาไประบไุ วใ้ นเอกสารอา้ งองิ (References) ท้ายเลม่ ตัวอยา่ ง ในหวั ขอ้ นไี ดอ้ ธบิ ายถึงหลกั การทางานของวงจรตรวจหาวีเทอร์บแิ บบท่ัวไป [15] วงจรตรวจหา วเี ทอรบ์ ิแบบ 4 สถานะ 3 เส้นทางสาขา [6], [16] วงจรตรวจหาวเี ทอรบ์ ิ สถานะ 8 เส้นทางสาขา [8] และสุดทา้ ยวงจรตรวจหาวเี ทอรบ์ ิแบบ 36 สถานะ 6 เส้นทางสาขา [17] ซ่ึงการใช้งานวงจรตรวจหา วเี ทอรบ์ ิแต่ละแบบขึนอย่กู บั ทาร์เก็ตที่ตอ้ งการนามาใช้งาน โดยที่หลกั การทางานของวงจรตรวจหา วี เทอรบ์ ิแต่ละแบบมดี งั ตอ่ ไปนี 3.12 การพิมพเ์ อกสารอา้ งองิ กรณีการอ้างองิ ทา้ ยเลม่ หลักเกณฑก์ ารพิมพเ์ อกสารอา้ งอิง (References) มขี ้อกาหนดดังนี 3.12.1 การพมิ พเ์ อกสารอ้างอิงใหอ้ ยตู่ ่อจากส่วนเนอื หา และกอ่ นภาคผนวกใหพ้ มิ พ์คาว่า “เอกสารอา้ งองิ ” ไว้กลางหน้ากระดาษขนาดตวั อกั ษร 20 พอยต์ ตัวหนา โดยเว้นขอบ กระดาษพมิ พเ์ ช่นเดยี วกบั การเรม่ิ บทใหม่ และใหเ้ ว้นระยะหา่ งจากชอื่ เอกสารอา้ งองิ 1 บรรทัด จงึ เร่มิ พมิ พบ์ รรทัดแรกของแตล่ ะรายการของเอกสารทใ่ี ช้อ้างอิง 3.12.2 ใหเ้ รยี งลาดับเอกสารอ้างอิงตามลาดบั หมายเลขที่ได้กากบั ไว้ภายในเครอ่ื งหมายวงเลบ็ สเ่ี หลี่ยม [ ] ทไ่ี ดอ้ ้างถงึ ในเนอื หาของโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี (ขอ้ 3.11) โดยไมต่ ้องเรียง ตวั อักษรและไม่ต้องใส่ วงเล็บสเี่ หล่ียม [ ] 3.12.3 การอา้ งองิ ไม่ตอ้ งแยกภาษาและประเภทของเอกสาร 3.12.4 ใหพ้ ิมพห์ มายเลขของเอกสารทกุ ฉบบั ชิดกบั ขอบกระดาษด้านซ้าย 3.12.5 ถ้าขอ้ ความในเอกสารอา้ งอิงข้อใดขอ้ หนง่ึ มีความยาวมากกว่าหน่ึงบรรทัด ให้พิมพ์บรรทัด ถัดไปโดยยอ่ หน้าเวน้ ระยะ 1.5 เซนตเิ มตร (0.59 นวิ ) 3.12.6 กรณีการอา้ งองิ หนังสอื หลายเล่มท่ีมผี ้แู ต่งเป็นช่ือเดยี วกนั ให้เขยี นชือ่ ผแู้ ตง่ เฉพาะเลม่ แรก เลม่ ตอ่ ๆ ไป ใหข้ ีดเสน้ ใตย้ าว 1.5 เซนติเมตร (0.59 นวิ ) แลว้ ตามดว้ ยเคร่ืองหมายมหพั ภาค (.) และ

27 ใหเ้ รยี งลาดบั งานของผูแ้ ตง่ คนเดียวกันตามลาดบั เวลาของผลงาน หรอื ลาดบั ตัวอักษรของชือ่ ผลงาน หมายเหตุ เมื่อใชว้ ิธีการเขยี นรายการอา้ งองิ วธิ ีใดแล้วใหใ้ ช้วธิ กี ารนนั ตลอดทงั เลม่ 3.13 การเขยี นรายการบรรณานกุ รมหรือเอกสารอ้างองิ ท้ายเลม่ การเขียนรายการอา้ งอิงในสว่ นท้ายไมว่ ่าในเนือหาข้อความท่ผี ูว้ ิจัยได้อา้ งจากเอกสารตา่ ง ๆ แบบตัวเลข หรือแบบนาม-ปใี หใ้ ชว้ ธิ ีเดียวกัน โดยมหี ลกั เกณฑใ์ นการเขยี นรายการจาแนกตาม ประเภทของเอกสารคือ หนงั สอื บทความ บทวิจารณ์ วิทยานิพนธ์ บทคัดยอ่ เอกสารอัดสาเนา สิทธบิ ัตร สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และเอกสารทีไ่ ม่ได้ตพี มิ พอ์ ืน่ ๆ ตลอดจนการสมั ภาษณ์ โดยมสี าระดงั นี 1. การเขยี นบรรณานุกรมจะตอ้ งมีการอา้ งองิ บอกแหลง่ ทมี่ าของข้อมูลซ่ึงจะปรากฏอยใู่ น บรรณานุกรมทา้ ยเลม่ 2. การอ้างองิ บรรณานุกรม เปน็ การอา้ งอิงแหลง่ สารนิเทศซงึ่ เป็นทฤษฎี ขอ้ มลู ความร้เู พอื่ นามาประกอบในผลงานทางวิชาการ เพื่อบอกแหล่งทีม่ าของข้อมูล ซงึ่ เปน็ การให้เกยี รติแกเ่ จา้ ของ ผลงานนัน การเขยี นบรรณานกุ รม อาจทาได้ 2 รูปแบบ 1. แบบของสมาคมจติ วิทยาอเมรกิ ัน (American Psychological Association) หรือ เรียกวา่ “APA Style” เปน็ ท่นี ยิ มใชเ้ ขยี นกนั ในงานดา้ นสงั คมศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 2. แบบของสมาคมภาษาสมยั ใหม่ (Modern Language Association) หรอื เรยี กว่า “MLA Style” เปน็ ที่นยิ มใช้เขยี นกันในงานด้านมนุษยศาสตร์ โดยเฉพาะดา้ นภาษาและวรรณคดี การเขยี นบรรณานุกรมไม่วา่ จะเขียนเป็นแบบใด มกี ารกาหนดแบบแผน หลกั เกณฑก์ ารเขยี น แตกต่างกนั ไป ดังนัน เม่อื ใช้แบบใดแบบหนงึ่ แลว้ ควรใชแ้ บบเดียวกันตลอดเลม่ การพิมพบ์ รรณานุกรมหรือเอกสารอา้ งองิ ให้เว้นระยะในการพมิ พเ์ คร่อื งหมายวรรคตอน ดงั นี - หลังเครื่องหมายมหพั ภาค (.- Period) เว้น 2 เคาะ (ยกเวน้ ช่อื ย่อผูแ้ ตง่ ภาษาองั กฤษ ให้ เวน้ 1 เคาะ) - หลงั เครอื่ งหมายจลุ ภาค (,- Comma) เว้น 1 เคาะ - หลงั เคร่อื งหมายอฒั ภาค (;- Semi-colon) เว้น 1 เคาะ - หนา้ และหลงั เคร่อื งหมายมหัพภาคคู่ แบบเอพเี อ (American Psychological Association) หนังสอื ชือ่ ผูแ้ ต่ง. (ปที พ่ี มิ พ)์ . ชอื่ เร่ือง. ครังท่ีพมิ พ.์ จานวนเลม่ . (ถ้าม)ี สถานท่พี มิ พ์ : โรงพมิ พ์.

