Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม คู่มืออาชีวศึกษาบัณฑิต พ.ศ. 2564

เล่ม คู่มืออาชีวศึกษาบัณฑิต พ.ศ. 2564

Description: เล่ม คู่มือการบริหารอาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก โดย ดร.ประทีป ผลจันทร์งาม (ผู้อำนวยการอาชีวศึกษาบัณฑิต)

Search

Read the Text Version

คูม่ ืออาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก รวบรวม วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ ภารกจิ อํานาจและหนา้ ทข่ี อง อาชวี ศกึ ษาบณั ฑติ สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก จากเอกสาร กฎหมาย กฎกระทรวง ขอ้ บงั คบั ระเบยี บและประกาศทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดย ดร.ประทปี ผลจนั ทรง์ าม สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

สารบัญ เร่ือง หนา บทที่ ๑ อาชีวศกึ ษาบณั ฑิต สว นราชการในสังกดั สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก ๑ ๑.๑ สว นราชการตาม พ.ร.บ. การอาชีวศึกษา ๒๕๕๑ ๒ ๑.๒ หลักเกณฑก ารสรรหา คณะกรรมการวทิ ยาลยั ตามกฎกระทรวง ๒ ๑.๓ การจัดต้งั สว นราชการในสถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ๓ ๑.๔ มาตรฐานตําแหนง ชือ่ ตําแหนง สายงาน และระดับตําแหนง ประเภทอํานวยการ ๔ ๑.๕ กาํ หนดตําแหนงอยางอืน่ ที่ ก.ค.ศ. เทยี บเทา เพอื่ เปนคณุ สมบตั ิเฉพาะสําหรับตาํ แหนง ๖ บคุ ลากรทางการศึกษาอ่ืนตามมาตรา ๒๘ ค. (๒) ตําแหนง ประเภทอาํ นวยการ ๑.๖ การจัดการศกึ ษาตาม พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง ชาติ ๗ ๑.๗ งานในหนาทีข่ องตาํ แหนง อาชวี ศึกษาบณั ฑติ สถาบนั การอาชีวศกึ ษาและสถาบนั การ ๘ อาชวี ศกึ ษาเกษตร บทท่ี ๒ การวเิ คราะหภาระงาน ตามอํานาจหนา ที่ของอาชวี ศึกษาบัณฑติ ผูอ ํานวยการ ๑๐ อาชวี ศึกษาบัณฑติ ๑๑ ๒.๑ การวิเคราะหร ายละเอียดของงานในอํานาจหนาที่ อาชวี ศกึ ษาบณั ฑติ ๑๕ ๒.๒ การวเิ คราะหรายละเอียดของงานในอาํ นาจหนาที่ ผอู ํานวยการอาชีวศกึ ษาบัณฑติ บทท่ี ๓ แนวคดิ โครงสรา งการบริหารจดั การ อาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบนั การอาชีวศกึ ษา ๒๑ ภาคตะวนั ออก ๒๑ ๓.๑ กรอบแนวคดิ การแตง ตง้ั คณะกรรมการอาชวี ศกึ ษาบัณฑติ ๒๒ ๒๓ ๓.๒ กรอบแนวคดิ การกําหนดโครงสรางการบรหิ าร อาชวี ศกึ ษาบัณฑิต ๓.๓ การออกเลขที่หนงั สอื ประจาํ อาชีวศึกษาบณั ฑิต

สารบญั (ตอ) เร่อื ง หนา บทที่ ๔ กลยทุ ธก์ ารพัฒนาอาชวี ศึกษาบณั ฑิต สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก ๒๔ ๔.๑ วิสยั ทศั น ๒๔ ๔.๒ พนั ธกิจ ๒๒ ๔.๓ เปาประสงค ๒๓ ๔.๔ กาํ หนดกลยทุ ธ การพัฒนาอาชวี ศกึ ษาบัณฑิต ๒๔ ๔.๕ แนวทางการบริหารอาชีวศึกษาบัณฑติ ๒๕ ภาคผนวก ๒๗ ภาคผนวก ก พระราชบัญญตั ิ การอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒๘ ภาคผนวก ข กฎกระทรวง กาํ หนดจํานวนกรรมการ คณุ สมบัติ หลักเกณฑการสรรหา ๕๒ การเลอื กประธานกรรมการและกรรมการ การประชุม วาระการดาํ รงตาํ แหนงและ การพน จากตาํ แหนง ของคณะกรรมการวทิ ยาลัยพ.ศ. ๒๕๕๓ ภาคผนวก ค ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง การจัดต้ังสวนราชการในสถาบนั การอาชวี ศกึ ษา ๖๑ ภาคตะวันออก สังกดั สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ภาคผนวก ง หนังสือ สํานกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๕/ว๑๕ ลงวนั ที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ เรื่องมาตรฐานตําแหนงขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตําแหนง บุคลากร ๖๗ ทางการศึกษาอนื่ ตามมาตรา ๓๘ ค. (2) ภาคผนวก จ ประกาศ สํานกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๕/ว๗ ลงวนั ที่ ๑๙ กรกฏาคม ๒๕๖๑ เรอ่ื ง การกําหนดตาํ แหนง อยางอื่นท่ี ก.ค.ศ. เทียบเทา เพอื่ เปนคุณสมบตั เิ ฉพาะสําหรับ ๗๕ ตาํ แหนงบุคลากรทางการศึกษาอ่ืนตามมาตรา ๒๘ ค. (๒) ตําแหนง ประเภทอาํ นวยการ ภาคผนวก ฉ พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๗๘ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ และ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. ๒๕๖๒ ภาคผนวก ช ประกาศ อ.ก.ค.ศ. สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เร่อื ง รับสมคั รคัดเลอื ก ๑๑๒ บุคคล เพื่อแตงตงั้ ใหดํารงตําแหนง บคุ ลากรทางการศกึ ษาอื่น ตามมาตรา ๓๘ ค.(๒) ประเภทอํานวยการ ระดับตน ในสถาบนั การอาชีวศึกษา และสถาบันการอาชีวศกึ ษา เกษตร สังกดั สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ลงวนั ที ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ภาคผนวก ซ หนงั สือสาํ นักงานคณะกรรมการขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (ก.ค.ศ) ที่ ศธ ๐๒๐๖.๕/ว ๑๙ ลงวนั ที่ ๙ ตลุ าคม ๒๕๖๑ เรื่อง การกําหนดกรอบอตั รากาํ ลงั ๑๓๔ ขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาํ แหนงบุคลากรทางการศึกษาอ่นื ตามมาตรา ๓๘ ค. (๒)

บทท่ี ๑ อาชวี ศกึ ษาบณั ฑิต สว นราชการในสงั กดั สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก ผลการศึกษา รวบรวม วิเคราะหและสังเคราะห ขอมูลจาก ภารกิจ อํานาจและหนาที่ของอาชีวศึกษา บัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก จากเอกสาร กฎหมาย กฎกระทรวง ขอบังคับ ระเบียบและ ประกาศทเี่ กยี่ วของดงั ตอ ไปน่ี ๑.๑ ราชการตาม พ.ร.บ. การอาชวี ศกึ ษา ๒๕๕๑ ตามพระราชบัญญัติการอาชวี ศึกษา ๒๕๕๑ ตามความใน มาตรา ๑๖ ใหสถาบันตามมาตรา ๑๕ เปนสถาบันอุดมศึกษาดานวิชาชีพและเทคโนโลยี มีวัตถุประ สงคใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงท่ีชํานาญการปฏิบัติการสอน การวิจัย การถายทอด วิทยาการและเทคโนโลยี ทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษสิ่งแวดลอม รวมท้ังให บริการ วิชาการและวิชาชพี แกส งั คม มาตรา ๑๗ สถาบันอาจแบง สวนราชการ ดงั ตอไปนี้ (๑) สํานกั งานผู อาํ นวยการสถาบัน (๒) วิทยาลัย (๓) สาํ นกั (๔) ศนู ย สถาบนั อาจให มสี ว นราชการท่ีเรยี กชอ่ื อยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทยี บเทาวิทยาลยั เพ่อื ดําเนินการตาม วตั ถุ ประสงคใ นมาตรา ๑๖ เปน สวนราชการของสถาบนั อกี กไ็ ด สํานักงานผูอํานวยการสถาบันอาจแบงสวนราชการเปนฝายหรือหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นท่ี มีฐานะเทยี บเทาฝา ย วิทยาลัยอาจแบงสวนราชการเปนคณะวิชา ภาควิชา แผนก หรือหนวยงานท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืน ที่มี ฐานะเทยี บเทาคณะวิชาหรอื ภาควชิ า มาตรา ๓๓ ให รองผูอํานวยการสถาบันคนหน่ึงทําหนาท่ีเปนผูบังคับบัญชา และรับผิดชอบ งานของ สํานักงานผอู ํานวยการสถาบัน

2 วิทยาลัย สํานัก ศูนย หรือหนวยงานท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาวิทยาลัย ใหมี ผูอํานวยการ เปนผูบังคบั บัญชาและรับผิดชอบงานของวิทยาลัย สํานัก ศนู ย หรือหนวยงานทเ่ี รยี กชือ่ อยาง อ่ืนทมี่ ีฐานะเทียบเทาวิทยาลัยน้ัน สวนราชการตามวรรคสองจะให มรี องผอู าํ นวยการเพอื่ ทาํ หนา ทีต่ ามท่ีผอู าํ นวยการ สว นราชการน้ัน มอบหมายกไ็ ด มาตรา ๓๔ ให ตําแหนงผูอํานวยการวิทยาลัย ผูอํานวยการสํานัก ผูอํานวยการศูนย ผูอํานวยการ หนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นท่ีมีฐานะเทียบเทาวิทยาลัย และรองผูอํานวยการของตําแหนงดังกลาว เปน ตําแหนงผูบริหารสถานศึกษาหรือบุคลากรทางการศึกษา แลวแตกรณี ตามกฎหมายวาดวยระเบียบ ขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา มาตรา ๓๗ ในวิทยาลัยแตละแหงใหมีคณะกรรมการวิทยาลัยคณะหน่ึงมีหนาท่ีในการสงเสริม สนับสนุน ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพเพ่ือพัฒนาแนว ทางการดําเนินงานของวิทยาลัย ประกอบดวยผูแทนครูหรือคณาจารย ผูแทนผูปกครองผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูแทนศิษยเกาของวิทยาลัยแหงนั้น ผูแทนพระภิกษุสงฆ ผูแทนองคกร ศาสนาอนื่ ในพื้นที่ และผทู รงคุณวุฒิ นอกจากกรรมการตามวรรคหน่ึงแลว คณะกรรมการวิทยาลัยอาจมีผูแทนสถานประกอบการดาน ธุรกิจ การพาณิชย การเกษตร หรืออุตสาหกรรม ผูแทนหอการคาจังหวัด และผูแทนองคกรดานอาชีวศึกษาใน พ้ืนท่ี เปนกรรมการเพิม่ ขนึ้ ได ในกรณีที่วิทยาลัยใดไมอาจมีผูแทนประเภทใดประเภทหน่ึงตามท่ีไดกําหนดไวในวรรคหน่ึงให คณะกรรมการวิทยาลยั ของวทิ ยาลยั นั้น ประกอบดวยกรรมการเทา ที่มีอยู จํานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการการ ประชุม วาระการดํารงตาํ แหนง และการพนจากตาํ แหนงของคณะกรรมการวิทยาลยั ใหเ ปน ไปตามท่ีกําหนดใน กฎกระทรวง หมายเหตุ : รายละเอียด พ.ร.บ. การอาชวี ศกึ ษา ๒๕๕๑ ในภาคผนวก ก ๑.๒ หลกั เกณฑการสรรหา คณะกรรมการวิทยาลยั ตามกฎกระทรวง ตามกฎกระทรวง กําหนดจํานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑการสรรหา การเลือกประธาน กรรมการและกรรมการ การประชุม วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของคณะกรรมการ วิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๓ ขอ ๑ ในกฎกระทรวงน้ี “วิทยาลัย” หมายความรวมถึง ศูนยหรือหนวยงานท่ีเรียกช่ืออยางอื่นท่ีมีฐานะเทียบเทาวิทยาลัยใน สงั กัดสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

3 “ผูบริหารสถานศึกษา” หมายความวา ผูอํานวยการวิทยาลัยหรือตําแหนงท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืนตามท่ี ก.ค.ศ. กาํ หนดใหเปนตําแหนงผูบ รหิ ารสถานศึกษา ขอ ๒ ใหค ณะกรรมการวิทยาลยั ประกอบดวย (๑) กรรมการทเ่ี ปน ผแู ทนครหู รือคณาจารย จาํ นวนหนึง่ คน (๒) กรรมการที่เปน ผแู ทนผปู กครอง จาํ นวนหน่งึ คน (๓) กรรมการทีเ่ ปนผูแ ทนองคก รชมุ ชน จาํ นวนหนึง่ คน (๔) กรรมการทเ่ี ปน ผแู ทนองคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน จาํ นวนหน่ึงคน (๕) กรรมการทเ่ี ปน ผูแ ทนศษิ ยเ กา จาํ นวนหนงึ่ คน (๖) กรรมการท่เี ปน ผูแทนพระภกิ ษุสงฆห รือผูแทนองคกรศาสนาอนื่ ในพื้นท่ี จํานวนสองรปู หรอื สองคน (๗) กรรมการที่เปนผูแทนสถานประกอบการดานธุรกิจ การพาณิชย การเกษตร หรืออุตสาหกรรม ผแู ทนหอการคา จังหวัด และผแู ทนองคก รดา นอาชวี ศกึ ษาในพืน้ ที่ จาํ นวนไมเกนิ หา คน (๘) กรรมการผูท รงคุณวุฒิ ซง่ึ มีความรู ความสามารถ ความเช่ยี วชาญและประสบการณสงู ทางดานการบริหารการอาชีวศึกษา ดานเศรษฐกิจและสังคม ดานอุตสาหกรรม ดานเกษตรกรรมและการ ประมง ดานธุรกิจและการบริการ ดานศิลปหัตถกรรม ดานคหกรรมหรือดานการศึกษาพิเศษจํานวนไมนอย กวา ส่คี นแตไมเกนิ หกคน ใหกรรมการตามวรรคหนึง่ รว มกนั เลอื กกรรมการผทู รงคณุ วฒุ คิ นหนึง่ เปน ประธานกรรมการ ใหผ บู ริหารสถานศึกษาเปน กรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการวทิ ยาลยั หมายเหตุ : รายละเอียด กฎกระทรวง กําหนดจํานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ การประชุม วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของ คณะกรรมการวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๕๓ ในภาคผนวก ข ๑.๓ การจดั ตง้ั สว นราชการในสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรอ่ื ง การจัดตงั้ สวนราชการในสถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ตามความในขอ ๕ ในประกาศประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรื่อง การจดั ต้ังสวนราชการในสถาบัน การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖ (๕) อาชีวศกึ ษาบณั ฑิต มอี าํ นาจหนาท่ีดังตอไปน้ี (ก) การกาํ กับ ดแู ล ควบคุม และการจดั การเรียนการสอนในระดับปรญิ ญาตรี สายเทคโนโลยี หรือสายปฏบิ ตั กิ ารในสาขาวิชาตาง ๆ (ข) สงเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงที่เนนการปฏิบัติการสอน การวิจัย ถายทอดวิทยาการและ เทคโนโลยี (ค) ทะนบุ าํ รุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรกั ษส ่งิ แวดลอ ม

