Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 7-SAR-2563-สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี วท.ระยอง

7-SAR-2563-สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี วท.ระยอง

Description: SAR-2563-สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี วท.ระยอง อาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเอง การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2563 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยปี ิโตรเคมี (ต่อเนื่อง) (พ.ศ. 2562) วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

ลงนาม ................................... ประธานหลักสตู ร รายงานวนั ที่…. เดือน...... ปี......

ก คานา รายงานการประเมินตนเอง ( Self Assessment Report : SAR) ของสาขาวิชา เทคโนโลยีปิโตรเคมี วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก ประจาปีการศึกษา 2563 ฉบับนี้ จัดทาขึ้นโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสูตร ซ่ึงเป็น คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของหลักสูตร เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในของสาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี วิทยาลัยเทคนิคระยอง สถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวันออก ดาเนินการไปอย่างตอ่ เนื่อง คณะกรรมการฯ จึงขอเสนอผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษา ภายในตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสาย ปฏิบัติการ พ.ศ.2563 สถาบันการอาชีวศึกษาและสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ของสานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ซึ่งผลการประเมนิ ตามแยกตามองค์ประกอบและตัวบง่ ชี้ รวมทงั้ จดุ แข็ง แนวทางเสริม จดุ ทีค่ วรพัฒนา แนวทางแก้ไข ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางการพฒั นาการดาเนนิ การของ สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี เพอื่ เป็นการพฒั นาให้การจดั การศึกษา มคี ณุ ภาพไดม้ าตรฐานตอ่ ไป ขอขอบคุณคณะกรรมการที่เก่ียวข้องผู้บริหาร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ ผู้สอน และสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ที่มีส่วนทาให้การจัดทารายงานการประเมินตนเอง เล่มน้ีสาเร็จลลุ ่วงดว้ ยดี สาขาวิชาเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี วิทยาลัยเทคนิคระยอง สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออก

ข สารบญั หน้า คานา ก สารบัญ ข บทสรุปผบู้ ริหาร 1 สว่ นท่ี 1 ข้อมลู พ้ืนฐานของหลกั สตู ร 5 5 ชอื่ หลกั สูตร 5 สถานภาพพของหลักสูตร 5 รปู แบบแผนการศึกษา 5 รายช่ืออาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตรปัจจุบัน 5 ข้อมลู โดยสรปุ เกย่ี วกับวทิ ยาลัย และสาขาวชิ า 6 ข้อมลู เกย่ี วกบั หลกั สูตร 8 ส่วนที่ 2 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัตกิ าร พ.ศ. 2563 ระดับหลกั สตู ร 8 องคป์ ระกอบท่ี 1 การกากบั มาตรฐาน 9 องค์ประกอบที่ 2 บัณฑติ 11 องคป์ ระกอบที่ 3 นกั ศึกษา 13 องคป์ ระกอบที่ 4 อาจารย์ 15 องคป์ ระกอบท่ี 5 หลักสตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผูเ้ รยี น 19 องค์ประกอบท่ี 6 สงิ่ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ 20 ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมิน 22 ส่วนท่ี 4 การวเิ คราะหค์ ณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร 23 ส่วนท่ี 5 รายงานผลการวิเคราะห์จดุ เด่นและจุดท่คี วรพฒั นา 24 ภาคผนวก

1 บทสรุปผบู้ รหิ าร คณะกรรมการประจาหลักสูตรหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี (ต่อเนื่อง) วิทยาลัยเทคนิคระยอง ได้ประเมินคุณภาพของหลักสูตรตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ การศกึ ษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563 ในระดับหลกั สูตร มี ทั้งหมด 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบท่ี 1 การกากับมาตรฐาน องค์ประกอบท่ี 2 บัณฑิต องค์ประกอบท่ี 3 นักศึกษา องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ องค์ประกอบท่ี 5 หลักสูตร การเรียนการ สอน การประเมินผู้เรยี น และ องคป์ ระกอบที่ 6 สงิ่ สนบั สนนุ การเรียนรู้ สรุปผลการประเมนิ ได้ดงั นี้ 1. สรปุ ขอ้ มูลเฉพาะพืน้ ฐานของหลักสูตร 1.1 ชื่อหลกั สูตร (ภาษาไทย) : หลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยปี ิโตรเคมี (ต่อเน่ือง) (ภาษาองั กฤษ) : Bachelor of Technology Program in Petrochemical Technology (Continuing Program) หลักสูตรใหม่ : พ.ศ. 2562 รหัสหลกั สูตร : 4124 ทตี่ ัง้ สถานศกึ ษา : 086/13 ถนนตากสินมหาราช ตาบลท่าประดู่ อาเภอเมอื งระยอง จังหวัดระยอง 21000 1.2 ปรชั ญาของหลักสูตร หลกั สตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี (ต่อเนื่อง) มุง่ ผลติ บัณฑิตท่ี มคี วามรอบรู้ มคี ุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี มีทักษะและความชานาญในการ ปฏบิ ัติงานทางเทคโนโลยปี ิโตรเคมี 1.3 วัตถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร 1. เพื่อผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้ความชานาญด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมี สามารถจัดการ และควบคุมกระบวนการผลิต บูรณาการความรู้ และทักษะ นาไปประยุกต์ใช้ แก้ไขปัญหา และพัฒนางานดา้ นเทคโนโลยีปิโตรเคมี โดยใช้เทคโนโลยที เ่ี กีย่ วขอ้ ง 2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีกิจนิสัยในการค้นคว้า ปรับปรุง ตนเองให้มคี วามกา้ วหนา้ สามารถแก้ปัญหาด้วยหลกั การและเหตผุ ล 3. เพ่ือผลิตบัณฑิตท่ีตระหนักในความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี มีคุณธรรม มีจริยธรรม ซ่ือสัตย์สุจริต มีความสานึกในจรรยาบรรณทางวิชาชพี และความรับผิดชอบต่อสังคม ธารง ไวซ้ งึ่ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมอนั ดงี ามของไทย 1.4 รายชือ่ อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรปจั จบุ นั 1. นางนิรมล วิริยวุฒวิ งศ์ 2. นายธนันวัฒน์ จติ รวโิ รจน์ 3. นางอุษณยี ์ อ้นจร 4. นางรตั นา ลานทอง 5. นายจกั รพงษ์ แสงอรุณ

2 1.5 สรปุ ขอ้ มูลนักศึกษาและผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา นักศึกษา 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ปที ่ี 1 - - - - - - 45 2๔ ปีที่ 2 - - - - - - - 45 รวม - - - - - - 45 6๙ สาเร็จการศึกษา -------- ตกค้าง -------- 2. สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองของหลกั สตู รตามเกณฑก์ ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 สรปุ ผลการประเมิน องคป์ ระกอบท่ี 1 องคป์ ระกอบ/ตวั บง่ ช้ี ผลการดาเนนิ การ ผา่ น ไมผ่ ่าน องค์ประกอบท่ี 1 การกากับมาตรฐาน (1 ตวั บ่งช้ี)   1.1 การบรหิ ารจดั การหลกั สูตรตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง  เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558  1.1.1 จานวนอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตร 1.1.2 คณุ สมบัตอิ าจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สตู ร - 1.1.3 คุณสมบตั อิ าจารย์ประจาหลักสตู ร 1.1.4 คณุ สมบัติอาจารยผ์ ู้สอน ผา่ น 1.1.5 การปรับปรุงหลกั สูตรตามรอบระยะเวลาท่ีกาหนด ผลการประเมินองค์ประกอบท่ี 1 2.2 สรปุ ผลการประเมนิ องค์ประกอบที่ 2-6 ผลการดาเนนิ การ ร้อยละ คะแนน องคป์ ระกอบ/ตัวบง่ ช้ี -- องค์ประกอบที่ 2 บณั ฑติ (5) ตวั บ่งช้ี -- -- 2.1 คณุ ภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ 2.2 ร้อยละของนักศกึ ษาทีส่ อบมาตรฐานวชิ าชพี ผ่านในคร้ังแรก -- 2.3 รอ้ ยละของนักศึกษาที่สอบผา่ นสมทิ ธิภาพทางภาษาอังกฤษ ระดบั B2 -- หรือเทียบเท่า 2.4 รอ้ ยละของนักศกึ ษาทส่ี อบผ่านมาตรฐานดา้ นเทคโนโลยดี ิจิทลั - 2.5 รอ้ ยละของบัณฑติ ปริญญาตรีทไี่ ด้งานทาหรือประกอบอาชพี อสิ ระ ภายใน 1 ปี (สาหรับบณั ฑิตที่สาเรจ็ การศึกษา ปี 2562) ค่าเฉลีย่ องคป์ ระกอบท่ี 2

3 องคป์ ระกอบ/ตัวบง่ ชี้ ผลการดาเนนิ การ ร้อยละ คะแนน องคป์ ระกอบท่ี 3 นกั ศกึ ษา ( 3 ตัวบ่งช้ี) -3 -2 3.1 การรบั นักศึกษา -3 3.2 การส่งเสรมิ และพฒั นานกั ศึกษา - 2.67 3.3 ผลท่เี กดิ กบั นกั ศกึ ษา (ไม่ม)ี 3 ค่าเฉล่ียองคป์ ระกอบท่ี 3 องคป์ ระกอบที่ 4 อาจารย์ (3 ตัวบ่งชี้) 4.1 การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.2.1 มีค่ารอ้ ยละของอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตรที่มีประสบการณ์ 0 0 ดา้ นปฏิบัตกิ ารในสถานประกอบการ 4.2.2 รอ้ ยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร 00 4.3 ผลทีเ่ กดิ กับอาจารย์ (ไมม่ ี) 3 ค่าเฉล่ียองคป์ ระกอบที่ 4 2.00 องคป์ ระกอบที่ 5 หลกั สตู ร การเรียนการสอน การประเมนิ ผเู้ รยี น ( 4 ตวั บง่ ชี้) 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร (ไม่ม)ี 3 5.2 การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน (ไม่มี) 2 5.3 การประเมนิ ผเู้ รยี น (ไม่มี) 2 5.4 ผลการดาเนนิ งานหลกั สตู รตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอดุ มศึกษา 66.67 0 แห่งชาติ คา่ เฉลย่ี องค์ประกอบท่ี 5 1.75 องค์ประกอบท่ี 6 สง่ิ สนับสนนุ การเรียนรู้ (1 ตัวบ่งช้ี) 6.1 ส่ิงสนบั สนุนการเรยี นรู้ 3 คา่ เฉลี่ยโดยรวมทั้งหมด 2.18 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสาย ปฏิบัติการของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีปโิ ตรเคมี วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง มีคะแนนเฉลย่ี รวมเทา่ กับ 2.18 คะแนน อยู่ในระดบั ปาน กลาง โดยสรุป หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี วิทยาลัยเทคนิคระยอง เป็นไป ตามมาตรฐาน อย่ใู นระดับคุณภาพปานกลาง

4 การแปลผลจะเป็นการอธบิ ายว่า คะแนนระดบั หลักสูตร = 0 หมายถงึ หลักสตู รไม่ได้มาตรฐาน (องค์ประกอบท่ี 1 ไมผ่ า่ น) คะแนนระดับหลักสูตร = 0.01 - 5.00 หมายถึง หลักสูตรเป็นไปตามมาตรฐานและมีระดับคุณภาพ ตามคะแนนท่ไี ด้ดังน้ี คะแนน ระดบั คณุ ภาพ 0.01 – 2.00 น้อย 2.01 – 3.00 ปานกลาง 3.01 -4.00 ดี 4.01 – 5.00 ดีมาก

5 สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพ้ืนฐานของหลักสูตร 1. ชอื่ หลักสูตร (ภาษาไทย) หลกั สูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยปี ิโตรเคมี (ต่อเนื่อง) (ภาษาองั กฤษ) Bachelor of Technology Program in Petrochemical Technology (Continuing Program) 2. สถานภาพของหลกั สตู รและการพิจารณาอนมุ ตั ิ/เหน็ ชอบหลกั สูตร () หลกั สตู รใหม่ กาหนดเปดิ สอน ภาคการศกึ ษาที่ 1 พ.ศ. 2562 ไดร้ ับอนุมตั /ิ เห็นชอบหลักสตู รจากสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการประชุม ครั้งที่ 3/2562 เมื่อวนั ที่ 29 เดือนเมษายน พ.ศ. 2562 ( ) หลักสูตรปรบั ปรงุ กาหนดเปิดสอน ภาคการศึกษาที่ ................พ.ศ. ....................... ไดร้ บั อนุมตั /ิ เห็นชอบหลักสูตรจากสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการประชุม ครั้งท่ี ...................... เม่ือวันที่...................เดอื น......................พ.ศ. ...................... 3. รูปแบบแผนการศึกษาของหลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยปี ิโตรเคมี () ระดับปริญญาตรี ( ) ทางวิชาการ ( ) ทางวิชาชีพหรอื ปฏบิ ตั ิการ 4. รายชอื่ อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู รปจั จุบนั 1. นางนริ มล วิรยิ วฒุ วิ งศ์ 2. นายธนนั วัฒน์ จิตรวโิ รจน์ 3. นางอุษณยี ์ อน้ จร 4. นางรตั นา ลานทอง 5. นายจกั รพงษ์ แสงอรุณ ๕. ขอ้ มูลโดยสรปุ เกี่ยวกับวิทยาลยั และสาขาวิชา เม่ือวันที่ 3 ตุลาคม 2481 กรมอาชีวศึกษาร่วมกับจังหวัดระยองได้จัดต้ัง “โรงเรียนช่างไม้ ระยอง” ข้ึน โดยอาศัยศาลาการเปรียญของวัดเก๋ง ซ่ึงเป็นวัดร้าง (ปัจจุบันเป็นสถานที่ตั้งของ โรงพยาบาลระยอง) เป็นสถานที่เรียนชั่วคราวต่อมาได้รับบริจาคท่ีดินจานวน 5 ไร่ จาก นายเหลียง เปีย่ มพงศ์สานต์ และจัดตั้งเปน็ สถานศกึ ษาอันเปน็ ตาบลท่ีตง้ั ของวทิ ยาลัยเทคนคิ ระยองในปัจจบุ นั ในปี พ.ศ.2501 ได้ซอื้ ท่ีดินเพ่ิมขึ้นอีก 5 ไร่ ได้รับอนมุ ัติให้เปล่ยี นช่ือเป็น “โรงเรยี นการช่างไม้ ระยอง” เม่ือ พ.ศ.2509 กระทรวงศึกษาธิการประกาศรวม “โรงเรียนการช่างไม้ระยอง” และ “โรงเรียนการช่างสตรีระยอง” เป็นโรงเรียนเดียวกัน ให้ชื่อว่า “โรงเรียนการช่างระยอง” และได้รับ อนุมัติให้ชื่อเป็น “โรงเรียนเทคนิคระยอง” เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2520 ต่อมาได้รับการยกฐานะ จากโรงเรียนเป็นวิทยาลัยโดยให้ช่ือเป็น “วิทยาลัยเทคนิคระยอง” ตั้งแต่วันท่ี 1 พฤษภาคม 2523 จนถึงปัจจบุ นั ปัจจุบันวิทยาลัยเทคนิคระยอง จัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 15 สาขาวชิ า ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.) 22 สาขาวิชา ซ่ึงประกอบด้วย 5 ประเภท วิชา คือ อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม อุตสาหกรรมท่องเท่ียว และเทคโนโลยีสารสนเทศและ

6 การสื่อสาร นอกจากนี้วิทยาลัยเทคนิคระยองได้เปิดการสอนในระดับปริญญาตรีหลักสูตรเทคโนโลยี บัณฑิต (ทล.บ.) จานวน 5 สาขาวิชา ประกอบด้วย สาขาวิชาเทคโนโลยีเคร่ืองกล (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาเทคโนโลยี พลังงาน (ต่อเน่ือง) และสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อเนื่อง) ซ่ึงเปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563 สาหรับสาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี จัดการเรียนการสอน 2 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคระยอง และวิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี โดยมีสถานประกอบการที่ลงนามความ รว่ มมอื จัดการศึกษา ไดแ้ ก่ บรษิ ทั ไออารพ์ ีซี จากดั (มหาชน) 6. ขอ้ มูลเกยี่ วกับหลักสูตร ปรชั ญา หลกั สตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี (ตอ่ เน่อื ง) ม่งุ ผลิตบัณฑติ ท่ีมีความ รอบรู้ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี มีทักษะและความชานาญในการปฏบิ ตั ิงานทาง เทคโนโลยีปิโตรเคมี ความสาคญั ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ไทยแลนด์ 4.0 โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) มีเปา้ หมายยกระดบั พื้นที่เขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออกให้ กลายเป็น “World-Class Economic Zone” รองรับการลงทุนอุตสาหกรรม Super Cluster และ อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ เพ่ือเป็นกลไกขับเคล่ือนเศรษฐกิจพิเศษในอีก 20 ปีข้างหน้า มี การสร้างงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการเพ่ิมขึ้น อีกทั้งพ้ืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เป็นท่ีต้ังของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องจานวนมาก นักเทคโนโลยี ปิโตรเคมี จะมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมดังกล่าว ซ่ึงส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม หลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี (ต่อเนอ่ื ง) จึงไดถ้ กู พัฒนาข้นึ มาให้สอดคล้อง กับการเปลีย่ นแปลงที่เกดิ ขนึ้ เพือ่ ผลิตบัณฑติ ทมี่ คี ณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตอบสนองตอ่ ความต้องการ ของตลาดแรงงาน วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ผลติ บัณฑิตท่ีมคี วามรู้ความชานาญด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมี สามารถจดั การและควบคุม กระบวนการผลิต บูรณาการความรู้ และทักษะ นาไปประยุกต์ใช้ แก้ไขปัญหา และพัฒนางานด้าน เทคโนโลยปี โิ ตรเคมี โดยใช้เทคโนโลยที ่เี ก่ียวข้อง 2. เพื่อผลิตบัณฑิตท่ีมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีกิจนิสัยในการค้นคว้า ปรับปรุงตนเองให้มี ความกา้ วหน้า สามารถแกป้ ัญหาด้วยหลกั การและเหตุผล 3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่ตระหนักในความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี มีคุณธรรม มีจริยธรรม ซ่ือสัตย์ สุจริต มีความสานึกในจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อสังคม ธารงไว้ซ่ึง ขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมอันดีงามของไทย ระบบการจัดการศึกษา ระบบการจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค ใช้ระยะเวลา 2 ปีการศึกษา โดยกาหนดให้ 1 ปี การศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ และ 1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาการศึกษาไม่

7 น้อยกว่า 18 สัปดาห์ สาหรับภาคฤดูร้อนกาหนดระยะเวลาและจานวนหน่วยกิต ให้มีสัดส่วน เทียบเคียงกันได้กับภาคการศึกษาปกติ โดยการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย รับนักศึกษาไทยและ นักศกึ ษาตา่ งประเทศท่สี ามารถใช้ภาษาไทยไดเ้ ปน็ อย่างดี จานวนนักศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 นกั ศึกษา จานวนนกั ศึกษา ชน้ั ปีที่ 1 กลมุ่ 1 (เรียนที่วิทยาลัยเทคโนโลยไี ออาร์พซี ี) ปีการศกึ ษา 2563 25 ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม 2 (เรียนทว่ี ิทยาลยั เทคนิคระยอง) 20 รวม 45 แผนการรับนักศึกษาและผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาในระยะ 5 ปี จานวนนักศึกษา จานวนนกั ศึกษาแตล่ ะปีการศึกษา 2563 2564 2565 2566 2567 ช้ันปที ่ี 1 40 40 40 40 40 ช้นั ปีที่ 2 รวม 40 40 40 40 คาดว่าจะสาเรจ็ การศกึ ษา 40 80 80 80 80 - 40 40 40 40

8 สว่ นท่ี 2 การบริหารจดั การหลกั สตู รตามเกณฑก์ ารประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ระดบั หลกั สตู ร คณะกรรมการประจาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี ได้บริหาร จัดการหลักสูตรตามมเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี หรือสายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ. 2563 ในระดับหลักสูตร มีทั้งหมด 6 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ องค์ประกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต องค์ประกอบท่ี 3 นักศึกษา องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน และ องค์ประกอบท่ี 6 สงิ่ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ ดงั น้ี องค์ประกอบท่ี 1 การกากับมาตรฐาน ผลการดาเนินการ ผา่ น ไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมนิ  1.1 การบริหารจัดการหลกั สตู รตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่อื ง  เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ.2558   1.1.1 จานวนอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สตู ร - 1.1.2 คุณสมบตั ิอาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลักสูตร ผา่ น 1.1.3 คณุ สมบัติอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร 1.1.4 คณุ สมบตั ิอาจารยผ์ ู้สอน 1.1.5 การปรบั ปรุงหลักสตู รตามรอบระยะเวลาท่ีกาหนด สรปุ ผลการประเมนิ การดาเนินการตามองค์ประกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน ซึ่งเป็นการดาเนินการตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสตู ร ระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ.2558 ดาเนนิ การได้ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ครบทุกข้อ ดังน้ี รายการเอกสารหลักฐาน 1.1.1 คาสง่ั แต่งตงั้ ประธานผู้รับผดิ ชอบหลกั สตู รและอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร 1.1.2 ประวัติอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร, ผลงานทางวิชาการ, ประสบการณ์ในด้านปฏบิ ตั ิการ 1.1.3 ประวัติอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร, ผลงานทางวชิ าการ 1.1.4 ประวัติอาจารย์ผู้สอน, คาส่ังแต่งต้ังอาจารย์ผู้สอน, แบบขออนุญาตแต่งตั้งอาจารยพิเศษ, ตารางสอน

9 องค์ประกอบท่ี 2 บัณฑิต ผลการดาเนินการ รอ้ ยละ คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ -- 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ -- 2.2 รอ้ ยละของนักศึกษาทีส่ อบมาตรฐานวชิ าชีพผา่ นในคร้ังแรก -- 2.3 รอ้ ยละของนักศกึ ษาทส่ี อบผา่ นสมทิ ธิภาพทางภาษาอังกฤษ ระดบั B2 หรอื เทียบเท่า -- 2.4 ร้อยละของนักศกึ ษาที่สอบผา่ นมาตรฐานดา้ นเทคโนโลยีดจิ ิทลั -- 2.5 ร้อยละของบัณฑติ ปริญญาตรที ่ไี ด้งานทาหรือประกอบอาชีพอสิ ระ ภายใน 1 ปี -- สรปุ ผลการประเมิน การดาเนินการตามองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต ซ่ึงเป็นผลลัพธ์การเรียนรู้ที่บัณฑิตได้รับการ พัฒนาว่ามคี ุณภาพและมาตรฐาน คณุ ภาพของบณั ฑติ ในแตล่ ะหลกั สตู รจะสะท้อนไปท่ีคุณภาพบัณฑิต ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติโดย พิจารณาจากผลลัพธ์การเรียนรู้ การมงี านทา มาตรฐานวชิ าชพี มาตรฐานภาษาองั กฤษ และมาตรฐาน เทคโนโลยีดิจิทัล ตัวบ่งชี้ท่ี 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ แสดงผล การดาเนนิ งานครอบคลุมประเดน็ ต่อไปนี้ 1) ประเมินโดยผู้ใช้บัณฑติ ตามมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ (TQF) ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งช้ีท่ี 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ มคี ่ารอ้ ยละ ……………. ระดบั คะแนน ………. คะแนน ตัวบ่งช้ีท่ี 2.2 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบมาตรฐานวิชาชีพผ่านในคร้ังแรก แสดงผลการ ดาเนนิ งานครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปน้ี 1) สอบผ่านมาตรฐานวชิ าชีพตามเกณฑท์ ่กี าหนด ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ท่ี 2.2 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบมาตรฐานวิชาชีพผ่านใน คร้ังแรก มคี ่าร้อยละ ……………. ระดบั คะแนน ………. คะแนน

10 ตัวบ่งช้ีที่ 2.3 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่าน สมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือ เทยี บเท่า แสดงผลการดาเนนิ งานครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) สอบผ่านการวดั สมทิ ธภิ าพทางภาษาองั กฤษ ระดบั B2 หรือเทยี บเท่า ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งช้ีที่ 2.3 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่านสมิทธิภาพทาง ภาษาอังกฤษ ระดบั B2หรือเทยี บเทา่ มีคา่ รอ้ ยละ ……………. ระดับคะแนน ………. คะแนน ตัวบ่งช้ีท่ี 2.4 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านมาตรฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล แสดงผลการ ดาเนนิ งานครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) สอบผ่านการวัดมาตรฐานด้านเทคโนโลยีดจิ ิทลั ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งช้ีที่ 2.4 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่านมาตรฐานด้าน เทคโนโลยีดจิ ิทลั มีค่าร้อยละ ……………. ระดบั คะแนน ………. คะแนน ตัวบ่งช้ีที่ 2.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี แสดงผลการดาเนนิ งานครอบคลุมประเดน็ ต่อไปน้ี 1) เก็บข้อมูลจากบัณฑิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษา ท่ีได้งานทา ประกอบอาชพี ส่วนตวั และผทู้ ีเ่ ปลยี่ นงานใหมห่ รือได้รับ การเลอ่ื นตาแหนง่ ภายใน 1 ปี ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ท่ี 2.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ีได้งานทาหรือ ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี มคี ่าร้อยละ ……………. ระดบั คะแนน ………. คะแนน

11 องค์ประกอบที่ 3 นกั ศึกษา ผลการดาเนนิ การ คะแนน (0-5) เกณฑ์การประเมนิ 3 3.1 การรบั นกั ศึกษา 3.2 การสง่ เสรมิ และพัฒนานกั ศึกษา 2 3.3 ผลทีเ่ กดิ กบั นกั ศึกษา 3 สรปุ ผลการประเมนิ 2.67 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา นั้น ความสาเร็จของการจัดการศึกษาขึ้นอยู่กับปัจจัยสาคัญปัจจัย หน่ึง คือ นักศึกษา ระบบประกัน คุณภาพการศึกษา ต้องให้ความสาคัญกับการรับหรือคัดเลือก นักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตร ซ่ึงต้องเป็น ระบบท่ีสามารถคัดเลือกนักศึกษาที่มีคุณสมบัติและความ พร้อมในการเรียนในหลักสูตรจนสาเร็จการศึกษา และการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มีความพร้อม ทางการเรียน และมีกิจกรรมการพัฒนาในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถตาม หลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรใน องค์ประกอบด้านนักศึกษา เร่ิมดาเนินการตั้งแต่ ระบบการรับนักศึกษา การส่งเสริมและพัฒนา นกั ศกึ ษา และผลลัพธท์ เี่ กิดขึ้นกบั นักศึกษา ตัวบ่งช้ที ี่ 3.1 การรบั นักศกึ ษา แสดงผลการดาเนนิ งานครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปน้ี 1) การรับนกั ศกึ ษา สดั สว่ นการรับ และกระบวนการรบั 2) การเตรยี มความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) ประกาศการรับสมัครนักศึกษาเข้าศึกษาตอ่ ระดบั ปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2563 2) ป้ายประชาสัมพันธ์รับสมัครนักศึกษาเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2563 3) คาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการสอบสัมภาษณ์เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ประจาปี การศกึ ษา 2563 4) ประกาศรายช่อื ผู้ผา่ นการคัดเลอื กเขา้ ศกึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาตรี ประจาปีการศกึ ษา 2563 5) คาสง่ั แต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนินงานโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี ปีการศกึ ษา 2563 6) โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี ปกี ารศกึ ษา 2563 7) รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาระดับปริญญาตรี ปกี ารศกึ ษา 2563 8) ค่มู ือนักศกึ ษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

12 สรุปผลการประเมินตนเอง ตวั บง่ ชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา มกี ารดาเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มีการ ปรับปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมนิ ผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั คะแนน 3 คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา แสดงผลการดาเนินงานครอบคลุมประเด็น ต่อไปนี้ 1) การควบคมุ การดูแลการให้คาปรกึ ษาวชิ าการ และ แนะแนวแกน่ ักศึกษาปรญิ ญาตรี 2) การพัฒนาศักยภาพนกั ศึกษาและการเสรมิ สรา้ งทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 3) การควบคุมดูแลในการจัดทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (สัดส่วนในการควบคุม อาจารย์ต่อนักศกึ ษาไม่ควร เกนิ 1 : 15) ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) กระบวนการดแู ลการให้คาปรกึ ษาวิชาการ และ แนะแนวแกน่ ักศกึ ษาปรญิ ญาตรี 2) กระบวนการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งช้ีท่ี 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา มีการดาเนินการ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมิน กระบวนการ ผลการประเมนิ อยู่ในระดับคะแนน 2 คะแนน ตัวบง่ ชท้ี ่ี 3.3 ผลท่เี กดิ กบั นกั ศึกษา แสดงผลการดาเนินงานครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) การคงอยู่ (ยกเวน้ เสียชวี ติ และยา้ ยที่ทางาน) 2) การสาเร็จการศึกษา *ใช้ขอ้ มูล 3 รนุ่ ต่อเน่ือง 3) ความพงึ พอใจ และผลการจัดการขอ้ ร้องเรยี นของนกั ศึกษา ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) จานวนนกั ศกึ ษา 2) สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาทีม่ ีต่อหลกั สูตร สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งช้ีที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา มีการดาเนินการได้แก่ 1) มี การรายงานผลการดาเนินการครบทุกเรื่องตามคาอธิบายในตัวบ่งชี้ 2) มีแนวโน้มผลการดาเนนิ งานที่ดี ข้นึ ในบางเรื่อง ผลการประเมินอยใู่ นระดับคะแนน 3 คะแนน

13 องคป์ ระกอบท่ี 4 อาจารย์ ผลการดาเนินการ รอ้ ยละ คะแนน เกณฑ์การประเมิน (ไม่มี) 3 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ -0 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 00 4.2.1 มีคา่ รอ้ ยละของอาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบหลักสตู รท่ีมีประสบการณ์ 00 ดา้ นปฏิบตั ิการในสถานประกอบการ (ไม่มี) 3 4.2.2 รอ้ ยละผลงานทางวชิ าการของอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร 2.00 4.3 ผลทีเ่ กดิ กบั อาจารย์ สรุปผลการประเมนิ องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ เป็นปัจจัยป้อนท่ีสาคัญของการผลติ บัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษา ต้องมีการออกแบบระบบการบริหารและพัฒนาอาจารย์ เพ่ือให้ได้อาจารย์ที่มีคุณภาพเหมาะสม มี คุณสมบัตสิ อดคล้องกับสภาพบริบทปรชั ญา วสิ ยั ทัศนข์ องสถาบันและของหลักสูตร องค์ประกอบด้าน อาจารย์เร่ิมดาเนินการตั้งแต่การบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ และผลลัพธ์ท่ีเกิดกับ อาจารยม์ ีผลการประเมนิ ดงั น้ี ตัวบ่งชี้ท่ี 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ เป็นการรายงานการดาเนินงาน อธิบาย กระบวนการหรอื แสดงผลการดาเนนิ งานอย่าง นอ้ ยใหค้ รอบคลุมประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) ระบบการรบั และแต่งตัง้ อาจารย์ประจาหลกั สูตร 2) ระบบการบริหารอาจารย์ 3) ระบบการส่งเสรมิ และพฒั นาอาจารย์ ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) ประวตั ิอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร อาจารยผ์ ู้สอน อาจารย์พิเศษ 2) คาสั่งแต่งต้งั อาจารยผ์ สู้ อน 3) แบบขออนญุ าตแตง่ ตงั้ อาจารย์พิเศษ 4) ตารางสอน สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ตวั บง่ ชี้ที่ 4.1 การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์ มกี ารดาเนนิ การได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มกี ารนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนนิ งาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน ผลการประเมินอยู่ในระดับคะแนน 3 คะแนน

14 ตัวบ่งช้ีท่ี 4.2 คุณภาพอาจารย์ มีการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ต้องทาให้อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณสมบัติที่หมาะสมและ เพียงพอ โดยทาให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมี ความรู้ ความเช่ียวชาญทางสาขาวิชาที่เปิดสอน และ มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการในสถาน ประกอบการท่ีเหมาะสมกับการผลิตบัณฑิตอันสะท้อนจาก วุฒิการศึกษา ตาแหน่งทางวิชาการ และ ความกา้ วหน้าในการผลิตผลงานทางวชิ าการอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) ประสบการณด์ า้ นปฏบิ ตั กิ ารในสถานประกอบการ ของอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร 2) ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลกั สูตร ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) วุฒิการศึกษา ตาแหนง่ ทางวชิ าการ และประสบการณ์ในด้านปฏิบัติการในสถาน ประกอบการของอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลกั สูตร 2) ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ มีผลการประเมินตามประเด็นใน การพิจารณาตวั บง่ ชนี้ ี้ 4.2.1 ค่าร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการในสถาน ประกอบการ รอ้ ยละ ๐ ผลการประเมนิ อยใู่ นระดับคะแนน 0 คะแนน 4.2.2 ค่าร้อยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ร้อยละ 0 ผลการ ประเมินอยู่ในระดับคะแนน 0 คะแนน ตวั บง่ ชีท้ ่ี 4.3 ผลทีเ่ กดิ กบั อาจารย์ ต้องนาไปสกู่ ารมีอตั รากาลังอาจารยท์ ีม่ จี านวนเหมาะสม กบั จานวนนกั ศกึ ษาท่ีรบั เข้าศึกษาในหลักสูตร อตั ราคงอยู่ของอาจารย์สูง และอาจารยม์ ีความพึงพอใจ ต่อการบริหารหลักสูตร ในการรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งช้ีน้ี โดยอธิบายกระบวนการหรือ แสดงผลการดาเนนิ งาน ครอบคลมุ ประเด็นต่อไปน้ี 1) การคงอยขู่ องอาจารย์ 2) ความพึงพอใจและความไมพ่ ึงพอใจของอาจารย์ ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) จานวนอาจารย์ 2) สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ตอ่ การบรหิ ารจดั การหลักสูตร 3) ขอ้ เสนอแนะของอาจารยต์ ่อการบรหิ ารจัดการหลักสูตร สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งช้ีท่ี 4.3 ผลท่ีเกิดกับอาจารย์ มีการดาเนินการได้แก่ 1) มี การรายงานผลการดาเนินการครบทุกเรื่องตามคาอธิบายในตวั บ่งชี้ 2) มแี นวโน้มผลการดาเนินงานท่ีดี ข้ึนในบางเรือ่ ง ผลการประเมินอยู่ในระดับคะแนน 3 คะแนน

15 องคป์ ระกอบท่ี 5 หลักสตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผูเ้ รียน เกณฑ์การประเมนิ ผลการดาเนนิ การ ร้อยละ คะแนน 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สตู ร (ไม่ม)ี 3 (ไม่มี) 2 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน (ไม่มี) 2 66.67 0 5.3 การประเมินผู้เรยี น 5.4 ผลการดาเนนิ งานหลกั สตู รตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อุดมศึกษา - 1.75 แห่งชาติ สรปุ ผลการประเมนิ องค์ประกอบท่ี 5 น้ัน คณะกรรมการบริหารหลักสตู รควรมีบทบาทหนา้ ท่ีในการบริหารจัดการ 3 ด้านที่สาคัญ คือ (1) สาระของ รายวิชาในหลักสูตร (2) การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรยี น การสอน (3) การประเมินผู้เรียน ระบบ ประกันคุณภาพในการดาเนินการหลักสูตรประกอบด้วย หลกั สตู ร การเรยี นการสอน และการประเมนิ ผ้เู รยี น เพอื่ ใหส้ อดคล้องกับกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิตามที่ คณะกรรมการมาตรฐานอุดมศึกษา และประกาศ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เร่ือง เกณฑ์ มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ สายปฏิบัติการ พ.ศ.2562 กาหนด ตัวบ่งช้ีในการประเมินต้องให้ความสาคัญกับการกาหนดรายวิชา ท่ีมีเน้ือหาที่ทันสมัยตอบสนอง ความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมทันความก้าวหน้าทางวิทยาการท่ีเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา รวมท้ังการ วางระบบผ้สู อนและอาจารย์ท่ีปรึกษาซง่ึ ต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความเชีย่ วชาญ ประสบการณ์และมี คุณสมบัติเหมาะสมในการพัฒนานักศึกษาให้เต็มศักยภาพ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ท่ีเน้น นกั ศึกษาเปน็ สาคญั และส่งเสรมิ ทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 ตัวบง่ ชท้ี ่ี 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสตู ร ครอบคลมุ ประเด็นตอ่ ไปน้ี 1) การออกแบบหลักสตู รและสาระรายวชิ าในหลกั สูตร 2) การปรับปรุงหลกั สูตรให้ทนั สมัยตามความก้าวหนา้ ในศาสตร์สาขานัน้ ๆ ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) หลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี (ตอ่ เนื่อง) หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2562 2) รายละเอียดของรายวชิ าในสถานศกึ ษา (คอศ.2) สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งช้ีท่ี 5.1 ผลท่ีเกิดกับอาจารย์ มีการดาเนินการได้แก่ 1) มี ระบบ กลไก 2) มกี ารนาระบบ กลไกไปสกู่ ารปฏิบตั ิ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมนิ กระบวนการ 4) มี การปรบั ปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั คะแนน 3 คะแนน

16 ตัวบ่งช้ีที่ 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน ครอบคลุม ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) การกาหนดผูส้ อน 2) การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้ แผนการฝึก และการ จดั การเรียนการสอนท้งั ในสถานศึกษา และสถานประกอบการ 3) การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการต้อง ดาเนนิ การ 5 ประเด็น 4) การควบคมุ หัวข้อโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพและการแต่งตั้งอาจารย์ทป่ี รึกษาให้ สอดคลอ้ งกับโครงงานของผ้เู รียน ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) คาสงั่ แต่งตง้ั อาจารยผ์ สู้ อน 2) แบบขออนญุ าตแต่งต้ังอาจารย์พิเศษ 3) รายละเอยี ดของรายวชิ าในสถานศกึ ษา (คอศ.2) 4) รายงานผลการดาเนินการของรายวชิ าในสถานศึกษา (คอศ.4) 5) ตารางสอน สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งช้ีท่ี 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียน การสอน มีการดาเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ ดาเนินงาน 3) มกี ารประเมินกระบวนการ ผลการประเมินอยู่ในระดับคะแนน 2 คะแนน ตัวบง่ ชี้ที่ 5.3 การประเมนิ ผเู้ รยี น ครอบคลุมประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและ ทกั ษะปฏบิ ตั ิงาน การประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ และการประเมนิ สมิทธภิ าพทางภาษาอังกฤษ 2) การตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนักศกึ ษา 3) การกากบั การประเมนิ การจัดการเรยี นการสอนและประเมินหลกั สูตร ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) รายงานผลการดาเนนิ การของรายวชิ าในสถานศกึ ษา (คอศ.4) 2) แบบบนั ทกึ ผลการเรียน 3) ใบรายงานแสดงผลการเรียนเฉลีย่ สะสม สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวช้ีวัดท่ี 5.3 การประเมินผู้เรียน มีการดาเนินการได้แก่ 1) มี ระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ ผล การประเมินอยูใ่ นระดบั คะแนน 2 คะแนน

17 ตัวบ่งชี้ท่ี 5.4 ผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปน้ี 1) ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชก้ี ารดาเนินงานตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาที่ ปรากฏในเอกสาร หลักสูตรฉบับที่จัดการเรียนการสอนในขณะนั้น (คอศ.1) หมวดท่ี 7 รายละเอียด ดังน้ี ผลการดาเนินการบรรลตุ ามเป้าหมาย ตวั บง่ ชี้ทั้งหมดอย่ใู นเกณฑ์ดีต่อเน่ือง 2 ปีการศึกษา เพื่อ ติดตามการดาเนินการตาม TQF ต่อไป ท้ังน้ีเกณฑ์การประเมินผ่าน คือ มีการดาเนินงานตามข้อ 1-5 และอย่างน้อยรอ้ ยละ 80 ของตวั บ่งชี้ผลการดาเนินงานทีร่ ะบุไว้ในแตล่ ะปี ดชั นีบง่ ช้ีผลการดาเนนิ งาน ปที ี่ ปที ่ี ปีที่ ปที ่ี ปที ่ี 12345 (1) อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร อย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการ  ประชมุ เพ่อื วางแผน ตดิ ตาม และทบทวนการดาเนินงานหลกั สตู ร (2) มีรายละเอยี ดของหลกั สูตร ตามแบบ คอศ.2 (มคอ.2) ท่สี อดคล้องกับ กรอบมาตรฐานคุณวฒุ แิ ห่งชาติ หรอื มาตรฐานคุณวฒุ ิสาขา/สาขาวิชา  (ถ้ามี) (3) มรี ายละเอยี ดของรายวิชาในสถานศกึ ษา และรายละเอียดของรายวิชา ในสถานประกอบการ ตามแบบ คอศ.2 และ คอศ.3 อย่างน้อยก่อน  การเปดิ สอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา (4) จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชาในสถานศึกษา และรายงาน ผลการดาเนินการของรายวชิ าในสถานประกอบการ ตามแบบ คอศ.4  และ คอศ.5 ภายใน 30 วัน หลงั ส้ินสดุ ภาคการศกึ ษาท่ีเปิดสอนใหค้ รบ ทุกรายวชิ า (5) จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร ตามแบบ คอศ. 6 ภายใน  60 วนั หลงั สิน้ สดุ ปกี ารศึกษา (6) มกี ารทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรู้ที่ กาหนดในแบบ คอศ. 2 และ คอศ 3 อย่างน้อยร้อยละ 25 ของ X รายวิชาทเ่ี ปดิ สอนในแตล่ ะปกี ารศึกษา (7) มกี ารพัฒนา/ปรบั ปรุงการจดั การเรยี นการสอน กลยุทธ์การสอน หรอื การประเมนิ ผลการเรยี นร้จู ากผลการประเมนิ การดาเนนิ งาน ท่รี ายงานในแบบ คอศ.6 หรอื มคอ.7 ปีทแ่ี ล้ว (8) อาจารย์ใหม่ (ถา้ ม)ี ทุกคน ไดร้ บั การปฐมนเิ ทศหรือ คาแนะนา  ด้านการจดั การเรยี นการสอน (9) อาจารยป์ ระจาหลักสตู รทุกคนไดร้ ับการพฒั นาทางวชิ าการและ/หรือ X วชิ าชพี อย่างนอ้ ยปลี ะหน่งึ ครั้ง

18 ดชั นีบง่ ช้ผี ลการดาเนินงาน ปีที่ ปที ่ี ปีท่ี ปที ่ี ปีท่ี 12345 (10) จานวนบุคลากรสนบั สนนุ การเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพฒั นา X วชิ าการ และ/หรือวิชาชพี ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ต่อปี (11) ระดับความพงึ พอใจของนักศึกษาปีสดุ ท้าย/บณั ฑิตใหมท่ ่ีมีต่อคณุ ภาพ หลกั สูตร เฉลย่ี ไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนน 5.0 (12) ระดบั ความพึงพอใจของผูใ้ ชบ้ ัณฑติ ที่มตี อ่ บณั ฑิตใหม่เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 (13) นักศึกษามีงานทาภายใน 1 ปี หลงั จากสาเร็จการศึกษา ไมต่ า่ กว่า ร้อยละ 80 ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) รายละเอียดของรายวชิ าในสถานศึกษา (คอศ.2) 2) รายงานผลการดาเนินการของรายวิชาในสถานศกึ ษา (คอศ.4) 3) รายงานผลการดาเนินการของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต (คอศ.6) สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวช้ีวัดท่ี 5.4 ผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มีการดาเนินการ ร้อยละ 66.67 ของตัวบ่งช้ีผลการดาเนินงานที่ ระบุไวใ้ นแต่ละปี มคี า่ คะแนนเทา่ กับ 0 คะแนน

19 องคป์ ระกอบที่ 6 ส่ิงสนบั สนนุ การเรียนรู้ ผลการดาเนนิ การ คะแนน (0-5) เกณฑก์ ารประเมนิ 6.1 ส่ิงสนบั สนนุ การเรยี นรู้ 3 ตัวบ่งชท้ี ่ี 6.1 สง่ิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ ครอบคลุมประเดน็ ต่อไปน้ี 1) ระบบการดาเนินงานของหลักสูตรกับสถานประกอบการโดย มีส่วนร่วมของอาจารย์ ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รเพอ่ื ใหม้ สี งิ่ สนบั สนุนการเรียนรู้ 2) จานวนสิง่ สนบั สนุนการเรยี นร้ทู ี่เพยี งพอและ เหมาะสมต่อการจดั การเรียนการสอน 3) สถานประกอบการ 4) กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมิน ความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อ ส่งิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) การดาเนนิ งานของหลักสตู ร 2) สิ่งสนบั สนุนการเรียนรู้ หอ้ งเรยี น อาคารเรียน 3) บันทึกความรว่ มมือกบั สถานประกอบการ 4) สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจต่อสิง่ สนบั สนุนการเรยี นรู้ สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ท่ี 6.1 การประเมินผู้เรียน มีการดาเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน 3) มีการประเมินกระบวนการ 4) มีการ ปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน ผลการประเมนิ อยใู่ นระดับคะแนน 3 คะแนน

20 สว่ นท่ี 3 สรปุ ผลการประเมิน ตารางแสดงผลการประเมนิ ตนเองตามองค์ประกอบและตัวบ่งช้ี องคป์ ระกอบในการ ตัวบ่งชี้ ผลการ ประกนั คณุ ภาพหลักสูตร ประเมนิ 1. การกากบั มาตรฐาน 1.1 การบริหารจดั การหลักสตู รตามประกาศกระทรวง ศกึ ษาธิการ เร่อื งเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู ร ระดบั ปรญิ ญา ผา่ น 2. บัณฑิต ตรี พ.ศ. 2558 - 3. นกั ศกึ ษา 1.1.1 จานวนอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร - 4. อาจารย์ 1.1.2 คุณสมบัติอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร - 1.1.3 คณุ สมบตั ิอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร - 1.1.4 คุณสมบตั ิอาจารย์ผู้สอน - 1.1.5 การปรับปรงุ หลักสตู รตามระยะเวลาทกี่ าหนด 3 2.1 คณุ ภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ 2 อดุ มศึกษาแห่งชาติ 3 2.2 ร้อยละของนักศึกษาทสี่ อบผ่านมาตรฐานวชิ าชีพใน 3 คร้ังแรก 0 2.3 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่านสมทิ ธภิ าพทางภาษา 0 อังกฤษ ระดบั B2 หรือเทยี บเท่า 3 2.4 รอ้ ยละของนักศึกษาท่สี อบผ่านมาตรฐานดา้ นเทคโน โลยีดจิ ิทัล 2.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรที ไ่ี ด้งานทาหรือ ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 3.1 การรบั นักศึกษา 3.2 การสง่ เสริมและพัฒนานักศกึ ษา 3.3 ผลท่ีเกดิ กบั นกั ศึกษา 4.1 การบริหารและพฒั นาอาจารย์ 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตรที่มี ประสบการณ์ด้านปฏบิ ัตกิ ารในสถานประกอบการ 4.2.2 รอ้ ยละผลงานทางวิชาการของอาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลักสูตร 4.3 ผลท่ีเกิดกบั อาจารย์

21 องคป์ ระกอบในการ ตัวบง่ ชี้ ผลการ ประกันคุณภาพหลกั สูตร ประเมิน 5. หลักสูตร การเรียนการ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสตู ร 3 สอน การประเมินผูเ้ รยี น 5.2 การวางระบบผ้สู อน และกระบวนการจดั การเรียน 2 การสอน 5.3 การประเมนิ ผู้เรยี น 2 5.4 ผลการดาเนนิ งานหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐาน 0 คณุ วุฒริ ะดับอุดมศกึ ษา 6. สิง่ สนับสนุนการเรียนรู้ 6.1 สิง่ สนับสนุนการเรียน 3 คะแนนรวม 24 คะแนนรวมเฉล่ีย 2.18

22 สว่ นที่ 4 ตารางการวิเคราะหค์ ณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร ตารางวเิ คราะห์คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร องค์ คะแนน จานวน I P O คะแนน ผลการประเมนิ ประกอบที่ ผ่าน ตัวบ่งชี้ เฉลี่ย 0.01-2.00 ระดับคณุ ภาพ น้อย 2.01-3.00 ระดับคุณภาพ ปานกลาง 3.01-4.00 ระดบั คณุ ภาพ ดี 4.01-5.00 ระดับคณุ ภาพ ดีมาก 1 ผ่านการประเมิน หลกั สตู รได้มาตรฐาน 2 คะแนน - - -- - ปานกลาง 3 เฉลย่ี ของ 3 3.1,3.2 3.3 2.67 ทกุ ตัว น้อย นอ้ ย 4 บ่งชี้ใน 3 4.2 4.1 4.3 2.00 ปานกลาง องค์ 5 ประกอบ 4 5.1,5.2, 5.4 1.75 ปานกลาง 5.3 ที่ 2-6 6.1 3 61 173 รวม 11 ผลการประเมนิ 24 / 11 2.18

23 สว่ นที่ 5 รายงานผลการวิเคราะหจ์ ุดเดน่ และจดุ ทีค่ วรพัฒนา รายงานผลการวเิ คราะห์จดุ เดน่ และจุดที่ควรพฒั นา องค์ประกอบท่ี 3-6 จดุ เดน่ 1. ด้านอาจารยผ์ ู้ทาหน้าท่สี อนประจาวชิ าเป็นผทู้ รงคุณวุฒิ มีความรคู้ วามสามารถ ความเชยี่ วชาญตรงตามรายวิชาท่ที าการสอน 2. ด้านหลกั สูตรเปน็ หลกั สูตรท่เี ปดิ ใหม่ เพอ่ื รองรบั กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมี โครงการพฒั นา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC) จดุ ท่ีควรพัฒนา 1. ดา้ นนกั ศึกษา ในการส่งเสรมิ และพัฒนานักศึกษาน้นั ควรมีการประเมนิ การบวนการและ นาผลการประเมินไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ วธิ ีการทางานในครง้ั ตอ่ ไป 2. ด้านอาจารย์ ในสว่ นของการสง่ เสริมคุณภาพของอาจารย์ ควรสง่ เสริมให้อาจารยเ์ ข้ารับ การฝกึ ประสบการณ์ในสถานประกอบการ และสนับสนนุ ให้อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสูตร ทาผลงานทางวชิ าการทุกปี 3. ดา้ นส่ิงสนบั สนุนการเรยี นรู้ไม่เพยี งพอและไม่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน

24 ภาคผนวก

องค์ประกอ ตวั บง่ ช้ีที่ 1.1 การบรหิ ารจัดการหลกั สูตรตามประกาศกระท ๑. จานวนอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสูตร / อาจารย์ประจาหลกั สูตร ท่ี ชื่อ-สกุล ช่อื ปริญญาและสาขา สถาบันท ๑ นางนิรมล วิรยิ วฒุ วิ งศ์ วิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ (วศ.ม.) มหาวิทยาล เทคโนโลยีการจดั การพลังงานและ มหาวทิ ยาล สิง่ แวดลอ้ ม วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต (วศ.บ.) วศิ วกรรมเคมี ๒ นางอษุ ณีย์ อน้ จร วศิ วกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ (วศ.ม.) จุฬาลงกรณ วิศวกรรมเคมี วทิ ยาศาสตรบัณฑติ (วท.ม.) เคมี มหาวิทยาล อุตสาหกรรม ๓ นายธนันวฒั น์ จติ รวิโรจน์ วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วท.ม.) มหาวทิ ยาล เคมวี ิเคราะห์ วิทยาศาสตรบณั ฑิต (วท.ม.) เคมี มหาวิทยาล

25 อบที่ 1 การกากบั มาตรฐาน ทรวงศึกษาธกิ าร เรื่องเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู ร ระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ.2558 ทสี่ าเร็จการศึกษา ผลงานทางวชิ าการและการเผยแพร่ ประสบการณใ์ นดา้ นการปฏิบตั กิ าร ในสถานประกอบการ ลยั ธรรมศาสตร์ ผลงานทางวิชาการ การศกึ ษาช่องวา่ งสมรรถนะของหลักสูตร (ช่อื สถานประกอบการ/ระยะเวลา) ลยั เกษตรศาสตร์ ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันสงู (ปวส.) - ณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2557 สาขาวชิ าปิโตรเคมี ลยั เชียงใหม่ สาขางานปิโตรเคมี สังกดั สานักงาน - ลยั บูรพา คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กับสมรรถนะ ลยั รามคาแหง ท่ใี ชใ้ นการปฏิบตั งิ านจรงิ ตามความตอ้ งการ - ของสถานประกอบการ กลุ่มอตุ สาหกรรมปิ โตรเคมี การเผยแพร่ การประชมุ วชิ าการเทคโนโลยีและนวัตกรรม อาชีวศึกษา ระดบั ชาติ คร้ังที่ 3 สถาบันการ อาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก หน้า 35-37 วนั ทีน่ าเสนอ 27-28 กุมภาพนั ธ์ 2562

ท่ี ชอื่ -สกุล ชอื่ ปริญญาและสาขา สถาบนั ท ๔ นางรัตนา ลานทอง วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วท.ม.) จุฬาลงกรณ ปโิ ตรเคมีและวทิ ยาศาสตรพ์ อลเิ มอร์ การศึกษาบัณฑติ (กศ.บ.) เคมี มหาวิทยาล ๕ ดร.จักรพงษ์ แสงอรณุ วทิ ยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ (วท.ด.) จฬุ าลงกรณ ปโิ ตรเคมี วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วท.ม.) จุฬาลงกรณ ปโิ ตรเคมีและวทิ ยาศาสตรพ์ อลเิ มอร์ วิทยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) เคมี มหาวิทยาล

26 ทีส่ าเรจ็ การศกึ ษา ผลงานทางวิชาการและการเผยแพร่ ประสบการณ์ในดา้ นการปฏิบัติการ ในสถานประกอบการ ณม์ หาวิทยาลัย ผลงานทางวิชาการ การศึกษาประสิทธภิ าพการยบั ย้งั (ช่ือสถานประกอบการ/ระยะเวลา) แบคทเี รยี ของแผ่นรองพ้ืนรองเทา้ ทเี่ ตมิ - ซิลเวอรน์ าโน (Study of the Antibacterial Efficiency of Shoe อาจารยใ์ นสถานประกอบการ Soles by Adding Silver Nano) บรษิ ัท ไออารพ์ ซี ี จากดั (มหาชน) การเผยแพร่ 31 ปี ลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ งานประชมุ วชิ าการด้านนวตั กรรมและ เทคโนโลยี สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาค ตะวันออก คร้ังที่ 1 หนา้ 57 วันท่ี 6-7 พฤศจิกายน 2560 ห้างสรรพสินคา้ (แหลมทองระยอง) จังหวดั ระยอง ณ์มหาวิทยาลยั ผลงานทางวิชาการ Etherification of Glycerol with Propylene or 1-Butene for Fuel Additives ณ์มหาวิทยาลัย การเผยแพร่ ลยั รามคาแหง Chulalongkorn University หน้า 1-11 1 กมุ ภาพันธ์ 2561

๒. จานวนอาจารย์ผสู้ อน ชอื่ ปริญญา วิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ (วศ.ม.) ท่ี ชื่อ-สกลุ สิง่ แวดล้อม ๑ นางนิรมล วริ ยิ วุฒวิ งศ์ วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศ.บ.) วศิ ว วิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ (วศ.ม.) ๒ นางอษุ ณยี ์ อน้ จร วทิ ยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) เคมอี ตุ ส ๓ นายธนันวัฒน์ จติ รวโิ รจน์ วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วท.ม.) เคม ๔ นางรตั นา ลานทอง วิทยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) เคมี ๕ นายจักรพงษ์ แสงอรุณ วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วท.ม.) ปิโต การศกึ ษาบัณฑติ (กศ.บ.) เคมี วทิ ยาศาสตรดุษฎบี ัณฑติ (วท.ด.) ปโิ ต วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วท.ม.) ปิโต วทิ ยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) เคมี

27 าและสาขา สถาบนั ท่สี าเรจ็ การศกึ ษา เทคโนโลยีการจดั การพลังงานและ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วกรรมเคมี มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ มวี เิ คราะห์ มหาวิทยาลยั บรู พา มหาวิทยาลยั รามคาแหง ตรเคมแี ละวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ตรเคมี จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ตรเคมแี ละวทิ ยาศาสตร์พอลเิ มอร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย มหาวิทยาลยั รามคาแหง

ที่ ชอื่ -สกลุ ชอื่ ปริญญา ๖ นางสาวปารชิ าต ธนาภรณ์ ๗ นางฤชวี ฉตั รวริ ยิ าวงศ์ วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วท.ม.) วิทย ๘ นายประทปี ผลจันทร์งาม วทิ ยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) วิทยาศา ๙ นายประกติ ปอคูสุวรรณ ปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ (ปร.ด.) หลกั สูตร นติ ศิ าสตรมหาบัณฑิต (น.ม.) ศิลปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) ภาษาองั ก ปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ (ปร.ด.) บรหิ ารอ และพฒั นาหลกั สตู ร) การศกึ ษามหาบณั ฑติ (กศ.ม.) บรหิ าร วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วท.ม.) เทค การศกึ ษามหาบณั ฑติ (กศ.ม.) เทคโน ประกาศนยี บตั รครเู ทคนคิ ชั้นสงู (ปท ครุศาสตรบณั ฑติ (ค.บ.) การประถมศ ครศุ าสตรอุตสาหกรรมมหาบณั ฑติ (ค อาชีวะและเทคนิคศกึ ษา ปรัชญาดุษฎบี ณั ฑติ (ปร.ด.) การบรหิ

28 าและสาขา สถาบนั ท่สี าเร็จการศึกษา ยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ าสตร์ท่วั ไป จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั รและการสอน (ภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั กฤษ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง อาชวี ะและเทคนิคศึกษา (แขนงวิจัย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ รการศึกษา มหาวิทยาลยั กรงุ เทพธนบรุ ี คโนโลยอี ินเทอรเ์ น็ตและสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร นโลยที างการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั บูรพา ท.ส.) ไฟฟ้าส่ือสาร สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วัน ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ราไพพรรณี ค.อ.ม.) เทคโนโลยกี ารศึกษาทางการ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหาร ลาดกระบงั หารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั บรู พา

ท่ี ช่อื -สกุล ชอ่ื ปริญญา ๑๐ นางสาวญาธดิ า แสงรตั น์ วทิ ยาศาสตร์มหาบณั ฑติ (วท.ม.) คณ ๑๑ นางสาวชุตมิ าพร วรรณวงษ์ ครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) คณิตศาสตร วิทยาศาสตร์มหาบณั ฑติ (วท.ม.) วิศว วิทยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) เคมี ๑๒ รศ.ดร.สร้อยพทั ธา สรอ้ ยสวุ รรณ วศิ วกรรมศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ (วศ.ด.) วิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ (วศ.ม.) วทิ ยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) เคมีเทค ๑๓ รศ.ดร.ปยิ ฉตั ร วฒั นชยั Doctor of Philosophy (Chemical Master of Science (Chemical En วิศวกรรมศาสตรบัณฑติ (วศ.บ.) วศิ ว ๑๔ ผศ.ดร.เสฎกรณ์ อุปเสน Diplome de Docteur (Chimie Ph de Paris Centre) Master of Science (Chemical En วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต (วศ.บ.) วศิ ว

29 าและสาขา สถาบนั ท่สี าเรจ็ การศกึ ษา ณติ ศาสตรป์ ระยกุ ต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื ร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม วกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ) วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย วิศวกรรมเคมี จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั คนิค จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย l Engineering) Cambridge University ngineering) Texas A&M University วกรรมเคมี มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น hysique et Chimie Analytique University Paris VI, France ngineering) วกรรมเคมี De La Salle University, Philippines มหาวทิ ยาลยั บูรพา

ที่ ช่ือ-สกุล ชอื่ ปริญญา ๑๕ นายปฏภิ าณ บญุ รวม วศิ วกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ (วศ.ม.) ๑๖ นายรุง่ นริ ัญ เทย่ี งธรรม วศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) วศิ ว ๑๗ นายนิมติ ร กนั ธิยะวงค์ ครศุ าสตรอตุ สาหกรรมมหาบณั ฑติ (ค ๑๘ นางสาวสุกญั ญา แกว้ แสง ครศุ าสตรอุตสาหกรรมบัณฑติ (ค.อ.บ วิศกรรมศาสตรมหาบัณฑติ (วศ.ม.) ส ๑๙ นางพนดิ า ดอนเมฆ วศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) สาข ๒๐ นางสาวศภุ พร พัวพนั ประสงค์ วศิ กรรมศาสตรมหาบัณฑติ (วศ.ม.) ส วศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) สาข ครุศาสตรมหาบณั ฑิต (ค.ม.) บรหิ ารก การศกึ ษาบณั ฑิต (ก.ศ.บ.) ภาษาไทย MBA การจดั การการเงนิ บริหารธรุ กจิ บัณฑิต (บธ.บ). การบรหิ

30 าและสาขา สถาบนั ท่สี าเร็จการศกึ ษา วิศวกรรมเคมี มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ วกรรมเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี ค.อ.ม.) สาขาวศิ วกรรมไฟฟ้าสอื่ สาร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี บ.) วิศวกรรมโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี สาขาวิศกรรมเคมี จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ขาวศิ วกรรมเคมี มหาวทิ ยาลยั นเรศวร สาขาวิศกรรมเคมี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี ขาวศิ วกรรมเคมี มหาวทิ ยาลยั บรู พา การศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราไพพรรณี หารธรุ กจิ ระหวา่ งประเทศ มหาวทิ ยาลยั บรู พา Southeastern University, Washington DC, USA มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย

ที่ ช่อื -สกลุ ชอื่ ปรญิ ญา ๒๑ นายจรงุ กจิ ใจแก้ว วทิ ยาศาสตรดุษฎบี ัณฑติ (วท.ด) วสั ดุศ วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วท.ม) ปิโตร วิทยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) เคมี สรปุ ผลก เกณฑ์การประเมิน 1. จานวนอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตร 2. คณุ สมบตั ิอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร 3. คุณสมบัตอิ าจารยป์ ระจาหลักสูตร 4. คณุ สมบัตอิ าจารย์ผ้สู อน 5. การปรับปรงุ หลักสูตรตามรอบระยะเวลาทก่ี าหน

31 าและสาขา สถาบันทีส่ าเรจ็ การศึกษา ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย รเคมีและพอลเิ มอร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั รามคาแหง การกากบั มาตรฐาน ผา่ น ไม่ผา่ น นด     

32 องคป์ ระกอบที่ ๓ นักศกึ ษา ตัวบง่ ชีท้ ่ี 3.1 การรบั นักศกึ ษา ๑. การรบั นกั ศึกษา สัดสว่ นการรับ และกระบวนการรับ (เขียนบรรยายอธิบายขน้ั ตอนการดาเนินการ ส่งิ ทท่ี าตามบริบทของแตล่ ะหลักสูตร) การรบั นักศกึ ษา สดั ส่วนการรบั - หลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี ประจาปีการศึกษา 2563 รับสมคั รนักศึกษา 2 กลมุ่ กลุม่ ละ 20 คน รวมจานวน 40 คน กระบวนการรับนักศึกษา กระบวนการรบั นกั ศึกษาได้ดาเนินการดังนี้ 1. กาหนดคุณสมบัติของนกั ศกึ ษา 2. ประกาศรบั สมัครนกั ศกึ ษาเขา้ ศกึ ษาต่อระดบั ปรญิ ญาตรี 3. รับสมคั รและตรวจสอบคณุ สมบัติ 4. คดั เลือกนกั ศกึ ษาที่สมัครเขา้ ศึกษาต่อระดับปริญญาตรีโดยการสอบสมั ภาษณ์ 5. ประกาศรายชือ่ ผู้ผา่ นการคดั เลือกเขา้ ศกึ ษาต่อระดับปริญญาตรี 6. มอบตวั รายงานตวั และข้ึนทะเบยี นเปน็ นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี ประกาศรบั สมัครนักศึกษา หลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยปี โิ ตรเคมี ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

33 การคดั เลอื กนักศึกษา หลกั สตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 วันท่ี ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ คณะกรรมการคัดเลือกนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยี บัณฑิต (ทล.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยปี โิ ตรเคมี ดาเนินการคัดเลือกนกั ศึกษาโดยใชว้ ธิ ีการสัมภาษณ์

34 ๒. การเตรยี มความพร้อมกอ่ นเข้าศกึ ษา (เขียนบรรยายอธบิ ายขนั้ ตอนการดาเนนิ การสิ่งท่ที าตาม บรบิ ทของแตล่ ะหลักสตู ร) สาขาวิชาเทคโนโลยปี โิ ตรเคมี ได้ดาเนินการดังน้ี - ปฐมนิเทศนักศกึ ษาหลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี ประจาปี การศกึ ษา 2563 เพ่ือทาความเข้าใจกับรูปแบบการจดั การเรยี นการสอน วันท่ี ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๓ ปฐมนิเทศนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยีเคร่ืองกล สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า สาขาวิชา เทคโนโลยปี ิโตรเคมี และสาขาวชิ าเทคโนโลยีพลงั งาน

35 ตัวบง่ ชท้ี ่ี 3.2 การสง่ เสริมและพัฒนานักศึกษา 1. การควบคมุ การดูแลการใหค้ าปรึกษาวิชาการ และ แนะแนวแก่นักศกึ ษาปริญญาตรี - การให้คาปรึกษา เม่ือนักศึกษาเรียนภายในชั้นเรียน นอกเหนือจากการให้ความรู้ทาง วิชาการ โดยรวมเป็นการแจ้งข่าวสาร ประชาสัมพันธ์เรื่องต่าง ๆ ที่นักเรียนควรต้องทราบ เช่น เรือ่ งกาหนดการเปดิ -ปดิ ภาคเรยี น กาหนดการลงทะเบยี น กาหนดการสอบกลางภาค กาหนดการ สอบปลายภาค เรือ่ งการแตก่ าย เร่ืองการขาด ลา มาสาย - การให้คาปรึกษา นอกช้ันเรียน เป็นการอาศัยช่องทางของสื่อโซเชียลมีเดีย เช่น Line, Facebook ในการให้ความรู้ ให้ข่าวสารทางวิชาการ รวมถึงการแจ้งข่าวสารประชาสัมพันธ์เร่ือง ตา่ ง ๆ 2. การพัฒนาศกั ยภาพนักศกึ ษาและการเสรมิ สร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 - ในกรณีที่สอนในหอ้ งเรยี น การสอนนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีปิโตรเคมนี นั้ องค์ความรู้มีการ เปล่ยี นแปลงทีร่ วดเรว็ มาก ดงั น้ันวิธกี ารสอนจะให้ผู้เรียนเกดิ กระบวนการคดิ และพยายามกระตุ้นให้ ผ้เู รยี นพยายามค้นควา้ หาความรู้ใหม่ ๆ ที่สามารถตอบโจทย์การทางานในยคุ ปัจจุบันใหไ้ ด้ - การมอบหมายงานนอกห้องเรียน จะมอบหมายงานท่ีให้ผู้เรียนเกิดการค้นคว้า ค้นหา คาตอบตา่ งๆ ด้วยตัวเอง โดยมีเปา้ หมายใหผ้ เู้ รยี นสามารถทจี่ ะศึกษาองคค์ วามรู้ต่าง ๆ ด้วยตัวเองได้ 3. การควบคุมดูแลในการจัดทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (สัดส่วนในการควบคุมอาจารย์ต่อ นกั ศกึ ษาไม่ควร เกนิ 1 : 15) - ยังไมม่ ีการเรยี นในรายวชิ าโครงงาน ฯ

36 ตวั บง่ ชที้ ่ี 3.3 ผลทเ่ี กิดกบั นักศกึ ษา 1. การคงอยู่ (ยกเวน้ เสยี ชีวติ และยา้ ยทีท่ างาน) จานวนนกั ศกึ ษารบั เขา้ ศกึ ษาท้งั หมด = 53 คน จานวนผลู้ าออกและคดั ช่ือออก = 8 คน การคงอยู่ = (53 – 8)/53 x 100 = 84.91% การคงอยขู่ องนกั ศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยปี โิ ตรเคมี ปกี ารศึกษา 2563 คิดเป็นร้อยละ 84.91% 2. การสาเร็จการศกึ ษา *ใชข้ อ้ มูล 3 รุน่ ต่อเนอ่ื ง ปกี ารศึกษา จานวนนกั ศกึ ษาตามหลกั สตู ร (คน) หมายเหตุ ยังไมม่ ีผ้สู าเรจ็ การศึกษา 2560 2560 2561 2562 2563 2561 2562 --- - 2563 รวม --- - --- - - - - 45 - - - 45 สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมียงั ไม่มีผ้สู าเร็จการศกึ ษา 3. ความพึงพอใจ และผลการจัดการข้อร้องเรยี นของนักศกึ ษา จากการตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักศกึ ษาต่อคุณภาพหลักสตู ร ของนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี มคี า่ เฉลย่ี เท่ากบั 4.14 อยูใ่ นระดบั มาก

37 องคป์ ระกอบที่ 4 อาจารย์ ตัวบง่ ชีท้ ี่ 4.1 การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ 1. ระบบการรับและแตง่ ต้ังอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี มีการวางแผนในการรับและแต่งต้ังอาจารย์ประจาหลักสูตร ดงั น้ี - คัดเลือกอาจารย์ประจาหลักสูตร โดยพิจารณาจากอาจารย์ผู้สอนในสาขาวิชาปิโตรเคมี และสาขาวชิ าเคมีอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคระยอง และวทิ ยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี นอกจากนี้ สาขาวิชาเทคโนโลยีปโิ ตรเคมีได้เชญิ อาจารยท์ ี่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์เป็นอย่างดีย่ิง จากภาควิชาวศิ วกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา - สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก กลั่นกรองโดยคุณสมบัติของอาจารย์ประจา หลักสตู รโดยคณะกรรมการกลนั่ กรอง - สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก นารายชื่อผ่านที่กล่ันกรองเข้าท่ีประชุมสภาสถาบัน เพอ่ื ทาการแตง่ ตง้ั เป็นอาจารยป์ ระจาหลักสูตร 2. ระบบการบริหารอาจารย์ สาขาวชิ าเทคโนโลยปี โิ ตรเคมี มรี ะบบการบริหารอาจารย์ ดงั น้ี - ในแตล่ ะภาคเรียน จะมีการคดั เลือกอาจารยป์ ระจาวชิ า โดยคัดเลอื กจากทั้งอาจารย์อยู่ใน กากับของสถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก และอาจารยผ์ ู้ทรงคุณวฒุ ิจากภายนอก จากน้ันจะมี การพิจารณาคุณสมบัติโดยมีคณะกรรมการพิจารณา และดาเนินการออกเป็นคาส่ังแต่งต้ังเป็น อาจารย์ประจาวิชาในแต่ละภาคเรียน - ในแต่ละภาคเรียน จะมีการประชุมอาจารย์ผู้สอน เพ่ือชี้แจงข้ันตอนในการดาเนินการ จัดการเรียนการสอน รวมท้ังชี้แจงเก่ียวกับการจัดทาเอกสารรายวิชาต่าง ๆ ท่ีอาจารย์ผู้สอนต้อง จัดทา - มีการนาระบบ ศธ.02 ออนไลนม์ าใช้ ในการบริหารจัดการอาจารยผ์ ู้สอน โดยนามาใช้ใน การเก็บประวตั ิอาจารยผ์ ้สู อน, จัดทาตารางสอน, ในอาจารยผ์ สู้ อนประเมนิ ผลการเรยี น เปน็ ต้น - มีการนาระบบโซเชียลมีเดีย Line เพ่ือใช้สาหรับแจ้งข่าวสารระหว่างสถาบัน สาขาวิชา และอาจารยผ์ ู้สอนไดร้ ับทราบ 3. ระบบการสง่ เสริมและพฒั นาอาจารย์ อาจารย์ผู้สอนสาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานการ วิจัยและบทความวิชาการ กิจกรรมภายใต้โครงการพัฒนามาตรฐานกาลังคนอาชีวศึกษาด้าน เทคโนโลยีนวัตกรรม (Innovative Technology) ให้ก้าวสู่ Thailand 4.0 วันที่ 29 - 31 สิงหาคม 2563 ณ โรงแรมโกลเดน้ ซติ ี้ ระยอง จังหวัดระยอง

38 ตัวบ่งชท้ี ่ี 4.2 คุณภาพอาจารย์ 1. ร้อยละของอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู รท่มี ปี ระสบการณ์ดา้ นปฏิบัติการในสถานประกอบการ คา่ รอ้ ยละของอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตรท่ีมีประสบการณด์ ้านปฏบิ ัตกิ ารในสถานประกอบการ แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้ เทียบกับคะแนนเต็ม 5 หมายเหตุ : ไมน่ บั อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สตู รทีม่ าจากสถานประกอบการ จานวนอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตรทั้งหมด = 5 คน จานวนอาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลกั สูตรทม่ี ปี ระสบการณ์ในด้าน = 0 คน การปฏบิ ัตงิ านในสถานประกอบการ ค่ารอ้ ยละของอาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลกั สูตรท่ีมปี ระสบการณด์ ้าน = (0/5) x 100 = 0 ปฏบิ ตั ิการในสถานประกอบการ แปลงคา่ รอ้ ยละที่คานวณได้เทียบกับคะแนนเต็ม 5 = (0/80) x 5 = 0 ค่ า ร้ อ ย ล ะ ข อ ง อ า จ า ร ย์ ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ ห ลั ก สู ต ร ที่ มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ด้ า น ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ น ส ถ า น ประกอบการ รอ้ ยละ ๐ ผลการประเมินอยู่ในระดบั คะแนน 0 คะแนน 2. ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตรทัง้ หมด คานวณคา่ ร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสตู ร แปลงค่าร้อยละท่ีคานวณได้ เทยี บกับคะแนนเต็ม 5