28 ชื่อเรื่อง ช่อื หนังสอื ชอื่ วารสาร ชื่อวทิ ยานพิ นธ์ ฯลฯ ใหเ้ น้นขอ้ ความโดยเลือกพมิ พด์ ้วย ตวั หนา (Bold) หรือขีดเสน้ ใต้ (Under Line) หรอื ตวั เอน (Italic) ตามความเหมาะสม แตใ่ หเ้ ป็นแบบ เดยี วกนั ตลอดทงั เล่ม (ในคมู่ อื ฉบบั นี ใชว้ ธิ กี ารขดี เสน้ ใต)้ - ผแู้ ต่ง 1 คน กจิ คณติ พงศ์ อนิ ทอง. (2552). เทคนิคการเขยี นบนั ทึกเสนอ และการเกษียณหนงั สอื . พิมพค์ รังที่ 1. จานวน 5,000 เล่ม. กรุงเทพมหานคร : หา้ งห้นุ สว่ นจากดั ภาพพิมพ.์ มนตช์ ัย เทยี นทอง. (2555). ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางคอมพิวเตอร์ศกึ ษา. พิมพค์ รงั ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท แดเน็กซอ์ ินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จากดั . สุเมธ ศริ คิ ณุ โชติ. (2559). ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ : หลกั การและหลกั ปฏิบตั ิในทางระหว่างประเทศ. พิมพ์ ครงั ท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร : วิญญูชน. สมพงษ์ พรอุปถมั ภ.์ (2559). รทู้ นั รายงานทางการเงินและเข้าถงึ รายงานของผสู้ อบบัญชี. พิมพค์ รังที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . - ผแู้ ต่ง 2 คน ปกรณ์ เพ็ญภาคกลุ และศลิ ปะพร ศรีจั่นเพชร. (2559). แนวการจัดทากระดาษทาการของผสู้ อบ บัญชภี าษีอากร. พพิ มค์ รังที่ 1. กรงุ เทพมหานคร : ห้างห้นุ สว่ นจากัด ทีพเี อ็นเพรส สมวงศ์ พงศ์สถาพร และสุนทร เลาหพฒั นวงศ์. (2551). CRM เกมครองใจลกู ค้า. กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . นภาลัย สวุ รรณธาดา และอดุล จนั ทรศกั ด.์ิ (2554). เทคนคิ การเขียนหนงั สอื ราชการ หนงั สอื โตต้ อบ และรายงานการประชุม. พมิ พ์ครงั ท่ี 7 (ปรบั ปรุงแก้ไข). กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจากัด ภาพพิมพ์. Gorman Gary, E. and Clayton Peter. (2005). Qualitative Research for the Information Professional: A Practical Handbook. 2nd ed. London : Facet Publishing. - ผแู้ ต่ง 3 คน วฒั นา วริ ิยะดนตร,ี สุปกติ ประตมิ ากรณ์ และศริ ชิ ัย มงคลสทิ ธ.์ิ (2542). ค่มู ือการเรยี นรู้โปรแกรม Photoshop 5 technic. กรงุ เทพมหานคร : Imagination. สรติ า ธีระวฒั นส์ กลุ , จริ าพร สวุ รรณธรี างกลู และวราภรณ์ ปัญณวลี. (2549). การด่ืมและมาตรการ เพอื่ ลดการด่มื สรุ า : กรณีศกึ ษา 2 ชมุ ชนภาคเหนอื . กรงุ เทพมหานคร : ศูนยว์ จิ ัยปญั หาสรุ า.

29 Skoog, D. A., West Donald, M. and Holler, F. James. (1990). Analytical Chemistry : An Introduction. 5th ed. Philadelphia : Saunders College. - ผูแ้ ต่ง 4 คน หรือมากกวา่ 4 คน ชนงกรณ์ กณุ ฑลบุตร และคนอื่น ๆ. (2546). หลกั การจัดการ. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล. กิติพงศ์ อรุ พพี ฒั นพงศ์ และคณะ. (2550). การควบรวบกจิ การ โอกาสของธรุ กจิ ไทย. กรงุ เทพมหานคร : ตลาดหลกั ทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย. เข็มเพชร เจรญิ รัตน์ และคนอ่ืน ๆ. (2557). การเงนิ ธุรกจิ . พิมพ์ครงั ท่ี 4. กรงุ เทพมหานคร : ฟูจซิ รี ็อกซ.์ สมเดช โรจนค์ ุรเี สถยี ร และคณะ. (2557). แตกประเดน็ การวางแผนภาษีหัก ณ ที่จ่าย อยา่ งเหนือ ชนั . พิมพค์ รงั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : ธรรมนิติ เพรส. - ผแู้ ต่งท่ีเป็นนติ ิบุคคล ชื่อนติ ิบุคคล, ฐานะของหนว่ ยงาน. (ปีท่พี มิ พ)์ . ชื่อหนงั สือ. ครังทพี่ มิ พ์. สถานที่พมิ พ์ : โรงพมิ พ์. การลงชอื่ ผูแ้ ต่งท่ีเปน็ นิติบคุ คล ไดแ้ ก่ หน่วยราชการ สถาบนั การศกึ ษา รฐั วิสาหกิจ สมาคม เป็นต้น ใหล้ งช่อื หนว่ ยงาน คน่ั ด้วยเคร่ืองหมายจลุ ภาค (,) และตามด้วยฐานะของหนว่ ยงาน เช่น การศกึ ษานอกโรงเรยี น, กรม หรือแรงงานและสวสั ดิการสังคม, กระทรวง พัฒนาและส่งเสริมพลงั งาน, กรม. (2542). กฎกระทรวง ออกตามความในพระราชบัญญตั ิการ สง่ เสรมิ การอนุรกั ษ์พลงั งาน พ.ศ. 2535. กรงุ เทพมหานคร : กรมพฒั นาและสง่ เสรมิ พลงั งาน. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาต.ิ (2540). ระบบการประเมินคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาแหง่ ชาติ. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชวนพมิ พ์. ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พมิ พ์ครงั ที่ 1. จานวน 100,000 เลม่ . กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ศริ ิวฒั นาอนิ เตอรพ์ รินท์ จากดั . ควบคมุ มลพิษ, กรม. (2548). ค่มู อื แนวปฏบิ ัติท่เี หมาะสมสาหรบั เกษตรกรในการเลยี งสัตว์นาจืด และการจดั การสงิ่ แวดล้อม. กรงุ เทพมหานคร : กรมควบคุมมลพษิ . สถาบนั พฒั นาความรู้ตลาดทนุ ตลาดหลักทรัพย์แหง่ ประเทศไทย. (2550). การประเมินมลู คา่ ตราสารทุน. กรงุ เทพมหานคร : ฝ่ายสื่อความรู้และส่ิงพมิ พ์ ตลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศ ไทย.

30 Institution of Civil Engineers and the Faculty and Institute of Actuaries. (2005). RAMP: Risk Analysis and Management for Project. London : Thomas Telford. Institute of Electrical Engineers. (1994). Energy Storage for Power Systems. London : Peter Peregrinus. - ผู้แตง่ คนเดยี วกันหรอื คณะเดยี วกัน ในปเี ดยี วกัน อรรถกร เกง่ พล. (2553 ก). การตัดสินใจเกณฑ์พหคุ ณู เลม่ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : ศนู ย์ผลิต ตาราเรยี น มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนอื . . .(2553 ข). การตดั สินใจเกณฑ์พหุคณู เล่มที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ศนู ยผ์ ลติ ตาราเรยี น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนอื . Ruth Karola Westheimer. (2000 a). Grandparenthood. New York : Routledge. . .(2000 b). The Art of Arousal: A Celebration of Erotic Art Throughout History. (n.p.) : Madison Books. - ผู้แต่งที่เป็นพระมหากษัตริย์ พระราชินี พระบรมวงศานวุ งศ์ และผู้แตง่ ทมี่ ีราชทินนาม ฐานันดร ศักดิ์ สมณศกั ดิ์ ใหใ้ ส่ราชทนิ นาม ฐานันดรศักดิ์ สมณศกั ดิ์ นนั ไว้ข้างหลงั ช่อื โดยหลงั ชือ่ ผแู้ ตง่ ใหใ้ ส่ เครือ่ งหมายจลุ ภาค (,) เชน่ ดารงราชานภุ าพ, สมเด็จกรมพระยา ปรมานชุ ิตชโิ นรส, สมเดจ็ กรมพระ, เดชาดศิ ร, สมเดจ็ กรมพระ และภวู เนตรนรินทรฤทธิ์, กรมหลวง. (ร.ศ.124). คาฤษฎี. พระนคร : โรงพิมพบ์ ารงุ นกุ ลู กจิ . เทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ าร,ี สมเด็จพระ. (2550). เขาว่ากันวา่ หรือข้อมูลตามทาง. กรุงเทพมหานคร : โครงการส่งเสรมิ อาชพี ตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร.ี พทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช, พระบาทสมเดจ็ . (2540). บทละครเรอ่ื งรามเกียรตพ์ิ ระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช. 4 เลม่ . พมิ พค์ รังท่ี 9. กรุงเทพมหานคร : กรมศลิ ปากร. - สว่ นคานาหนา้ นาม เช่น นาย นาง นางสาว ตาแหนง่ ทางวิชาการ อาชพี หรอื ยศ ไมต่ ้องระบุ เช่น พล.ต.อ.วสษิ ฐ์ เดชกญุ ชร ใหเ้ ขียนเป็น วสษิ ฐ์ เดชกญุ ชร ยกเว้น นามแฝง เชน่ ว.วินิจฉัยกลุ , ดร.ป๊อป, หลังชอ่ื ผ้แู ต่งให้ใสเ่ ครอ่ื งหมายมหัพภาค (.) สาโรจน์ โอพิทกั ษช์ วี ิน. (2546). แผนธุรกิจท่ีประสบความสาเรจ็ . กรงุ เทพมหานคร : โนเบลิ บคุ๊ .

31 พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2545). ภยั แหง่ พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย. กรงุ เทพมหานคร : มูลนิธิพุทธธรรม. ว.วชริ เมธี. ธรรมะตดิ ปกี . (2550). พมิ พค์ รงั ที่ 17. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์. - ไม่ปรากฏช่ือผ้แู ตง่ มีแตผ่ ู้ทาหน้าท่ีบรรณาธกิ าร ชอื่ บรรณาธกิ าร. (บรรณาธกิ าร). (ปที ีพ่ ิมพ)์ . ชอ่ื หนงั สอื . ครังท่พี มิ พ์. สถานท่ีพมิ พ์ : โรงพมิ พ์. มทั นา หาญวนชิ ย์ และอุษา ทิสยากร. (บรรณาธกิ าร). (2535). เอดส์ : การดูแลรักษา. พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ดไี ซร์. ณฏั ฐภทั ร จันทวชิ . (บรรณาธิการ). (2549). พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั กบั มรดกของ แผ่นดนิ . กรุงเทพมหานคร : สานกั พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร. Kellner, R. (editor). (1998). Analytical Chemistry: The Approved Text to the FECS Curriculum Analytical Chemistry. Weinheim : Wiley. Bradley Phil. (ed.). (2000). The Business and Economy Internet Resource Handbook. London : Library Association Publishing. - ไม่ปรากฏชือ่ ผู้แตง่ ชื่อหนังสอื . (ปีท่พี มิ พ์). ครงั ทพ่ี มิ พ์. สถานที่พิมพ์ : โรงพิมพ์. 65 เร่อื งนา่ รเู้ ทคนคิ เครือ่ งกล. (2533). กรงุ เทพมหานคร : ซเี อ็ดยูเคช่นั . เขือ่ นป่าสกั ชลสิทธ์ิ : บนสน้ ทางการพัฒนาอาเภอทา่ หลวง. (2542). กรงุ เทพมหานคร : กลุม่ วงั ขนาย. 15 ปีซไี รต.์ (2536). กรงุ เทพมหานคร : สมาคมภาษาและหนงั สือแหง่ ประเทศไทย. - หนังสอื ท่ไี ม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ สานกั พมิ พ์ ปีทพ่ี ิมพ์ ชื่อผแู้ ตง่ . (ปีทพ่ี มิ พ)์ . ชอื่ เรอื่ ง. ครงั ทีพ่ มิ พ.์ จานวนเลม่ . (ม.ป.ท.). ชอ่ื ผู้แตง่ . (ปีที่พมิ พ์). ชือ่ เรือ่ ง. ครงั ทีพ่ มิ พ.์ จานวนเล่ม. สถานทีพ่ ิมพ์ : (ม.ป.ท.). ชื่อผู้แตง่ . (ม.ป.ป.). ชอ่ื เรื่อง. ครังทพ่ี มิ พ์. จานวนเลม่ . (ม.ป.ท.) : สานกั พิมพ.์ ชอ่ื ผแู้ ต่ง. (ม.ป.ป.). ชอ่ื เรือ่ ง. ครังท่ีพมิ พ์. จานวนเลม่ . (ม.ป.ท.). ภาษาองั กฤษ ไมป่ รากฏสถานทพ่ี มิ พ์ สานกั พมิ พ์ ใหพ้ มิ พ์คาว่า (n.p.). ไม่ปรากฏปีที่พมิ พ์ ใหพ้ มิ พ์คาว่า (n.d.). บญุ ใจ ศรสี ถิตย์นรากรู . (2545). ระเบยี บวิธีการวจิ ยั ทางพยาบาลศาสตร์. (ม.ป.ท.).

32 พัฒนา สขุ ประเสริฐ. (ม.ป.ป.). กลยทุ ธใ์ นการฝกึ อบรม. พมิ พค์ รังที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สานักพมิ พม์ หาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. ฐีระ ประวาลพฤกษ.์ (ม.ป.ป.). การพฒั นาบคุ คลและการฝกึ อบรม. (ม.ป.ท.). ประคอง กรรณสูต. (2542). สถิติเพอ่ื การวิจยั ทางพฤตกิ รรมศาสตร์. (ม.ป.ท.) : ศูนยห์ นังสือแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. การอา้ งองิ สองทอด ในกรณีที่ไมส่ ามารถสบื ค้นจากเอกสารต้นฉบับ แต่ได้สบื คน้ จากเอกสารทผ่ี ู้อน่ื ได้อ้างองิ ไว้ แลว้ (Secondary Source) สามารถเขียนได้ 2 แบบ ดงั นี แบบ 1 การอ้างอิงผ้แู ต่งทน่ี าผลงานผ้อู ืน่ มาอ้างองิ ใหร้ ะบชุ ื่อผู้แต่งเอกสารอนั ดบั รอง ตามด้วยคา “อ้างถงึ ” แล้วระบุชอ่ื ผแู้ ตง่ เอกสารอนั ดบั แรก ซงึ่ รูปแบบการอา้ งองิ เอกสารอันดบั แรกและอนั ดบั รองใหเ้ ป็นไปตามประเภท ของเอกสารนัน ๆ จนั ทรพ์ ร ชว่ งโชติ และนฤมล ศราธพันธ.ุ์ (2549). “การประกอบธุรกจิ ขนาดยอ่ มของนักคหกรรม ศาสตร์ : กรณศี ึกษาผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาดา้ นคหกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.” วทิ ยาสารเกษตร. 27 (1) : 51-57 อ้างถึง R. Luis and B. David. (2002). Management. New York : McGraw Hill, Inc. สายจติ ต์ เหมนิ ทร์. (2507). การเสียรัฐไทรบรุ ี กลนั ตัน ตรังกานแู ละปะลสิ ของไทยใหแ้ กอ่ งั กฤษ ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว. วิทยานพิ นธ์อักษรศาสตรมหาบณั ฑติ แผนกวิชาประวตั ศิ าสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั อ้างถงึ อนุมานราชธน, พระยา. (2479). แหลมอินโดจนี สมัยโบราณ. พระนคร : สานกั พมิ พค์ ลงั วิทยา. แบบ 2 การอ้างองิ โดยระบชุ อื่ ผูแ้ ตง่ ตน้ ฉบบั (Original) ทีผ่ อู้ ื่นนามาอ้างองิ ต่อ ใหร้ ะบชุ อื่ ผแู้ ตง่ เอกสารอันดบั แรก ตามดว้ ยคา “อา้ งถึงใน” แล้วระบชุ อื่ ผแู้ ตง่ เอกสารอันดบั รอง ซงึ่ รปู แบบการอา้ งองิ เอกสารอนั ดบั แรกและอนั ดบั รองใหเ้ ปน็ ไปตามประเภทของเอกสารนัน ๆ อนมุ านราชธน, พระยา. (2479). แหลมอนิ โดจนี สมยั โบราณ. พระนคร : สานักพิมพ์คลงั วิทยา อา้ งถึงใน สายจิตต์ เหมินทร์. (2507). การเสียรฐั ไทรบรุ ี กลนั ตัน ตรงั กานแู ละปะลสิ ของไทยใหแ้ ก่องั กฤษในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว. วทิ ยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบณั ฑติ แผนกวชิ าประวัติศาสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .

33 หนงั สอื แปล ช่ือผแู้ ต่งดังเดมิ . (ปที พี่ ิมพฉ์ บบั แปล). ชื่อหนงั สอื ฉบับแปล. แปลโดย ชือ่ ผ้แู ปล. ครังที่พิมพ์. สถานทพ่ี มิ พ์ : โรงพมิ พ์. วิลเลย่ี ม สตีเวนสนั . (2539). นายอนิ ทรผ์ ู้ปดิ ทองหลงั พระ. ทรงแปลโดย พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวภูมพิ ลอดลุ ยเดช. กรงุ เทพมหานคร : อมรินทรพ์ รินตงิ แอนดพ์ ับลิชช่ิง. บัน คาซมึ ะ. (2546). สกู่ ารเป็นผู้นาในการใช้ ERP (Enterprise Resource Planning). แปลโดย อทิ ธิ ฤทธาภรณ์. กรงุ เทพมหานคร : สานกั พมิ พส์ มาคมส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญ่ปี ่นุ ). คูโดฮาตะ, ชี. (2549). คิระ คิระ งามระยบั ดงั่ ดวงดาว. แปลโดย สดุ ากาญจน์ ปทั มดลิ ก กรุงเทพมหานคร : มติชน. หนังสือรายงานการวจิ ัยหรอื รายงานทางเทคนิคทมี่ ีชอื่ ชุด ชอ่ื ผแู้ ตง่ . (ปที พี่ มิ พ์). ชื่อหนงั สือ. (ชอ่ื ชดุ ). ครังทพ่ี มิ พ์. สถานที่พิมพ์ : โรงพมิ พ์. หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ กรมการฝึกหดั คร.ู (2531). อาหารและโภชนาการ. (เอกสารการนเิ ทศ การศึกษา ฉบบั ท่ี 108). พิมพค์ รงั ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : หน่วยศกึ ษานิเทศก์ ราชกจิ จานุเบกษา ราชกจิ จานเุ บกษา. (วัน เดอื น ปที ่ีประกาศใช)้ . ชอ่ื กฎ, ระเบียบ, ประกาศ, ข้อบงั คับ, คาสั่ง. ชื่อเร่ือง. เล่ม ตอนที่ : เลขหนา้ . ราชกิจจานเุ บกษา. (วันที่ 25 พฤษภาคม 2548). ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ. เกณฑม์ าตรฐาน หลักสูตรระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2548. เลม่ 122 ตอนพิเศษ 39 ง : 20-31. . (วันท่ี 5 กมุ ภาพันธ์ 2551). กฎกระทรวง. ว่าดว้ ย การจดั การศกึ ษานอกสถานท่ตี ัง ของสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชน พ.ศ. 2551. เลม่ 125 ตอนพิเศษ 28 ก : 134-136. วทิ ยานิพนธ์/สารนพิ นธ์/ปริญญานิพนธ์ในสถาบนั อุดมศึกษา ชอื่ ผู้แต่ง. (ปีทพี่ มิ พ)์ . ชือ่ เร่อื งวทิ ยานพิ นธ.์ ระดบั วทิ ยานพิ นธ์ สาขาวชิ า ภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัย/สถาบัน. อนิรทุ ธ์ สตมิ นั่ . (2550). ผลการใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบโครงงาน บนเครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ ทมี่ ีการเรยี นรแู้ บบนาตนเองและผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของ นกั ศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา. ปรญิ ญานิพนธก์ ารศกึ ษาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี การศกึ ษา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.

34 ธนาพร เพชรกูล. (2557). สายอากาศเรโซเนเตอร์อนั ดับทศี่ นู ย์ทใี่ ชแ้ พทซ์เยรูซาเลมบนพนื ฐาน โครงสรา้ งเสมอื นเหด็ . วิทยานพิ นธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา้ และคอมพิวเตอร์ บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . การสมั ภาษณ์ ช่อื ผใู้ ห้สมั ภาษณ์. (วนั เดือน ปีทส่ี มั ภาษณ)์ . ตาแหนง่ ผูใ้ หส้ ัมภาษณ์.(ถา้ มี) สมั ภาษณ.์ ปริญญา จนิ ดาประเสริฐ. (วันท่ี 20 สงิ หาคม 2542). อธิการบดี มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. สัมภาษณ์. แม้นมาส ชวลิต, คณุ หญงิ . (วนั ที่ 11 มนี าคม 2537). นายกสมาคมหอ้ งสมดุ แห่งประเทศไทย. สัมภาษณ์. สวุ รรณ จันทวิ าสารกจิ . (วันท่ี 28 ตลุ าคม 2548). วิศวกรระบบ บริษัท ท-ู บ-ี วนั เทคโนโลยี จากัด. สัมภาษณ.์ บทความที่พมิ พ์เผยแพร่ - บทความในหนังสอื รวบรวมบทความ ชอื่ ผแู้ ตง่ . (ปีท่พี มิ พ)์ . “ชอื่ บทความ.” ชอื่ หนงั สอื . เลขหน้า. ช่อื บรรณาธกิ ารหรือผรู้ วบรวม. สถานทพ่ี ิมพ์ : โรงพิมพ.์ บุนนาค พยัคเดช. (2506). “พุทธศาสนากับมรรยาทประจาวัน.” พทุ ธศาสนากา้ วหน้า. 445-448. รวบรวมและจดั พิมพโ์ ดย ทวน วริ ยิ าภรณ์. ธนบรุ ี : ป. พศิ นาคะการพิมพ.์ - บทความจากวารสารและจลุ สาร ชอ่ื ผแู้ ตง่ . (ปที พ่ี มิ พ์). “ช่อื บทความ.” ชอ่ื วารสารและจุลสาร. ปที ห่ี รือเล่มท่ี ฉบับท่ี : เลขหนา้ . วัฒนา แกว้ มณ.ี (2556). “แบบจาลองเซลล์เชือเพลงิ ชนดิ PEM อยา่ งง่ายสาหรับวศิ วกรไฟฟา้ .” วารสารวิชาการครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . ปีท่ี 4 ฉบบั ท่ี 1 : 122-129. เอียน สมทิ และอนงค์ วิเศษสุวรรณ.์ (2550). “การจัดการเรยี นรู้ทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ.” วารสารศกึ ษาศาสตร์. ปที ่ี 18 ฉบับท่ี 2 : 1-10. - บทความในหนงั สอื พมิ พ์ ชื่อผเู้ ขยี น. (วนั เดือน ปที ีพ่ มิ พ์). “ชือ่ บทความหรอื ชอื่ ขา่ ว.” ชอื่ หนงั สอื พมิ พ์ : เลขหน้า. พัฒนพ์ งษ์. (วนั ท่ี 10 พฤษภาคม 2519) “อปุ สรรคในการรวมเวียดนาม.” สยามรฐั : 11.

35 สาธติ บุษบก. (วันที่ 22 มิถุนายน 2552). “พบฟอสซลิ เต่าสกลุ ใหม่ และชนดิ ใหม่ของโลกในไทย.” ไทยรัฐ : 5. - บทความในสารานุกรม ชื่อผูแ้ ตง่ . (ปีท่พี มิ พ)์ . “ช่ือบทความ.” ชือ่ สารานกุ รม. เลม่ ท่ี. เลขหนา้ . เจรญิ อนิ ทรเกษตร. (2515-2516). “ฐานันดร.” สารานกุ รมไทยฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน. เลม่ ท่ี 11. 6912-6930. วิกรม เมาลานนท์. (2516-2517). “ทอดตลาด.” สารานกุ รมไทยฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน. เล่มท่ี 13. 8453-8460. -บทวิจารณ์หนงั สือ (Book Reviews) ผเู้ ขยี นวจิ ารณ์. (เดือน ปที พี่ มิ พ์). วจิ ารณเ์ ร่อื ง ชื่อหนังสอื ท่วี จิ ารณ.์ โดย ชื่อผู้แต่ง. ช่อื วารสาร. ปที ี่ : เลขหน้า ชานาญ นาคประสม. (มถิ นุ ายน-สงิ หาคม 2510). วจิ ารณ์เรอ่ื ง ลายมอื สยาม. โดย สลุ ักษณ์ ศวิ ลกั ษณ.์ สงั คมศาสตร์ปริทศั น์. ปีที่ 5 : 139-141. เกศินี หงสนันท.์ (กรกฎาคม 2517). วิจารณเ์ รอ่ื ง การวดั ในการจัดงานบุคคล. โดย สวสั ดิ์ สุคนธรงั สี. วารสารพฒั นบรหิ ารศาสตร์. ปที ่ี 14 : 379-381. หนังสือรายงานการประชมุ เอกสารการประชมุ วิชาการ (Conference Proceedings) ชอ่ื ผจู้ ดั ทาหรอื บรรณาธิการ. (ปที พ่ี ิมพ์). ช่ือหนังสือ. ชอื่ การประชุม. สถานทพี่ มิ พ์ : โรงพมิ พ.์ ชื่อผู้เขยี นบทความ. (ปที ี่พิมพ)์ . “ชอื่ บทความ.” ใน ชือ่ หนังสือ. ชอ่ื บรรณาธิการหรอื ผรู้ วบรวม. (ถา้ มี) ครังท่ีพมิ พ์.(ถ้ามี) สถานทพี่ มิ พ์ : สานักพมิ พ์, เลขหน้า. ณรงค์ โฉมเฉลา. (2542). เทคโนโลยสี ารสนเทศสาหรบั บณั ฑติ ศึกษาในศตวรรษที่ 21. การประชมุ ประจาปีของคณบดบี ณั ฑิตวิทยาลยั แห่งประเทศไทยและการสัมมนาทางวิชาการ ครงั ท่ี 16. กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพม์ หาวทิ ยาลัยอสั สมั ชญั . บทความ/เอกสารทีน่ าเสนอในการประชมุ วิชาการ (Conference Papers) - กรณีท่ีรวมจดั พิมพเ์ ป็นเล่ม มีหวั ข้อการประชุมหรือชื่อการประชมุ ชอื่ ผู้เขยี น. (ปีทพี่ ิมพ์). “ชือ่ เรอื่ งบทความ/เอกสาร.” ใน ชือ่ หัวข้อการประชุมหรือชือ่ การประชมุ . สถานท่ีพมิ พ์ : โรงพิมพ,์ (เลขหนา้ ).

36 วิภา โกยสุโข. (2538). “ระบบห้องสมุดอัตโนมตั .ิ ” ใน ห้องสมดุ อัตโนมัติ : แนวทางการพฒั นา. พษิ ณโุ ลก : งานสง่ เสรมิ การผลติ ตารา กองบรกิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยนเรศวร, (20-34). - กรณีทร่ี วมจัดพิมพเ์ ป็นเล่ม ไมม่ หี ัวข้อการประชุมและมเี ฉพาะช่อื การประชมุ ช่อื ผู้เขยี น. (ปที พี่ ิมพ์). “ช่อื เร่อื งบทความ/เอกสาร.” ใน ช่ือการประชุม. สถานทีพ่ ิมพ์ : โรงพมิ พ,์ (เลขหนา้ ). ธรี วัฒน์ เบญ็ จวิไลกลุ . (2554). “ระบบควบคมุ การแสดงอารมณ์ด้วยภาษาท่าทางของหุน่ ยนต์.” ใน การประชุมวิชาการเครอื ขา่ ยวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย ครังที่ 25 (19-21 ตลุ าคม 2554). (ม.ป.ท.), (DRC 8). สมมารถ ขาเกลยี ง. (2552). “การพัฒนารปู แบบการวิเคราะห์คลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ เพอื่ ประยุกต์ ใชก้ ับการศึกษาวงจรคลื่นระนาบไมโครเวฟร่วมกบั การเรยี นการสอนแบบซเี ดยี .” ใน การประชุมเสนอผลงานวจิ ัยระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั ท่ี 14 มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื วนั ท่ี 10-11 กนั ยายน 2552. กรงุ เทพมหานคร : หจก. สหพัฒนไพศาล, (27). - กรณเี ป็นเอกสารเสนอในการประชุม/สัมมนา ท่ีไม่ได้จดั พิมพเ์ ป็นเลม่ ชือ่ ผเู้ ขยี น. (ปที พี่ ิมพ)์ . ชอื่ เรอ่ื งเอกสาร. เอกสารประกอบการประชมุ /สัมมนา...... . สถานทป่ี ระชุม , เดอื น. บัญชร แก้วส่อง. (2540). บทบาทและแนวทางส่งเสรมิ องคก์ รทอ้ งถิน่ ในการจัดการปา่ อยา่ งยงั่ ยนื . เอกสารประกอบการสมั มนาทางวิชาการเรอ่ื ง เขตกันชน : ยทุ ธวิธีส่กู ารจัดการปา่ อยา่ ง ยง่ั ยนื . กรงุ เทพมหานคร สมาคมอนรุ ักษศ์ ิลปกรรมและสิ่งแวดล้อม ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ แฟ้มข้อมูลและโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (Electronic Document) - บทความวารสารเผยแพรบ่ นอินเทอร์เน็ต มฉี บบั ที่เป็นส่งิ พิมพ์ (Printed Version) ชื่อผูแ้ ต่ง. (ปที อี่ อนไลน์). [วารสารออนไลน]์ . “ชอื่ เรือ่ ง.” ชื่อวารสาร. ฉบับที่ ปที ี่หรอื เล่มท่ี : เลขหน้า. จุฑามาส สรุปราษฎร.์ (2555). [วารสารออนไลน]์ . “การประยกุ ต์ใชส้ ถิติ MANOVA กบั การวจิ ัย ทางการศกึ ษา.” นติ ยสาร สสวท. ฉบับท่ี 175 ปีท่ี 40 : 54-57. สาทสิ อินทรกาแหง. (2555). [วารสารออนไลน]์ . “เกร็ดสุขภาพ.” ชีวจิต. ฉบับท่ี 331 ปที ี่ 14.

37 - บทความวารสารเผยแพร่บนอินเทอรเ์ นต็ ไมม่ ฉี บับท่เี ป็นส่ิงพมิ พ์ ชอ่ื ผแู้ ต่ง. (ปีที่ออนไลน)์ . [วารสารออนไลน์]. “ช่ือเรื่อง.” ช่อื วารสาร. [สืบคน้ วนั เดือน ปีท่อี ้าง]. จาก URL “เดิมพันครังใหม่ SHISEIDO MEN ตลาดนีเราจอง.” (2547). [วารสารออนไลน]์ . Positioning Magazine. [สืบคน้ วันที่ 11 มีนาคม 2551]. จาก http://www.positioningmag.com/ Magazine/Details.aspx?id=27382 - บทความหนังสือพิมพ์เผยแพรบ่ นอินเทอรเ์ น็ต ชื่อผแู้ ต่ง. (ปีท่ีออนไลน์). [วารสารออนไลน์]. “ช่ือเรอ่ื ง.” ช่ือหนังสือพมิ พ.์ [สืบคน้ วนั เดอื น ปที อี่ ้าง]. จาก URL เพญ็ พชิ ญา เตียว. (24 กรกฎาคม 2545). [วารสารออนไลน์]. “มนี าใชใ้ นสวนทังปดี ้วยวธิ รี ะบบฉดี ฝอย.” ไทยรฐั . [สืบค้นวนั ท่ี 15 มกราคม 2546]. จาก http://www.avantgothai.com/ mazingo/news/thairath/agricult/agr1.html. - บทคัดย่อวิทยานพิ นธ์/สารนพิ นธ์/ปริญญานพิ นธเ์ ผยแพร่บนอินเทอรเ์ นต็ ชอ่ื ผู้แต่ง. (ปที อ่ี อนไลน)์ . [บทคดั ย่อออนไลน]์ . ชื่อเรอื่ งวทิ ยานพิ นธ/์ สารนิพนธ์/ปริญญานิพนธ์. ระดับวทิ ยานิพนธ์ สาขาวชิ า ภาควิชา คณะ มหาวทิ ยาลยั /สถาบัน. [สืบค้นวนั เดือน ปที ่ี อา้ ง]. จาก URL สธุ ิดา ชยั ชมชืน่ . (2553). [บทคดั ย่อออนไลน]์ . การพัฒนาระบบปรับกจิ กรรมการเรียนแบบ ออนไลน์บนพนื ฐานกระบวนการจัดการความรู้ สาหรบั หลักสูตรผลติ ครชู า่ งอตุ สาหกรรม. วิทยานิพนธป์ รัชญาดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา ภาควิชาคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนอื . [สืบค้นวันท่ี 20 สิงหาคม 2555]. จาก http://thailis.or.th/tdc/search_result.php. - เอกสารประกอบการสอนเผยแพรบ่ นอินเทอร์เน็ต ชอ่ื ผ้แู ตง่ . (ปที อ่ี อนไลน)์ . [ออนไลน]์ . ชื่อเรือ่ ง. (ลักษณะของเอกสาร). [สบื คน้ วัน เดอื น ปที อ่ี ้าง]. จาก URL สจุ ิตรา สว่างโรจน.์ (2551). [ออนไลน]์ . ประโยคในภาษาไทย. (บทเรียนวชิ าภาษาไทย). [สืบคน้ วันท่ี 10 มกราคม 2551]. จาก http://www.thaieclass.com/thaiwords/ varee.html

38 หลักภาษาไทยในชีวิตประจาวัน. (2551). [ออนไลน์]. (เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ รายวชิ า ท40105 หลกั ภาษาไทยในชวี ติ ประจาวัน). [สบื ค้นวนั ที่ 10 มกราคม 2551]. จาก http://61.19.192.212/Digital/mahidol/ภาษาไทย/งานอสมศกั ด/์ิ ส่อื /ชนดิ ของคา.doc. - ขอ้ มลู จาก Website ของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ชือ่ ผู้แตง่ . (ปที อ่ี อนไลน์). [ออนไลน์]. ชอ่ื เรือ่ ง. [สบื คน้ วัน เดอื น ปีทีอ่ า้ ง]. จาก URL การสอ่ื สารแห่งประเทศไทย. (2542). [ออนไลน์]. เศรษฐกจิ พอเพยี ง. [สืบค้นวนั ที่ 18 สิงหาคม 2542]. จาก http://www.mcot.or.th/king/king_news16.html. สานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ. (2551). [ออนไลน์]. คู่มอื การประเมินผลขอ้ เสนอการวจิ ยั ของหนว่ ยงานภาครฐั ทเี่ สนอของบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ตามมติ คณะรัฐมนตร.ี [สืบคน้ วนั ท่ี 8 สงิ หาคม 2551]. จาก http://www.npu.ac.th/pdf/ 51/july/NRPM_2553.pdf. - ขอ้ มลู จาก Website ของบุคคล ไมร่ ะบแุ หล่ง/หนว่ ยงานที่สงั กัด ชือ่ ผู้แต่ง. (ปีที่ออนไลน)์ . [ออนไลน]์ . ช่อื เร่อื ง. [สบื คน้ วนั เดอื น ปที ีอ่ า้ ง]. จาก URL มีชยั ฤชุพนั ธุ.์ (8 กรกฎาคม 2545). [ออนไลน์]. ความคิดเสรีของมีชยั : การปฏิบัตติ ามคาวนิ ิจฉัย ของศาลรฐั ธรรมนญู . [สบื ค้นวนั ที่ 23 กรกฎาคม 2545]. จาก http://www. meechaithailand.com/meechai/shows.html. - ขอ้ มลู จาก Website ไมร่ ะบชุ ่ือผเู้ ขียนหรอื ผ้จู ดั ทา ชื่อเรื่อง. (ปีทอี่ อนไลน์). [ออนไลน]์ . [สบื ค้นวัน เดอื น ปีทอ่ี า้ ง]. จาก URL ไต้หวนั มุ่งตลาดกลอ้ งดจิ ิตอลแทนธุรกจิ ผลิตคอมพ์. (2544). [ออนไลน์]. [สบื ค้นวนั ท่ี 23 กรกฎาคม 2545]. จาก http://technology.mweb.co.th/hotnews/7078.html. สทิ ธบิ ัตร (Patent) ชือ่ ผูจ้ ดสทิ ธบิ ัตร. (วนั เดอื น ปที ี่ไดร้ บั การจดสทิ ธบิ ตั ร). ช่ือวิธหี รอื สง่ิ ประดิษฐ์. ประเทศที่ จด สทิ ธิบัตร หมายเลขของสทิ ธบิ ตั ร. ศูนยเ์ ทคโนโลยโี ลหะและวัสดุ สานกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาต.ิ (13 สิงหาคม 2547). กรรมวธิ ีการผลิตวัสดุตกแตง่ แผลจากอนุพันธไ์ คตนิ /ไคโตซาน. ประเทศไทย เลขที่ สทิ ธิบัตร 17473.

39 ลขิ สิทธิ์ (Copyright) ชื่อผขู้ อจดลขิ สทิ ธ.ิ์ (วัน เดอื น ปีทไ่ี ด้รบั การจดลขิ สทิ ธิ์). ช่ือผลงาน. ประเทศทจี่ ดลิขสทิ ธ์ิ ทะเบียน ข้อมูลเลขทลี่ ขิ สทิ ธิ.์ หา้ งหุน้ สว่ นจากัด แอคครที . (วนั ที่ 4 ตุลาคม 2548). โปรแกรม WISP-Management. ประเทศ ไทย ทะเบียนขอ้ มลู เลขที่ ว1.1878. มหาวิทยาลัยมหิดล และสานักงานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ. (วันที่ 24 มีนาคม 2549). โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ CephSmile. ประเทศไทย ทะเบียนข้อมลู เลขท่ี ว1.1421. แผนทภ่ี าพถา่ ยทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม ช่อื ผู้จัดทา. (ปที ่ีพมิ พ)์ . ชอื่ แผนท.ี่ มาตราสว่ น. (ถ้ามี) กรมแผนท่ีทหาร. (2517). แผนท่ีประเทศไทย ชดุ L 7017. มาตราสว่ น 1 : 50,000. กระทรวงวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละการพลงั งาน, สานักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ กองสารวจ ทรัพยากรธรรมชาติดว้ ยดาวเทียม. (2513). เมืองพิษณโุ ลกจากอวกาศภาพถ่ายจาก ดาวเทียมแลนดแ์ ซทระบบชแี มกดิ แบบเปอร์ (T. M.) (ภาพสผี สม). มาตราส่วน 1 : 50,000. สจู บิ ตั ร แผ่นพับ โฆษณา แผน่ ปลิว และเอกสารประกอบการสอนท่ไี ม่เปน็ เล่ม ชือ่ ผ้แู ต่ง. (ปีทพ่ี มิ พ)์ . ชอื่ เร่ือง. (ลกั ษณะของเอกสาร). สถานท่ีพิมพ์ : ผู้รบั ผิดชอบในการพิมพ์. มหาวทิ ยาลัยบูรพา สถาบันศลิ ปและวฒั นธรรม. (2545). ความรเู้ ร่ืองประเพณีวันสงกรานต.์ (สูจบิ ัตร). ชลบุรี : สถาบนั ศลิ ปและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั บูรพา. เทอดศักดิ์ รองวิริยะพานิช. (2547). Special Topic in Transportation Engineering. (เอกสาร ประกอบการสอน วิชา 185588 Special Topic in Transportation Engineering). กรุงเทพมหานคร : สาขาวิชาวศิ วกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนอื . ประกาศ คาสัง่ ชอ่ื หน่วยงาน. (วนั เดอื น ปที ปี่ ระกาศ หรอื มคี าสงั่ ). ช่อื เอกสาร. สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา. (วนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2552). ประกาศสานกั งาน คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาเรอื่ ง กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552.

40 .(วันที่ 12 กนั ยายน 2557). ประกาศบณั ฑิตวิทยาลยั เรอื่ ง รายชือ่ ฐานข้อมูลวารสาร วิชาการ ระดบั ปรญิ ญาดุษฎบี ณั ฑติ และระดบั ปริญญามหาบัณฑิต เพอ่ื ใช้ประกอบการ สาเร็จ การศึกษา. หนงั สอื ทพี่ มิ พ์ในโอกาสพเิ ศษ (หนังสอื งานศพ งานวนั สถาปนา กฐิน หรืออื่น ๆ) ช่ือผู้แต่ง. (ปีท่พี มิ พ)์ . ชอื่ เอกสาร. สถานทีพ่ มิ พ์ : สานกั พมิ พ.์ (ลักษณะเอกสารทพี่ ิมพ์ในโอกาส พเิ ศษ). ขจร สขุ พานิช. (2549). เมอื่ เซอร์ยอนเบารงิ เขา้ มาเจรญิ ทางพระราชไมตรี. พระนคร : โรงพมิ พ์ มหามกฎุ ราชวทิ ยาลัย. (มหามกุฎราชวทิ ยาลัย พิมพถ์ วาย หมอ่ มเจ้าชชั วลิต เกษมสันต์ ในมงคลสมัยมพี ระชนม์ 5 รอบ 12 มถิ นุ ายน 2497). มาตรฐานการทดสอบ ชอ่ื มาตรฐานการทดสอบ. ชอ่ื เรอ่ื งการทดสอบ. มยผ. 1223-51. มาตรฐานการทดสอบหาคา่ ความชนื ของไม.้ มยผ. 1227-51. มาตรฐานการทดสอบหาคา่ ความถว่ งจาเพาะของไม้. มาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม สานกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม. (ปีทอ่ี อกประกาศ). ช่ือมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ อุตสาหกรรม. เลขท่ี มอก. ชอ่ื มาตรฐานการทดสอบ. สานกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม. (2551 ก). รถจักรยานยนตเ์ ฉพาะดา้ นความปลอดภัย : สารมลพิษจากเครือ่ งยนต์ ระดบั ท่ี 6. มอก. 2350-2551. 3.14 การพมิ พภ์ าคผนวก การพมิ พภ์ าคผนวกใหพ้ ิมพ์ในหน้าถัดจากภาคเอกสารอ้างองิ ถา้ ภาคผนวกมภี าคเดียวไม่ได้ แบ่งออกเปน็ หลายภาคใหใ้ ช้เปน็ “ภาคผนวก ก” หรือ “APPENDIX A” (ไม่ใชต้ ัวหนา) โดยพิมพ์อยู่ กลางหนา้ กระดาษ บรรทัดตอ่ มาให้พมิ พช์ ื่อของภาคผนวกโดยเว้นจากบรรทัดบน 1 บรรทดั ถ้า ภาคผนวก มีหลายภาคให้ใชเ้ ปน็ ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ หรือ APPENDIX A, APPENDIX B ฯลฯ ตามลาดบั และใหข้ ึนหน้าใหมเ่ มอื่ ขึนภาคผนวกใหม่

41 3.15 การทาสาเนา การทาสาเนาให้ใชว้ ิธีอัดสาเนาโรเนยี ว ถ่ายเอกสาร พิมพอ์ อฟเซ็ตหรอื วิธอี นื่ ๆ ท่ีใหค้ วาม ชัดเจน และถูกต้องเช่นเดียวกับตน้ ฉบับโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชพี ทุกเล่มทเ่ี สนอบณั ฑติ วิทยาลยั ต้องมลี ายมอื ชื่อจรงิ ของ คณะกรรมการสอบโครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพ (ในใบรบั รองโครงการ พัฒนาทกั ษะวชิ าชีพ) และอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาโครงการ (ในบทคดั ยอ่ ) ดว้ ยปากกาหมกึ สดี า

ภาคผนวก ก ตวั อย่างการพมิ พ์โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชพี

41 การพิมพข์ ้อความปกนอกภาษาไทย ตราสถาบันฯ ใหม้ ีขนาดกว้างคูณยาว การพมิ พ์ปกนอก ให้ใช้ 3.46 x 3.48 ซม. ตัวอักษร ThaiSarabunPSK ขนาด 16 พอยต์ เว้น 1 บรรทดั 16 พอยต์ ________________________________________________ ______________________________________ _________________________ เว้นระยะเท่ากนั ใหใ้ ชต้ วั อักษร Thai SarabunPSK ขนาด 16 พอยต์ (ช่อื ผูแ้ ต่งภาษาไทย) คานาหน้าชอ่ื +ชอ่ื **นามสกุล เว้น 2 เคาะ ให้ใช้ตวั อักษร Thai SarabunPSK ขนาด 16 พอยต์ โครงการพฒั นาทักษะวชิ าชพี นเี้ ป็นสว่ นหน่งึ ของการศึกษาตามหลกั สูตร เทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวิชา การบัญชี (ต่อเน่ือง) วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาชลบุรี สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก ปีการศึกษา _________(ให้ใช้เป็นปี พ.ศ.) ลขิ สทิ ธิข์ อง สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก

42 การพมิ พ์ข้อความปกในภาษาไทย (ชื่อเรือ่ งภาษาไทย) _________________________________________________ ______________________________________ _________________________ (ชือ่ ผู้แต่งภาษาไทย) คานาหน้าชือ่ +ชอื่ **นามสกลุ โครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลกั สตู ร เทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ า การบัญชี (ตอ่ เนอ่ื ง) วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบรุ ี สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก ปีการศึกษา _________(ให้ใชเ้ ปน็ ปี พ.ศ.) ลิขสทิ ธ์ิของ สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก

43 การพมิ พ์ข้อความปกในภาษาองั กฤษ TH SarabunPSK (ชอื่ เรือ่ งภาษาอังกฤษ) _________________________________________________ ______________________________________ _________________________ (ชื่อผแู้ ต่งภาษาอังกฤษ) TITLE+NAME**SURNAME THIS PROFESSIONAL DEVELOPMENT SKILL PROJECT IN PARTIAL OF BACHELOR OF TECHNOLOGY PROGRAM IN ACCOUNTING (CONTINUING PROGRAM) CHONBURI VOCATIONAL COLLEGE INSTITUTE OF VOCATIONAL EDUCATION ; EASTERN REGION YEAR …. (ใช้ปี ค.ศ…..) COPYRIGHT INSTITUTE OF VOCATIONAL EDUCATION ; EASTERN REGION

44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook