39 จานวนอาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลักสูตรท้งั หมด = 5 คน จานวนผลงานทางวิชาการ ปกี ารศึกษา 2563 = 0 คน คา่ รอ้ ยละผลงานทางวิชาการของอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสูตร ร้อยละ 0 ผลการประเมินอย่ใู น ระดบั คะแนน 0 คะแนน หมายเหตุ - อาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร ไม่มีผลงานทางวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา 2563 - อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตร จานวน 3 คน มีผลงานทางวชิ าการในปกี ารศกึ ษา 2562 - อาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร จานวน 1 คน มีผลงานทางวิชาการในปกี ารศกึ ษา 2561 - อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร จานวน 1 คน มผี ลงานทางวชิ าการในปีการศึกษา 256๐
40 ตวั บ่งชท้ี ่ี 4.3 ผลทีเ่ กิดกับอาจารย์ 1. การคงอยขู่ องอาจารย์ สาขาเทคโนโลยีปิโตรเคมี เม่ือเริ่มจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 มีอาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สูตร จานวน 5 ท่าน ดังนี้ 1. นายสมคิด อาจเอื้อ 2. นายธนันวฒั น์ จิตรวโิ รจน์ 3. นางจงกล กระจ่างแจง้ 4. นางรตั นา ลานทอง 5. นายจกั รพงษ์ แสงอรุณ ปจั จบุ ันมีอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร จานวน 5 ท่าน ดงั น้ี 1. นางนิรมล วริ ยิ วุฒวิ งศ์ 2. นายธนนั วัฒน์ จิตรวโิ รจน์ 3. นางอษุ ณยี ์ อ้นจร 4. นางรัตนา ลานทอง 5. นายจกั รพงษ์ แสงอรุณ ซง่ึ มีการเปลย่ี นแปลงอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตร จานวน 2 คน เนอื่ งจากนายสมคิด อาจเออ้ื และนางจงกล กระจา่ งแจ้ง เกษยี ณอายุราชการ สาหรับอาจารย์ผู้สอน สาขาเทคโนโลยีปิโตรเคมี มีจานวนท้ังสิ้น 22 คน ประกอบด้วยอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ประจาหลักสูตร จานวน 5 คน อาจารย์ประจา จานวน 7 คน และ อาจารย์พิเศษ จานวน 10 คน โดยอาจารย์พิเศษเป็นอาจารย์จากมหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 4 คน และเป็นอาจารย์จากวทิ ยาลยั เทคโนโลยไี ออาร์พีซี จานวน 6 คน 2. ความพงึ พอใจและความไม่พึงพอใจของอาจารย์ จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของอาจารย์ตอ่ การบริหารจัดการหลักสตู ร เทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีปิโตรเคมี มคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ 3.82 อยใู่ นระดับมาก
41 องคป์ ระกอบท่ี 5 หลักสตู ร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผู้เรยี น ผูเ้ รียน ตัวบง่ ชท้ี ี่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สูตร 1. การออกแบบหลักสตู รและสาระรายวิชาในหลกั สูตร สาขาวชิ าเทคโนโลยปี โิ ตรเคมี มขี ้นั ตอนในการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตร ดงั น้ี - สืบค้นผ่านระบบสารสนเทศ CHECO เพื่อศึกษาตัวอย่างการออกแบบหลักสูตรและสาระ รายวิชา เพ่อื ใช้สาหรับเปน็ แม่แบบในการออกแบบหลกั สตู ร - พิจารณาบริบทของวิทยาลัยเทคนิคระยอง ประกอบกับจังหวัดระยองเป็นพ้ืนที่เขต EEC โดยกาหนดไว้ว่าเพื่อรองรับกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมี โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (EEC) 2. การปรบั ปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหนา้ ในศาสตรส์ าขานน้ั ๆ ยงั ไมม่ ีการปรบั ปรงุ หลักสตู ร เนือ่ งจากยงั ไม่ถึงกาหนดรอบระยะเวลาทจี่ ะตอ้ งปรับปรงุ
42 ตัวบง่ ชท้ี ่ี 5.2 การวางระบบผ้สู อน และกระบวนการจัดการเรยี นการสอน 1. การกาหนดผสู้ อน การกาหนดผู้สอน สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี จะดาเนินการเลือกจากอาจารย์ผู้สอนใน สาขาวิชาปิโตรเคมี และสาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคระยอง และวิทยาลัยเทคโนโลยี ไออาร์พีซี นอกจากนี้สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมีได้เชิญอาจารย์ท่ีมีความรู้ ความสามารถและ ประสบการณ์เป็นอย่างดีย่ิง จากภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประกอบดว้ ย - รศ.ดร. สรอ้ ยพัทธา สรอ้ ยสุวรรณ - รศ.ดร. ปิยฉัตร วฒั นชัย - ผศ.ดร. เสฏฐกรณ์ อปุ เสน - นายปฏภิ าณ บญุ รวม โดยคณุ สมบัตขิ องอาจารย์ผู้สอน จะตอ้ งจบการศึกษาไม่ตา่ กวา่ ระดบั ปริญญาโทในสาขาทเี่ กย่ี วข้อง กับรายวิชาท่ีจะสอน ซ่ึงในแต่ละภาคเรียน สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี จะมีการกาหนดผู้สอน เพื่อส่งรายชื่อผู้สอนให้กับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ตรวจสอบคุณสมบัติและทาคาส่ัง แตง่ ตง้ั อาจารย์ผสู้ อน 2. การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้ แผนการฝึก และการจัดการเรียนการ สอนทั้งในสถานศกึ ษา และสถานประกอบการ สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี ได้มีการกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้ แผนการฝึก และการจดั การเรียนการสอน ดังนี้ - ให้อาจารย์ประจาวิชา จัดทารายละเอียดของรายวิชาในสถานศึกษา (คอศ.2) หรือรายละเอียด ของรายวชิ าในสถานประกอบการ (คอศ.3) สง่ ประธานหลักสูตรก่อนเปดิ ภาคเรียน - ใหอ้ าจารยป์ ระจาวิชา จดั ทารายงานผลการดาเนินการของรายวชิ าในสถานศึกษา (คอศ.4) หรือ รายงานผลการดาเนินการของรายวิชาในสถานประกอบการ (คอศ.5) ต่อประธานหลักสูตรภาย หลังจากส้ินสุดการเรียนการสอนภายใน 30 วนั - ประธานหลักสูตรจัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (คอศ.6) ส่ง สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก ภายใน 60 วนั หลังสน้ิ สดุ ปีการศกึ ษา
43 3. การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรที ี่สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการต้องดาเนินการ 5 ประเด็น 1) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องให้ความสาคัญกับการฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี โดย ความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการเรียนการสอนตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษากาหนด 2) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องจัดเตรียมความพร้อมในด้านอาคารสถานที่ ครุภัณฑ์ คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้เหมาะสม สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละ ลักษณะ การผลิตและการพฒั นาผู้เรยี น 3) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องกาหนดวิธีการพัฒนาคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาและการ จัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาคุณลักษณะให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียน และระดับคุณวุฒิของแต่ ละประเภทวชิ าและสาขาวชิ า 4) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องจัดการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนรู้สู่การปฏิบัติโดยให้ผู้เรียน จดั ทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวชิ าชพี ที่สอดคลอ้ งกบั สาขาวิชาที่เรยี น 5) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสมรรถนะ แกนกลางและสมรรถนะวิชาชีพ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัย ปลูกฝังจิตสานึก และจิตอาสา เสริมสร้างการเป็นพลเมืองไทยและพลโลกในด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทะนุบารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมการกีฬาและนันทนาการ ส่งเสริมการ ดารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสริมให้ผู้เรียนทางานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ในการบรกิ ารวิชาการ วชิ าชีพ หรือทาประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนและสังคม 4. การควบคุมหัวข้อโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพและการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาให้สอดคล้อง กับโครงงานของผู้เรียน ในปีการศึกษา 2563 สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี นักศึกษาอยู่ชั้นปีท่ี 1 ยังไม่ได้เรียนวิชา โครงงาน ฯ
44 ตัวบง่ ชที้ ่ี 5.3 การประเมินผเู้ รียน 1. การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและทักษะ ปฏบิ ตั ิงาน การประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ และการประเมนิ สมิทธภิ าพทางภาษาองั กฤษ ในปีการศึกษา 2563 สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี นักศึกษาอยู่ช้ันปีท่ี 1 ยังไม่ได้เข้า รับการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ 2. การตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี โดยงานวดั ผลและประเมินผลของวทิ ยาลยั เทคนิคระยองได้ มีการตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดังน้ี - มีการทาคาส่ังมอบหมายผูส้ อบทานผลการเรยี น ในทุกภาคเรียน - มกี ารอนุมัตผิ ลการเรยี นโดยคณะกรรมการสถานศกึ ษา ในทกุ ภาคเรยี น - สาขาวชิ ามกี ารจัดทา คอศ.6 ในทุกสิ้นภาคเรยี น 3. การกากบั การประเมนิ การจัดการเรียนการสอนและประเมนิ หลักสูตร สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี มีการกากับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และ ประเมินหลกั สูตร ดังนี้ - มีการทากาหนดการเกี่ยวกับการประเมินผลการเรียน ในทุกภาคเรียน โดยงานวัดผล และประเมนิ ผล วิทยาลัยเทคนิคระยอง - มกี ารอนุมัติผลการเรียนโดยคณะกรรมการสถานศึกษา ในทุกภาคเรยี น - สาขาวชิ ามีการจัดทา คอศ.6 ในทกุ ส้ินภาคเรยี น
45 ตวั บ่งชท้ี ่ี 5.4 ผลการดาเนนิ งานหลกั สตู รตามกรอบ มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ 1. ผลการดาเนนิ งานตามตัวบ่งชี้การดาเนนิ งานตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาท่ปี รากฏ ในเอกสาร หลักสตู รฉบับทจี่ ัดการเรียนการสอนในขณะนัน้ (คอศ.1) หมวดที่ 7 ดชั นบี ่งชี้ผลการดาเนนิ งาน ปที ี่ 1 (1) อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตร อยา่ งน้อยร้อยละ 80 มีสว่ นรว่ มในการ ประชมุ เพอ่ื วางแผน ตดิ ตาม และทบทวนการดาเนนิ งานหลักสตู ร (2) มรี ายละเอยี ดของหลกั สตู ร ตามแบบ คอศ.2 (มคอ.2) ที่สอดคล้องกบั กรอบ มาตรฐานคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/สาขาวชิ า (ถา้ ม)ี X (3) มีรายละเอยี ดของรายวิชาในสถานศกึ ษา และรายละเอียดของรายวชิ าในสถาน ประกอบการ ตามแบบ คอศ.2 และ คอศ.3 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ ละภาคการศึกษาใหค้ รบทกุ รายวชิ า X X (4) จัดทารายงานผลการดาเนนิ การของรายวชิ าในสถานศึกษา และรายงานผลการ ดาเนินการของรายวชิ าในสถานประกอบการ ตามแบบ คอศ.4 และ คอศ.5 ภายใน 30 วนั หลงั สิ้นสุดภาคการศึกษาท่เี ปดิ สอนให้ครบทกุ รายวชิ า (5) จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลกั สูตร ตามแบบ คอศ. 6 ภายใน 60 วัน หลงั ส้นิ สดุ ปกี ารศกึ ษา (6) มีการทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรู้ท่กี าหนดใน แบบ คอศ. 2 และ คอศ 3 อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 25 ของรายวชิ าทเ่ี ปดิ สอนในแต่ ละปกี ารศึกษา (7) มีการพฒั นา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยทุ ธ์การสอน หรือการ ประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ากผลการประเมิน การดาเนินงาน ทรี่ ายงานในแบบ คอศ.6 หรอื มคอ.7 ปีที่แล้ว (8) อาจารยใ์ หม่ (ถ้าม)ี ทุกคน ไดร้ บั การปฐมนเิ ทศหรือ คาแนะนา ด้านการจดั การเรยี นการสอน (9) อาจารยป์ ระจาหลักสตู รทุกคนไดร้ บั การพฒั นาทางวชิ าการและ/หรือวชิ าชีพ อย่างน้อยปลี ะหนงึ่ ครั้ง (10) จานวนบคุ ลากรสนบั สนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพฒั นา วิชาการ และ/หรอื วิชาชพี ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50 ตอ่ ปี (11) ระดบั ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาปีสดุ ท้าย/บัณฑติ ใหม่ที่มีต่อคณุ ภาพ หลกั สูตร เฉล่ยี ไมน่ ้อยกวา่ 3.5 จากคะแนน 5.0 (12) ระดบั ความพึงพอใจของผใู้ ช้บัณฑติ ที่มีตอ่ บณั ฑิตใหม่เฉล่ยี ไม่น้อยกวา่ 3.5 จากคะแนนเตม็ 5.0 (13) นกั ศึกษามีงานทาภายใน 1 ปี หลังจากสาเร็จการศึกษา ไมต่ า่ กว่า ร้อยละ 80
46 สาขาเทคโนโลยีปิโตรเคมี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก เริ่มเปิดการสอนรุ่นที่ 1 ในปีการศึกษา 2563 ผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา เฉพาะในปีท่ี 1 ดงั น้ี สรุป ผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัด = 6 / 9 x 100 = ร้อยละ 66.67 มีค่าคะแนนเท่ากับ 0 คะแนน
47 องค์ประกอบที่ 6 สงิ่ สนับสนุนการเรยี นรู้ ตัวบ่งชท้ี ่ี 6.1 สิ่งสนบั สนุนการเรยี นรู้ 1. ระบบการดาเนนิ งานของหลักสตู รกับสถานประกอบการโดย มีสว่ นรว่ มของอาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบ หลักสูตรเพอื่ ใหม้ ีสงิ่ สนับสนนุ การเรยี นรู้ สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี ไดล้ งนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กบั บรษิ ัท ไออาร์พีซี จากดั (มหาชน) โดยจะร่วมกันดาเนินกิจกรรม ดงั น้ี - รว่ มกันออกแบบหลักสตู รรายวิชาของสาขาเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี - รบั นกั ศึกษาเข้าฝึกงานในสถานประกอบการ - รว่ มกนั พฒั นาครูผ้ทู ี่จะมาปฏบิ ตั หิ นา้ ทสี่ อนในระดับปริญญาตรี - สนับสนนุ ผู้เชี่ยวชาญมาร่วมเป็นอาจารย์พเิ ศษของสาขาวิชาเทคโนโลยปี โิ ตรเคมี 2. จานวนส่งิ สนบั สนนุ การเรยี นร้ทู ่ีเพียงพอและ เหมาะสมต่อการจดั การเรียนการสอน - ห้องเรยี น ห้องบรรยาย ขนาด 25 ท่นี ั่ง จานวน 2 หอ้ ง หอ้ งบรรยาย ขนาด 40 ทีน่ ัง่ จานวน 3 หอ้ ง - ห้องปฏบิ ัติการ ขนาด 40 ที่นั่ง จานวน 1 ห้อง หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ ขนาด 40 ทน่ี ง่ั จานวน 1 ห้อง หอ้ งปฏิบตั ิการสัมมนา ขนาด 80 ทนี่ ั่ง จานวน 1 ห้อง ห้องประชมุ สัมมนา - ครุภณั ฑ์ 40 เครื่อง เครื่องคอมพวิ เตอร์ 40 ชุด โต๊ะคอมพวิ เตอร์ 3 ชดุ เคร่อื งโปรเจคเตอร์ 3. สถานประกอบการ สาขาเทคโนโลยีปิโตรเคมี ได้รว่ มมอื กับสถานประกอบการ และกาหนดบทบาทของสถาน ประกอบการ ดงั น้ี - รว่ มกนั ออกแบบหลักสตู รรายวิชาของสาขาเทคโนโลยปี โิ ตรเคมี - รบั นักศึกษาเขา้ ฝกึ งานในสถานประกอบการ - รว่ มกันพัฒนาครูผทู้ ี่จะมาปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีสอนในระดบั ปรญิ ญาตรี - สนบั สนุนผเู้ ชย่ี วชาญมารว่ มเป็นอาจารย์พิเศษของสาขาวิชาเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี
48 4. กระบวนการปรบั ปรุงตามผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนักศกึ ษาและอาจารยต์ ่อสงิ่ สนบั สนุน การเรยี นรู้ จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อส่งิ สนับสนุนการเรียนรู้ หลักสตู ร เทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีปิโตรเคมี ผลการประเมนิ มคี ่าเฉล่ียเท่ากบั 3.44 อยใู่ น ระดบั ปานกลาง จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของอาจารย์ต่อสง่ิ สนับสนุนการเรียนรู้ หลักสตู ร เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี ผลการประเมินมคี า่ เฉลย่ี เท่ากบั 3.77 อยู่ใน ระดับมาก สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี ไดด้ าเนนิ การปรับปรุงตามผลการประเมิน โดยมีการปรับปรุง 2 ด้าน 1) ด้านทรัพยากรท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ประกอบด้วย อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ห้องสมุด ตาราหนังสอื แหลง่ เรยี นรู้ ฐานขอ้ มูล 2) ดา้ นระบบสาธารณปู โภคและการรกั ษาความปลอดภยั
Search