4 (ง) สงเสริมและประสานงานใหคณาจารย ไดรับการฝกอบรมและพัฒนาดานวิชาการสงเสริม ความกาวหนาและพัฒนาใหมีตําแหนงทางวิชาการ การวิเคราะหวิจัยและพัฒนาส่ิงประดิษฐทางการ อาชวี ศึกษา การพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีเปนประโยชนตอการเรียนการสอน และการฝก อบรมวิชาชีพ รวมท้ังการถายทอดวทิ ยาการแกชุมชนและสังคม (จ) ดําเนินการและประสานเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตรการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ มาตรฐาน การอาชีวศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ การเทียบโอนผลการเรียนหรือประสบการณดานวิชาชีพ และการ ประกนั คณุ ภาพการศึกษา รวมทัง้ การใหคาํ ปรกึ ษา แนะนํา นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผล (ฉ) ประสานการใชทรัพยากรของสวนราชการสังกัดสถาบันและเครือขาย เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมี สมรรถนะสอดคลอ งกบั หลกั สูตรการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา และมาตรฐานวชิ าชีพ (ช) ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานรวมกับหนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของหรือท่ีไดรับ มอบหมาย (๖) วิทยาลยั เทคนคิ ชลบรุ ี วิทยาลยั เทคนคิ สตั หีบ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษา เทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร (ชลบุรี) วิทยาลัยเทคนิคระยอง วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุดวิทยาลัยเทคนิค บานคา ย วิทยาลัยเทคนคิ จนั ทบรุ ี และวทิ ยาลัยเทคนคิ ตราด มอี ํานาจหนา ทดี่ ังตอไปน้ี (ก) จัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชพี เพอ่ื ผลิตและพฒั นากาํ ลังคนในดา น วชิ าชพี ระดับฝมือและระดบั เทคนคิ ใหมสี มรรถนะสอดคลองกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติตาม หลกั สตู รมาตรฐานการอาชีวศึกษาและมาตรฐานวชิ าชพี รวมท้งั สอดคลอ งกบั ความตองการของตลาดแรงงาน ทง้ั ภายในและตา งประเทศ หมายเหตุ : รายละเอียด ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ือง การจัดตั้งสวนราชการในสถาบันการ อาชีวศึกษาภาคตะวันออก สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ในภาคผนวก ค ๑.๔ มาตรฐานตําแหนง ช่ือตาํ แหนง สายงาน และระดับตําแหนง ประเภทอํานวยการ ตามหนังสือ สํานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๕/ว๑๕ ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ เรื่องมาตรฐาน ตาํ แหนงขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตําแหนงบคุ ลากรทางการศึกษาอ่นื ตามมาตรา ๓๘ ค. ๑) มาตรฐานตําแหนง ตําแหนง ประเภท อํานวยการ สายงาน อาํ นวยการ ลักษณะงานโดยทว่ั ไป สายงานนี้คลุมถึงตําแหนงตางๆ ที่ปฏิบัติงานดานอํานวยการปฏิบัติราชการ และบริหารจัดการงานใน ราชการประจํา ในฐานะหัวหนาสวนราชการภายในสถาบันกรอาชีวศึกษาตามกฏหมายวาดวยการ อาชีวศึกษา หรือตําแหนงอื่นท่ีมีลักษณะเปนตําแหนงประเภทอํานวยการ ซึ่งมีหนาท่ีความรับผิดชอบและ

5 คณุ ภาพของงานสงู มากหรือสูงมากเปนพเิ ศษ ท่ี ก.ค.ศ. กาํ หนดใหเปนตําแหนง ประเภทอาํ นวยการ ทมี่ ลี ักษณะ งานเก่ียวกับการวางแผน บริหารจัดการ จัดระบบงาน อํานวยการ สั่งราชการ มอบหมาย กํากับ แนะนํา ตรวจสอบ ประเมินผลงาน ตัดสินใจ แกปญหา ตามภารกิจของหนวยงานท่ีรับผิดชอบใหสอดคลองกับ นโยบาย พนั ธกจิ และเปาหมายของสว นราชการ และปฏบิ ตั ิหนาท่อี น่ื ทเี่ กี่ยวขอ ง ๒) ชื่อตาํ แหนงสายงานและระดบั ตาํ แหนง ตาํ แหนงประเภท อํานวยการ สายงาน อาํ นวยการ ชือ่ ตําแหนงในสายงาน ผูอ ํานวยการ ระดับ ตน หนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบหลัก บริหารงานในฐานะหัวหนา สวนราชการภายในสถาบันภายในสถาบนั การอาชีวศกึ ษาตามกฏหมาย วาดว ยการอาชีวศึกษา หรือตาํ แหนงอ่นื ทมี่ ลี กั ษณะเปนตาํ แหนง ประเภทอํานวยการ ตามท่ี ก.ค.ศ. กําหนด บริหารงานในฐานะรองหัวหนาสวนราชการในสวนราชการ ซ่ึงมีหัวหนาสวนราชการดํารงตําแหนง ประเภทอาํ นวยการ ระดบั สูง โดยปฏิบัติงานหรือชวยปฏิบัติงานท่ีมีลักษณะงานเกี่ยวกับการวางแผน บริหารจัดการจัดระบบ อํานวยการ ส่ังราชการ มอบหมาย กํากับ แนะนํา ตรวจสอบ ประเมินผลงาน ตัดสินใจ แกปญหาในงาน ของ หนวยงานตามภารกิจท่ีรับผิดชอบ ซ่ึงมีลักษณะหนาที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมาก และ ปฏิบตั ิงานอ่ืนตามทไ่ี ดรับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานท่ปี ฏบิ ัติในดานตา งๆ ดังนี้ ๑. ดา นการวางแผน (๑) วางแผนงาน โครงการ กิจกรรมเพ่ือใหเปนไปตามเปาหมาย และผลสัมฤทธิ์ของหนวยงานให สอดคลองกับนโยบายและแผนกลยทุ ธข องสว นราชการทสี่ ังกัด (๒) บูรณาการแผนงาน โครงการ กิจกรรมเพ่ือใหเปนไปตามเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ของ หนวยงานตามท่ีกําหนด (๓) ติดตาม เรงรัด การดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหเปนไปตามแผนงาน โครงการ หรือแผนการ ปฏบิ ัตงิ าน ตลอดจนประเมนิ ผลและรายงานผลการดาํ เนนิ งาน เพอื่ ใหเปน ไปตามเปา หมายและผลสมั ฤทธิ์ ๒. ดา นบรหิ ารงาน (๑) จัดระบบงานและวิธีการปฏิบัติราชการของหนวยงาน เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติราชการ ของเจาหนา ทใี่ นหนว ยงานท่รี ับผิดชอบ (๒) มอบหมาย กํากับดูแล ตรวจสอบ ติดตาม ใหคําแนะนํา ปรับปรุงแกไขในเรื่องตางๆ ที่ เก่ยี วของกบั ภารกจิ ของหนว ยงาน เพอื่ ใหการปฏบิ ัติงานบรรลุเปา หมายและผลสมั ฤทธต์ิ ามท่ีกาํ หนด

6 (๓) พิจารณาอนุมัติ อนุญาตดําเนินการตางๆ ตามภารกิจท่ีหนยงานรับผิดชอบ เพ่ือใหบรรลุ เปา หมายและผลสมั ฤทธ์ติ ามที่กาํ หนด (๔) ติดตาม ประสานงานกับหนวยงานหรือองคกรภาครัฐ เอกชน และบุคคลที่เกี่ยวของเพื่อให เกดิ ความรว มมอื หรือบรู ณาการงานใหเ กิดผลสมั ฤทธ์ิและเปน ประโยชนตอ ประชาชนผูร ับบรกิ าร (๕) ชี้แจงขอเท็จจริง พิจารณาใหความเห็นขอเสนอแนะในท่ีประชุมคณะกรรมการ และ คณะทํางานตางๆ ทีไ่ ดรับแตงตั้งหรือเวลทีเจรจาตางๆ ในระดบั หนว ยงานหรอื องคกรทั้งในและตา งประเทศ ใน ฐานะผแู ทนหนวยงานหรือสวนราชการ เพื่อรกั ษาผลประโยชนข องทางราชการและประเทศชาติ ๓. ดา นบริหารทรัพยากรบคุ คล (๑) จัดระบบงานและอัตรากําลังเจาหนาท่ีในหนวยงานใหสอดคลองกับภารกิจ เพ่ือใหการ ปฏบิ ัติราชการเกิดประสทิ ธิภาพ และความคมุ คา (๒) ติดตามและประเมินผลงานของเจาหนาท่ี ในบังคับบัญชา เพ่ือใหการปฏิบัติงานสอดคลอง กับวตั ถุประสงคข องหนว ยงานและบรรลเุ ปาหมายและผลสมั ฤทธ์ิตามท่ีกําหนด (๓) ใหคําปรึกษาแนะนํา ปรัปปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีในบังคับบัญชา เพื่อให เกิดความสามารถและสมรรถนะทเี่ หมาะสมกบั งานทีป่ ฏิบตั ิ ๔. ดา นบริหารทรพั ยากรและงบประมาณ (๑) วางแผนการใชทรัพยากรและงบประมาณของหนวยงาน เพ่ือใหสอดคลองกับนโยบาย พนั ธกจิ และเปน ไปตามเปา หมายของสวนราชการ (๒) ติดตาม ตรวจสอบการใชทรัพยากรและงบประมาณ เพื่อใหสอดคลองกับนโยบาย พันธกิจ และเปนไปตามเปาหมายของสวนราชการ หมายเหตุ : รายละเอียด หนังสือ สํานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๕/ว๑๕ ลงวันท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ เรื่องมาตรฐานตําแหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา ๓๘ ค. ในภาคผนวก ง ๑.๕ กาํ หนดตําแหนงอยา งอืน่ ที่ ก.ค.ศ. เทยี บเทา เพอื่ เปน คณุ สมบตั ิเฉพาะสําหรบั ตําแหนง บุคลากรทางการศกึ ษาอ่นื ตามมาตรา ๒๘ ค. (๒) ตําแหนง ประเภทอํานวยการ ตามประกาศ สํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๕/ว๗ ลงวนั ท่ี ๑๙ กรกฏาคม ๒๕๖๑ เรื่อง การ กาํ หนดตาํ แหนง อยางอน่ื ที่ ก.ค.ศ. เทยี บเทา เพ่อื เปนคุณสมบัตเิ ฉพาะสาํ หรบั ตําแหนงบุคลากรทางการศกึ ษา อื่นตามมาตรา ๒๘ ค. (๒) ตาํ แหนงประเภทอํานวยการ การกาํ หนดตําแหนง อยางอน่ื ท่ี ก.ค.ศ. เทยี บเทา เพือ่ เปน คณุ สมบัตเิ ฉพาะ สําหรบั ตําแหนง บุคลากรทางการศึกษาอ่ืนตามมาตรา ๓๘ ค. (๒) ตําแหนงประเภทอํานวยการ (ตามหนังสือ สํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๕/ว ๗ ลงวันที่ ๑๙ กรกฏาคม ๒๕๖๑)

7 ตาํ แหนง บุคลากรทางการศึกษาอนื่ ตําแหนงอยา งอืน่ ท่ี ก.ค.ศ. เทียบเทา ตามมาตรา๓๘ ค. (๒) ๑. ประเภทอํานวยการ ระดบั ตน ๑. ผูอาํ นวยการสถานศึกษา วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ ๒. ผูอํานวยการสาํ นกั งานการศึกษาเอกชนอาํ เภอ วทิ ยาฐานะชาํ นาญการพิเศษ หมายเหตุ : รายละเอียด สํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๕/ว๗ ลงวันท่ี ๑๙ กรกฏาคม ๒๕๖๑ เร่ือง การกําหนดตําแหนงอยางอ่ืนที่ ก.ค.ศ. เทียบเทา เพื่อเปนคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงบุคลากรทาง การศึกษาอื่นตามมาตรา ๒๘ ค. (๒) ตําแหนงประเภทอาํ นวยการ ในภาคผนวก จ ๑.๖ การจดั การศึกษาตาม พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหงชาติ ตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ และ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตนิ ้ี “การศึกษา” หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการ ถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทาง วิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรูและปจจัยเก้ือหนุนใหบุคคล เรยี นรูอ ยา งตอเน่อื งตลอดชีวิต “สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วิทยาลัยสถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษาหรือหนวยงานอ่ืนของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอํานาจหนาที่หรือมี วตั ถุประสงคในการจัดการศึกษา มาตรา ๑๙ การจัดการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษาใหจ ดั ในมหาวทิ ยาลยั สถาบนั วทิ ยาลัย หรือหนวยงาน ท่ีเรียกชื่ออยางอื่น ท้ังนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายเกี่ยวกับสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา กฎหมายวาดวยการ จดั ตง้ั สถานศกึ ษานนั้ ๆ และกฎหมายที่เก่ยี วของ มาตรา ๒๐ การจัดการอาชวี ศกึ ษา การฝกอบรมวิชาชีพ ใหจัดในสถานศึกษาของรัฐสถานศึกษาของ เอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความรวมมือระหวางสถานศึกษากับสถานประกอบการท้ังน้ี ใหเปนไป ตามกฎหมายวาดวยการอาชีวศกึ ษาและกฎหมายท่เี กีย่ วของ หมายเหตุ : รายละเอียด ประกาศกระทรวงศึกษาธิพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. ๒๕๖๒ ในภาคผนวก ฉ

8 ๑.๗ งานในหนาท่ีของตําแหนงอาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาและสถาบันการ อาชวี ศกึ ษาเกษตร ตามประกาศ อ.ก.ค.ศ. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เร่ือง รับสมัครคัดเลือกบุคคล เพื่อ แตงตั้งใหดํารงตําแหนงบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน ตามมาตรา ๓๘ ค.(๒) ประเภทอํานวยการ ระดับตน ใน สถาบันการอาชีวศึกษา และสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ลง วนั ที ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ๑) สว นราชการและตาํ แหนง อาชวี ศกึ ษาบัณฑิต สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาและสถาบนั การ อาชวี ศกึ ษาเกษตร ๒) ชือ่ ตาํ แหนง ในการบริหาร ผูอ าํ นวยการ ๓) ช่อื ตําแหนง ในสายงาน ผูอํานวยการ ระดบั ตน ๔) งานในหนา ท่ีของตาํ แหนง (๑) ควบคุม กาํ กบั ดแู ลและสั่งการ การจัดการเรยี นการสอนในระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยี หรือสายปฏิบัติการ ในสาขาวิชาตา งๆ (๒) ควบคมุ กาํ กบั ดูแลและสั่งการ การสงเสรมิ วิชาการและวชิ าชีพช้ันสงู ที่เนนการปฏบิ ัติการ สอน เนน การวิจัย ถา ยทอดวิทยาการและเทคโนโลยี (๓) ควบคมุ กาํ กบั ดูแลและส่ังการ การสงเสริมและประสานงานเกยี่ วกับการวิเคราะหวิจัย และ พัฒนาสิ่งประดิษฐท างการอาชวี ศกึ ษา การพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมท่เี ปน ประโยชนต อการเรียนการ สอน และการฝก อบรมวิชาชีพ (๔) ควบคุม กาํ กบั ดูแลและสง่ั การ การดําเนนิ การเกยี่ วกบั การเทยี บโอนผลการเรียนหรอื ประสบการณด า นวชิ าชีพ (๕) ควบคุม กาํ กับ ดแู ลและสง่ั การ การประสานการใชทรพั ยากรของสว นราชการสงั กัดสถาบนั และเครือขา ย เพอื่ พฒั นาผูเ รียนใหมสี มรรถนะ สอดคลอ งกบั หลกั สตู รการอาชวี ศึกษาและวชิ าชพี มาตรฐาน การอาชีวศึกษาและมาตรฐานวชิ าชพี (๖) ควบคุม กาํ กบั ดแู ลและสั่งการ การทะนบุ ํารงุ ศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม และอนรุ กั ษ สงิ่ แวดลอม (๗) ควบคมุ กาํ กบั ดแู ลและสงั่ การ การสงเสรมิ และประสานงานเกย่ี วกับการถา ยทอดวิทยาการ แกชุมชนและสังคม (๘) ควบคมุ กาํ กับ ดูแลและสง่ั การ การดําเนนิ การเกีย่ วกับ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา (๙) ควบคมุ กาํ กับ ดูแลและสง่ั การ การใหค ําปรึกษา แนะนาํ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลและ รายงานผล

9 (๑๐) ควบคุม กํากับ ดูแลและส่ังการ การสงเสริมประสานใหค ณาจารยไ ดร ับการฝกอบรมและ พฒั นาดานวชิ าการ สงเสริมความกาวหนา และพัฒนาใหม ตี าํ แหนง ทางวชิ าการ การวเิ คราะห วิจยั และพฒั นา สิง่ ประดษิ ฐทางอาชีวศึกษา การพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมที่เปน ประโยชนตอ การเรยี นการสอน และการ ฝกอบรมวชิ าชีพ (๑๑) ควบคมุ กํากบั ดแู ลและส่งั การ การดําเนินการและประสานเก่ียวกับการพัฒนาหลกั สตู รการ อาชวี ศกึ ษาและวชิ าชีพมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา และมาตรฐานวชิ าชีพ (๑๒) ปฏบิ ัติงานหรือสนับสนนุ การปฏิบัตงิ านรวมกับหนว ยงานอื่นเกีย่ วของหรือไดรับมอบหมาย หมายเหตุ : รายละเอียด ประกาศ อ.ก.ค.ศ. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เร่ือง รับสมัคร คัดเลือกบุคคล เพื่อแตงต้ังใหดํารงตําแหนงบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน ตามมาตรา ๓๘ ค.(๒) ประเภท อํานวยการ ระดับตน ในสถาบันการอาชีวศึกษา และสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ลงวันที ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ในภาคผนวก ช

บทที่ ๒ การวิเคราะหภาระงาน ตามอาํ นาจหนา ท่ขี องอาชวี ศึกษาบณั ฑติ ผูอํานวยการอาชีวศกึ ษาบณั ฑิต ๒.๑ การวิเคราะหร ายละเอยี ดของงานในอํานาจหนาท่ี อาชวี ศึกษาบัณฑติ ๑) อางถึงหนังสือสํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ) ที่ ศธ ๐๒๐๖.๕/ว ๑๙ ลงวันท่ี ๙ ตุลาคม ๒๕๖๑ เรื่อง การกําหนดกรอบอัตรากําลังขาราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา ตาํ แหนงบคุ ลากรทางการศกึ ษาอน่ื ตามมาตรา ๓๘ ค. (๒) ดงั ในภาพท่ี ๑ ภาพท่ี ๑ แสดงโครงสรา งการบริหารสถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก หมายเหตุ : รายละเอียด หนงั สือสํานกั งานคณะกรรมการขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ) ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๕/ว ๑๙ ลงวันที่ ๙ ตลุ าคม ๒๕๖๑ ในภาคผนวก ซ

11 ๒) คณะทํางานอาชวี ศึกษาบณั ฑิต สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก ไดว เิ คราะหรายละเอยี ด ของงาน ตามกลุมงานอาชวี ศึกษาบัณฑิต สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก ดงั น้ี ตารางท่ี 1 แสดงการวเิ คราะหภาระงานแตละกลุมงาน ของอาชีวศึกษาบัณฑิต กลมุ งาน งาน ภาระงานประจํา กลุม มาตรฐานและ งานทะเบยี นและวฒุ ทิ างการ 1. รับสมัครนกั ศกึ ษา พฒั นาหลกั สตู ร ศึกษาวชิ าชพี 2. พฒั นาคมู ือ/ระเบยี บการรบั สมัครนกั ศกึ ษา 3. พัฒนาคมู อื นักศึกษา งานหลกั สตู รการเรียนการ 4. จัดทาํ ขอ มลู /ประวตั นิ กั ศึกษา สอน 5. บันทกึ ขอ มลู ในระบบ ศธ.02 ออนไลน 6. การลงทะเบียนเรยี น 7. ทําบัตรนักศึกษา 8. รายงานขอ มลู นกั ศกึ ษารายบคุ คล 9. การย่ืนคาํ รอ งขอสาํ เร็จการการศึกษา 10. จดั ทาํ เอกสารทางการศกึ ษา 11. อนมุ ตั ผิ สู าํ เรจ็ การศกึ ษา 12. ขึ้นทะเบยี นบัณฑติ 13. จดั เกบ็ เอกสารทางการศกึ ษา 14. กาํ หนดงบประมาณ แผนงานโครงการ กจิ กรรม ตามภาระงานประจาํ 1. พัฒนา/ปรบั ปรุงหลักสูตร (หลักสูตรใหม/ หลักสตู รปรับปรุง) 2. การเทยี บโอนผลการเรียนหรอื ประสบการณด าน วิชาชีพ 3. ประสานการใชท รพั ยากรของสวนราชการสังกัด สถาบันและเครือขา ย เพ่ือพัฒนาผูเ รยี นใหม ี สมรรถนะสอดคลอ งกบั หลักสตู รการอาชวี ศกึ ษาและ วชิ าชพี มาตรฐานการอาชวี ศึกษา และมาตรฐาน วชิ าชพี 4. แตงตง้ั อาจารยผูสอน/อาจารยพ เิ ศษ/อาจารยที่ ปรกึ ษา 5. ตารางเรยี นตารางสอน/ตารางฝก ประสบการณ วชิ าชพี 6. กาํ กบั ตดิ ตาม การจัดทาํ คอศ.1-6 7. กาํ กบั ดแู ล ควบคุม และการจดั การเรียนการสอน ในระดบั ปริญญาตรี

12 กลมุ งาน งาน ภาระงานประจาํ งานวดั ผลประเมนิ ผล 8. การใหค ําปรกึ ษา แนะนํา นเิ ทศ ตดิ ตาม การศกึ ษา ประเมนิ ผลและรายงานผล งานอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี 9. กําหนดงบประมาณ แผนงานโครงการ กจิ กรรม และความรวมมอื ตามภาระงานประจํา 1. กาํ หนดเกณฑมาตรฐาน วธิ ีการการวัดผล งานกจิ กรรมนกั ศกึ ษาระดบั ประเมินผล ปรญิ ญาตรี 2. กาํ หนดตารางสอบประจําภาคการศกึ ษา 3. กํากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การรายงานผลการ เรียน ประจําภาคเรียน 4. การอนมุ ัตผิ ลการเรียน 5. ประกาศผลการเรยี น 6. กาํ หนดงบประมาณ แผนงานโครงการ กจิ กรรม ตามภาระงานประจํา 1. จดั ทาํ คูมือแนวทางการปฏบิ ตั ิ การจดั การเรียน การสอน ระบบทวภิ าคี ระดับปรญิ ญาตรี 2. ดาํ เนนิ การประสานงานความรว มมอื การจดั การศกึ ษาระบบทวภิ าคี ระดับปรญิ ญาตรี กับ หนว ยงานภาครฐั และภาคเอกชน 3. แตง ตั้งอาจารยนิเทศ/ครฝู ก ในสถานประกอบการ 4. จัดทาํ แผนการฝกประสบการณวิชาชีพ/อาชพี ระบบทวิภาคี ประจาํ ภาคการศึกษา 5. กํากบั นเิ ทศ ติดตาม วัดผล ประเมินผล การ จัดการเรียนการสอนในระบบทวภิ าคี 6. กําหนดงบประมาณ แผนงานโครงการ กิจกรรม ตามภาระงานประจํา 1. จัดทําคูมือแนวทางการปฏบิ ตั ิกิจกรรม ตาม ระเบียบและกฎหมายท่เี กยี่ วขอ ง 2. จดั ตงั้ สภานกั ศกึ ษา องคกรนกั ศกึ ษา สโมสร นกั ศึกษา ชมรมนักศกึ ษา ใหค รอบคลมุ ตามระเบยี บ 3. กําหนดงบประมาณ แผนงานโครงการ กจิ กรรม ประจาํ ปการศกึ ษา 4. การควบคมุ ดแู ล ใหคาํ ปรกึ ษา แนะแนว การ ดําเนินกจิ กรรม นกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี 5. กํากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล การดําเนิน กจิ กรรม นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี 6. งานรบั พระราชทานปรญิ ญาบตั ร

13 กลุมงาน งาน ภาระงานประจาํ กลมุ ประกนั งานบริการและพฒั นาผลงาน 1. สง เสรมิ และประสานงานใหค ณาจารย ไดรบั การ คณุ ภาพ วชิ าการ ฝกอบรมและพฒั นาดา นวชิ าการ สง เสริม ความกาวหนาและพัฒนาใหม ตี ําแหนง ทางวชิ าการ 2. สง เสรมิ และประสานงานใหค ณาจารย วเิ คราะห วิจยั และพัฒนาสงิ่ ประดษิ ฐท างการอาชีวศกึ ษา การ พัฒนาเทคโนโลยีและนวตั กรรมท่ีเปน ประโยชนต อ การเรียนการสอน และการฝก อบรมวชิ าชพี 3. สง เสริมและประสานงานใหคณาจารย นักศึกษา ถายทอดวิทยาการแกช มุ ชนและสงั คม 4. สงเสรมิ วชิ าการและวิชาชพี ชนั้ สงู ทเ่ี นน การ ปฏบิ ัตกิ ารสอน การวจิ ัย ถา ยทอดวิทยาการและ เทคโนโลยี 5. ทะนุบาํ รงุ ศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม และอนรุ กั ษ สิง่ แวดลอ ม 6. กําหนดงบประมาณ แผนงานโครงการ กจิ กรรม ตามภาระงานประจํา งานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 1. จดั ทํา พัฒนามาตรฐานการประกันคณุ ภาพ การศึกษา 2. จดั ทํา พัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา 3. สราง พฒั นา กลไกการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 4. กํากบั ตดิ ตาม การรายงานประกนั คณุ ภาพระดับ หลักสตู รและระดบั สถาบนั ฯ 5. จดั ทาํ รวบรวม เอกสาร รายงานการประกนั คณุ ภาพภายในและภายนอก 6. กาํ หนดงบประมาณ แผนงานโครงการ กิจกรรม ตามภาระงานประจาํ งานมาตรฐานการศกึ ษา 1. พัฒนา คมู อื โครงการวิชาชพี 2. พัฒนา คูม อื การประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี 3. กาํ กับ ตดิ ตาม ตรวจสอบการประเมนิ มาตรฐาน วชิ าชีพ 4. กาํ กบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ วิชาโครงการพัฒนา ทักษะวชิ าชพี 5. พัฒนาส่อื นวตั กรรม การเรียนรู 6. จดั หา สนบั สนุน สิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรู 7. กาํ หนดงบประมาณ แผนงานโครงการ กิจกรรม ตามภาระงานประจาํ

กลมุ งาน งาน 14 งานบรหิ ารท่วั ไป งานบรหิ ารทว่ั ไป ภาระงานประจาํ คณะวชิ า สาขาวชิ าตางๆ 1. งานสารบรรณอาชีวศกึ ษาบณั ฑติ เทคโนโลยี 2. งานแผนยทุ ธศาสตรพัฒนาอาชวี ศึกษาบณั ฑติ อตุ สาหกรรม 3. งานประชมุ อาชวี ศึกษาบัณฑติ คณะวชิ า สาขาวิชาตางๆ 5. งานแนะแนวสถานศึกษาและประชาสมั พนั ธ เทคโนโลยี 6. ประสานงานกบั หนวยงานตา ง ๆ ทั้งภายในและ บรหิ ารธรุ กจิ ภายนอก คณะวชิ า สาขาวิชาตางๆ 7. ควบคุม วัสดุ อปุ กรณ ครภุ ณั ฑ สํานกั งาน เทคโนโลยี อาชวี ศกึ ษาบัณฑิต ศลิ ปกรรมศาสตร 8. กําหนดงบประมาณ แผนงานโครงการ กิจกรรม คณะวชิ า สาขาวชิ าตางๆ ตามภาระงานประจาํ เทคโนโลยคี หกรรม 1. ดูแล ควบคมุ การจัดการเรียนการสอนในระดับ ศาสตร ปรญิ ญาตรี สายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัตกิ ารใน คณะวชิ า สาขาวชิ าตา งๆ สาขาวิชาตา ง ๆ เทคโนโลยี 2. พัฒนาวิชาการและวิชาชีพช้ันสงู ท่เี นนการ อุตสาหกรรมการ ปฏบิ ัติการสอน การวิจยั ถา ยทอดวิทยาการและ ทอ งเทีย่ ว เทคโนโลยี คณะวชิ า สาขาวิชาตางๆ 3. ทะนุบาํ รงุ ศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และอนรุ กั ษ เทคโนโลยี สงิ่ แวดลอม สารสนเทศ 4. ดําเนินการใหค ณาจารย ไดร บั การฝก อบรมและ พฒั นาดา นวิชาการสง เสรมิ ความกา วหนาและพัฒนา ใหมตี าํ แหนงทางวชิ าการ การวเิ คราะหว จิ ัยและ พฒั นาสง่ิ ประดิษฐทางการอาชีวศึกษา การพฒั นา เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมที่เปน ประโยชนตอ การเรยี น การสอน และการฝกอบรมวิชาชีพ รวมทั้งการ ถา ยทอดวิทยาการแกช ุมชนและสังคม 5. ดาํ เนนิ การพัฒนาหลักสตู รการอาชีวศกึ ษาและ วิชาชีพมาตรฐานการอาชีวศึกษา และมาตรฐาน วิชาชีพ การเทียบโอนผลการเรยี นหรือประสบการณ ดา นวิชาชพี และการประกนั คุณภาพการศกึ ษา รวมทั้งการใหค าํ ปรึกษา แนะนาํ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงานผล 6. พัฒนาผูเ รยี นใหม ีสมรรถนะสอดคลอ งกับ หลกั สตู รการอาชีวศกึ ษาและวชิ าชีพ มาตรฐานการ อาชวี ศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ 7. ปฏิบตั งิ านหรอื สนับสนนุ การปฏบิ ัติงานรวมกบั หนว ยงานอน่ื ท่ีเกีย่ วขอ งหรือทไี่ ดร ับมอบหมาย

15 กลุมงาน งาน ภาระงานประจาํ อาชีวศกึ ษาบณั ฑติ 1. กาํ กบั ดูแล ควบคุม การจดั การเรียนการสอนใน วทิ ยาลยั 1. วิทยาลยั เทคนิคชลบุรี ระดบั ปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั กิ าร 2. วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี ในคณะวิชา และ สาขาวิชาตา ง ๆ 3. วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเทคโนโลยี 2. ปฏบิ ัติงานหรือสนบั สนุนการปฏบิ ัตงิ านรวมกับ ฐานวิทยาศาสตร (ชลบรุ )ี หนวยงานอน่ื ท่ีเกยี่ วของหรือทไี่ ดร บั มอบหมาย 4. วิทยาลัยเทคนิคสตั หีบ 5. วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพดุ 6. วทิ ยาลยั เทคนคิ บานคา ย 7. วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง 8. วิทยาลยั เทคนคิ ตราด 9. วิทยาลยั เทคนคิ จันทบุรี ๒.๒ การวเิ คราะหรายละเอยี ดของงานในอาํ นาจหนา ที่ ผูอาํ นวยการอาชีวศกึ ษาบัณฑิต การวเิ คราะหงานอาํ นาจหนาท่ี ของผูอาํ นวยการอาชีวศึกษาบัณฑติ ตามประกาศ อ.ก.ค.ศ. สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เรื่อง รบั สมัครคดั เลือกบุคคล เพ่อื แตงตั้งใหดํารงตาํ แหนง บุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา ๓๘ ค.(๒) ประเภทอํานวยการ ระดับตน ในสถาบันการ อาชีวศึกษา และสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ลง วันที ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ๑) ควบคุม กํากับ ดูแลและสั่งการ การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี หรอื สายปฏบิ ตั ิการ ในสาขาวชิ าตา งๆ (๑) เตรยี มความพรอมกอ นการเรียนการสอน (๑.๑) ประกาศ รบั สมัครบคุ คลเขาเปนนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี (๑.๒) ประกาศ เปด-ปด ภาคการศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี (๑.๓) ประกาศ ปฏทิ ินการศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี (๑.๔) ประกาศ การลงทะเบียนเรยี น นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี (๑.๕) ประกาศ รบั สมคั รอาจารยพ ิเศษ ระดบั ปรญิ ญาตรี (เพ่อื เสนอสภาสถาบันฯ อนุมตั )ิ (๑.๖) อนมุ ัติ ตารางเรยี น ตารางสอน ตารางนิเทศ ตารางฝกประสบการณอ าชพี /วิชาชีพ (๑.๗) อนมุ ัติ ผูสอน อาจารยนเิ ทศ ครูฝก อาจารยท ่ปี รึกษา (๑.๘) จดั ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาใหม/ นักศกึ ษาท่ีจะเขา ฝก ประสบการณในสถานประกอบการ (๑.๙) ผูสอน ตองสงโครงการเรียนรู/แผนการจัดการเรียนรู/แผนการฝกประสบการณ/ แผนการนเิ ทศ อนื่ ๆ กอ นเปด ภาคการศึกษา (๑.๑๐) งานทะเบียน งานวัดผลฯ งานพัฒนาหลักสูตรฯ งานศูนยขอมูลฯ ของวิทยาลัยและ อาชีวศึกษาบัณฑิต จัดทําขอมูลในระบบ ศธ ๐๒ ออนไลน เชน หลักสูตร หลักสูตรรายวิชา รายละเอียดการ ชําระคาลงทะเบยี น แผนการเรยี น ตารางเรียน ตารางสอน อาจารยผสู อนฯลฯ

16 (๑.๑๑) ประสานการใชทรัพยากรของสวนราชการสังกัดสถาบันและเครือขาย เพื่อพัฒนา ผูเรียนใหมีสมรรถนะสอดคลองกับหลักสูตรการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ มาตรฐานการอาชีวศึกษา และ มาตรฐานวชิ าชพี (๑.๑๒) อนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ ง (๒) ระหวางดาํ เนนิ การจดั การเรียนการสอน (๒.๑) กํากับ ดูแล นิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีใหมีคุณภาพตาม มาตรฐานทีเ่ กี่ยวขอ ง (๒.๒) ประสานการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา การฝกประสบการณวิชาชีพใน สถานประกอบการหรอื เครอื ขา ยความรว มมือ ใหดาํ เนินการดวยความเรยี บรอ ย และ อน่ื ๆ ท่ีเก่ยี วขอ ง (๓) หลงั การจัดการเรียนการสอนแตละภาคการศกึ ษา (๓.๑) จัดทําขอมูลการศึกษาลงในระบบ ศธ ๐๒ ออนไลน เชน การวัดผลประเมินผลการ เรยี นหลังสน้ิ สดุ การเรียนการสอนในแตละภาคการศึกษา (งานทะเบียน งานวดั ผลฯ งานพฒั นาหลักสตู รฯ ของ วิทยาลัยและอาชีวศึกษาบัณฑิต) (๓.๒) อนมุ ตั ิผลการเรยี นในภาคการศกึ ษา/ผลการการฝก ประสบการณวชิ าชพี (๓.๓) ประกาศผลการเรียนในภาคการศึกษา/ผลการการฝกประสบการณวิชาชีพ (๓.๔) ผสู อนสง แบบรายงานผลการจดั การเรียนร/ู แบบรายงานผลการฝก ประสบการณ/ผล การนิเทศ อ่ืนๆ หลังสน้ิ สดุ การเรียนการสอนในภาคการศกึ ษาไมเ กิน ๓๐ วัน ๒) ควบคุม กํากับ ดูแลและส่ังการ การสงเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ที่เนนการปฏิบัติการ สอน เนน การวจิ ยั ถายทอดวิทยาการและเทคโนโลยี (๑) จัดทําแผนงาน โครงการ กิจกรรม เก่ียวกับพัฒนาแหลงเผยแพร หรือชองทางการเผยแพร ผลงานวิชาการหรือการเรียนการสอน เชน จัดทําวารสารวิชาการ โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ระบบ บริหารจัดการเรยี นรู ระบบ MOOC ,Google Classroom เปน ตน ในแผนปฏิบัตริ าชการประจาํ ปง บประมาณ (๒) กํากับ ติดตาม ประเมินผล การดําเนินโครงการ กิจกรรม พัฒนาแหลงเผยแพร หรือชอง ทางการเผยแพรผลงานวิชาการหรือการเรียนการสอน ของการจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี ตาม แผนปฏบิ ตั ิราชการประจําปง บประมาณ (๓) สงเสริม สนับสนุนใหคณาจารย นักศึกษาขารวมการเผยแพรผลงานวิชาการหรือการเรียนการ สอน ของการจดั การศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรี ทุกคนอยางนอ ย ๑ ครงั้ ตอปการศึกษา ๓) ควบคุม กํากับ ดูแลและส่ังการ การสงเสริมและประสานงานเก่ียวกับการวิเคราะหวิจัย และ พฒั นาสิง่ ประดิษฐทางการอาชวี ศกึ ษา การพัฒนาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทเ่ี ปน ประโยชนต อการเรียนการ สอน และการฝกอบรมวชิ าชพี

17 (๑) จัดทําแผนงาน โครงการ กจิ กรรม เกี่ยวกับ การสงเสริมและประสานงานเก่ียวกับการวเิ คราะห วิจัย และพัฒนาสิ่งประดิษฐทางการอาชีวศึกษา การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เปนประโยชนตอการ เรียนการสอน และการฝกอบรมวชิ าชพี ในแผนปฏิบตั ริ าชการประจาํ ปงบประมาณ (๒) กํากับ ติดตาม ประเมินผล การดําเนินโครงการ กิจกรรม การสงเสริมและประสานงาน เกี่ยวกับการวิเคราะหวิจัย และพัฒนาส่ิงประดิษฐทางการอาชีวศึกษา การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ เปนประโยชนต อการเรียนการสอน และการฝก อบรมวชิ าชีพ ตามแผนปฏิบัตริ าชการประจาํ ปงบประมาณ (๓) สงเสริม สนับสนุนใหคณาจารย นักศึกษาขารวมการวิเคราะหวิจัย และพัฒนาสิ่งประดิษฐ ทางการอาชีวศึกษา การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีเปนประโยชนตอการเรียนการสอน และการ ฝกอบรมวชิ าชีพ ทกุ คนอยางนอย 1 คร้งั ตอ ปก ารศึกษา ๔) ควบคุม กํากับ ดูแลและสั่งการ การดําเนินการเกี่ยวกับการเทียบโอนผลการเรียนหรือ ประสบการณด านวชิ าชพี (๑) ศึกษา วิเคราะห วางแผน เตรียมการ การดําเนินการเกี่ยวกับการเทียบโอนผลการเรียนหรือ ประสบการณด านวชิ าชพี ในระดับปริญญาตรี (๒) ดําเนนิ การเกี่ยวกบั การเทยี บโอนผลการเรยี นหรอื ประสบการณด า นวิชาชีพ ในระดบั ปริญญาตรี (๓) สรุปผล วัดผลประเมินผล และรายงานผล การดําเนินการเกี่ยวกับการเทียบโอนผลการเรียนหรือ ประสบการณด า นวิชาชพี ในระดบั ปริญญาตรี (๔) ปรับปรุง/พัฒนา การดําเนินการเก่ียวกับการเทยี บโอนผลการเรียนหรือประสบการณดานวิชาชีพ ในระดับปริญญาตรี ใหมคี ุณภาพและประสิทธิภาพ ๕) ควบคุม กํากับ ดูแลและสั่งการ การประสานการใชทรัพยากรของสวนราชการสังกัดสถาบัน และเครือขาย เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะ สอดคลองกับหลักสูตรการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ มาตรฐานการอาชีวศกึ ษาและมาตรฐานวิชาชพี (๑) ศึกษา วิเคราะห วางแผน เตรียมการ ประสานการใชทรัพยากรของสวนราชการสังกัดสถาบัน และเครือขาย เพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะ สอดคลองกับหลักสูตรการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ มาตรฐาน การอาชวี ศกึ ษาและมาตรฐานวิชาชพี ในระดบั ปรญิ ญาตรี (๒) ดําเนินการประสานการใชทรัพยากรของสวนราชการสังกัดสถาบันและเครือขาย เพ่ือพัฒนา ผูเรียนใหมีสมรรถนะ สอดคลองกับหลักสูตรการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ มาตรฐานการอาชีวศึกษาและมาตรฐาน วิชาชพี ในระดบั ปริญญาตรี (๓) สรุปผล วัดผลประเมินผล และรายงานผล ดําเนินการประสานการใชทรัพยากรของสวนราชการ สังกัดสถาบันและเครือขาย เพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะ สอดคลองกับหลักสูตรการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ มาตรฐานการอาชวี ศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ ในระดับปรญิ ญาตรี

18 (๔) ปรบั ปรงุ /พฒั นา ดาํ เนินการประสานการใชทรพั ยากรของสว นราชการสังกัดสถาบนั และเครือขา ย เพ่ือพัฒนาผูเรยี นใหม ีสมรรถนะ สอดคลองกับหลกั สูตรการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ มาตรฐานการอาชีวศึกษาและ มาตรฐานวชิ าชีพ ในระดับปริญญาตรี ใหมีคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพ ๖) ควบคุม กํากับ ดูแลและสั่งการ การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษ ส่งิ แวดลอม (๑) จัดทําแผนงาน โครงการ กิจกรรม การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษ สงิ่ แวดลอม การจดั การศกึ ษาในระดับปริญญาตรี ในแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาํ ปง บประมาณ (๒) กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินโครงการ กิจกรรม การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษสิ่งแวดลอม ของการจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี ตามแผนปฏิบัติราชการประจําป งบประมาณ (๓) ประสานงานกับสวนราชการในสังกัดสถาบันใหคณาจารย นักศึกษาในระดับปริญญาตรี รวมกับองคกรท้ังภาครัฐ เอกชน หรือ ชุมชน วัด หรือภาคประชาชน ดําเนินการทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษส ่งิ แวดลอ ม ใหเกดิ ความตอ เนอื่ งอยางย่ังยืน ๗) ควบคุม กํากับ ดูแลและสั่งการ การสงเสริมและประสานงานเกี่ยวกับการถายทอดวิทยาการ แกช ุมชนและสังคม (๑) จดั ทําแผนงาน โครงการ กจิ กรรม การสงเสรมิ และประสานงานเก่ียวกับการถายทอดวทิ ยาการ แกช มุ ชนและสังคม ในแผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ปง บประมาณ (๒) กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินโครงการ กิจกรรม การสงเสริมและประสานงานเกี่ยวกับ การถา ยทอดวิทยาการแกช มุ ชนและสงั คม ตามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาํ ปงบประมาณ (๓) ประสานงานกับสวนราชการในสังกัดสถาบันใหคณาจารย นักศึกษาในระดับปริญญาตรี รว มกับองคกรทั้งภาครัฐ เอกชน หรอื ชมุ ชน วดั หรอื ภาคประชาชน การสง เสริมและประสานงานเกีย่ วกับการ ถายทอดวิทยาการแกชมุ ชนและสงั คม ใหเกดิ ความตอเนื่องอยา งยัง่ ยนื ๘) ควบคุม กาํ กับ ดแู ลและส่ังการ การดําเนินการเกยี่ วกบั การประกนั คุณภาพการศกึ ษา (๑) จัดทําแผนงาน โครงการ กิจกรรม การดําเนินการเก่ียวกับ การประกันคุณภาพการศึกษา ในแผนปฏิบตั ิราชการประจาํ ปงบประมาณ (๒) กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินโครงการ กิจกรรม การดําเนินการเก่ียวกับ การประกัน คุณภาพการศกึ ษา ตามแผนปฏิบัติราชการประจําปง บประมาณ (๓) ประสานงานกับสวนราชการในสังกัดสถาบันใหคณาจารย นักศึกษาในระดับปริญญาตรี รวมกับทุกภาคสวนที่เก่ียวของ ดําเนินการเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพการศึกษา ใหเกิดความตอเนื่องอยาง ย่ังยนื ๙) ควบคุม กาํ กบั ดแู ลและสั่งการ การใหค าํ ปรกึ ษา แนะนาํ นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผล

19 (๑) จัดทําแผนงาน โครงการ กิจกรรม การใหคําปรึกษา แนะนํา นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและ รายงานผล ในแผนปฏิบตั ิราชการประจําปง บประมาณ (๒) กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินโครงการ กิจกรรม การใหคําปรึกษา แนะนํา นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผล ตามแผนปฏิบัติราชการประจาํ ปงบประมาณ (๓) ประสานงานกับสวนราชการในสังกัดสถาบันใหคณาจารย นักศึกษาในระดับปริญญาตรี รวมกับองคกรทั้งภาครัฐ เอกชน หรือ ชุมชน วัด หรือภาคประชาชน เพ่ือดําเนินการใหคําปรึกษา แนะนํา นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลและรายงานผล ใหเกิดความตอ เน่อื งอยางยั่งยนื ๑๐) ควบคุม กํากับ ดูแลและสั่งการ การสงเสริมประสานใหคณาจารยไดรับการฝกอบรมและ พัฒนาดานวิชาการ สงเสริมความกาวหนา และพัฒนาใหมีตําแหนงทางวิชาการ การวิเคราะห วิจัยและ พัฒนาสิ่งประดิษฐทางอาชีวศึกษา การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีเปนประโยชนตอการเรียนการ สอน และการฝก อบรมวิชาชีพ (๑) จัดทําแผนงาน โครงการ กิจกรรม การดําเนินการเกี่ยวกับ การสงเสริมประสานใหคณาจารย ไดรับการฝกอบรมและพัฒนาดานวิชาการ สงเสริมความกาวหนา และพัฒนาใหมีตําแหนงทางวิชาการ การ วิเคราะห วิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐทางอาชีวศึกษา การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีเปนประโยชนตอ การเรยี นการสอน และการฝกอบรมวิชาชพี ในแผนปฏิบตั ิราชการประจาํ ปง บประมาณ (๒) กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินโครงการ กิจกรรม การดําเนินการเก่ียวกับ การสงเสริม ประสานใหคณาจารยไดรับการฝกอบรมและพัฒนาดานวิชาการ สงเสริมความกาวหนา และพัฒนาใหมี ตําแหนงทางวิชาการ การวิเคราะห วิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐทางอาชีวศึกษา การพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมที่เปนประโยชนตอการเรียนการสอน และการฝกอบรมวิชาชีพ ตามแผนปฏิบัติราชการประจําป งบประมาณ (๓) ประสานงานกับสวนราชการในสังกัดสถาบันใหคณาจารย นักศึกษาในระดับปริญญาตรี รวมกับทุกภาคสวนท่ีเกี่ยวของ ดําเนินการเกี่ยวกับ การสงเสริมประสานใหคณาจารยไดรับการฝกอบรมและ พัฒนาดานวิชาการ สงเสริมความกาวหนา และพัฒนาใหมีตําแหนงทางวิชาการ การวิเคราะห วิจัยและพัฒนา สิ่งประดิษฐทางอาชีวศึกษา การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทเี่ ปนประโยชนตอการเรียนการสอน และการ ฝกอบรมวิชาชีพ ใหเ กิดความตอเนอื่ งอยา งย่งั ยืน ๑๑) ควบคุม กํากับ ดูแลและส่ังการ การดําเนินการและประสานเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรการ อาชีวศกึ ษาและวชิ าชีพมาตรฐานการอาชีวศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ (๑) จัดทําแผนงาน โครงการ กิจกรรม การดําเนินการและประสานเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร การอาชีวศึกษาและวิชาชีพมาตรฐานการอาชีวศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ ในแผนปฏิบัติราชการประจําป งบประมาณ

20 (๒) กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินโครงการ กิจกรรม การดําเนินการและประสานเกี่ยวกับ การพัฒนาหลักสูตรการอาชีวศึกษาและวิชาชีพมาตรฐานการอาชีวศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ ตาม แผนปฏบิ ัติราชการประจําปง บประมาณ (๓) ประสานงานกับสวนราชการในสังกัดสถาบันใหคณาจารย นักศึกษาในระดับปริญญาตรี รวมกับองคกรทั้งภาครัฐ เอกชน หรือ ชุมชน วัด หรือภาคประชาชน ที่เกี่ยวของ มีสวนรวมเกย่ี วกับการพัฒนา หลกั สตู รการอาชีวศกึ ษาและวิชาชีพมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา และมาตรฐานวชิ าชพี ใหเกิดความตอ เนอ่ื งอยา งยง่ั ยืน -------------------------------------------------------------

บทท่ี ๓ แนวคดิ โครงสรา งการบรหิ ารจดั การ อาชวี ศึกษาบณั ฑิต สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก ๓.๑ กรอบแนวคิดการแตง ตั้ง คณะกรรมการอาชวี ศกึ ษาบณั ฑิต ๑) เพ่ือปฏบิ ัตติ าม พ.ร.บ. การอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ตามความในมาตรา ๓๗ ในวิทยาลัยแตละแหงใหมีคณะกรรมการวิทยาลัยคณะหน่ึงมีหนาท่ีใน การสงเสริม สนับสนุน ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพเพ่ือ พัฒนาแนวทางการดําเนินงานของวิทยาลัยประกอบดวยผูแทนครูหรือคณาจารย ผูแทนผูปกครองผูแทน องคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูแทนศิษยเกาของวิทยาลัยแหงน้ันผูแทนพระภิกษุสงฆ ผูแทนองคก รศาสนาอ่นื ในพืน้ ที่ และผูทรงคณุ วฒุ ิ นอกจากกรรมการตามวรรคหน่ึงแลว คณะกรรมการวิทยาลัยอาจมีผูแทนสถานประกอบการดาน ธุรกิจ การพาณิชย การเกษตร หรืออุตสาหกรรม ผูแทนหอการคาจังหวัด และผูแทนองคกรดานอาชีวศึกษาใน พ้ืนท่ี เปน กรรมการเพิม่ ข้นึ ได ในกรณีที่วิทยาลัยใดไมอาจมีผูแทนประเภทใดประเภทหน่ึงตามท่ีไดกําหนดไวในวรรคหนึ่งให คณะกรรมการวทิ ยาลัยของวทิ ยาลัยน้นั ประกอบดว ยกรรมการเทา ท่ีมีอยู จํานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการการ ประชุม วาระการดํารงตําแหนงและการพนจากตําแหนงของคณะกรรมการวทิ ยาลัย ใหเปน ไปตามทกี่ ําหนดใน กฎกระทรวง ๒) อางถึงกฎกระทรวง กําหนดจํานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑการสรรหา การเลือกประธาน กรรมการและกรรมการ การประชุม วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของคณะกรรมการ วิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๓ น้ัน อาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ควรมีการแตงตั้ง คณะกรรมการคณะกรรมการวิทยาลัย/อาชวี ศกึ ษาบณั ฑิต ดงั น้ี คณะกรรมการวิทยาลยั /อาชีวศึกษาบณั ฑิต ประกอบดวย (๑) กรรมการทเ่ี ปน ผแู ทนครหู รอื คณาจารย จาํ นวนหน่งึ คน (๒) กรรมการท่เี ปนผูแทนผปู กครอง จํานวนหนึ่งคน (๓) กรรมการที่เปน ผแู ทนองคก รชมุ ชน จํานวนหนึ่งคน (๔) กรรมการทเี่ ปนผูแทนองคก รปกครองสว นทองถ่นิ จาํ นวนหนงึ่ คน

22 (๕) กรรมการที่เปนผแู ทนศิษยเ กา จํานวนหนึง่ คน (๖) กรรมการที่เปนผูแ ทนพระภกิ ษสุ งฆหรอื ผแู ทนองคก รศาสนาอ่ืนในพน้ื ท่ี จาํ นวนสองรูป หรอื สองคน (๗) กรรมการท่เี ปนผูแทนสถานประกอบการดา นธุรกิจ การพาณชิ ย การเกษตร หรอื อุตสาหกรรม ผแู ทนหอการคาจังหวัด และผูแทนองคก รดา นอาชีวศึกษาในพ้ืนที่ จํานวนไมเ กนิ หาคน (๘) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซ่ึงมีความรู ความสามารถ ความเชี่ยวชาญและประสบการณสูง ทางดานการบริหารการอาชีวศึกษา ดานเศรษฐกิจและสังคม ดานอุตสาหกรรม ดานเกษตรกรรมและการ ประมง ดานธุรกิจและการบริการ ดานศิลปหัตถกรรม ดานคหกรรมหรือดานการศึกษาพิเศษจํานวนไมนอย กวาสี่คนแตไมเ กินหกคน ใหก รรมการตามวรรคหนึ่งรวมกนั เลอื กกรรมการผทู รงคณุ วฒุ คิ นหนง่ึ เปน ประธานกรรมการ ใหผบู รหิ ารสถานศกึ ษาเปนกรรมการและเลขานุการของ คณะกรรมการวทิ ยาลัย/อาชีวศกึ ษา บณั ฑิต ๓.๒ กรอบแนวคดิ การกําหนดโครงสรา งการบรหิ าร อาชวี ศึกษาบณั ฑติ ๑) อางประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การจัดตั้งสวนราชการในสถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวนั ออก สงั กัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวนั ท่ี ๒๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒) อางถึงหนังสือสํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ) ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๕/ว ๑๙ ลงวันท่ี ๙ ตุลาคม ๒๕๖๑ เร่ือง การกําหนดกรอบอัตรากําลังขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตําแหนงบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๓๘ ค. (๒) และเพื่อใหสอดคลองกับการ ปฏบิ ตั ิงานจริงในสถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกตามอตั รากาํ ลังทไ่ี ดร ับ ๓) อา งถึง บทที่ ๒ หัวขอ ๒.๑ การวิเคราะหรายละเอยี ดของงานในอาํ นาจหนาที่ อาชวี ศกึ ษาบัณฑติ ๔) ตามขอ ๑) ถึงขอ ๔) คณะผูจัดทํา ไดสังเคราะหและสรุปกรอบแนวคิดโครงสรางการบริหาร อาชวี ศึกษาบัณฑติ ดังในภาพที่ ๒

23 คณะกรรมการอาชีวศึกษาบณั ฑติ ผูอํานวยการอาชีวศกึ ษาบัณฑติ กลุมมาตรฐานและ กลมุ ประกันคณุ ภาพ คณะวชิ า/ภาควชิ า/สาขาวชิ า พัฒนาหลักสูตร มงี านดังนี้ มงี านดงั น้ี หลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ (ทล.บ.) ๑. งานบรหิ ารท่วั ไป ๑. งานบรหิ ารทั่วไป ๑. สาขาวิชาการบัญชี (วอศ.ชลบุรี) ๒. งานทะเบียนและวฒุ ิทางการ ๒. งานบรกิ ารและพัฒนาผลงาน ๒. สาขาวิชาคอมพิวเตอรธรุ กจิ (วอศ.ชลบุร)ี ศึกษาวชิ าชพี วิชาการ ๓. สาขาวิชาเทคโนโลยีเครือ่ งกล (วท.รยะอง) ๓. งานหลักสูตรการเรยี นการสอน ๓. งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ๔. สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟา (วท.รยะอง) ๔. งานวัดผลประเมินผลการศึกษา ๔. งานมาตรฐานการศกึ ษา ๕. สาขาวชิ าเทคโนโลยีปโตรเคมี (วท.ระยอง) ๕. งานอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี ๖. สาขาวิชาเทคโนโลยพี ลังงาน (วท.ระยอง) และความรวมมือ ๗. สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (วท.ระยอง) ๖. งานกจิ กรรมนกั ศกึ ษาระดบั ๘. สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนิกส ปรญิ ญาตรี (วท.จนั ทบุร)ี ๙. สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารโยธา (วท.จันทบรุ ี) ๑๐. สาขาวิชาเทคโนโลยไี ฟฟา (วอท.ฐานวิทยช ลบรุ ี) ภาพที่ 2 แสดงกรอบแนวคิดโครงสรางการบรหิ ารอาชีวศึกษาบณั ฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก ๓.๓ การออกเลขที่หนงั สือ ประจาํ อาชวี ศึกษาบณั ฑติ ในปจ จุบันนี้ (10 กันยายน 2563) อาชวี ศึกษาบณั ฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ยงั ไมมี เลขทห่ี นงั สอื เพือ่ ใชใ นการตดิ ตอ ประสานงานกบั หนวยงานตา งๆ ใหก ารดําเนนิ การเกดิ ความ สะดวก รวดเร็ว และมปี ระสทิ ธิภาพ ดงั นน้ั จึงจําเปน อยา งยิ่งทีจ่ ะตอ งดําเนินการใหม เี ลขทีห่ นงั สอื เพือ่ ใหปฏบิ ัติตามอํานาจ หนา ทข่ี องอาชีวศกึ ษาบัณฑติ

บทที่ ๔ กรอบแนวทางการพฒั นา อาชีวศึกษาบัณฑติ สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก ๔.๑ วสิ ยั ทศั น “มุงผลิตบณั ฑิตใหมีคณุ ธรรม และ คณุ ภาพในระดบั มาตรฐานสากล” ๔.๒ พนั ธกจิ ๑. บริหารจดั การศึกษาและวชิ าชพี โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล และปรัชญาของเศรษกิจพอเพยี ง โดย สรางเครือขา ยทัง้ ในและตางประเทศ ๒. สง เสริมการวิจัย นวตั กรรม เทคโนโลยี และสิง่ ประดษิ ฐ เพือ่ สรา งองคความรู และพฒั นาอาชีพให ตอบสนองความตอ งการของสังคม ๓. บริการวชิ าการ วชิ าชพี และถา ยทอดวิทยาการ เทคโนโลยีสูสงั คม ๔. สงเสรมิ และทะนุบํารุงศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และอนรุ ักษสง่ิ แวดลอ ม ๔.๓ เปา ประสงค ๑. เปนองคกรทไี่ ดร บั การรบั รองมาตรฐานระดับชาติ ๒. ผสู ําเรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาตรมี ีคณุ ภาพเปนทยี่ อมรับของสถานประกอบการ และผูใ ชบ รกิ าร บัณฑติ ๓. นวัตกรรม เทคโนโลยี และสิ่งประดิษฐข องผเู รยี นสามารถนําไปใชป ระโยชนแ ละเผยแพรใน ระดบั ชาติหรือนานาชาติ ๔. ผลงานวิจยั ของครู คณาจารยไดรับการเผยแพรใ นระดบั ชาตหิ รอื นานาชาติ ๕. เปนศูนยกลางการถา ยทอดความรวู ชิ าการ วชิ าชีพ และเทคโนโลยที ที่ นั สมยั ๖. ชุมชน สังคมมีองคความรู นาํ ไปสกู ารสรา งงานสรา งอาชพี ๗. ผเู รยี นเกิดจิตสาธารณะรบั ผิดชอบตอ สังคม ๘. รว มมอื กับภาคประชาสังคมในการธํารง รกั ษาไวซ ่งึ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และส่ิงแวดลอมของชาติ

25 ๔.๔ กําหนดกลยุทธ การพฒั นาอาชวี ศกึ ษาบัณฑติ กลยทุ ธท ่ี ๑ พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการอยางมีคุณภาพ มคี ณุ ธรรมใหเ ปนทยี่ อมรบั ของทุกภาคสว น กลยุทธท ี่ ๒ ผลติ และพัฒนากําลงั คนอาชวี ศึกษาทมี่ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค กลยุทธท ี่ ๓ สรา งสรรคง านวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี และส่ิงประดษิ ฐ ทต่ี อบสนองทศิ ทางการ พฒั นาประเทศอยางย่งั ยนื กลยทุ ธที่ ๔ พฒั นาองคก รแหงการเรียนรู เพ่อื บริการวชิ าการและวิชาชีพ อยางยัง่ ยืน กลยทุ ธท ่ี ๕ ขยายเครอื ขายความรวมมือสูท กุ ภาคสว น ทงั้ ในประเทศและตา งประเทศ ๔.๕ แนวทางการบรหิ ารอาชีวศึกษาบณั ฑิต กลยทุ ธท ี่ ๑ พฒั นาระบบการบริหารจดั การอยา งมีคณุ ภาพ มีคุณธรรมใหเ ปนทย่ี อมรับของทกุ ภาคสว น มีแนวทางดงั นี้ ๑.๑ สรางความเขา ใจอาํ นาจหนาที่ตามระเบียบ ขอบงั คบั กฏหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง หลักคณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี ๑.๒ พัฒนาระบบการบริหารและบริหารจัดการ ยึดหลักคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี และดําเนนิ การตามหลกั ธรรมาภบิ าล ๑.๓ บริหารจดั การ ยึดหลกั ความรว มมอื ทกุ ภาคสว นท่เี กีย่ วขอ ง ดวยความรว มมอื ระหวา ง ภาคเอกชน ภาครัฐ และภาคสังคม ๑.๔ บรหิ ารจดั การ คน งาน และงบประมาณ ตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม ในแผนปฏิบตั ิ ราชการประจาํ ปงบประมาณ ใหมปี ระสทิ ธภิ าพ กลยุทธท่ี ๒ ผลิตและพฒั นากําลังคนอาชวี ศกึ ษาทมี่ ีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคใ นระดบั มาตรฐานสากล มแี นวทางดงั น้ี ๒.๑ ปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สตู รระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั ิการใหมคี วาม ทนั สมัย สอดคลอ ง รองรับพ้ืนท่ีเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก (EEC) และการพัฒนาประเทศ ๑๐ อุตสาหกรรมเปา หมาย ๒.๒ สนับสนนุ สง เสริมการพฒั นาคณาจารย บุคลากรทางการศึกษา ใหม ีสมรรถนะ คณุ วุฒิ การศกึ ษาที่สงู ข้ึนในระดบั มาตรฐานสากล ๒.๓ สนบั สนุน สง เสริม จัดหา ส่ิงสนับสนุนการเรียนรูท่มี ปี ริมาณและคณุ ภาพทพี่ อเพียง ๒.๔ สนบั สนนุ สง เสรมิ จัดการศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี ใหมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ในระดับมาตรฐานสากล ๒.๕ สงเสรมิ สนับสนุน การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระดบั สถาบนั และระดับหลักสตู ร ใหมี คุณภาพ ในระดบั มาตฐานสากล

26 ๒.๖ พฒั นาระบบการกาํ กบั ติดตาม นเิ ทศ และการวดั ผลประเมินผล ระบบประกนั คุณภาพ การศกึ ษาระดบั สถาบัน และระดบั หลักสตู ร ใหม ปี ระสิทธภิ าพ ๒.๗ พัฒนาระบบการจัดการฐานขอ มลู และงานสารสนเทศเพือ่ เพ่ิมศกั ยภาพและสนับสนุนการ เรยี นรตู ลอดชีวิต กลยุทธท ี่ ๓ สรา งสรรคง านวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี และสงิ่ ประดษิ ฐ ท่ีตอบสนองทิศทางการ พัฒนาประเทศอยา งยง่ั ยนื ๓.๑ พัฒนาคณาจารย นกั ศกึ ษา และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหม สี มรรถนะดา นดจิ ทิ ลั ในระดบั มาตรฐานสากล ๓.๒ สง เสรมิ สนับสนนุ กระบวนการเรียนรแู บบ Active Learning , STEM Science , Technology, Engineering , Art, Mathematics ,Project Base Learning , Problem-based learning หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหเหมาะสมกับรายวชิ าในทุกสาขาวิชา ๓.๓ สงเสรมิ สนับสนนุ การวจิ ัย การพฒั นาผลงานวิชาการ สื่อ เทคโนโลยี นวตั กรรม ของ คณาจารย นกั ศึกษาใหมคี ณุ ภาพ ในระดับมาตรฐานสากล ๓.๔ สรางวารสารวิชาการ จัดประชุมวิชาการ และระบบบริการวิชาการออนไลน เพื่อรองรับการ เผยแพร ผลงานวิชาการ สื่อ เทคโนโลยี นวัตกรรม ของคณาจารย นักศึกษาใหมีคุณภาพ ในระดับ มาตรฐานสากล กลยทุ ธท่ี ๔ พัฒนาองคกรแหงการเรยี นรู เพอื่ บรกิ ารวิชาการและวชิ าชีพ อยางย่งั ยนื ๔.๑ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอื่ พฒั นาองคก รแหงการเรยี นรู ๔.๒ การพัฒนาองคกรการเรียนรสู ูศตวรรษท่ี ๒๑ ๔.๓ พัฒนาองคค วามรู ระบบการจัดการความรู (KM) รองรับการเรยี นรตู ลอดชวี ิต ๔.๔ การบริการวิชาการ วิชาชพี ถา ยทอดนวัตกรรม เทคโนโลยสี ูสงั คม ๔.๖ ทะนุบํารุง ธํารง รักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ศิลปะ วัฒนธรรม และส่ิงแวดลอม ของชาติ กลยุทธท ่ี ๕ ขยายเครือขา ยความรวมมอื สทู กุ ภาคสว น ท้ังในประเทศและตา งประเทศ ๕.๑ สรางเครือขายความรวมมือ กับทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน ท้ังใน ประเทศและตา งประเทศ ๕.๒ พัฒนาศนู ยบ รกิ ารวิชาชพี และวิชาชีพ หองทดลอง หองวจิ ยั พฒั นาและเคร่ืองมืออปุ กรณ โดยความรว มมอื กับทกุ ภาคสว น ทง้ั ภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน เพอ่ื ประโยชนร วมกันอยา งมี ประสทิ ธิภาพ

27 ภาคผนวก

28 ภาคผนวก ก พระราชบัญญตั ิ การอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๔๓ ก หนา ๑ 29 ราชกิจจานุเบกษา ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ พระราชบญั ญตั ิ การอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร. ใหไว ณ วนั ที่ ๒๖ กุมภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนปท ่ี ๖๓ ในรัชกาลปจ จบุ นั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหประกาศวา โดยท่เี ปนการสมควรมีกฎหมายวา ดว ยการอาชวี ศกึ ษา พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๒ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บญั ญัติใหกระทําไดโ ดยอาศยั อํานาจตามบทบัญญัตแิ หงกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานติ ิบญั ญัตแิ หง ชาติ ดังตอ ไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตินีเ้ รียกวา “พระราชบญั ญตั กิ ารอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน ตน ไป

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๒ 30 ราชกิจจานเุ บกษา ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ มาตรา ๓ พระราชบัญญตั นิ ี้ไมใ ชบงั คบั กบั การจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพ ซงึ่ ดาํ เนนิ การโดยหนว ยงานของรัฐตามกฎหมายอืน่ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตนิ ้ี “การอาชีวศึกษา” หมายความวา กระบวนการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากําลังคนในดาน วชิ าชีพระดบั ฝม อื ระดับเทคนิค และระดบั เทคโนโลยี “การฝก อบรมวชิ าชพี ” หมายความวา การเพิม่ พนู ความรูและการฝก ทักษะอาชพี ระยะส้ันหรือ ระยะยาว ท้ังในและนอกสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษา ซ่ึงจัดข้ึนเปนโครงการ หรือสาํ หรับกลมุ เปา หมายเฉพาะภายใตหลกั สตู รทีค่ ณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนด “สถาบัน” หมายความวา สถาบันการอาชีวศึกษาของรัฐท่ีจัดต้ังข้ึนเพ่ือดําเนินการจัดการ อาชีวศกึ ษาและการฝกอบรมวชิ าชพี ตามพระราชบญั ญตั ินี้ “สถานประกอบการ” หมายความวา สถานประกอบการท่ีรวมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษา หรอื สถาบันการอาชีวศึกษาในสงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพ่ือจัดการอาชีวศึกษาและ การฝกอบรมวชิ าชพี ท้งั นี้ ตามหลักเกณฑทีค่ ณะกรรมการการอาชวี ศึกษากําหนด “มาตรฐานการอาชีวศึกษา” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพและ มาตรฐานในการจัดการอาชีวศึกษาที่พึงประสงค เพ่ือใชเปนเกณฑในการสงเสริม การกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคณุ ภาพการจัดการอาชีวศึกษา “กองทนุ ” หมายความวา กองทนุ เพือ่ พัฒนาการอาชวี ศกึ ษาและการฝกอบรมวิชาชพี “คณะกรรมการการอาชีวศึกษา” หมายความวา คณะกรรมการการอาชีวศึกษาตามกฎหมาย วา ดวยระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร “รฐั มนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผรู ักษาการตามพระราชบัญญตั นิ ี้ มาตรา ๕ ใหรัฐมนตรีวา การกระทรวงศึกษาธกิ ารรกั ษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และใหมี อํานาจออกกฎกระทรวงและประกาศเพอื่ ปฏิบัติการตามพระราชบญั ญัติน้ี กฎกระทรวงและประกาศนัน้ เมอ่ื ไดประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลวใหใชบงั คบั ได

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๓ 31 ราชกิจจานุเบกษา ๕ มนี าคม ๒๕๕๑ หมวด ๑ บททวั่ ไป มาตรา ๖ การจัดการอาชวี ศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพตองเปนการจัดการศึกษาในดาน วชิ าชีพท่ีสอดคลอ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาตแิ ละแผนการศึกษาแหง ชาติ เพ่ือผลติ และ พฒั นากาํ ลังคนในดานวิชาชพี ระดบั ฝมอื ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี รวมท้ังเปนการยกระดับ การศึกษาวิชาชีพใหสูงขึ้นเพื่อใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน โดยนําความรูในทาง ทฤษฎอี ันเปนสากลและภูมิปญญาไทยมาพัฒนาผูรับการศึกษาใหมีความรูความสามารถในทางปฏิบัติ และมสี มรรถนะจนสามารถนําไปประกอบอาชีพในลกั ษณะผูปฏบิ ัติหรอื ประกอบอาชีพโดยอิสระได มาตรา ๗ การจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพใหจัดไดในสถานศึกษา อาชีวศึกษาและสถาบนั ตามทบี่ ญั ญตั ิไวในพระราชบัญญตั ิน้ี มาตรา ๘ การจดั การอาชวี ศกึ ษาและการฝกอบรมวิชาชพี ใหจัดได โดยรูปแบบ ดงั ตอ ไปนี้ (๑) การศึกษาในระบบ เปนการจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีเนนการศึกษาในสถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบันเปนหลัก โดยมีการกําหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา การวัดและการประเมนิ ผลทีเ่ ปน เงอ่ื นไขของการสําเร็จการศกึ ษาทีแ่ นน อน (๒) การศึกษานอกระบบ เปนการจัดการศึกษาวิชาชีพที่มีความยืดหยุนในการกําหนด จุดมงุ หมาย รปู แบบ วิธีการศึกษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผลที่เปนเง่ือนไขของการสําเร็จ การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสมและสอดคลองกับสภาพปญหาและ ความตอ งการของบคุ คลแตละกลุม (๓) การศึกษาระบบทวิภาคี เปนการจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีเกิดจากขอตกลงระหวาง สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรอื สถาบนั กบั สถานประกอบการ รฐั วิสาหกิจ หรือหนวยงานของรัฐ ในเร่ือง การจัดหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดยผูเรียนใชเวลาสวนหนึ่งใน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน และเรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานของรฐั

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๔ 32 ราชกิจจานุเบกษา ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ เพอื่ ประโยชนในการผลติ และพฒั นากาํ ลงั คน สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันสามารถจัด การศึกษาตามวรรคหนึ่งในหลายรปู แบบรวมกนั กไ็ ด ทง้ั น้ี สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันนั้นตอง มงุ เนน การจดั การศกึ ษาระบบทวิภาคีเปน สําคัญ มาตรา ๙ การจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพตามมาตรา ๖ มาตรา ๗ และ มาตรา ๘ ใหจดั ตามหลักสตู รทค่ี ณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากาํ หนด ดังตอ ไปน้ี (๑) ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (๒) ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้ันสงู (๓) ปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัตกิ าร คณะกรรมการการอาชีวศึกษาอาจกําหนดหลักสูตรที่จัดขึ้นเพื่อความรู หรือทักษะในการ ประกอบอาชีพหรอื การศึกษาตอ ซึ่งจัดข้นึ เปนโครงการหรอื สําหรบั กลุมเปา หมายเฉพาะได มาตรา ๑๐ เพ่ือใหบ รรลวุ ัตถุประสงคตามมาตรา ๖ การจัดการอาชีวศกึ ษาและการฝกอบรม วชิ าชีพตองคาํ นงึ ถึง (๑) การมีเอกภาพดา นนโยบายและมีความหลากหลายในทางปฏิบัติโดยมีการกระจายอํานาจ จากสว นกลางไปสสู ถานศกึ ษาอาชีวศึกษาและสถาบัน (๒) การศึกษาในดานวิชาชีพสําหรับประชาชนวัยเรียนและวัยทํางานตามความถนัดและ ความสนใจอยา งท่วั ถึงและตอเน่ืองจนถึงระดบั ปริญญาตรี (๓) การมีสวนรวมของชุมชน สังคม และสถานประกอบการในการกําหนดนโยบาย การผลิตและพัฒนากาํ ลงั คน รวมทงั้ การกาํ หนดมาตรฐานการอาชวี ศึกษา (๔) การศึกษาท่ีมีความยืดหยุน หลากหลาย และมีระบบเทียบโอนผลการเรียนและระบบ เทียบประสบการณก ารทาํ งานของบคุ คลเพ่ือเขา รบั การศกึ ษาและการฝกอบรมวิชาชพี อยา งตอเนือ่ ง (๕) การมีระบบจูงใจใหสถานประกอบการมีสวนรวมในการจัดการอาชีวศึกษาและ การฝกอบรมวชิ าชพี (๖) การระดมทรพั ยากรท้งั จากภาครัฐและเอกชนในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรม วชิ าชีพ โดยคํานงึ ถงึ การประสานประโยชนอยางทั่วถงึ และเปน ธรรม (๗) การมรี ะบบการพัฒนาครูและคณาจารยของการอาชีวศึกษาอยางตอเนื่อง เพ่ือใหทันตอ ความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๕ 33 ราชกจิ จานุเบกษา ๕ มนี าคม ๒๕๕๑ มาตรา ๑๑ นอกจากอํานาจหนา ทีต่ ามกฎหมายวาดวยการศกึ ษาแหงชาติและกฎหมายวาดวย ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ใหคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) พิจารณาเสนอแนะนโยบาย เปาหมายการผลิตและแผนการพัฒนากําลังคนดานวิชาชีพ ตอรฐั มนตรี (๒) กําหนดหลักเกณฑการจัดตั้ง การรวม และการแยกสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน ตามมาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔ (๓) กําหนดหลักเกณฑในการรับเขาสมทบ การยกเลิกการสมทบ และการควบคุมดูแล สถานศึกษาอน่ื หรือสถานประกอบการ (๔) กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับลักษณะของสถานประกอบการที่จะเขารวมจัดการ อาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพ หลักสูตรการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพในสถาน ประกอบการ ตลอดจนหลกั เกณฑก ารฝกงาน และการเทียบโอนผลการเรียนหรือประสบการณทํางาน ในสถานประกอบการ เพื่อขอรบั คุณวุฒกิ ารศกึ ษาจากสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาหรือสถาบัน (๕) กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการกํากับดูแลและการใหการรับรองมาตรฐานสถานศึกษา อาชีวศกึ ษา สถาบนั และสถานประกอบการใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศกึ ษาแหง ชาติ (๖) กาํ หนดหลกั เกณฑและเง่ือนไขเก่ียวกับการไดรับสิทธิประโยชนและการเชิดชูเกียรติแก สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ หรือองคกรอ่ืน ตลอดจนการสงเสริมความรวมมือในการจัดการ อาชีวศกึ ษาและการฝก อบรมวชิ าชีพระหวา งสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา สถาบัน และสถานประกอบการ (๗) กําหนดหลักเกณฑในการแตงต้ัง การทดสอบ การฝกอบรมและการออกใบรับรอง การเปนครฝู ก ในสถานประกอบการตามมาตรา ๕๕ (๘) เสนอแนะเก่ียวกับการจัดสรรงบประมาณและการกําหนดนโยบายในการระดมทุน ทรพั ยากร รายได หรอื การจดั ตงั้ กองทุนอ่นื ตอรฐั มนตรี (๙) สงเสริม สนับสนุน กํากับ และดูแลระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา อาชวี ศึกษา สถาบันหรือสถานประกอบการเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๖ 34 ราชกิจจานเุ บกษา ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ (๑๐) แตงต้ังคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือบุคคลหน่ึงบุคคลใดเพ่ือกระทําการใด อนั อยใู นอํานาจหนา ท่ขี องคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (๑๑) ออกขอ บงั คับ ระเบียบ และประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพ่ือปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตนิ ้ี (๑๒) ปฏบิ ตั กิ ารอนื่ ตามพระราชบญั ญตั นิ ห้ี รือตามท่ีคณะรัฐมนตรมี อบหมาย หมวด ๒ สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา มาตรา ๑๒ เพือ่ ประโยชนใ นการพัฒนาการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพเฉพาะดาน หากสถานศึกษาอาชีวศึกษาแหงใดมีความเช่ียวชาญหรือมีประสบการณเฉพาะดานในสาขาวิชาชีพ ใหคณะกรรมการการอาชีวศึกษาสงเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาอาชีวศึกษาน้ันเพื่อใหสามารถ จัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพไดอยางตอเนื่อง และไดรับการพัฒนาใหทันตอการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี หมวด ๓ สถาบนั การอาชวี ศึกษา สวนท่ี ๑ การจัดต้ัง มาตรา ๑๓ สถานศึกษาอาชีวศึกษาสามารถรวมกันเปนสถาบนั ได การรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพ่ือจัดตั้งเปนสถาบันใหกระทําไดโดยคําแนะนําของ คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา และคํานงึ ถงึ การประสานความรวมมือใหเกิดประโยชนสูงสุดในการใช ทรัพยากรรว มกัน ทั้งนี้ ใหเ ปนไปตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง ในการดําเนินการตามวรรคสอง ถามีความเหมาะสมหรือมีความจําเปนจะแยกสถานศึกษา อาชีวศกึ ษาสวนหน่ึงสว นใดมารวมกับสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาอกี แหง หนงึ่ เพอื่ จัดตัง้ เปนสถาบันกไ็ ด

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๔๓ ก หนา ๗ 35 ราชกจิ จานุเบกษา ๕ มนี าคม ๒๕๕๑ มาตรา ๑๔ ในกรณีท่ีมีความเหมาะสมหรือมีความจําเปน จะจัดตั้งสถาบันเพ่ือดําเนินการ จัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพตามพระราชบัญญัติน้ีก็ได ทั้งนี้ โดยใหออกเปน กฎกระทรวง มาตรา ๑๕ ใหสถาบนั ตามมาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔ เปน นิตบิ ุคคลและเปนสวนราชการ ในสงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการแบงสวนราชการของสถาบันตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดใน กฎกระทรวง สว นที่ ๒ การดําเนินการ มาตรา ๑๖ ใหสถาบันตามมาตรา ๑๕ เปนสถาบันอุดมศึกษาดานวิชาชีพและเทคโนโลยี มีวัตถุประสงคใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพช้ันสูงที่ชํานาญการปฏิบัติการสอน การวิจัย การถายทอดวทิ ยาการและเทคโนโลยี ทะนุบาํ รงุ ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม และอนุรักษสิ่งแวดลอม รวมทัง้ ใหบรกิ ารวชิ าการและวชิ าชีพแกสงั คม มาตรา ๑๗ สถาบันอาจแบง สว นราชการ ดงั ตอไปน้ี (๑) สาํ นกั งานผูอํานวยการสถาบัน (๒) วทิ ยาลยั (๓) สํานัก (๔) ศนู ย สถาบันอาจใหม ีสว นราชการท่ีเรียกช่ืออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทาวิทยาลัยเพ่ือดําเนินการตาม วัตถปุ ระสงคใ นมาตรา ๑๖ เปน สวนราชการของสถาบนั อีกก็ได สาํ นักงานผูอํานวยการสถาบนั อาจแบงสวนราชการเปนฝา ยหรอื หนวยงานท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืนที่ มฐี านะเทียบเทา ฝา ย วทิ ยาลยั อาจแบงสวนราชการเปน คณะวิชา ภาควชิ า แผนก หรือหนวยงานท่ีเรียกชื่ออยางอื่น ทมี่ ีฐานะเทยี บเทาคณะวิชาหรือภาควิชา

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๔๓ ก หนา ๘ 36 ราชกิจจานุเบกษา ๕ มนี าคม ๒๕๕๑ สํานัก หรือศูนย อาจแบงสวนราชการเปนแผนกหรือหนวยงานท่ีเรียกชื่ออยางอื่นท่ีมีฐานะ เทยี บเทาแผนก มาตรา ๑๘ การจัดต้ัง การรวม และการยุบเลิกสํานักงานผูอํานวยการสถาบันวิทยาลัย สํานัก ศูนยหรือหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาวิทยาลัย ใหทําเปนประกาศ กระทรวงศึกษาธิการและประกาศในราชกจิ จานุเบกษา การแบงสวนราชการภายในสํานักงานผูอํานวยการสถาบัน วิทยาลัย สํานัก ศูนย หรือ หนวยงานทีเ่ รียกชอ่ื อยา งอื่นท่มี ีฐานะเทียบเทาวทิ ยาลยั ใหทาํ เปน ขอบังคบั ของสถาบนั มาตรา ๑๙ ภายใตขอบวัตถุประสงคตามมาตรา ๑๖ สถาบันจะรับสถานศึกษาอ่ืนหรือ สถานประกอบการเขาสมทบในสถาบันเพ่ือประโยชนในการวิจัยและพัฒนามาตรฐานการอาชีวศึกษา และการฝกอบรมวิชาชีพได และมีอํานาจใหประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง หรือปรญิ ญาตรแี กผ ูท่ศี ึกษาจากสถานศกึ ษาหรอื สถานประกอบการ และสาํ เร็จการศึกษาตามหลักเกณฑ ของสถาบนั ได การรบั เขาสมทบ และการยกเลิกการเขา สมทบของสถานศกึ ษาอืน่ หรอื สถานประกอบการตาม วรรคหน่ึง ใหเปน ไปตามขอบงั คบั ของสถาบนั และประกาศในราชกจิ จานุเบกษา การควบคุมสถานศึกษาอื่นหรือสถานประกอบการท่ีเขาสมทบในสถาบันใหเปนไปตาม ขอ บังคบั ของสถาบนั มาตรา ๒๐ นอกจากเงินท่กี าํ หนดไวในงบประมาณแผน ดิน สถาบนั อาจมีรายไดด งั ตอ ไปนี้ (๑) เงนิ ผลประโยชน คาธรรมเนียม คาปรับ และคาบรกิ ารตาง ๆ ของสถาบัน (๒) เงินและทรัพยสินซ่งึ มผี อู ุทศิ ใหแกส ถาบนั (๓) รายไดห รอื ผลประโยชนท ีไ่ ดจ ากการลงทนุ และจากทรพั ยสินของสถาบนั (๔) รายไดหรือผลประโยชนท่ีไดจากการใชที่ราชพัสดุ ซ่ึงสถาบันปกครอง ดูแล หรอื ใชประโยชน (๕) เงินอุดหนุนจากราชการสวนทองถ่ินหรือเอกชน หรือองคกรระหวางประเทศ หรอื เงินอุดหนนุ อืน่ ทสี่ ถาบนั ไดร บั เพือ่ ใชในการดําเนินกิจการของสถาบนั (๖) รายไดหรอื ผลประโยชนอื่น

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๔๓ ก หนา ๙ 37 ราชกจิ จานุเบกษา ๕ มนี าคม ๒๕๕๑ ใหส ถาบันมอี าํ นาจในการปกครอง ดแู ล บํารงุ รักษา ใช และจดั หาผลประโยชนจ ากทรพั ยส นิ ของสถาบนั ท้ังทเ่ี ปน ท่ีราชพัสดตุ ามกฎหมายวา ดว ยที่ราชพัสดุและทีเ่ ปนทรัพยส นิ อน่ื รวมทง้ั การจดั หา รายไดจากการใหบรกิ ารและการจดั เกบ็ คาธรรมเนยี มการศกึ ษาของสวนราชการในสถาบนั บรรดารายไดแ ละผลประโยชนของสถาบนั เบยี้ ปรบั ทเี่ กดิ จากการดําเนนิ การตามวัตถุประสงค ของสถาบัน เบย้ี ปรบั ทเี่ กดิ จากการผิดสญั ญาลาศึกษา และเบีย้ ปรบั ท่ีเกิดจากการผิดสัญญาซื้อทรัพยสิน หรือสัญญาจางทําของท่ีดําเนินการโดยใชเงินงบประมาณแผนดิน ไมเปนรายไดที่ตองนําสงคลัง ตามกฎหมายวาดว ยเงนิ คงคลัง และกฎหมายวาดวยวธิ ีการงบประมาณ มาตรา ๒๑ บรรดาอสังหารมิ ทรัพยท่สี ถาบันไดมาโดยมีผูอุทิศใหห รือไดม า โดยการซ้ือหรือ การแลกเปลี่ยนจากเงินและทรัพยสนิ ซ่ึงมีผอู ทุ ิศใหแกสถาบนั ตั้งแตวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีมีผลใชบังคับ ไมถือเปน ทีร่ าชพสั ดแุ ละใหเปน กรรมสทิ ธิ์ของสถาบนั มาตรา ๒๒ บรรดารายไดแ ละทรพั ยส ินของสถาบนั จะตองจัดการเพ่ือประโยชนตามวัตถุประสงค ของสถาบนั ตามมาตรา ๑๖ เงินและทรัพยสินซ่ึงมีผูอุทิศใหแกสถาบัน จะตองจัดการตามเงื่อนไขที่ผูอุทิศไดกําหนดไว และจะตองเปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคข องสถาบัน แตถามีความจําเปนตองเปลี่ยนแปลงเง่ือนไขดังกลาว สถาบันตองไดรบั ความยินยอมจากผูอุทิศใหหรือทายาท หากไมมีทายาทหรือทายาทไมปรากฏจะตอง ไดรบั อนุมัตจิ ากสภาสถาบัน สว นที่ ๓ สภาสถาบนั และผูบ รหิ ารสถาบนั มาตรา ๒๓ ใหมีคณะกรรมการสภาสถาบันในสถาบันแตละแหง จํานวนไมเกินสิบส่ีคน ประกอบดว ย (๑) นายกสภาสถาบนั ซ่งึ รฐั มนตรีแตงต้งั โดยคําแนะนาํ ของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (๒) กรรมการสภาสถาบันโดยตําแหนง ไดแก ผูอํานวยการสถาบัน (๓) กรรมการสภาสถาบันจํานวนสี่คน ซึ่งเลือกจากบุคคลที่สํานักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศึกษาเสนอ

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๔๓ ก หนา ๑๐ 38 ราชกิจจานเุ บกษา ๕ มนี าคม ๒๕๕๑ (๔) กรรมการสภาสถาบันจาํ นวนสคี่ น ซึง่ เลือกจากผูดํารงตําแหนงผูบริหารสถาบันจํานวน สองคน และครหู รอื คณาจารยป ระจาํ ทมี่ ไิ ดเปนผูบรหิ ารจาํ นวนสองคน (๕) กรรมการสภาสถาบันผูทรงคุณวุฒิจํานวนส่ีคน ซ่ึงรัฐมนตรีแตงตั้งจากบุคคลภายนอก สถาบันโดยคําแนะนําของกรรมการสภาสถาบันตาม (๓) และ (๔) ในจํานวนนี้จะตองเปน ผู ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ จ า ก ภ า ค เ อ ก ช น จํ า น ว น ห น่ึ ง ค น แ ล ะ จ า ก อ ง ค ก ร ป ก ค ร อ ง ส ว น ท อ ง ถิ่ น ที่ ส ถ า บั น หรอื สถานศกึ ษาในสงั กดั สถาบันนน้ั ตั้งอยูจาํ นวนหนึ่งคน คุณสมบัติของผูดํารงตําแหนงนายกสภาสถาบัน กรรมการสภาสถาบันตาม (๓) และ กรรมการสภาสถาบันผูทรงคุณวุฒิตาม (๕) หลักเกณฑ และวิธีการเลือกหรือสรรหากรรมการสภา สถาบันตาม (๓) (๔) และ (๕) ใหเปนไปตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวง ใหสภาสถาบันแตงต้ังรองผูอํานวยการสถาบันคนหนึ่งเปนเลขานุการคณะกรรมการสภา สถาบันโดยคาํ แนะนาํ ของผอู ํานวยการสถาบนั มาตรา ๒๔ นายกสภาสถาบนั และกรรมการสภาสถาบันตามมาตรา ๒๓ (๓) (๔) และ (๕) มวี าระการดาํ รงตาํ แหนงคราวละสีป่  และจะแตง ตั้งหรืออาจไดรบั เลือกใหมอ กี ได นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามวรรคหนึ่ง นายกสภาสถาบันและกรรมการสภา สถาบนั ตามมาตรา ๒๓ (๓) (๔) และ (๕) พนจากตาํ แหนง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบตั ิของการเปนนายกสภาสถาบันหรือกรรมการสภาสถาบนั ในประเภทนัน้ (๔) ไดรบั โทษจําคุกโดยคาํ พพิ ากษาถงึ ท่สี ุดใหจําคุก (๕) สภาสถาบนั มีมตใิ หออกเพราะมคี วามประพฤติเส่ือมเสีย บกพรองตอหนาที่หรือหยอน ความสามารถ (๖) เปนบคุ คลลมละลาย (๗) เปน คนไรค วามสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ การพนจากตาํ แหนง ตาม (๕) ตองเปนไปตามมติสองในสามของจํานวนกรรมการสภาสถาบัน เทา ท่มี ีอยู

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๔๓ ก หนา ๑๑ 39 ราชกิจจานเุ บกษา ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ ในกรณที ีต่ ําแหนง นายกสภาสถาบันหรือกรรมการสภาสถาบันวางลง ไมวาดวยเหตุใดและยัง มิไดดําเนินการใหไดมาซึ่งนายกสภาสถาบันหรือกรรมการสภาสถาบันแทนตําแหนงท่ีวาง ใหสภา สถาบนั ประกอบดว ยกรรมการสภาสถาบันเทาทม่ี ีอยู ในกรณีที่นายกสภาสถาบันหรือกรรมการสภาสถาบันตามมาตรา ๒๓ (๓) (๔) หรือ (๕) พน จากตาํ แหนง กอนครบวาระและไดม ีการแตงตั้งหรือไดมีการเลือกผูดํารงตําแหนงแทนแลว ใหผูซึ่ง ไดร บั การแตงต้งั หรอื ไดรบั เลือกอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของผูซ่ึงตนแทน แตถาวาระการ ดํารงตําแหนงเหลืออยูนอ ยกวาเกาสบิ วันจะไมดําเนินการใหมีผดู ํารงตาํ แหนง แทนกไ็ ด ในกรณีท่ีนายกสภาสถาบันหรือกรรมการสภาสถาบันตามมาตรา ๒๓ (๓) (๔) และ (๕) พนจากตําแหนงตามวาระ แตยังมิไดแตงตั้งนายกสภาสถาบันหรือกรรมการสภาสถาบันผูทรงคุณวุฒิ หรือยังมิไดเลือกกรรมการสภาสถาบันอื่นขึ้นใหม ใหนายกสภาสถาบันหรือกรรมการสภาสถาบัน ซ่งึ พน จากตาํ แหนง ปฏิบตั หิ นา ทตี่ อไปจนกวา จะไดม นี ายกสภาสถาบนั หรือกรรมการสภาสถาบันใหมแลว ใหมีการดําเนินการใหไดมาซ่ึงนายกสภาสถาบันหรือกรรมการสภาสถาบันตามมาตรา ๒๓ (๓) (๔) และ (๕) ภายในเกา สบิ วันนับแตว ันท่ผี ูนน้ั พน จากตาํ แหนง มาตรา ๒๕ สภาสถาบันมีอํานาจและหนาท่คี วบคมุ ดูแลกิจการทั่วไปของสถาบัน และโดยเฉพาะ ใหม ีอํานาจและหนา ที่ ดงั ตอไปนี้ (๑) อนุมัติแผนพัฒนาของสถาบันเก่ียวกับการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพของ สถาบนั ใหสอดคลอ งกับนโยบายการศึกษาของชาติ (๒) ออกขอบังคับ ระเบยี บ และประกาศของสถาบนั เกี่ยวกับการดําเนินการของสถาบัน (๓) พิจารณาการจัดต้ัง การรวม และการยุบเลิกสวนราชการของสถาบันตามมาตรา ๑๗ รวมทง้ั การแบง หนว ยงานภายในของสว นราชการดงั กลา ว (๔) อนมุ ตั กิ ารรับสถานศึกษาอ่ืนหรอื สถานประกอบการเขาสมทบและการยกเลิกการสมทบ ของสถานศกึ ษาอน่ื หรือสถานประกอบการดังกลาว (๕) พิจารณาใหความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาของสถาบันใหสอดคลองกับมาตรฐานท่ี คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากําหนด (๖) อนมุ ตั กิ ารใหป รญิ ญา ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชั้นสงู และประกาศนียบตั รวิชาชพี

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๑๒ 40 ราชกิจจานุเบกษา ๕ มนี าคม ๒๕๕๑ (๗) พิจารณาและใหความเหน็ ชอบในการเขารว มดาํ เนินการจดั ตัง้ ศนู ยวจิ ยั หองทดลองหรือ หอ งปฏบิ ัตกิ ารเพ่อื พัฒนาการอาชีวศกึ ษาและการฝกอบรมวิชาชพี กบั สถานประกอบการหรือภาคเอกชน ตามมาตรา ๕๓ (๘) กํากับมาตรฐานการศึกษา ควบคุมคุณภาพ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัด การศึกษาของสถาบันใหเปน ไปตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษาทกุ ระดบั (๙) พิจารณาใหค วามเห็นเก่ยี วกบั การแตงตงั้ และถอดถอนศาสตราจารยและศาสตราจารยพ เิ ศษ (๑๐) พจิ ารณาเสนอแนะตอรัฐมนตรีเพอ่ื แตง ต้ังหรอื ถอดถอนผอู าํ นวยการสถาบัน (๑๑) แตงตั้งและถอดถอนรองผอู าํ นวยการสถาบัน ผูชว ยผูอาํ นวยการสถาบัน และอาจารยพ ิเศษ (๑๒) แตงตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือบุคคลใดบุคคลหน่ึงเพ่ือพิจารณาและ เสนอความเหน็ ในเรอื่ งหนง่ึ เรื่องใด หรอื เพ่อื มอบหมายใหปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดอันอยูในอํานาจ และหนาท่ขี องสภาสถาบัน (๑๓) กําหนดนโยบายเกี่ยวกับการจัดหารายได ออกขอบังคับและวางระเบียบเก่ียวกับ การบรหิ ารการเงินและทรพั ยส นิ ของสถาบนั (๑๔) ใหความเหน็ ชอบในการกาํ หนดตรา เคร่ืองหมาย หรอื สัญลกั ษณข องสถาบนั (๑๕) ปฏบิ ตั ิหนาท่อี ่ืนที่เกีย่ วของกบั สถาบนั ทม่ี ิไดร ะบใุ หเปนอาํ นาจหนาท่ีของผใู ดโดยเฉพาะ มาตรา ๒๖ การประชุมสภาสถาบัน ใหเปนไปตามขอบังคับของสถาบัน มาตรา ๒๗ ใหมีผูอํานวยการสถาบันเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของ สถาบัน และใหมีรองผูอํานวยการสถาบันอยางนอยหน่ึงคน กับทั้งอาจมีผูชวยผูอํานวยการสถาบัน หนึ่งคนหรือหลายคนก็ได ทั้งน้ี ตามจํานวนที่สภาสถาบันกําหนดเพ่ือทําหนาที่และรับผิดชอบตามท่ี ผอู ํานวยการสถาบนั มอบหมาย มาตรา ๒๘ ใหสภาสถาบันสรรหาบุคคลท่ีมีคุณสมบัติตามมาตรา ๓๐ เสนอรัฐมนตรี แตงตั้งใหดํารงตําแหนงผูอํานวยการสถาบัน ทั้งน้ี ใหคํานึงถึงการมีสวนรวมของคณาจารยและ ขา ราชการของสถาบนั ใหสภาสถาบันแตงตั้งรองผูอํานวยการสถาบันและผูชวยผูอํานวยการสถาบัน โดยคําแนะนํา ของผูอาํ นวยการสถาบนั จากครูหรอื คณาจารยผ มู ีคณุ สมบตั ติ ามมาตรา ๓๐

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๔๓ ก หนา ๑๓ 41 ราชกิจจานุเบกษา ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ หลกั เกณฑและวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อแตงต้ังใหเปนผูอํานวยการสถาบัน รองผูอํานวยการ สถาบนั และผชู วยผูอาํ นวยการสถาบนั ใหเปนไปตามขอบังคบั ของสถาบัน มาตรา ๒๙ ผูอาํ นวยการสถาบันมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละส่ีป และอาจไดรับแตงต้ัง ใหมอ กี ได แตจะดํารงตําแหนง เกนิ สองวาระตดิ ตอกันมไิ ด นอกจากการพน จากตําแหนงตามวาระตามวรรคหนึ่ง ผอู ํานวยการสถาบนั พน จากตําแหนง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) สภาสถาบันมีมติใหออกดวยคะแนนเสียงสองในสามของจํานวนกรรมการสภาสถาบัน เทาทีม่ ีอยู เพราะมคี วามประพฤตเิ สือ่ มเสีย บกพรอ งตอ หนาทห่ี รือหยอนความสามารถ (๔) ถูกลงโทษทางวินัยอยางรายแรง หรือถูกส่ังใหออกจากราชการเพราะเหตุมีมลทิน หรอื มัวหมองในกรณที ถี่ ูกสอบสวนทางวนิ ยั อยา งรา ยแรง (๕) ไดรับโทษจาํ คุกโดยคาํ พพิ ากษาถึงท่สี ดุ ใหจ ําคกุ (๖) เปนบคุ คลลมละลาย (๗) เปนคนไรความสามารถหรอื คนเสมอื นไรความสามารถ เมื่อผอู าํ นวยการสถาบันพนจากตําแหนง ใหรองผูอํานวยการสถาบันหรือผูชวยผูอํานวยการ สถาบันพนจากตําแหนงดวย และใหมีการแตงตั้งผูอํานวยการสถาบันภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ ผอู าํ นวยการสถาบันพนจากตําแหนง มาตรา ๓๐ ผอู าํ นวยการสถาบนั และรองผอู ํานวยการสถาบันตอ งมีคุณสมบตั ดิ ังตอไปน้ี (๑) สําเร็จการศกึ ษาไมต ่ํากวา ช้ันปรญิ ญาเอกหรือเทียบเทาจากสถาบันอุดมศึกษา และไดทํา การสอนหรือมีประสบการณดานบริหารมาแลวไมนอยกวาสองปในสถานศึกษาอาชีวศึกษา สถาบัน หรือสถาบันอุดมศึกษาอ่ืน หรือเคยดํารงตําแหนงกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษาอื่นมาแลวรวมเปน เวลาไมนอยกวา สองป หรอื (๒) ไดรับปริญญาชั้นใดชั้นหน่ึงหรือเทียบเทาจากสถาบันอุดมศึกษา และไดทําการสอน หรือมีประสบการณดานการบริหารมาแลวไมนอยกวาสี่ปในสถานศึกษาอาชีวศึกษา สถาบัน หรือ สถาบันอุดมศึกษาอ่ืน หรือเคยดํารงตําแหนงกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนมาแลวเปนเวลา ไมนอยกวาสปี่ 

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๑๔ 42 ราชกจิ จานเุ บกษา ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ ผชู วยผอู าํ นวยการสถาบันตองสําเร็จการศกึ ษาระดับปริญญาหรือเทียบเทาจากสถาบันอุดมศึกษา รวมทงั้ มีคุณสมบตั แิ ละไมมลี ักษณะตอ งหา มตามที่กาํ หนดในขอบังคบั ของสถาบัน มาตรา ๓๑ ผอู าํ นวยการสถาบันเปน ผแู ทนของสถาบันในกจิ การทัว่ ไป และใหมีอํานาจและ หนาที่ ดังตอไปน้ี (๑) บรหิ ารกิจการของสถาบันใหเปนไปตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ และประกาศของ ทางราชการและของสถาบนั จรรยาบรรณวชิ าชพี รวมทงั้ นโยบายและวตั ถปุ ระสงคข องสถาบนั (๒) ควบคุมดูแลบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานท่ี และทรัพยสินอื่นของสถาบัน ใหเปน ไปตามกฎหมาย ขอ บงั คบั ระเบียบ และประกาศ ของทางราชการและของสถาบนั (๓) จดั ทําแผนการดําเนนิ งาน แผนพัฒนาของสถาบัน งบประมาณประจําป และตลอดจน ติดตามการประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานของสถาบนั (๔) เสนอรายงานประจาํ ปเกย่ี วกับกจิ การดานตาง ๆ ของสถาบันตอสภาสถาบนั (๕) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ และประกาศของทางราชการและ ของสถาบนั หรอื ตามท่ีสภาสถาบนั มอบหมาย มาตรา ๓๒ ในกรณที ผี่ ูด ํารงตําแหนงผูอํานวยการสถาบันไมอยูหรือไมอาจปฏิบัติราชการได ใหรองผูอํานวยการสถาบันเปนผูรักษาราชการแทน ถามีรองผูอํานวยการสถาบันหลายคน ใหรองผอู ํานวยการสถาบนั ซึง่ ผอู ํานวยการสถาบนั มอบหมายเปน ผูรกั ษาราชการแทน หากผูอํานวยการ สถาบนั มไิ ดม อบหมาย ใหร องผูอํานวยการสถาบนั ซึ่งมีอาวโุ สสูงสุดเปนผรู กั ษาราชการแทน ในกรณที ี่ไมม ผี ดู ํารงตําแหนง ผูอาํ นวยการสถาบัน หรือไมมีผูรักษาราชการแทนผูอํานวยการ สถาบนั ตามวรรคหนง่ึ หรอื มีแตไมอ าจปฏบิ ัตริ าชการได ใหนายกสภาสถาบันแตงตั้งผูมีคุณสมบัติตาม มาตรา ๓๐ เปนผรู ักษาราชการแทนผูอาํ นวยการสถาบนั ใหผ รู ักษาราชการแทนตามวรรคหนง่ึ หรือวรรคสองมีอาํ นาจและหนา ท่ีเชน เดยี วกับผซู ่ึงตนแทน ในกรณีท่ีกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ คําส่ัง มติคณะรัฐมนตรี มติคณะกรรมการ ตามกฎหมาย หรอื มคี าํ ส่ังของผูบ งั คบั บัญชาแตงตั้งใหผดู ํารงตาํ แหนงนั้นเปนกรรมการหรือใหมีอํานาจ และหนาที่อยางใด ก็ใหผูรักษาราชการแทนทําหนาที่กรรมการหรือมีอํานาจและหนาท่ีอยางน้ัน ในระหวา งรกั ษาราชการแทนดว ย

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๑๕ 43 ราชกจิ จานเุ บกษา ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ มาตรา ๓๓ ใหรองผอู าํ นวยการสถาบันคนหน่ึงทําหนาท่ีเปนผูบังคับบัญชา และรับผิดชอบ งานของสาํ นกั งานผูอํานวยการสถาบนั วิทยาลัย สํานัก ศูนย หรือหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาวิทยาลัย ใหมีผูอํานวยการเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของวิทยาลัย สํานัก ศูนย หรือหนวยงาน ทเ่ี รยี กชือ่ อยางอ่นื ที่มฐี านะเทยี บเทาวิทยาลัยนน้ั สวนราชการตามวรรคสองจะใหมีรองผูอํานวยการเพ่ือทําหนาที่ตามท่ีผูอํานวยการ สว นราชการน้นั มอบหมายก็ได มาตรา ๓๔ ใหตําแหนงผูอํานวยการวิทยาลัย ผูอํานวยการสํานัก ผูอํานวยการศูนย ผูอาํ นวยการหนว ยงานท่เี รียกชื่ออยางอื่นทม่ี ีฐานะเทยี บเทา วทิ ยาลัย และรองผอู ํานวยการของตําแหนงดังกลาว เปน ตาํ แหนงผบู ริหารสถานศกึ ษาหรือบุคลากรทางการศกึ ษา แลวแตก รณี ตามกฎหมายวาดวยระเบียบ ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา มาตรา ๓๕ ใหตําแหนงผูอํานวยการสถาบันและตําแหนงรองผูอํานวยการสถาบันเปน ตําแหนงทเ่ี ทยี บเทาตําแหนงอธิการบดีและตําแหนงรองอธิการบดีในหนวยงานการศึกษาที่สอนระดับ ปริญญาตามกฎหมายวา ดวยระเบยี บขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา มาตรา ๓๖ ผดู าํ รงตาํ แหนงผูอํานวยการสถาบัน รองผูอํานวยการสถาบัน ผูชวยผูอํานวยการ สถาบนั ผอู ํานวยการวิทยาลัย ผอู ํานวยการสาํ นกั ผูอ าํ นวยการศูนย และผูอํานวยการหนวยงานท่ีเรียกชื่อ อยางอน่ื ทมี่ ีฐานะเทียบเทา วิทยาลัย จะดาํ รงตําแหนง ดงั กลาวเกินหนึง่ ตาํ แหนงในขณะเดียวกันมไิ ด ผูดาํ รงตําแหนง ตามวรรคหนึ่งจะรกั ษาราชการแทนตําแหนงอ่ืนอีกหนึ่งตําแหนงได ท้ังนี้ ตองไมเกิน หนงึ่ รอ ยแปดสบิ วนั มาตรา ๓๗ ในวิทยาลัยแตละแหงใหมีคณะกรรมการวิทยาลัยคณะหนึ่งมีหนาท่ีในการ สง เสริม สนับสนนุ ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพ เพ่อื พฒั นาแนวทางการดาํ เนนิ งานของวทิ ยาลยั ประกอบดว ยผูแทนครูหรือคณาจารย ผูแทนผูปกครอง ผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูแทนศิษยเกาของวิทยาลัยแหงนั้น ผแู ทนพระภกิ ษสุ งฆ ผูแทนองคก รศาสนาอืน่ ในพ้นื ท่ี และผูทรงคุณวุฒิ

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๑๖ 44 ราชกจิ จานเุ บกษา ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ นอกจากกรรมการตามวรรคหนงึ่ แลว คณะกรรมการวิทยาลัยอาจมีผูแทนสถานประกอบการ ดานธุรกิจ การพาณชิ ย การเกษตร หรืออตุ สาหกรรม ผูแทนหอการคาจังหวัด และผูแทนองคกรดาน อาชีวศกึ ษาในพ้นื ที่ เปนกรรมการเพมิ่ ข้ึนได ในกรณีที่วทิ ยาลัยใดไมอาจมีผูแทนประเภทใดประเภทหน่ึงตามที่ไดกําหนดไวในวรรคหนึ่ง ใหคณะกรรมการวทิ ยาลัยของวทิ ยาลัยนน้ั ประกอบดว ยกรรมการเทา ท่มี ีอยู จาํ นวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑการสรรหา การเลอื กประธานกรรมการและกรรมการ การประชุม วาระการดํารงตําแหนงและการพนจากตําแหนงของคณะกรรมการวิทยาลัย ใหเปนไป ตามทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง สวนที่ ๔ ตาํ แหนง ทางวชิ าการ มาตรา ๓๘ คณาจารยประจําซง่ึ สอนชน้ั ปริญญาในสถาบนั มีตาํ แหนง ทางวชิ าการ ดงั ตอไปน้ี (๑) ศาสตราจารย (๒) รองศาสตราจารย (๓) ผชู ว ยศาสตราจารย (๔) อาจารย คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการแตงต้ังและถอดถอนคณาจารยประจําตามวรรคหนึ่ง ใหเ ปน ไปตามกฎหมายวาดว ยระเบียบขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ศาสตราจารยน ัน้ จะไดท รงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้งโดยคาํ แนะนาํ ของสภาสถาบนั มาตรา ๓๙ ศาสตราจารยพิเศษนน้ั จะไดท รงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง จากผูซึ่งเปน หรือเคยเปน อาจารยพเิ ศษในวิชาทีผ่ นู ้ันมคี วามชาํ นาญเปน พเิ ศษโดยคาํ แนะนําของสภาสถาบัน คุณสมบัติและหลักเกณฑในการแตงตั้งศาสตราจารยพิเศษ ใหเปนไปตามขอบังคับของ สถาบนั

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๑๗ 45 ราชกจิ จานุเบกษา ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ มาตรา ๔๐ สภาสถาบันอาจแตงต้ังผูซึง่ มีคุณสมบัติเหมาะสมและมิไดเปนคณาจารยประจํา ของสถาบนั เปน รองศาสตราจารยพ เิ ศษ ผูช วยศาสตราจารยพเิ ศษ หรืออาจารยพ เิ ศษได คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการแตงต้ังรองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวยศาสตราจารยพิเศษ และอาจารยพเิ ศษตามวรรคหน่งึ ใหเ ปนไปตามขอบังคับของสถาบนั มาตรา ๔๑ ใหผูเปน ศาสตราจารย ศาสตราจารยพิเศษ รองศาสตราจารย รองศาสตราจารย พิเศษ ผูชวยศาสตราจารย หรือผูชวยศาสตราจารยพิเศษ มีสิทธิใชตําแหนงทางวิชาการดังกลาว เปน คาํ นําหนานามเพือ่ แสดงวทิ ยฐานะไดตลอดไป การใชค าํ นําหนา นามตามวรรคหนงึ่ ใหใ ชอ ักษรยอ ดงั ตอ ไปน้ี ศาสตราจารย ใชอ กั ษรยอ ศ. ศาสตราจารยพิเศษ ใชอ กั ษรยอ ศ. (พเิ ศษ) รองศาสตราจารย ใชอ กั ษรยอ รศ. รองศาสตราจารยพ ิเศษ ใชอกั ษรยอ รศ. (พิเศษ) ผูช วยศาสตราจารย ใชอ ักษรยอ ผศ. ผชู วยศาสตราจารยพ เิ ศษ ใชอกั ษรยอ ผศ. (พเิ ศษ) สว นท่ี ๕ ปรญิ ญาและเคร่ืองหมายวิทยฐานะ มาตรา ๔๒ สถาบนั มอี าํ นาจใหป รญิ ญาตรใี นสาขาวิชาท่ีมีการสอนในสถาบนั ได การเรยี กชื่อปรญิ ญาในสาขาวชิ า และการใชอ ักษรยอ สําหรับสาขาวิชาน้ันใหต ราเปนพระราชกฤษฎกี า มาตรา ๔๓ สภาสถาบันโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอาชีวศึกษาอาจออก ขอบังคับกําหนดใหผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีไดรับปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับหน่ึงหรือ ปรญิ ญาตรเี กยี รตินยิ มอนั ดับสองได มาตรา ๔๔ สภาสถาบันอาจออกขอบังคับกําหนดใหมีประกาศนียบัตรออกใหแกผูสําเร็จ การศกึ ษาเฉพาะวชิ าได

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๑๘ 46 ราชกจิ จานุเบกษา ๕ มนี าคม ๒๕๕๑ มาตรา ๔๕ สถาบันมอี าํ นาจใหปรญิ ญากติ ตมิ ศกั ดแิ์ กบ ุคคลซึ่งสภาสถาบันเห็นวาทรงคุณวุฒิ สมควรแกปริญญาน้ัน แตจะใหปริญญาดงั กลาวแกค ณาจารยประจํา ผูดํารงตําแหนงตาง ๆ ในสถาบัน นายกสภาสถาบันหรอื กรรมการสภาสถาบนั ในขณะดํารงตาํ แหนง นน้ั มไิ ด สาขาของปรญิ ญากิตติมศกั ดิ์ และหลกั เกณฑก ารใหป รญิ ญากิตติมศกั ด์ิใหเปนไปตามขอบังคับ ของสถาบัน มาตรา ๔๖ สภาสถาบันอาจกําหนดใหมีครุยวิทยฐานะหรือเข็มวิทยฐานะเปนเคร่ืองหมาย แสดงวิทยฐานะของผูไดรับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงและประกาศนียบัตรวิชาชีพได และอาจกาํ หนดใหมคี รุยประจําตําแหนงกรรมการสภาสถาบัน ครุยประจําตําแหนงผูบริหาร หรือครุย ประจําตาํ แหนง คณาจารยข องสถาบนั ได การกําหนดลักษณะ ชนิด ประเภท และสวนประกอบของครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนง ใหต ราเปนพระราชกฤษฎกี า ครุยวิทยฐานะ เขม็ วิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนงจะใชในโอกาสใด โดยมีเง่ือนไขอยางใด ใหเปน ไปตามขอบังคบั ของสถาบัน มาตรา ๔๗ สภาสถาบันอาจกําหนดใหมีตรา สัญลักษณ เครื่องหมายของสถาบัน เคร่ืองแบบ เครื่องหมาย หรือเคร่ืองแตงกายของนักศึกษาได โดยทําเปนขอบังคับของสถาบันและประกาศใน ราชกิจจานเุ บกษา การใชตรา สัญลักษณ เคร่ืองหมายของสถาบันเพื่อการคาหรือการใชสิ่งดังกลาวท่ีมิใชเพื่อ ประโยชนข องสถาบนั ตามวรรคหนึ่ง ตอ งไดรบั อนญุ าตเปน หนงั สอื จากสถาบนั หมวด ๔ ความรว มมอื ในการจัดการอาชวี ศึกษาและการฝก อบรมวชิ าชพี มาตรา ๔๘ เพ่ือประโยชนในการพัฒนามาตรฐานการอาชีวศึกษาของชาติ ใหสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ดําเนินการประสาน สงเสริม และสนับสนุนการจัดการอาชีวศึกษาของ สถานศึกษาเอกชน ใหสามารถจัดการอาชวี ศึกษาสอดคลองกบั นโยบายและมาตรฐานการอาชีวศึกษา

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๔๓ ก หนา ๑๙ 47 ราชกิจจานุเบกษา ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ มาตรา ๔๙ สถานศึกษาอาชีวศึกษาของเอกชนอาจเขารวมเปนเครือขายของสถาบัน เพ่ือประโยชนในการรวมมือทางวิชาการ การสรางคุณภาพการอาชีวศึกษาเอกชน ใหสอดคลองกับ ระบบมาตรฐานการอาชีวศึกษาของชาติ เพื่อสามารถใชทรัพยากรรวมกันใหเกิดประโยชนสูงสุด ทงั้ น้ี ตามทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๐ สถาบันตองจัดระบบการจัดการใหเอ้ืออํานวยแกผูมีประสบการณ ผูผานการ ฝกอบรมจากสถานประกอบการท่ีไดรับการรับรอง ผูเรียนท่ีสะสมผลการเรียนไว และผูท่ีผานการ ฝกอบรมตามกฎหมายวา ดว ยการสง เสริมการพัฒนาฝม อื แรงงาน ใหสามารถเทียบโอนผลการเรียนหรือ ประสบการณดานวิชาชีพเพื่อใหไดคุณวุฒิการศึกษาในหลักสูตรตาง ๆ ได ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ ท่ีคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากาํ หนด มาตรา ๕๑ ในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีที่เปนความรวมมือระหวางสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาหรือสถาบัน และสถานประกอบการ ใหเปน ไปตามขอตกลงระหวางสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา หรอื สถาบัน และสถานประกอบการ มาตรา ๕๒ สถานประกอบการใดท่ีประสงคจะดําเนินการจัดการอาชีวศึกษา และการ ฝก อบรมวิชาชีพตามพระราชบัญญัตินี้ ใหยื่นคําขอตอเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพ่ือให ไดรับการรับรองประโยชนตามกฎหมาย ท้ังนี้ ใหถือวาไมเปนการขัดหรือแยงกับการจัดการศึกษา ขั้นพ้นื ฐานรปู แบบศนู ยการเรียนตามกฎหมายวาดว ยการศึกษาแหง ชาติ การย่ืนคาํ ขอและการพจิ ารณาใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑ และวิธีการทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวง การจัดการอาชีวศึกษาในสถานประกอบการใหจัดการสอนตามหลักสูตรการอาชีวศึกษาและ การฝก อบรมวชิ าชีพ หรือจดั การสอนตามหลักสูตรทสี่ ถานประกอบการรวมกับสถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบนั จัดทาํ ขึ้นโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา หลักเกณฑ และวิธีการดําเนินการตามวรรคสาม ใหเปนไปตามท่ีคณะกรรมการการ อาชีวศึกษากําหนด มาตรา ๕๓ สถานประกอบการหรือภาคเอกชนอาจเขารวมดําเนินการจัดตั้งศูนยวิจัย หองทดลองหรือหองปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพ ในสถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบันของรัฐหรือเอกชนไดตามความตกลงของสถานศึกษาหรือสถาบันและสถาน ประกอบการน้ัน ทั้งน้ี เพอื่ ประโยชนดานความรวมมือในการพัฒนากําลังคน การวิจัยและพัฒนาเพื่อ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook