คำนำ คู่มือนกั ศกึ ษานี้ จดั ทาข้ึนเพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมและพัฒนานักศึกษาใหม่ ที่เข้าศึกษา ต่อในระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ปีการศึกษา 2564 ส่วนหน่ึงนั้นเพ่ือให้ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก การจัดการเรียนการสอน และการปฏิบัติตนในฐานะนักศึกษา ตามระเบียบ ข้อบังคับและการรักษา วินัยของสถาบัน รวมท้งั การพฒั นาจติ ใจดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ดังน้ันในปัจจุบัน ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก้าวหน้าอย่างกว้างขวางและ รวดเร็ว การศึกษาและการวิจัย ตลอดจนการพัฒนาตนเองในทุกๆด้าน จึงจาเป็นอย่างย่ิง เพ่ือให้ทัน กับการเปลีย่ นแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์ รวมท้ังต้องมีผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของ ชาติ พ.ศ. 2561 ซงึ่ หมายถึง คุณลักษณะของคนไทย 4.0 ท่ีตอบสนองวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศสู่ ความมั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน โดยคนไทย 4.0 จะต้อง ธารงความเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก น้ันคือ เปน็ คนดี มีคณุ ธรรม ยดึ ค่านยิ มรว่ มของสงั คมเป็นฐานในการพัฒนาตนให้เป็นบุคคลที่มีคุณลักษณะ 3 ด้าน คือ 1) ผู้เรียนรู้ เป็นผู้มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ และมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือก้าวทันโลก ยุคดจิ ทิ ลั และโลกในอนาคต และมีสมรรถนะ (competency) ท่ีเกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ มีสุนทรียะรักษ์ และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย มีทักษะชีวิตเพ่ือสร้างงานหรือสัมมาอาชีพบนพ้ืนฐาน ของ ความพอเพยี ง ความมัน่ คงในชีวติ และคุณภาพชีวติ ทดี่ ี ตอ่ ตนเอง ครอบครวั และสงั คม 2) ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม เป็นผู้มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษท่ี 21 ความฉลาด ดิจิทัล (digital intelligence) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะข้ามวัฒนธรรม สมรรถนะการบูรณา การข้ามศาสตร์ และมีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการเพ่ือร่วมสร้างสรรค์และพัฒนา นวตั กรรมทางเทคโนโลยีหรือสงั คม เพิม่ โอกาสและมลู คา่ ให้กับตนเองและสงั คม 3) พลเมืองที่เข้มแข็ง เป็นผู้มีความรักชาติ รักท้องถิ่น รู้ถูกผิด มีจิตสานึกเป็นพลเมืองไทย และพลโลก มจี ิตอาสา มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติบนหลักการประชาธิปไตย ความ ยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ียั่งยืนและ การอยรู่ ่วมกันในสังคมไทยและประชาคมโลกอย่างสันติ โดยผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ 3 ด้าน ท่ีเหมาะสม ตามช่วงวัย มีความต่อเนื่อง เช่ือมโยง และสะสมตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การอาชีวศึกษา จนถึงระดับอดุ มศึกษา คมู่ ือนกั ศกึ ษานี้ เพอ่ื สาหรบั นกั ศกึ ษาใหม่ระดับปริญญาตรี เป็นแนวทางการสร้างความเข้าใจ ในระบบการเรียนการสอน การพฒั นาตนเอง ความสมั พันธ์และทัศนคติทด่ี ีต่อสถาบนั การอาชีวศกึ ษา อาชวี ศึกษาบณั ฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก เมษายน 2564
สำรบัญ หนำ้ เรอ่ื ง 1 20 สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู พ้นื ฐานสถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก 25 สว่ นท่ี 2 ปฏทิ ินการศึกษา 2564 93 สว่ นท่ี 3 หลักสตู รระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ัตกิ าร ภำคผนวก
สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพื้นฐานสถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก 1.1 ความเปน็ มาสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก ตามพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 มาตรา 9 กาหนดว่า การจัดการอาชีวศึกษาและ การฝึกอบรมวิชาชีพตามมาตรา 6 มาตรา 7 และ มาตรา 8 ให้จัดตามหลักสูตรท่ีคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษากาหนด ดังน้ี ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันสูง ปริญญาตรีสายเทคโนโลยี หรอื สายปฏิบตั ิการ พ.ศ. 2554 คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (กอศ.) (ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ ประธาน คณะกรรมการ) ได้ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์การรวมและการแยก สถานศึกษาเพื่อจัดตั้งเป็นสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 9 มีนาคม 2554 ตามมาตรา 13 กาหนดว่า สถานศึกษาอาชีวศึกษาสามารถรวมกันเป็นสถาบันได้ วรรคสอง การรวมสถานศึกษา อาชีวศึกษาเพ่ือจัดต้ังเป็นสถาบันให้กระทาได้โดยคาแนะนาของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ คานึงถึงการประสานความร่วมมือให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ ในการใชท้ รัพยากรรว่ มกนั พ.ศ. 2555 จากประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษาดังกล่าว สานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาจึงได้ทาการประเมินสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อเข้าร่วมจัดต้ังเป็นสถาบันการอาชีวศึกษา มาตงั้ แต่วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2554 และเสนอร่างกฎกระทรวงการรว่ มสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาเพื่อจัดต้ังสถาบัน การอาชีวศึกษา พ.ศ...ผ่านคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 15 มกราคม 2555 (นายวรวัจน์ เอ้ือภิญญกุล เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) และประกาศกฎกระทรวงฯ ในราชกิจจานุเบกษา ได้ในวันที่ 27 มิถุนายน 2555 (ศ.ดร.สชุ าติ ธาราดารงเวช เป็นรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ) ตามกฎกระทรวง เร่ือง การรวมสถานศึกษาเพื่อจัดต้ังสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 อาศัย อานาจตามความในมาตรา 5 วรรคหน่ึง และมาตรา 13 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 อันเป็นกฎหมายท่ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 32 และมาตรา 43 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้ กระทาไดโ้ ดยอาศัยอานาจตามบทบญั ญัติแหง่ กฎหมาย รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคาแนะนา ของคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาออกกฎกระทรวงไว้ ให้จดั ตง้ั สถาบันการอาชีวศกึ ษา19 สถาบัน ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 13 มิถนุ ายน 2555 1. สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคกลาง 1 2. สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคกลาง 2 3. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3 อาชวี ศกึ ษาบณั ฑติ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก 1
4. สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคกลาง 4 5. สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคกลาง 5 6. สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคใต้ 1 7. สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคใต้ 2 8. สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคใต้ 3 9. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก 10. สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 11. สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 2 12. สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 3 13. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 4 14. สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 15. สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคเหนือ 1 16. สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ 2 17. สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ 3 18. สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคเหนอื 4 19. สถาบันการอาชวี ศึกษากรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2556 กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกฎกระทรวง เรื่อง \"การรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพ่ือจัดต้ังสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร พ.ศ. 2556\" โดยให้จัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ออกเปน็ 4 แหง่ ประกอบด้วย ดังตอ่ ไปน้ี 20. สถาบันการอาชีวศกึ ษาเกษตรภาคเหนอื 21. สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 22. สถาบนั การอาชีวศกึ ษาเกษตรภาคกลาง 23. สถาบนั การอาชีวศกึ ษาเกษตรภาคใต้ พ.ศ. 2556 มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ือง การจัดตั้งส่วนราชการในสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวนั ออก สังกดั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 โดยมีส่วน ราชการดังนี้ 1. สานกั งานผอู้ านวยการสถาบัน 2. สานักพฒั นายุทธศาสตร์และความรว่ มมืออาชวี ศึกษา 3. สานกั พฒั นากจิ การนักศกึ ษาและกิจการพิเศษ 4. ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาการอาชีวศึกษา 5. อาชวี ศกึ ษาบณั ฑิต 6. วิทยาลยั เทคนิคชลบรุ ี อาชวี ศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก 2
7. วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 8. วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบรุ ี 9. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยฐี านวิทยาศาสตร์ (ชลบรุ ี) 10. วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง 11. วิทยาลยั เทคนิคมาบตาพุด 12. วิทยาลัยเทคนิคบ้านค่าย 13. วิทยาลัยเทคนิคจันทบรุ ี 14. วทิ ยาลัยเทคนิคตราด ปัจจุบัน สานักงานสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ต้ังอยู่ที่ ภายในวิทยาลัยเทคนิคระยอง 086/13 ถนนตากสิน ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง 21000 โทรศัพท์ 0-3861-1160โทรสาร 0-3887- 0717 email : [email protected] เว็ปไซดส์ ถาบันฯ www.eivt.ac.th 1.2 การแบง่ สว่ นราชการในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การจัดต้ังส่วนราชการในสถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวันออก สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 นั้น มีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 ให้สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีภารกิจ เก่ียวกับการจัดการศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพช้ันสูงที่ชานาญการปฏิบัติการสอน การวิจัยการ ถ่ายทอดวทิ ยาการและเทคโนโลยี ทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมรวมทั้ง ให้บริการและวชิ าชีพแกส่ งั คม โดยมีอานาจหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี (ก) จัดการศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพเพ่ือผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับ ฝีมือ ระดับเทคนิค ระดบั ปรญิ ญาสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั กิ าร รวมทง้ั ส่งเสรมิ วชิ าการและ วชิ าชพี ช้ันสงู มีความชานาญในการสอน (ข) ส่งเสริมและสนับสนนุ การวิจยั พฒั นามาตรฐานการอาชีวศึกษา การถา่ ยทอดวิทยาการและ เทคโนโลยี การทะนุบารงุ ศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ให้บริการวิชาการและวิชาชีพ แกส่ งั คม (ค) จัดทาข้อเสนอแนะ แนวนโยบาย แผนพัฒนาสถาบัน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการ อาชีวศกึ ษา มาตรฐานวิชาชพี และหลักสูตรการอาชวี ศกึ ษาของสถาบนั (ง) ส่งเสริม ประสานความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันการศึกษา อาชีวศึกษาเอกชน สถานประกอบการ ภาคเอกชนหรือหน่วยงานของรัฐในการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายของ สถาบนั เพื่อประโยชนท์ างวชิ าการ การวิจัยพัฒนาการอาชวี ศกึ ษาและการจดั การอาชวี ศึกษาและ การฝึกอบรมวิชาชีพ อาชีวศกึ ษาบณั ฑิต สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก 3
(จ) ดาเนินการเกี่ยวกับการเสนอจัดตั้งงบประมาณ การจัดหารายได้ การบริหารงาน งบประมาณการเงนิ และทรพั ย์สินของสถาบนั (ฉ) ดาเนินการเก่ียวกับการควบคุมคุณภาพมาตรฐานการอาชีวศึกษา การติดตามตรวจสอบ การประเมินผลการบริหารจัดการของสถาบันให้สอดคล้องกับนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการ อาชีวศกึ ษา (ช) ดาเนนิ งานเกีย่ วกับงานเลขานุการสภาสถาบันและดาเนนิ การตามทีส่ ภาสถาบันมอบหมาย (ซ) ปฏิบัติงานอื่นใดตามท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบของ สภาสถาบันหรือตามท่ีสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษามอบหมาย ขอ้ 2 ใหจ้ ดั ตั้งส่วนราชการในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก สานักงานณะกรรมการ การอาชวี ศึกษา ดังต่อไปนี้ (1) สานกั งานผ้อู านวยการสถาบัน (2) สานักพัฒนายุทธศาสตรแ์ ละความรว่ มมอื อาชีวศึกษา (3) สานักพัฒนากจิ การนักศกึ ษาและกจิ การพเิ ศษ (4) ศนู ย์วิจัยและพฒั นาการอาชวี ศึกษา (5) อาชวี ศกึ ษาบัณฑิต (6) วทิ ยาลัยเทคนคิ ชลบรุ ี (7) วิทยาลยั เทคนคิ สตั หีบ (8) วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี (9) วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเทคโนโลยฐี านวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) (10) วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง (11) วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด (12) วทิ ยาลัยเทคนิคบ้านค่าย (13) วิทยาลัยเทคนิคจันทบรุ ี (14) วิทยาลัยเทคนิคตราด 1.3 โครงสร้างการบริหาร สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การจัดตั้งส่วนราชการในสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 นั้น สานักงาน ก.ค.ศ. ได้อนุมัติกรอบอัตรากาลังตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา 38 ค. (2) สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก มรี ายละเอียดดงั ในภาพท่ี 1-1 อาชวี ศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก 4
ภาพท่ี 1-1 แสดงโครงสรา้ งการบรหิ าร สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก 5 อาชวี ศึกษาบณั ฑติ สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก
คณะผบู้ ริหารสถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก อาชวี ศกึ ษาบัณฑติ สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก ดร.สมชาย ธารงสขุ ผูอ้ านวยการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก นายกิตติวทิ ย์ บุญศิริ นายทรงพล ถนอมวงษ์ ผ้เู ชี่ยวชาญพัฒนากจิ การนักศึกษา ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการสถาบัน และกิจการพเิ ศษ วา่ ที่รอ้ ยตรีณรงค์ เกษตรภิบาล รองผอู้ านวยการสถาบนั นายจริ ะพงษ์ จนั ทรป์ ระเสริฐ รองผ้อู านวยการสถาบนั 6 นายจริ ะพงษ์ จนั ทร์ประเสริฐ นายวิรตั น์ เศรษฐสถาพร ดร.ประทีป ผลจนั ทรง์ าม นายประภาส พวงชื่น นางสาวกลั ยา หารชนิ รองผู้อานวยการสถาบนั ผอู้ านวยการสานักพัฒนายทุ ธศาสตร์ ผ้อู านวยการอาชวี ศึกษาบณั ฑติ ครู คศ.4 วิทยาลัยเทคนิคระยอง รองผ้อู านวยการ วทิ ยาลยั เทคนิคบ้านค่าย ทาหน้าทผี่ อู้ านวยการศนู ยว์ ิจัย ทาหน้าที่ผอู้ านวยการสานักพฒั นากจิ การ ทาหน้าทสี่ านกั งานผอู้ านวยการสถาบัน และความรว่ มมืออาชีวศกึ ษา และพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา นกั ศึกษาและกจิ การพเิ ศษ
1.4 สถานศกึ ษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก มีสถานศึกษาในสังกัดที่จัดการเรียนการสอนทั้งระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) และระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฎิบัติการ (ทล.บ.) อยู่ใน 4 จังหวัดของภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดชลบุรี จังหวดั ระยอง จังหวัดจนั ทบรุ ี และจังหวดั ตราด รวม 9 สถานศึกษา (1) วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี (Chonburi Vocational College) วิสยั ทัศน์ เปน็ องค์กรแหง่ การเรียนรู้ ผลิตและพฒั นากาลงั คนทม่ี ีคุณภาพมาตรฐานระดบั สากล ที่ตง้ั เลขที่ 388 หมู่ 5 ตาบลบา้ นสวน อาเภอเมืองชลบุรี จงั หวัดชลบรุ ี 20000 การจดั การเรียนการสอน ประเภทวิชา ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชนั้ สงู ระดับปรญิ ญาตรสี าย พาณชิ ยกรรม ปวช. ปวส. เทคโนโลยหี รอื สายปฎบิ ตั ิการ ชาคหกรรม สาขาวชิ าการบัญชี ทล.บ. วิชาศลิ ปกรรม สาขาวชิ าการตลาด อุตสาหกรรมองเท่ยี ว สาขาวชิ าการเลขานุการ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการบัญชี สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ สาขาวิชาธรุ กิจคา้ ปลีก สาขาวชิ าการตลาด สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ สาขาวชิ าแฟชั่นและสง่ิ ทอ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ สาขาวิชาการจดั การท่วั ไป สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ สาขาวชิ าวจิ ิตรศลิ ป์ สาขาวิชาการออกแบบ สาขาวชิ าการจดั การโลจสิ ติกส์ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก สาขาวิชาการโรงแรม สาขาวิชาเทคโนโลยแี ฟช่ันและส่ิงทอ สาขาวิชาการท่องเทย่ี ว สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ สาขาวชิ าการบริหารงานคหกรรม ศาสตร์ สาขาวชิ าวิจิตรศลิ ป์ สาขาวิชาการออกแบบ สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์กราฟกิ สาขาวชิ าการโรงแรม สาขาวชิ าการทอ่ งเทยี่ ว อาชีวศึกษาบัณฑติ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก 7
(2)วิทยาลยั เทคนิคชลบุรี (Chonburi Technical College) วสิ ยั ทศั น์ เป็นองค์กรที่มุ่งม่ันจัดการเรียนการสอนด้านอุตสาหกรรม เพื่อผลิตกาลังคนตั้งแต่ระดับ ฝีมือ ระดับเทคนิค ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ส่ิงแวดลอ้ ม ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยี ความต้องการของตลาดแรงงาน การประกอบอาชพี อิสระ ท่ีตงั้ เลขที่ 207 หมู่ 3 ตาบลหนองซาก อาเภอบ้านบงึ จังหวดั ชลบุรี 20170 การจัดการเรียนการสอน ประเภทวิชา ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี : ปวช. ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู : ปวส. อตุ สาหกรรม สาขาวชิ าช่างยนต์ สาขาวิชาเทคนคิ เคร่ืองกล สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขาวิชาเทคนคิ การผลติ พาณชิ ยกรรม สาขาวชิ าช่างเชื่อมโลหะ สาขาวชิ าเทคนคิ โลหะ เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวชิ าชา่ งไฟฟา้ กาลัง สาขาวชิ าไฟฟ้า และการส่ือสาร สาขาวิชาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สาขาวิชาอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สาขาวชิ าช่างกอ่ สร้าง สาขาวชิ ากอ่ สร้าง สาขาวิชาชา่ งสถาปตั ยกรรม สาขาวชิ าช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม สาขาวิชาชา่ งเขียนแบบเครอื่ งกล สาขาวชิ าเขยี นแบบเคร่ืองกล สาขาวิชาชา่ งซอ่ มบารุง สาขาวชิ าเทคนิคอุตสาหกรรม สาขาวชิ าเมคคาทรอนกิ ส์ สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ สแ์ ละหุน่ ยนต์ สาขาวชิ าเทคนคิ คอมพวิ เตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ สาขาวิชาช่างเทคนคิ ควบคมุ และซอ่ มบารงุ สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ ระบบขนส่งทางราง สาขาวชิ าการบญั ชี สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ สาขาวชิ าการจดั การธุรกจิ ค้าปลีก สาขาวชิ าการจดั การโลจสิ ตกิ ส์ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ อาชวี ศกึ ษาบณั ฑติ สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก 8
(3) วิทยาลัยเทคนคิ สัตหบี (Thai-Autrian Technical College) วิสัยทศั น์ เปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรสู้ ่คู วามเป็นเลิศทางด้านวชิ าชพี เพอื่ การทางาน ท่ีตัง้ เลขท่ี 93 หมู่ 3 ตาบลนาจอมเทียน อาเภอสตั หบี จังหวดั ชลบุรี 20250 การจัดการเรยี นการสอน ประเภทวิชา ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี : ปวช. ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชัน้ สูง : ปวส. สาขาวิชาเทคนคิ เคร่ืองกล อุตสาหกรรม สาขาวิชาชา่ งยนต์ สาขาวิชาเทคนคิ การผลติ สาขาวชิ าเทคนคิ โลหะ สาขาวชิ าช่างกลโรงงาน สาขาวชิ าไฟฟา้ สาขาวชิ าอิเล็กทรอนกิ ส์ สาขาวชิ าช่างเช่ือมโลหะ สาขาวชิ ากอ่ สรา้ ง สาขาวชิ าเขียนแบบเครอ่ื งกล สาขาวิชาช่างไฟฟา้ กาลัง สาขาวชิ าเทคนิคข้นึ รปู พลาสตกิ สาขาวชิ าเมคคาทรอนกิ ส์และหนุ่ ยนต์ สาขาวชิ าอิเล็กทรอนกิ ส์ สาขาวิชาเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ สาขาวิชาการตรวจสอบโดยไม่ทาลาย สาขาวิชาชา่ งก่อสรา้ ง สาขาวชิ าเคร่ืองมอื วัดและควบคมุ สาขาวชิ าชา่ งอากาศยาน สาขาวชิ าช่างเขียนแบบเครอ่ื งกล สาขาวิชาช่างเทคนคิ ระบบขนส่งทางราง สาขาวิชาการบัญชี สาขาวชิ าช่างซ่อมบารงุ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ สาขาวิชาการจดั การธรุ กจิ ค้าปลีก สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ ส์ สาขาวิชาการจดั การโลจสิ ติกส์ สาขาวชิ าการโรงแรม สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวชิ าการทอ่ งเที่ยว สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ พาณิชยกรรม สาขาวชิ าการบัญชี สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขาวชิ าการโรงแรม สาขาวชิ าการท่องเทีย่ ว เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอื่ สาร อาชีวศกึ ษาบัณฑติ สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก 9
(4) วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุร)ี Science-Based Technology Vocational College (Chonburi) วิสยั ทัศน์ ผลิตและพัฒนากาลังคนท่ีมีศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและคุณลักษณะที่พึง ประสงค์มุง่ สมู่ าตรฐานสากล ทีต่ ั้ง เลขท่ี 37 หมู่ 7 ตาบลบ้านเก่า อาเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี 20160 การจัดการเรียนการสอน ประเภทวชิ า ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สูง ระดับปรญิ ญาตรีสาย ปวช. ปวส. เทคโนโลยีหรอื สายปฎิบัติการ ทล.บ. อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาเทคนิคเครอ่ื งกล สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟ้า สาขาวชิ าชา่ งไฟฟา้ กาลัง สาขาวชิ าไฟฟา้ สาขาวชิ าอิเลก็ ทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขาวชิ าเทคนิคการผลติ สาขาวชิ าเมคคาทรอนกิ ส์ สาขาวชิ าเมคคาทรอนกิ ส์ และหุ่นยนต์ พาณิชยกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ วิชาช่างอุตสาหกรรม สาขางานเทคโนโลยยี านยนต์ สาขาวิชาวศิ วกรรมอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ฐานวิทยาศาสตร์ สาขางานเทคโนโลยไี ฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส์ สาขางานเทคโนโลยเี คร่อื งจกั ร อตั โนมัติ อาชวี ศึกษาบณั ฑติ สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก 10
(5) วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง (Rayong Technical College) วสิ ัยทัศน์ เป็นองค์กรมงุ่ พัฒนา และสร้างคณุ ภาพการอาชวี ศกึ ษาสู่มาตรฐานสากล ท่ตี ้ัง เลขที่ 086/13 ถนนตากสินมหาราช ตาบลทา่ ประดู่ อาเภอเมือง จงั หวัดระยอง 21000 การจดั การเรียนการสอน ประเภทวชิ า ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สงู ระดบั ปริญญาตรีสาย อุตสาหกรรม ปวช. ปวส. เทคโนโลยหี รอื สายปฎบิ ัติการ พาณชิ ยกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวชิ าเทคนิคเคร่อื งกล ทล.บ. สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขาวิชาเทคนคิ การผลติ สาขาวิชาเทคโนโลยเี ครอื่ งกล วชิ าคหกรรม สาขาวิชาชา่ งเชื่อมโลหะ สาขาวชิ าเทคนคิ โลหะ สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟา้ อุตสาหกรรม สาขาวิชาชา่ งไฟฟ้ากาลัง สาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวชิ าเทคโนโลยีพลังงาน ทอ่ งเทยี่ ว สาขาวิชาอเิ ล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สาขาวชิ าเทคโนโลยปี โิ ตรเคมี เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาช่างกอ่ สร้าง สาขาวิชาชา่ งกอ่ สรา้ ง และการสือ่ สาร สาขาวชิ าเมคคาทรอนกิ สแ์ ละห่นุ ยนต์ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาวชิ าการบญั ชี สาขาวชิ าเครือ่ งมอื วัดและควบคุม สาขาวชิ าการตลาด สาขาวชิ าปิโตรเคมี สาขาวิชาการเลขานกุ าร สาขาวิชาเคมอี ตุ สาหกรรม สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ สาขาวิชาเทคโนโลยยี าง สาขาวชิ าธรุ กิจค้าปลกี สาขาวชิ าการบัญชี สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ สาขาวชิ าการตลาด สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการจดั การสานักงาน สาขาวิชาการโรงแรม สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ สาขาวชิ าการท่องเท่ียว สาขาวิชาการจดั การโลจสิ ติกส์ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ สาขาวชิ าการบรหิ ารงานคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการโรงแรม สาขาวิชาการทอ่ งเที่ยว สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ อาชวี ศกึ ษาบณั ฑติ สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก 11
(6) วทิ ยาลยั เทคนคิ มาบตาพุด (Maptaphut Technical College) วิสยั ทัศน์ เรยี นดี มคี ณุ ธรรม นาวสิ ยั ทัศน์ มุ่งพฒั นา ท่ตี ัง้ เลขท่ี 234 ตาบลห้วยโป่ง อาเภอเมืองระยอง จงั หวัดระยอง 21150 การจัดการเรียนการสอน ประเภทวชิ า ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี : ปวช. ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สูง : ปวส. สาขาวิชาเทคนิคเครอ่ื งกล อุตสาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งยนต์ สาขาวิชาเทคนิคการผลติ สาขาวชิ าเทคนิคโลหะ สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขาวชิ าไฟฟ้า สาขาวิชาเครือ่ งมือวัดและควบคมุ สาขาวิชาชา่ งเชื่อมโลหะ สาขาวชิ าปิโตรเคมี สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาวชิ าช่างไฟฟา้ กาลัง สาขาวิชาอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สาขาวชิ าช่างซอ่ มบารงุ เทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร อาชีวศึกษาบณั ฑติ สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก 12
(7) วิทยาลัยเทคนิคบา้ นคา่ ย (Bankhi Technical College) วิสัยทศั น์ มุ่งม่นั พฒั นา จัดการอาชวี ศึกษาให้มคี ุณภาพสู่มาตรฐานสากล ทตี่ ัง้ เลขท่ี 11 หมู่ 11 ตาบลหนองละลอก อาเภอบ้านค่าย จงั หวดั ระยอง 21120 การจดั การเรยี นการสอน ประเภทวิชา ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี : ปวช. ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสูง : ปวส. สาขาวิชาเทคนิคเครอื่ งกล อุตสาหกรรม สาขาวิชาชา่ งยนต์ สาขางานเทคนิคยานยนต์ สาขางานยานยนต์ สาขางานเทคนคิ เครื่องกลเรอื สาขาวิชาเทคนิคอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าช่างกลโรงงาน สาขางานอุตสาหกรรมการผลติ สาขาวิชาเทคนิคการผลติ สาขางานเครือ่ งมือกล สาขางานแม่พมิ พ์โลหะ สาขางานผลติ ชิน้ สว่ นยานยนต์ สาขาวิชาซอ่ มบารุง สาขาวิชาไฟฟ้ากาลงั สาขาวชิ าอิเลก็ ทรอนิกส์ สาขางานซ่อมบารงุ อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างกอ่ สรา้ ง สาขาวชิ าการจดั การโลจสิ ติกส์ สาขาวิชาชา่ งเชอ่ื มโลหะ สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ สาขางานโครงสรา้ ง สาขาวชิ าการโรงแรม งานบรกิ ารอาหารและเคร่ืองดม่ื สาขาวิชาช่างไฟฟา้ กาลัง สาขาวิชาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สาขาวชิ าชา่ งกอ่ สรา้ ง พาณิชยกรรม สาขาวิชาการบญั ชี สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ สาขาวิชาธรุ กจิ ค้าปลกี อุตสาหกรรมทอ่ งเท่ยี ว สาขาวชิ าการโรงแรม อาชวี ศกึ ษาบณั ฑิต สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก 13
(8) วิทยาลัยเทคนิคจันทบรุ ี (Chanthaburi Technical College) วสิ ัยทศั น์ เปีย่ มคุณธรรม นาความรู้ สู่จิตอาสา พฒั นาเทคโนโลยี ท่ีตง้ั เลขที่ 44/3 ถนนจนั ทคามวถิ ี ตาบลตลาด อาเภอเมืองฯ จงั หวัดจันทบรุ ี 22000 การจัดการเรยี นการสอน ประเภทวิชา ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นสูง ระดับปริญญาตรีสาย อตุ สาหกรรม ปวช. ปวส. เทคโนโลยีหรอื สายปฎิบตั กิ าร พาณชิ ยกรรม สาขาวชิ าช่างยนต์ ทล.บ. วิชาศิลปกรรม สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน สาขาวชิ าช่างเชอ่ื มโลหะ สาขาวิชาเทคนคิ เครื่องกล สาขาวิชาเทคโนโลยโี ยธา สาขาวชิ าช่างก่อสรา้ ง สาขาวชิ าช่างไฟฟ้ากาลัง สาขาวชิ าเทคนิคการผลติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนกิ ส์ สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคนิคโลหะ สาขาวิชาเทคนคิ คอมพวิ เตอร์ สาขาวชิ าการบัญชี สาขาวชิ าชา่ งกอ่ สร้าง สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาไฟฟา้ สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ สาขาวชิ าอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สาขาวิชาเครอื่ งประดบั อญั มณี สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ สแ์ ละหนุ่ ยนต์ สาขาวิชาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวชิ าการตลาด สาขาวชิ าการจดั การสานักงาน สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ สาขาวิชาการจดั การทวั่ ไป สาขาวชิ าการจดั การโลจสิ ติกส์ สาขาวิชาเคร่อื งประดับอญั มณี เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอ่ื สาร อาชวี ศึกษาบณั ฑติ สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก 14
(9) วิทยาลยั เทคนคิ ตราด (Trat Technical College) วสิ ยั ทศั น์ มงุ่ ผลติ และพัฒนาผู้เรยี นให้มีความรูท้ างวิชาการ ทักษะวิชาชพี สอดคล้องกับความ ตอ้ งการของตลาดแรงงาน เสรมิ สรา้ งความเป็นพลเมอื งท่ดี ีของประเทศชาติ และสังคมโลกโดยยดึ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในการดารงชวี ติ ที่ตงั้ (เขต1) เลขที่ 43 ถนนท่าเรือจ้าง ตาบลวงั กระแจะ อาเภอเมอื งฯ จังหวัดตราด 23000 (เขต2) เลขท่ี 480 หมู่ 9 ตาบลวงั กระแจะ อาเภอเมอื งฯ จงั หวัดตราด 23000 การจดั การเรียนการสอน ประเภทวชิ า ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ : ปวช. ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สูง : ปวส. สาขาวชิ าเทคนคิ เครอื่ งกล อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาเทคนิคการผลติ สาขาวชิ าไฟฟ้า สาขาวิชาช่างกลโรงงาน สาขาวชิ าอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สาขาวิชาก่อสร้าง สาขาวชิ าช่างเช่อื มโลหะ สาขาวชิ าการบัญชี สาขาวชิ าช่างไฟฟ้ากาลัง สาขาวิชาการตลาด สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาการโรงแรม สาขาวชิ าชา่ งกอ่ สร้าง สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ พาณิชยกรรม สาขาวชิ าการบญั ชี สาขาวชิ าการตลาด สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ อตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว สาขาวชิ าการโรงแรม สาขาวชิ าการทอ่ งเทยี่ ว เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร อาชวี ศึกษาบณั ฑติ สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก 15
1.5 อาชีวศกึ ษาบัณฑิต (จัดการเรียนการสอนในระดบั ปริญญาตรี) 1.5.1 อานาจหน้าทอ่ี าชีวศึกษาบัณฑติ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ือง การจัดต้ังส่วนราชการในสถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวันออก สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ลงวันท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 อาชีวศึกษา บณั ฑติ มีอานาจหน้าท่ดี ังต่อไปน้ี (ก) การกากับ ดูแล ควบคุม และการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยี หรือสายปฏบิ ตั กิ ารในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ (ข) สง่ เสริมวชิ าการและวิชาชพี ชั้นสงู ท่ีเน้นการปฏบิ ัติการสอน การวจิ ยั ถา่ ยทอดวิทยาการและเทคโนโลยี (ค) ทะนบุ ารุงศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และอนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อม (ง) ส่งเสริมและประสานงานให้คณาจารย์ ได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาด้านวิชาการส่งเสริม ความก้าวหน้าและพัฒนาให้มีตาแหน่งทางวิชาการ การวิเคราะห์วิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ทางการ อาชีวศึกษา การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน และการฝึกอบรม วิชาชพี รวมทงั้ การถ่ายทอดวทิ ยาการแกช่ มุ ชนและสงั คม (จ) ดาเนินการและประสานเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตรการอาชีวศึกษาและวิชาชีพมาตรฐานการ อาชีวศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ การเทียบโอนผลการเรียนหรือประสบการณ์ด้านวิชาชีพและการ ประกันคณุ ภาพการศึกษา รวมทง้ั การใหค้ าปรกึ ษา แนะนา นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงานผล (ฉ) ประสานการใช้ทรัพยากรของส่วนราชการสังกัดสถาบันและเครือข่าย เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้ สมรรถนะสอดคล้องกับหลักสูตรการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ มาตรฐานการอาชีวศึกษา และมาตรฐาน วชิ าชพี (ช) ปฏิบตั งิ านหรอื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานรว่ มกับหน่วยงานอ่ืนที่เกยี่ วข้องหรือท่ไี ดร้ ับมอบหมาย 1.5.2 แผนภมู ิ โครงสร้างการบรหิ ารงานบคุ ลากร ภายในอาชวี ศึกษาบณั ฑิต แผนภมู ิ โครงสร้างการบริหารงานบุคลากร ภายในอาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวันออก มีรายละเอยี ดดังในภาพที่ 1-2 อาชวี ศกึ ษาบัณฑิต สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก 16
ภาพท่ี 1-2 แสดงโครงสรา้ งการบริหารงานบคุ ลากร ภายในอาชวี ศกึ ษาบณั ฑิต อาชวี ศึกษาบณั ฑิต สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก 17
1.5.3 คณาจารยแ์ ละบุคลากร จัดการศึกษาในระดบั ปริญญาตรี รายชื่อประธานหลักสูตรและอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสูตร ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ สายปฏิบัติการ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก จานนวน 10 สาขาวิชาดงั น้ี สาขาวิชาการบัญชี (ตอ่ เนื่อง) วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี 1 นางสาวเสาวนีย์ เพชรนาค ประธานหลักสตู รและอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร 2. นางพิชชกานต์ ลลี าสวุ ณชิ ย์ อาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลักสูตร 3. นางสาวนภาภรณ์ ศรขี วัญใจ อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสูตร 4. นางพรรณวดี กาศอุดม อาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลกั สูตร 5. นางนิพร จุทยั รัตน์ อาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลักสูตร สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ (ต่อเนือ่ ง) วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี 1. นางสาวชศู รี เกลยี วสกลุ โกวทิ ประธานหลักสูตรและอาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร 2. นางพัทธนันท์ ภแู กว้ อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สตู ร 3. นางจันทนา ลยั วรรณา อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสูตร 4. นางพีรญา ดุนขนุ ทด อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตร 5. นางนติ ยา เสาหงษ์ อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร สาขาวิชาเทคโนโลยไี ฟฟ้า(ต่อเนื่อง)วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเทคโนโลยฐี านวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) 1. นายจักรกฤษณ์ มะณี ประธานหลกั สตู รและอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร 2. นายจนุ ทิพยาวงศ์ อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร 3. นายธรี ศักดิ์ ศรีสมบตั ิ อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร 4. นายจกั รกริช แก้ววิจติ ร อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร 5. วา่ ทีเ่ รือตรี อวภิ ัณฑ์ ปรารถนาแสงกุศล อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร สาขาวชิ าเทคโนโลยีโยธา (ต่อเนือ่ ง) วทิ ยาลยั เทคนคิ จันทบรุ ี 1. นายชัยฉลอง เดชบุรัมย์ ประธานหลกั สูตรและอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร 2. นางกรุณาพร รตั นภผู า อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สตู ร 3. นายวิเชียร เดชะผล อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตร 4. นายศรัณย์ นิลธิเสน อาจารย์ผ้รู ับผดิ ชอบหลกั สตู ร 5. นายจริ ะพงษ์ คุณานิติธาดา อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร สาขาวชิ าเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (ตอ่ เนือ่ ง) วิทยาลัยเทคนคิ จนั ทบุรี 1. นายสยาม ปัน่ ธรรม ประธานหลกั สตู รและอาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบหลกั สูตร 2. นายศักด์สิทธิ์ แกลว้ กลา้ อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตร 3. นางปราณทพิ ย์ ชนวรี ์จารณุ ฐั อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร อาชีวศึกษาบณั ฑิต สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก 18
4. นายบรรจง มะลาไสย อาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลักสูตร 5. นางนงรกั ษ์ ปญั สุภารกั ษ์ อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสูตร สาขาวิชาเทคโนโลยีพลังงาน (ต่อเนอ่ื ง) วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง 1. นางธรี ะยทุ ธ นยุ้ นนุ่ ประธานหลักสูตรและอาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตร 2. นายปรชั ญา สขุ นม่ิ อาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลกั สูตร 3. นายบรรจง ศกั ดวิ์ นชิ ล อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร 4. นายวิชัย สถาปติ านนท์ อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร 5. นายวทิ ยา ชชั วาลชาญชนกิจ อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตร สาขาวชิ าเทคโนโลยีปโิ ตรเคมี (ต่อเนอ่ื ง) วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง 1. นายนิรมล วริ ยิ วุฒิวงศ์ ประธานหลกั สตู รและอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร 2. นายธนนั วัฒน์ จิตรวิโรจน์ อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร 3. ดร.จงกล กระจา่ งแจ้ง อาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลกั สูตร 4. นางรัตนา ลานทอง อาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร 5. ดร.จักรพงษ์ แสงอรณุ อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร สาขาวชิ าเทคโนโลยีไฟฟา้ (ต่อเนอื่ ง) วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง 1. นายธญั ญพัฒน์ กติ ตโิ พธิกลาง ประธานหลกั สูตรและอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร 2. นายทนง ทองมาก อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สตู ร 3. นายอภภิ ช เจรญิ กิจ อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร 4. นายหนู ปน่ิ แกว้ อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สตู ร 5. นายดารง จินตศิรกิ ลุ อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร สาขาวิชาเทคโนโลยีเครือ่ งกล (ต่อเน่อื ง) วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง 1. นายประภาส พวงชนื่ ประธานหลักสตู รและอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตร 2. นายภาสกร ลดเลย้ี ว อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร 3. นายชาญชัย เจริญร่ืน อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร 4. นายบรรเจิด แยม้ กลิ่น อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร 5. นายเฉลมิ พล ชมุ นา้ ค้าง อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ต่อเนื่อง) วิทยาลัยเทคนิคระยอง 1. นายปรญิ ญา จาเนยี รพล ประธานหลักสตู รและอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร 2. นายประทีป ผลจันทรง์ าม อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร 3. นางศลษิ า หนูเสมยี น อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร 4. นางสาวพณั ณ์ชติ า คามะฤทธิส์ นิ ชยั อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตร 5. นายอนริ ตุ ต์ บัวระพาอาจารย์ ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร อาชีวศกึ ษาบัณฑติ สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก 19
ส่วนที่ 2 ปฏทิ นิ การศึกษาระดบั ปริญญาตรี ประจาปีการศกึ ษา 2564 สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ตามประกาศทรวงศึกษาธิการ เก่ียวกับการเปิดเรียนของสถานศึกษาในสังกัดและในกากับของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยให้สถานศึกษาทุกแห่งของรัฐและเอกชน ทั้งในระบบและนอกระบบ ซ่ึงอยู่ใน สังกัดและในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ เปิดภาคเรียนในวันที่ 14 มิถุนายน 2564 โดยให้ สถานศึกษามกี ารเรยี นการสอนให้สอดคล้องกับประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินสีบเนื่องจากการระบาดของ โรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรคโควิด 19 น้ัน อาศัยอานาจตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย ปีการศึกษา การเปิดและปิด สถานศึกษา พ.ศ.2549 ข้อ 7 (1) และ (2) และอาศัยอานาจตามความในมาตรา 25 (2) แห่ง พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ.2551 จึงออกประกาศสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ขอแจ้งปฏิทินการศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี ประจาปีการศึกษา 2564 ให้สถานศึกษาท่ีมีการจัดการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี ในสังกดั สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก ดาเนนิ การดังตอ่ ไปน้ี 2.1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วัน/เดอื น/ปี รายการปฏิบตั ิ ผู้รับผดิ ชอบ พฤษภาคม 2564 1. รายงานตัว มอบตัว พร้อมลงทะเบียน 1. ลงทะเบยี นผา่ นระบบ ศธ 02 ออนไลน์ นกั ศึกษาชนั้ ปที ี่ 1 รหสั 63 ทกุ สาขาวชิ า ชาระเงินผ่านธนาคารกรุงไทย (งานการเงนิ 2. ลงทะเบียนเรียนนักศึกษาระดบั งานทะเบยี น สถาบันฯ) ปริญญาตรี ภาคเรยี นที่ 1/2564 (ชัน้ ปที ี่ 2) 2. อาจารย์ผูส้ อนทกุ คนสง่ รายงาน คอศ.2 ทกุ สาขาวิชา และ คอศ.3 ภาคเรยี นที่ 1/2564 ทุกรายวิชา 3. ลงทะเบียนหลังกาหนด (ภายใน 15 วนั ทป่ี ระธานผู้รับผดิ ชอบหลกั สตู ร และรายงาน หลังวันเปิดภาคเรยี น) ใหส้ ถาบนั ฯ ทราบ - การเพิ่มรายวิชา (ภายใน 15 วนั หลังวันเปิด ภาคเรียน) - ถอนรายวชิ า (ภายใน 30 วันเปิดภาคเรียน) อา. 30 พฤษภาคม 2564 ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษา ปริญญาตรี ชั้นปที ่ี1 สานักพฒั นากิจการนักศึกษา สถาบันฯ อาชวี ศึกษาบณั ฑติ สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก 20
วัน/เดอื น/ปี รายการปฏิบัติ ผรู้ ับผดิ ชอบ 14 กรกฎาคม 2564 เปิดภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ฝา่ ยวิชาการ,งานทะเบียน ,อาจารยผ์ ู้สอน, (กรณีเปดิ สอนภาคปกติ วนั จันทร์-ศุกร์) อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบสาขาวิชาทเ่ี ปิดสอน ส. 19 กรกฎาคม 2564 เปิดภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ฝา่ ยวิชาการ,งานทะเบียน (สถานศึกษา) (กรณีเปดิ สอนภาคพเิ ศษหรือนอกเวลา อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบสาขาวิชาที่เปดิ สอน ราชการ เสาร์-อาทิตย์) กรกฎาคม 2564 ซอ้ มย่อยรับพระราชทานปริญญาบัตร - อาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบนั ฯ - สานักพัฒนากจิ การนักศึกษา สถาบันฯ (รอการแจ้งกาหนดการทแี่ น่นอนจาก ส่วนกลาง) สิงหาคม 2564 ซอ้ มใหญพ่ ิธีพระราชทานปริญญาบตั ร - สานกั อาชีวศึกษาบณั ฑิต สถาบันฯ ระดับปริญญาตรี - สานกั พฒั นากจิ การนักศึกษา สถาบันฯ ณ วิทยาลยั การอาชีวศึกษาปทุมธานี (รอการแจ้งกำหนดทแี่ นน่ อนจาก สิงหาคม 2564 พิธีพระราชทานปรญิ ญาบตั ร ระดับ ส- ่วสนานกลักาองา)ชีวศึกษาบณั ฑิต ปริญญาตรี - สานกั พฒั นากิจการนักศึกษา ส. 16 – ส.17 ณ วิทยาลยั การอาชีวศึกษาปทมุ ธานี อาจารย์ผู้สอน สอบปลายภาค (ภาคเรยี นท่ี 1/2564) ตลุ าคม 2564 อา.24 ตุลาคม 2564 อาจารยผ์ ู้สอนส่งผลการเรยี นท่ีหวั หน้า หวั หนา้ สาขาวชิ าแต่ละวทิ ยาลยั สาขาวิชา (ตรวจสอบ) จ..26 ตลุ าคม 2564 สาขาวิชารวบรวมผลการเรียน ภาคเรยี นท่ี หวั หน้าสาขาวชิ าแต่ละวิทยาลยั 1/2564 สง่ งานวัดผล 27 ตุลาคม 2564 งานวัดผลประมวลผลการเรยี นภาคเรยี น งานวัดผลและประเมินผล 29 ตลุ าคม 2564 1/2564 29 ตุลาคม 2564 คณะกรรมการพิจารณาอนุมตั ิผลการเรียน งานวัดผลและประเมนิ ผล /ฝ่ายวิชาการ ภาคเรียนที่ 1/2563 /กรรมการพจิ ารณาอนุมตั ผิ ลการเรียน /วิทยาลัย งานวัดผลและประเมินผลส่งผลการเรียนให้ งานวดั ผลและประเมนิ ผล งานทะเบียนวิทยาลยั 29 ตุลาคม 2564 ประกาศผลการเรียนทุกชัน้ ปี งานวดั ผลและประเมินผล/ฝ่ายวิชาการ /วทิ ยาลัย อาชวี ศึกษาบัณฑติ สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก 21
วัน/เดือน/ปี รายการปฏิบัติ ผรู้ ับผิดชอบ 4 พฤศจยิ ายน 2564 ส่งผลการแก้ ม.ส.ของนักศึกษาทกุ ชัน้ ปี งานวดั ผลและประเมนิ ผล/ฝ่ายวิชาการ และประกาศผลการแก้ ม.ส. /วทิ ยาลัย 4 พฤศจยิ ายน 2564 งานทะเบียนส่งผลการเรียนให้ สถาบันฯ ภายใน งานทะเบียนแตล่ ะวทิ ยาลัยฯ ส่งรายงาน คอศ. 4และ 5 พฤศจิกายน 2564 1. คณะกรรมการวิชาการ สถาบันฯ 2. ครผู ู้สอนทกุ รายวชิ า จะต้องทารายงาน คอศ. 4และ 5 ภายใน 30 วนั หลัง ส้นิ สุดภาคเรยี นท่ี 1/2564 2.2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 วัน/เดือน/ปี รายการปฏิบตั ิ ผู้รับผดิ ชอบ 1. งานทะเบยี นแตล่ ะวิทยาลัยฯ จ. 26 ตุลาคม - 1. ลงทะเบียนเรียนนกั ศึกษาระดบั 2. งานการเงนิ สถาบันฯ 3. งานการเงินทุกวิทยาลยั ฯ อ. 8 พฤศจิกายน 2564 ปรญิ ญาตรี ภาคเรยี นท่ี 2/2564 ฝ่ายวิชาการ,งานทะเบยี น ,อาจารยผ์ ู้สอน, ชนั้ ปที ี่ 1-2 ทุกสาขาวิชา อาจารย์ผู้รับผิดชอบสาขาวิชาที่เปิดสอน 2. ลงทะเบียนหลังกาหนด (ภายใน 15 วัน อฝ่ายจาวริชยา์ผกู้ราับร,ผงิดานชทอบะเหบลียกั นส,ตู อรา/จสาารขยาผ์ วู้สิชอานท,่ี เอปาิดจสารอยน์ผ/ู้รงาับนผทิดะชเอบบยี สนา/ขาวิชาที่เปดิ สอน หลังวันเปิดภาคเรียน) ฝ่ายบริหารทรัพยากร/วทิ ยาลัย /อาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบนั ฯ - การเพม่ิ รายวิชา (ภายใน 15 วันหลังวัน สาขาวิชาทีเ่ ปิดสอน/ฝา่ ยวิชาการ /วิทยาลยั เปิดภาคเรียน) อาจารย์ผู้สอน - ถอนรายวิชา (ภายใน 30 วันเปิดภาค เรยี น) จ. 8 พฤศจิกายน 2564 เปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 (กรณีเปิดสอนวันเสาร์-อาทติ ย)์ เปิดภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ส.13 พฤศจิกายน 2564 (กรณีเปิดสอนวันจันทร์-ศุกร์) ภายใน 30 วันนบั แต่วัน นกั ศึกษารหัส 63 และนักศึกษาตกคา้ ง เปิดภาคเรียน ยื่นคาร้องขอสาเร็จการศึกษา จ. 14 – อา.20 ประเมินมาตรฐานวิชาชพี กุมภาพันธ์ 2565 จ. 7 มนี าคม – สอบปลายภาค (ภาคเรยี นท่ี 2/2564) อา. 13 มีนาคม 2565 อาชีวศึกษาบณั ฑิต สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออก 22
วัน/เดือน/ปี รายการปฏิบัติ ผรู้ ับผดิ ชอบ หวั หน้าสาขาวิชาแตล่ ะวทิ ยาลัย พ. 16 มนี าคม 2565 ครผู ู้สอนสง่ ผลการเรียนทีแ่ ผนกวิชา (ตรวจสอบ) พฤ. 17 มนี าคม 2565 สาขาวิชารวบรวมผลการเรียน ภาคเรียนที่ หวั หนา้ สาขาวิชาแตล่ ะวทิ ยาลยั 2/2565 สง่ งานวัดผลและประเมนิ ผล พ. 18 มีนาคม 2565 1. งานวดั ผลและประเมนิ ผลประมวลผล งานวดั ผลและประเมินผล การเรียนภาคเรียน 2/2564 2. คณะกรรมการพิจารณาอนุมตั ผิ ลการ งานวัดผลและประเมนิ ผล /ฝ่ายวิชาการ เรยี น ภาคเรยี นที่ 2/2564 /กรรมการพิจารณาอนมุ ตั ผิ ลการเรียน /วทิ ยาลยั 3. งานวัดผลและประเมนิ ผลส่งผลการเรียน งานวดั ผลและประเมินผล /ฝา่ ยวิชาการ ใหง้ านทะเบยี นวทิ ยาลยั /วทิ ยาลัย จ. 21 มนี าคม 2565 ประกาศผลการเรียนทุกชน้ั ปี งานวดั ผลและประเมินผล/ฝา่ ยวิชาการ /วทิ ยาลยั ส. 26- อ. 27 1. ปจั ฉิมนิเทศนักศึกษาปริญญาตรี 1.สำนกั พัฒนากจิ การนักศึกษาและกิจการ มนี าคม 2565 ปกี ารศึกษา 2563 พิเศษ 2.นาเสนอผลงานทางวิชาการของนักศึกษา 2. สานักอาชวี ศึกษาบัณฑิต 3.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/ผู้เกย่ี วข้อง 4. สถาบันการอาชีวศึกษาตะวนั ออก พ. 23 มนี าคม 2565 ส่งผลการแก้ ม.ส.ของนักศึกษาทกุ ชน้ั ปี งานวดั ผลและประเมนิ ผล/ฝา่ ยวิชาการ และประกาศผลการแก้ ม.ส. /วทิ ยาลัย ศ. 25 มนี าคม 2565 1. งานทะเบียนสง่ ผลการเรียนให้ สถาบันฯ งานทะเบียนแตล่ ะวิทยาลัยฯ 2. ส่งผลการเรียน/ผลการประเมนิ มาตรฐานวิชาชีพ แก่ สถาบนั ฯ จ. 28 มีนาคม 2565 พจิ ารณาผลการเรียน โดยคณะกรรมการ 1. คณะกรรมการวชิ าการ สถาบันฯ วิชาการ สถาบันฯ 2. ครูผู้สอนทกุ รายวิชา จะต้องทารายงาน คอม. 4และ 5 ภายใน 30 วนั หลังส้นิ สุดภาค เรียนท่ี 2/2564 ภายใน ประชุมสภาสถาบนั การอาชีวศึกษาตะวันออก สภาสถาบนั ฯ พฤ. 31 มีนาคม 2565 อาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก 23
2.3 ภาคเรียนท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564(ภาคฤดรู อ้ น) วัน/เดอื น/ปี รายการปฏิบัติ ผรู้ ับผดิ ชอบ จ. 7 - อา. 13 1. ลงทะเบยี นภาคเรียนท่ี 3/2564 1. งานทะเบยี นแตล่ ะวิทยาลัยฯ มนี าคม 2565 (สาหรับหลักสูตรท่ีจัดการเรียนการสอน 3 2. งานการเงิน สถาบันฯ ภาคเรียนในสถานศึกษา) . หมายเหตุ: การเพิ่มถอนรายวิชาปฏิบตั ิ เช่นเดยี วกับภาคเรยี นปกติ อ. 13 มีนาคม 2565 1. ลงทะเบียนภาคฤดรู อ้ น 1.งานทะเบียนแต่ละวิทยาลัยฯ (สาหรบั นักศึกษาทม่ี ผี ลการเรียนไมผ่ า่ น 2.งานการเงิน สถาบนั ฯ เกณฑ์และมคี วามประสงค์จะลงทะเบยี นใน ภาคฤดรู ้อน) 2. ลงทะเบยี นหลังกาหนดภาคฤดรู อ้ น (ภายใน 5 วนั หลังวันเปิดภาคเรียน) - การเพมิ่ รายวิชา (ภายใน 5 วนั หลังวนั เปิดภาคเรียน) - ถอนรายวิชา (ภายใน 10 วันเปิดภาคเรียน) จ. 14 มนี าคม – ช่วงเวลาจดั การเรยี นการสอนภาคฤดูร้อน อาจารยผ์ ู้สอน อา. 16 พฤษภาคม 2565 อาจารย์ผู้สอน ส. 14- อา. 15 สอบปลายภาค พฤษภาคม 2565 20 พฤษภาคม 2565 ครูผู้สอนสง่ ผลการเรียนที่สาขาวิชา หวั หนา้ สาขาวิชาแต่ละวิทยาลัย 24 พฤษภาคม 2565 (ตรวจสอบ) 1. งานวดั ผลและประเมนิ ผลประมวลผลการ งานวัดผลและประเมินผล เรยี น ภาคเรยี น ท่ี 3 และภาคเรยี นฤดรู ้อน งานวัดผลและประเมินผล /ฝ่ายวิชาการ ปกี ารศึกษา 2563 /กรรมการพิจารณาอนมุ ตั ิผลการเรยี น 2. คณะกรรมการพจิ ารณาอนุมตั ผิ ลการ /วิทยาลยั เรียน ภาคเรียนท่ี 3 และภาคเรยี นฤดูรอ้ น งานวดั ผลและประเมนิ ผล /ฝา่ ยวิชาการ 3. งานวดั ผลและประเมินผลส่งผลการเรียน /วทิ ยาลัย ใหง้ านทะเบียนวิทยาลยั ศ. 30 พฤษภาคม 2565 ประกาศผลการเรียนทุกชั้นปี งานวดั ผลและประเมินผล/ฝา่ ยวิชาการ /วทิ ยาลยั หมายเหตุ ปฏทิ นิ อาจปรับให้สอดคล้องกับการบริหารจดั การอาชีวศึกษาของสถานศึกษา อาชีวศึกษาบณั ฑิต สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก 24
ส่วนท่ี 3 หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบตั กิ าร สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ได้รับการอนุมัติหลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี หรอื สายปฏิบัติการจากสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาดังนี้ 1. หลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ (ทล.บ) พ.ศ. 2562 จานวน 7 หลกั สตู รดังนี้ 1) ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กจิ 1.1) หลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี (ต่อเนื่อง) วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี 1.2) หลกั สตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ (ต่อเน่อื ง) วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี 2) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม 2.1) หลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยโี ยธา (ต่อเน่ือง) วทิ ยาลัยเทคนิคจันทบุรี 2.2) หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า (ต่อเน่ือง) วิทยาลัยอาชีวศึกษา เทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุรี) 2.3) หลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยอี ิเล็กทรอนิกส์ (ตอ่ เน่อื ง) วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี 2.4) หลกั สตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีพลังงาน (ต่อเนื่อง) วิทยาลยั เทคนิคระยอง 2.5) หลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยปี โิ ตรเคมี (ตอ่ เนื่อง) วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง 2. หลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ (ทล.บ) พ.ศ. 2563 ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม จานวน 3 หลกั สตู รดงั น้ี 2.1) หลกั สตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีไฟฟ้า (ต่อเนื่อง) วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง 2.2) หลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยเี ครอื่ งกล (ตอ่ เนือ่ ง) วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง 2.3) หลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (ตอ่ เนือ่ ง) วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 การจัดการศกึ ษา การจัดการศึกษาใช้ระบบทวิภาค โดยกาหนดให้ 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาและ 1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 18 สัปดาห์ สาหรับภาคฤดูร้อน การกาหนดระยะเวลาและจานวนหน่วยกติ ให้มีสดั สว่ นเทียบเคียงกันได้กับภาคการศกึ ษาปกติ 1.2 การกาหนดจานวนหนว่ ยกติ และจานวนชั่วโมงเรียนต่อสัปดาห์ 1.2.1 การคิดหนว่ ยกติ ต่อภาคเรียน 1) รายวิชาภาคทฤษฎีท่ีใช้เวลาบรรยายหรืออภิปราย 18 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา ปกติ รวมเวลาการวัดผล ให้มีค่าเทา่ กับ 1 หน่วยกติ 2) รายวิชาปฏิบัติท่ีใช้เวลาฝึกหรือทดลองหรือปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ 2 ช่ัวโมงต่อ สบั ดาห์ หรอื 36 ช่วั โมงตอ่ ภาคการศกึ ษาปกติ รวมเวลาการวัดผล ให้มคี ่าเทา่ กับ 1 หนว่ ยกิต อาชีวศึกษาบณั ฑิต สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก 25
3) รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม 3 ช่วั โมงต่อสัปดาห์ หรอื 54 ช่ัวโมงต่อภาคการศกึ ษาปกติ รวมเวลาการวัดผล ให้มีคา่ เทา่ กบั 1 หนว่ ยกติ 4) การฝึกอาชีพในการศึกษาแบบทวิภาคีท่ีใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 54 ช่ัวโมง ต่อภาค การศึกษาปกติ รวมเวลาการวัดผล ให้มีคา่ เท่ากับ 1 หน่วยกิต 5) การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมง ต่อภาคการศกึ ษาปกติ รวมเวลาการวดั ผล ให้มคี ่าเทา่ กบั 1 หน่วยกิต 6) การทาโครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ช่ัวโมง ต่อภาค การศึกษาปกติ รวมเวลาการวดั ผล ให้มคี ่าเท่ากบั 1 หน่วยกติ ระบบทวิภาค 1.2.2 การระบจุ านวนหนว่ ยกิตให้ระบตุ ามความหมายของ น (ท-ป-ศ) น หมายถึง จานวนหนว่ ยกิต ท หมายถึง จานวนชว่ั โมงทฤษฎตี ่อสปั ดาห์ ป หมายถึง จานวนช่ัวโมงปฏิบัติต่อสปั ดาห์ ศ หมายถึง จานวนชว่ั โมงศกึ ษาคน้ คว้านอกเวลาต่อสปั ดาห์ 1.2.3 การจดั ช่วั โมงเรียน ในการจัดช่ัวโมงเรียนนั้น ให้พิจารณาถึงลักษณะการเรียนการสอนและกระบวนการ เรียนรู้ของผู้เรียนท่ีสามารถเกิดข้ึนได้ท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ดังน้ันจึงควรจัดชั่วโมงให้ได้ศึกษา ค้นคว้าทั้งในและนอกเวลาเรียน โดยจาแนกการจัดเวลาเรียนรู้ประจารายวิชา รูปแบบและวิธีการคานวณ ชั่วโมงศกึ ษาคน้ คว้านอกเวลาต่อสัปดาห์ ดงั นี้ 1) ช่ัวโมงเรยี นทฤษฎี 2) ชั่วโมงเรยี นปฏบิ ตั ิ 3) ชัว่ โมงศกึ ษาค้นควา้ นอกเวลา จานวนกิตหนว่ ยกติ จานวนช่ัวโมงเรียนทฤษฎตี ่อสปั ดาห์ จานวนช่วั โมงเรยี นปฏบิ ตั ติ ่อสปั ดาห์ จานวนชั่วโมงศึกษาคน้ คว้านอกเวลาตอ่ สัปดาห์ น)ศ–ป–ท( วธิ ีคำนวณ ชวั่ โมงศึกษาคน้ ควา้ นอกเวลา = (ชว่ั โมงเรียนทฤษฎี X 2 ) + ( ชวั่ โมงเ2รีย.5นปฏิบตั ิ) อาชวี ศึกษาบณั ฑติ สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก 26
ทั้งนีใ้ นการกาหนดชว่ั โมงศึกษาค้นคว้านอกเวลาดังกล่าวข้างต้น บางรายวิชาอาจไม่มีการศึกษา คน้ คว้านอกเวลา เชน่ วิชาเกย่ี วกับการฝึกอาชพี วิชาโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชพี เปน็ ต้น โดยให้ใช้เลข 0 แทนชว่ั โมงศกึ ษาค้นคว้านอกเวลา 2. ระยะเวลาการศกึ ษา หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต ใช้เวลาการศึกษา 2 ปีการศึกษาแต่ไม่เกิน 4 ปีการศึกษา สาหรับการ ลงทะเบยี นเตม็ เวลา หรือใช้เวลาไมเ่ กิน 6 ปกี ารศึกษา สาหรับการลงทะเบียนเรยี นไมเ่ ต็มเวลา 3. การลงทะเบียนเรียน 3.1 หนว่ ยกิตรวมไม่น้อยกวา่ 75 หน่วยกิต 3.2 นกั ศกึ ษาภาคปกติลงทะเบยี นเรยี นไมน่ ้อยกว่า 9 หนว่ ยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกติ 3.3 ภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ นลงทะเบียนไดไ้ ม่เกนิ 9 หนว่ ยกิต 3.4 การขอโอนผลการศกึ ษา หรือขอประเมินเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ให้เป็นไปตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการศึกษาระดับปริญญาตรีสาย เทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัติการของสถาบันการอาชวี ศกึ ษา หมายเหตุ การลงทะเบียนเรียนท่ีแตกต่างไปจากข้อ 3.2 และ 3.3 อาจทาได้แต่ต้องไม่กระทบต่อ มาตราฐานและคุณภาพการศกึ ษา 4. การวัดผลและการสาเรจ็ การศึกษา 4.1 การสาเร็จการศึกษาต้องได้หน่วยกิตสะสมครบถ้วนตามโครงสร้างที่กาหนดไว้ในหลักสูตร และได้ คะแนนเฉล่ยี นสะสมไมต่ า่ กวา่ 2.00 และผ่านการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ 4.2 การประเมินผลการศึกษาในแต่ละรายวิชา ให้ใช้ตัวเลขแสดงผลการศึกษาในแต่ละรายวิชา ดังต่อไปนี้ 4.0 หมายถงึ ผลการศกึ ษาอยใู่ นเกณฑ์ดเี ย่ียม 3.5 หมายถึง ผลการศกึ ษาอยู่ในเกณฑด์ ีมาก 3.0 หมายถึง ผลการศกึ ษาอยู่ในเกณฑ์ดี 2.5 หมายถงึ ผลการศึกษาอยใู่ นเกณฑ์ดีพอใช้ 2.0 หมายถงึ ผลการศึกษาอยใู่ นเกณฑ์พอใช้ 1.5 หมายถึง ผลการศึกษาอย่ใู นเกณฑอ์ ่อน 1.0 หมายถงึ ผลการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ออ่ นมาก 0 หมายถงึ ผลการศึกษาตก อาชีวศึกษาบัณฑติ สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก 27
5. โครงสร้างหลกั สตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ (ต่อเน่ือง) 5.1 จานวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกว่า 75 หน่วยกติ 5.2 โครงสร้างหลกั สตู ร โครงสร้างหลักสตู ร แบง่ เป็นหมวดวชิ าท่สี อดคล้องกับท่ีกาหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดงั น้ี ก. หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป 18 หน่วยกติ 1) กลมุ่ วิชาภาษา 6 หน่วยกติ 2) กลุม่ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 6 หน่วยกิต 3) กล่มุ วชิ าสังคมศึกษาและมนษุ ยศาสตร์ 6 หน่วยกิต ข. หมวดวชิ าเฉพาะ 51 หน่วยกิต 1) วิชาเฉพาะพ้ืนฐาน 18 หนว่ ยกติ 1.1) กลุ่มวิชาพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ 6 หน่วยกิต 1.2) กลุ่มวิชาพนื้ ฐานทางเทคโนโลยี 12 หนว่ ยกติ 2) วชิ าเฉพาะด้าน 24 หน่วยกิต 2.1) กล่มุ วิชาเทคโนโลยีเฉพาะสาขา 18 หน่วยกิต 2.2) กลุ่มวิชาโครงงาน 6 หน่วยกติ 3) วชิ าการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี /วิชาบูรณาการ การเรยี นรู้ร่วมการทางาน 9 หน่วยกิต 3.1) กลุ่มวชิ าบูรณาการการเรยี นรู้ร่วมการทางาน 9 หนว่ ยกิต ค. หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หนว่ ยกิต 6. หลกั สูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบัตกิ ารของสถาบนั การ อาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก 1) สาขาวิชาเทคโนโลยโี ยธา (ต่อเนือ่ ง) วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี 2) สาขาวชิ าเทคโนโลยีอิเล็กทรอนกิ ส์ (ต่อเนือ่ ง) วทิ ยาลัยเทคนิคจนั ทบรุ ี 3) สาขาวชิ าการบัญชี (ต่อเน่ือง) วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี 4) สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ(ต่อเนื่อง) วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาชลบุรี 5) สาขาวิชาเทคโนโลยไี ฟฟ้า (ต่อเนื่อง) วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ ี) 6) สาขาวิชาเทคโนโลยปี โิ ตรเคมี (ต่อเน่อื ง) วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง 7) สาขาวชิ าเทคโนโลยีพลังงาน (ต่อเน่ือง) วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง 8) สาขาวชิ าเทคโนโลยีไฟฟ้า (ต่อเนื่อง) วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง 9) สาขาวชิ าเทคโนโลยีเคร่อื งกล (ต่อเน่ือง) วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง 10) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อเนอ่ื ง) วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง อาชีวศึกษาบณั ฑติ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก 28
หลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีโยธา (ต่อเน่ือง) (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2562) วิทยาลยั /คณะ/ภาควชิ า : วิทยาลัยเทคนิคจันทบรุ ี 1. ช่ือหลักสูตร ช่อื ภาษาไทย : หลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยโี ยธา (ตอ่ เนื่อง) ชอื่ ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Technology Program in Civil Technology (Continuing Program) 2. ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : เทคโนโลยบี ณั ฑิต (เทคโนโลยโี ยธา) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ทล.บ. (เทคโนโลยีโยธา) ช่ือเตม็ (ภาษาองั กฤษ) : Bachelor of Technology (Civil Technology) ชื่อย่อ (ภาษาองั กฤษ) : B. Tech. (Civil Technology) 3. คุณสมบตั ิผ้เู ข้าศึกษา สาเร็จการศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า สาขาช่างก่อสร้างหรือ สาขาช่างโยธาหรือสาขาช่างสารวจหรือสถาปัตยกรรม 4. จานวนหนว่ ยกติ ที่เรียนตลอดหลกั สตู ร 75 หน่วยกติ 5. อาชีพท่สี ามารถประกอบไดห้ ลงั สาเรจ็ การศึกษา 2. นกั วิชาการโยธา 1. นักเทคโนโลยโี ยธา 4. นักประมาณราคางานก่อสรา้ ง 3. นกั วางแผนงานโยธา 6. ผจู้ ัดการโครงการงานกอ่ สร้าง 5. นักออกแบบและเขยี นแบบกอ่ สรา้ ง 8.ประกอบธุรกจิ ส่วนตัวดา้ นการ 7. ผู้ช่วยงานวิจยั ทางด้านเทคโนโลยกี ารกอ่ สรา้ ง ก่อสร้าง อาชวี ศกึ ษาบณั ฑติ สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก 29
6. ช่ือ ตาแหน่ง และคณุ วุฒิการศึกษาของอาจารย์ผ้รู ับผิดชอบหลักสูตร ที่ ช่อื นามสกุล ตาแหน่ง คณุ วฒุ ิการศกึ ษา สาเรจ็ การศึกษา ทางวิชาการ จากสถาบัน ปีพ.ศ. 1 นายชยั ฉลอง เดชบุรัมย์ อาจารย์ ครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม ม. เทคโนโลยี 2555 มหาบณั ฑิต (คอ.ม.โยธา) พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื ประกาศนยี บัตรวิชาชพี วิทยาลัยเทคนิค 2541 ครเู ทคนิคชัน้ สงู ลพบุรี (ปทส. โยธา) 2 นางกรุณาพร รตั นภูผา อาจารย์ ครุศาสตร์อตุ สาหกรรม ม. เทคโนโลยพี ระ 2555 มหาบณั ฑิต จอมเกลา้ (คอ.ม. โยธา) พระนครเหนือ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี วทิ ยาลยั เทคนิค 2540 ครูเทคนิคชน้ั สงู ลพบรุ ี (ปทส. โยธา) 3 นายวิเชยี ร เดชะผล อาจารย์ ครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม ม. เทคโนโลยี 2555 มหาบัณฑิต (คอ.ม.โยธา) พระจอมเกล้า พระนครเหนอื ครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยี 2529 บัณฑติ และอาชีวศึกษา (คอ.บ. วิศวกรรมโยธา) วิทยาลัยเขตเทเวศน์ 4 นายศรณั ย์ นิลธเิ สน อาจารย์ วิศวกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ 2536 มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั (วศม. วศิ วกรรมโยธา) วิศวกรรมศาสตร์บณั ฑิต ม. สงขลานครินทร์ 2527 (วศบ. วศิ วกรรมโยธา) 5 นายจิระพงษ์ คุณานิตธิ าดา อาจารย์ ครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม ม. เทคโนโลยี 2555 มหาบณั ฑิต พระจอมเกลา้ ธนบุรี (คอ.ม.วศิ วกรรมโยธา) วศิ วกรรมศาสตรบ์ ณั ฑติ ม. เทคโนโลยี 2560 (วศบ. วิศวกรรมโยธา) ราชมงคลตะวนั ออก อาชีวศกึ ษาบณั ฑติ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก 30
แผนการศกึ ษาระดับปริญญาตรี สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก สาขาวชิ าเทคโนโลยโี ยธา (ต่อเนื่อง) วทิ ยาลัยเทคนคิ จันทบรุ ี ชัน้ ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 (สถานศกึ ษา) รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา ก. หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป (9 หน่วยกิต) กลมุ่ วิชาภาษาตา่ งประเทศ 23 – 4000 – 1202 การอา่ นและการเขยี นภาษาองั กฤษในงานอาชีพ กลุ่มวชิ าคณิตศาสตร์ 23 – 4000 – 1405 สถติ ิเพอื่ งานอาชพี 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 23 – 4000 – 1502 การบรหิ ารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา 3 (3-0-6) สถานศึกษา ข. หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเฉพาะด้าน (9 หนว่ ยกิต) กลมุ่ วชิ าเทคโนโลยีเฉพาะสาขา 23 – 4121 – 2001 เทคโนโลยีคอนกรตี ชั้นสูง 3 (2-2-5) สถานศึกษา 23 – 4121 – 2005 การออกแบบและการเขยี นแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ 23 – 4121 – 2006 โครงสรา้ งอาคารและพฤติกรรม 3 (2-2-5) สถานศึกษา รวมหน่วยกิต 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา 18 (16-4-34) ชน้ั ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 (สถานศึกษา) รหสั วิชา ช่ือวิชา น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ก. หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป (6 หนว่ ยกติ ) กลมุ่ วชิ าภาษาไทย 23 – 4000 – 1103 การเขียนรายงานในงานอาชีพ 3 (3-0-6) สถานศึกษา 3 (3-0-6) สถานศึกษา กลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์ 23 – 4000 – 1303 วิทยาศาสตร์เพอ่ื สง่ิ แวดล้อม ข. หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเฉพาะพน้ื ฐาน (6 หน่วยกติ ) พื้นฐานทางคณติ ศาสตร์ 23 – 4001 – 1108 การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา 3 (3-0-6) สถานศึกษา พื้นฐานทางเทคโนโลยี 23 – 4001 – 2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ วิชาเฉพาะดา้ น (3 หนว่ ยกิต) กลมุ่ วิชาเทคโนโลยเี ฉพาะสาขา 23 – 4121 - 2003 เทคโนโลยีงานฐานรากและงานดิน 3 (2-2-5) สถานศึกษา ค. หมวดวิชาเลือกเสรี (3 หนว่ ยกิต) 23 – 4121 – 9002 การสารวจเพ่ืองานโยธาช้ันสงู 3 (2-2-5) สถานศึกษา รวมหนว่ ยกติ 18 (17-4-34) อาชวี ศกึ ษาบัณฑติ สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก 31
ชัน้ ปีที่ 1 ภาคเรยี นฤดรู อ้ น (ศกึ ษาและฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการ) รหัสวิชา ชื่อวชิ า น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (3 หน่วยกติ ) กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 23 – 4000 – 1602 มนุษยสัมพันธ์ในองคก์ ร 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา ข. หมวดวชิ าเฉพาะ วชิ าเฉพาะพน้ื ฐาน (3 หน่วยกติ ) พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ 23 – 4001 – 1205 วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีงานโยธา 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา วิชาบูรณาการการเรยี นรรู้ ่วมการทางาน (3 หนว่ ยกิต) 23 – 4121 – 8002 การควบคมุ งานก่อสรา้ ง 3 (0-9-0) สถานประกอบการ รวมหนว่ ยกิต 9 (6-9-12) ชัน้ ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 (ศกึ ษาและฝึกอาชีพในสถานประกอบการ) รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ข. หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าเฉพาะพนื้ ฐาน (6 หน่วยกิต) พื้นฐานทางเทคโนโลยี 23 – 4001 – 2002 การพัฒนาบุคลากรและการฝกึ อบรมด้านเทคโนโลยี 3 (0-9-0) สถานประกอบการ 23 – 4001 – 2003 เทคโนโลยพี ื้นฐาน 3 (0-9-0) สถานประกอบการ วิชาเฉพาะด้าน (6 หน่วยกิต) กลมุ่ วิชาเทคโนโลยีเฉพาะสาขา 23 – 4121 – 2004 การบริหารงานก่อสร้าง 3 (0-9-0) สถานประกอบการ กลุ่มวชิ าโครงงาน 23 – 4121 – 8501 โครงงานพัฒนาทักษะวิชาชพี 1 3 (2-2-5) สถานศึกษา ค. หมวดวชิ าเลอื กเสรี (3 หนว่ ยกิต) 23 – 4121 – 9004 วสั ดุและการทดสอบงานโยธา 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา รวมหนว่ ยกติ 15 (4-31-10) อาชีวศึกษาบณั ฑิต สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก 32
ช้นั ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 (ศึกษาและฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการ) รหสั วชิ า ชอ่ื วิชา น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ข. หมวดวชิ าเฉพาะ วิชาเฉพาะพน้ื ฐาน (3 หน่วยกิต) พื้นฐานทางเทคโนโลยี 23 – 4001 – 2004 ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในสถานประกอบการ 3 (0-9-0) สถานประกอบการ วชิ าเฉพาะด้าน (6 หนว่ ยกิต) กล่มุ วชิ าเทคโนโลยีเฉพาะสาขา 23 – 4121 – 2002 เทคโนโลยกี ารก่อสรา้ งงานทาง 3 (0-9-0) สถานประกอบการ กล่มุ วิชาโครงงาน 23 – 4121 – 8502 โครงงานพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี 2** 3 (0-9-0) สถานประกอบการ + สถานศึกษา วิชาบูรณาการการเรียนรู้รว่ มการทางาน (6 หน่วยกิต) 23 – 4121 – 8001 ระบบสขุ าภบิ าลอาคาร 3 (0-9-0) สถานประกอบการ 23 – 4121 – 8003 การประมาณราคา 3 (0-9-0) สถานประกอบการ รวม 15 (0-45-0) รวมทง้ั สิ้น 75 (43-93-90) ** พบอาจารย์ท่ีปรึกษา 4 คาบ/สัปดาห์ อาชีวศกึ ษาบัณฑิต สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก 33
หลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (ตอ่ เนื่อง) (หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) วิทยาลยั /คณะ/ภาควชิ า : วทิ ยาลัยเทคนิคจนั ทบุรี 1. ชือ่ หลักสตู ร ชอ่ื ภาษาไทย : หลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (ตอ่ เนื่อง) ชอื่ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Technology Program in Electronics Technology (Continuing Program) 2. ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า ช่ือเต็ม (ภาษาไทย) : เทคโนโลยบี ัณฑิต (เทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนิกส์) ชื่อยอ่ (ภาษาไทย) : ทล.บ. (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์) ชื่อเต็ม (ภาษาองั กฤษ) : Bachelor of Technology (Electronics Technology) ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B. Tech. (Electronics Technology) 3. คุณสมบัตผิ ู้เข้าศึกษา สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า สาขาวิชา อิเล็กทรอนกิ ส์ 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสตู ร 75 หนว่ ยกติ 5. อาชีพทีส่ ามารถประกอบไดห้ ลงั สาเร็จการศึกษา 1. นกั เทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 2. ประกอบธุรกจิ ส่วนตัวด้านอิเล็กทรอนิกส์ อาชวี ศกึ ษาบณั ฑติ สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก 34
6. ชอื่ ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบหลักสูตร ที่ ชื่อ นามสกลุ ตาแหนง่ คุณวุฒิการศกึ ษา สาเร็จการศกึ ษา ทางวิชาการ จากสถาบนั ปีพ.ศ. สถาบนั เทคโนโลยี 2548 1 นายสยาม ป่นั ธรรม อาจารย์ ครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม พระจอมเกลา้ มหาบัณฑิต (คอ.ม.) เจ้าคุณทหาร ลาดกระบงั สาขาวศิ วกรรมไฟฟา้ สื่อสาร สถาบนั เทคโนโลยี 2529 ราชมงคล ครศุ าสตร์อุตสาหกรรม วิทยาเขตเทเวศร์ บัณฑติ (คอ.บ.) 2 นายศักดส์ิ ทิ ธิ์ แกลว้ กลา้ อาจารย์ สาขาวิศวกรรม สถาบนั เทคโนโลยี 2549 อาจารย์ พระจอมเกล้า 2529 3 นางปราณทิพย์ ชนวีร์ อาจารย์ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ส่อื สาร เจ้าคุณทหาร จารุณฐั อาจารย์ ลาดกระบงั ครศุ าสตร์อุตสาหกรรม 4 นายบรรจง มะลาไสย มหาบัณฑติ (คอ.ม.) สถาบนั เทคโนโลยี 5 นางนงรกั ษ์ ปญั สุภารักษ์ ราชมงคล วทิ ยาเขต สาขาวศิ วกรรม ไฟฟา้ สือ่ สาร เทเวศร์ ครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยี 2549 บณั ฑติ (คอ.บ.) พระจอมเกล้า สาขาวิศวกรรม เจา้ คณุ ทหาร 2541 ลาดกระบงั 2547 อิเล็กทรอนกิ สส์ ื่อสาร 2537 มหาวทิ ยาลยั ครศุ าสตร์อุตสาหกรรม เทคโนโลยพี ระจอม มหาบณั ฑิต (คอ.ม.) เกลา้ พระนครเหนือ สาขาวิศวกรรม มหาวิทยาลยั ไฟฟา้ สือ่ สาร เทคโนโลยพี ระจอม เกล้าพระนครเหนือ ครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม บณั ฑิต (คอ.บ.) สถาบนั เทคโนโลยี ปทมุ วัน สาขาวิศวกรรมไฟฟา้ มหาวิทยาลยั 2549 ครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม เทคโนโลยพี ระจอม 2540 มหาบณั ฑติ (คอ.ม.) เกล้าพระนครเหนือ สาขาไฟฟ้า (โทรคมนาคม) สถาบนั เทคโนโลยี ประกาศนียบตั รครูเทคนิค ปทมุ วัน ช้ันสงู (ปทส.) สาขาไฟฟา้ สอ่ื สาร ครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม มหาบัณฑติ (คอ.ม.) สาขาไฟฟ้า(อิเล็กทรอนิกส์) ประกาศนยี บตั รครเู ทคนิค ชนั้ สงู (ปทส.) สาขาไฟฟ้าสอ่ื สาร อาชวี ศกึ ษาบณั ฑิต สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก 35
แผนการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก สาขาวิชาเทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนกิ ส์ (ตอ่ เน่ือง) วิทยาลยั เทคนคิ จนั ทบุรี ช้ันปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 (สถานศกึ ษา) รหสั วิชา ช่ือวชิ า น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ก. หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป (9 หน่วยกติ ) 23 – 4000 – 1202 การอ่านและการเขยี นภาษาอังกฤษในงานอาชีพ 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา 23 – 4000 – 1502 การบริหารจัดการยคุ ใหม่และภาวะผนู้ า 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา 23 – 4000 – 1405 สถติ ิเพอ่ื งานอาชีพ 3 (3-0-6) สถานศึกษา ข. หมวดวชิ าเฉพาะ วิชาชีพเฉพาะพืน้ ฐาน (3 หน่วยกิต) 23 – 4001 – 1107 การวิเคราะหแ์ ละจาลองวงจรไฟฟา้ ** 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา วชิ าเฉพาะด้าน (วิชาเทคโนโลยีเฉพาะสาขา 6 หน่วยกติ ) 23 – 4105 – 2001 การออกแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3 (2-2-5) สถานศึกษา 23 – 4105 – 2004 ระบบควบคมุ แขนกลอตุ สาหกรรม 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา รวม 18 (15-6-33) ** กล่มุ วชิ าพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ชัน้ ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 (สถานศกึ ษา) รหสั วชิ า ชือ่ วิชา น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (6 หนว่ ยกิต) 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา 3 (3-0-6) สถานศึกษา 23 – 4000 – 1103 การเขยี นรายงานในงานอาชีพ 23 – 4000 – 1303 วทิ ยาศาสตร์เพอื่ สิง่ แวดล้อม ข. หมวดวชิ าเฉพาะ วิชาชพี เฉพาะพ้นื ฐาน (6 หนว่ ยกิต) 23 – 4001 – 1211 วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยเี ซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา 23 – 4001 – 2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์ วิชาเฉพาะด้าน (วชิ าเทคโนโลยเี ฉพาะสาขา 6 หน่วยกิต) 23 – 4105 - 2003 การควบคมุ แบบอันดบั และพีแอลซี 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา 23 – 4105 – 2002 อนิ เตอรเ์ นต็ ในทุกสรรพสิง่ 18 (15-6-31) รวมหนว่ ยกติ อาชวี ศึกษาบัณฑิต สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก 36
ชั้นปที ี่ 1 ภาคเรยี นฤดรู อ้ น (สถานศึกษา) รหสั วิชา ช่อื วิชา น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ 3 (3-0-6) สถานศึกษา ก. หมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป (3 หน่วยกติ ) 23 – 4000 – 1602 มนุษยสมั พันธใ์ นองคก์ ร ข. หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าเฉพาะด้าน (วชิ าเทคโนโลยีเฉพาะสาขา 6 หนว่ ยกติ ) 23 – 4105 – 2005 การควบคุมนวิ แมติกสแ์ ละไฮโดรลกิ ส์ 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา 23 – 4105 – 2006 เทคโนโลยสี อื่ ดิจทิ ศั น์ 9 (7-4-16) รวม ชน้ั ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 (ศึกษาและฝึกอาชพี ในสถานประกอบการ) รหสั วิชา ช่อื วชิ า น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ข. หมวดวชิ าเฉพาะ วชิ าชพี เฉพาะพ้ืนฐาน (3 หนว่ ยกิต) 23 – 4001 – 2003 เทคโนโลยีพืน้ ฐาน 3 (0-9-0) สถานประกอบการ วิชาเฉพาะด้าน (วชิ าโครงงาน 3 หนว่ ยกติ ) 23 – 4105 – 8501 โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี 1*** 3 (0-9-0) สถานประกอบการ วชิ าการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี /บรู ณาการ (9 หน่วยกติ ) 23 – 4105 – 8001 การควบคมุ กระบวนการและเครอื่ งมือวดั อุตสาหกรรม 3 (0-9-0) สถานประกอบการ 23 – 4105 – 8002 หลักการระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม 3 (0-9-0) สถานประกอบการ 23 – 4105 – 8003 การควบคุมอตั โนมตั ิ 3 (0-9-0) สถานประกอบการ รวม 15 (0-45-0) *** พบอาจารยท์ ป่ี รึกษา 4 คาบ/สัปดาห์ ช้ันปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 (ศกึ ษาและฝึกอาชพี ในสถานประกอบการ) รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ข. หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าเฉพาะพื้นฐาน (3 หน่วยกิต) 23 – 4001 – 2004 ความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในสถานประกอบการ 3 (0-9-0) สถานประกอบการ 23 – 4001 – 2002 การพฒั นาบุคลากรและการฝึกอบรมดา้ นเทคโนโลยี 3 (0-9-0) สถานประกอบการ วชิ าเฉพาะดา้ น (วชิ าโครงงาน 3 หน่วยกิต) 23 – 4105 – 8502 โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี 2*** 3 (0-9-0) สถานประกอบการ หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนว่ ยกิต 23 – 4105 – 9001 การควบคุมอัตโนมัติทางอตุ สาหกรรม 3 (0-9-0) สถานประกอบการ 23 – 4105 – 9002 อิเล็กทรอนกิ ส์กาลงั 3 (0-9-0) สถานประกอบการ รวม 15 (0-45-0) รวมทั้งสิ้น 75 (37-106-80) อาชวี ศกึ ษาบัณฑิต สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก 37
หลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าการบัญชี (ต่อเนือ่ ง) (หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) วทิ ยาลยั /คณะ/ภาควิชา : วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี 1. ชื่อหลกั สูตร ช่ือภาษาไทย : หลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าการบญั ชี (ต่อเน่ือง) ชอื่ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Technology Program in Accounting (Continuing Program) 2. ช่อื ปริญญาและสาขาวชิ า ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : เทคโนโลยบี ณั ฑิต (การบัญชี) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ทล.บ. (การบัญชี) ชื่อเตม็ (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Technology (Accounting) ช่ือยอ่ (ภาษาอังกฤษ) : B. Tech. (Accounting) 3. คุณสมบัตผิ ู้เขา้ ศึกษา สาเร็จการศกึ ษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชน้ั สูง (ปวส.) หรือเทยี บเท่า สาขาวชิ าการบญั ชี 4. จานวนหน่วยกติ ทเ่ี รียนตลอดหลกั สตู ร 78 หน่วยกติ 5. อาชพี ทส่ี ามารถประกอบไดห้ ลังสาเรจ็ การศกึ ษา 1. ผูท้ าบญั ชี 2. ผ้ตู รวจสอบบญั ชภี าษีอากร 3. ผูต้ รวจสอบภายใน 4. นกั วางแผนภาษี 5. นักวางระบบบญั ชี 6. พนักงานการเงนิ และบัญชี 7. เจา้ หนา้ ท่ีบัญชี การเงนิ และการคลงั 8. นกั วเิ คราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศทางด้านการบัญชี 9. นักบญั ชภี าษอี ากร 10. ด้านอืน่ ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง อาชวี ศึกษาบณั ฑิต สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก 38
6. ชือ่ ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศกึ ษาของอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร ตาแหนง่ สาเร็จการศึกษา ที่ ช่อื นามสกุล ทาง คุณวุฒกิ ารศึกษา จากสถาบนั ปพี .ศ. วชิ าการ 1 นางพิชชกานต์ ลลี าสวุ ณชิ ย์ อาจารย์ บรหิ ารธุรกจิ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา 2546 2 นางสาวนภาภรณ์ ศรขี วญั ใจ อาจารย์ สาขาวชิ าการบัญชีบรหิ าร 2525 3 นางสาวเสาวนีย์ เพชรนาค อาจารย์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2557 4 นางพรรณวดี กาศอุดม อาจารย์ (บธ.ม. บญั ชีบริหาร) มหาวทิ ยาลัยบรู พา 2548 บัญชบี ัณฑิต 2546 5 นางนิพร จทุ ัยรัตน์ อาจารย์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา 2525 (บช.บ. การบญั ชี) มหาวิทยาลัยบูรพา 2546 บรหิ ารธุรกิจมหาบัณฑิต 2537 สาขาวิชาการบัญชีบริหาร มหาวิทยาลยั ธุรกิจ 2550 (บธ.ม. บญั ชบี ริหาร) บัณฑติ ย์ 2532 บญั ชีบณั ฑิต สาขาวิชาการ บญั ชี (บช.บ. การบัญชี) มหาวิทยาลยั บูรพา บริหารธรุ กจิ มหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบัญชีบรหิ าร มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธร (บธ.ม. บญั ชบี ริหาร) รมาธิราช บริหารธุรกิจบณั ฑติ สาขาวชิ า การเงิน (บธ.บ. การเงนิ ) มหาวทิ ยาลัยบูรพา บรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบญั ชีบริหาร มหาวิทยาลัยราชภัฎราช (บธ.ม. บญั ชีบริหาร) นครนิ ทร์ บริหารธุรกจิ บณั ฑติ สาขาวิชา การจัดการท่ัวไป (บธ.บ.การจดั การทัว่ ไป) บรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร (บธ.ม. บญั ชบี รหิ าร) ศลิ ปะศาสตรบ์ ัณฑิต สาขาวชิ า การจัดการทว่ั ไป (การบัญชี) (ศศ.บ. การบญั ช)ี อาชวี ศึกษาบณั ฑิต สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออก 39
แผนการศกึ ษาระดับปริญญาตรี สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก สาขาวชิ าการบญั ชี (ต่อเนื่อง) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี ชัน้ ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 รหสั วชิ า ช่อื วชิ า น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ก. หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป กลมุ่ วิชาภาษาไทย 23 – 4000 – 1102 ภาษาไทยเพอื่ การส่ือสารและการนาเสนอ 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์ 23 – 4000 – 1502 การบรหิ ารจัดการยคุ ใหม่และภาวะผู้นา 3 (3-0-6) สถานศึกษา กลมุ่ วชิ าวิทยาศาสตร์ 23 – 4000 – 1304 วิทยาศาสตร์เพื่อการชะลอวัย 3 (3-0-6) สถานศึกษา ข. วชิ าเฉพาะพน้ื ฐาน กลุม่ วิชาพน้ื ฐานทางเทคโนโลยี 23 – 4001 – 2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา ข. วชิ าเฉพาะด้าน กลุ่มวชิ าเทคโนโลยเี ฉพาะสาขา 23 – 4201 – 2002 การบัญชีชั้นกลาง 1 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา 23 – 4201 – 2004 การบญั ชชี ้นั สงู 1 3 (2-2-5) สถานศึกษา 23 – 4201 – 2008 การภาษอี ากร 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา รวม 21 (18-6-39) ช้นั ปีที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 รหสั วิชา ช่อื วิชา น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ก. หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป กลมุ่ วิชาภาษาต่างประเทศ 23 – 4000 – 1203 ภาษาองั กฤษเพือ่ การนาเสนอในงานอาชีพ 3 (3-0-6) สถานศึกษา 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา กลมุ่ วชิ าคณติ ศาสตร์ 23 – 4000 – 1403 คณติ ศาสตร์เพอ่ื การตัดสินใจ ข. วชิ าเฉพาะพ้ืนฐาน กลมุ่ วิชาพน้ื ฐานทางคณติ ศาสตร์ 23 – 4001 – 1102 การจัดการทางการเงิน 3 (3-0-6) สถานศึกษา 3 (3-0-6) สถานศึกษา กลุ่มวิชาพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ 23 – 4001 – 1201 การวจิ ยั ทางธรุ กจิ และสถิติ ข. กลุ่มวิชาเฉพาะดา้ น กล่มุ วชิ าเทคโนโลยีเฉพาะสาขา 23 – 4201 – 2001 หลกั การบัญชี 3 (0-9-0) สถานประกอบการ 23 – 4201 – 2003 การบัญชชี ้นั กลาง 2 3 (2-2-5) สถานศึกษา 23 – 4201 – 2005 การบัญชีชั้นสงู 2 3 (2-2-5) สถานศึกษา รวม 21 (16-13-24) อาชวี ศกึ ษาบณั ฑิต สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก 40
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ข. วชิ าเฉพาะพน้ื ฐาน กลมุ่ วชิ าพ้นื ฐานทางเทคโนโลยี 23 – 4001 – 2002 การพัฒนาบุคลากรและการฝกึ อบรมด้านเทคโนโลยี 3 (0-9-0) สถานประกอบการ 3 (0-9-0) สถานประกอบการ 23 – 4001 – 2007 การบรหิ ารและเศรษฐศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม ข. วชิ าเฉพาะดา้ น กลมุ่ วชิ าเทคโนโลยีเฉพาะสาขา 23 – 4201 – 2006 การบัญชีต้นทุน 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา 3 (3-0-6) สถานศึกษา 23 – 4201 – 2007 การสอบบัญชแี ละการให้ความเชื่อมั่น กลมุ่ วิชาโครงงาน 23 – 4201 – 8501 โครงงานพัฒนาทกั ษะวชิ าชีพ 1 3 (0-9-0) สถานประกอบการ ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 23 – xxxx - xxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 3 (*-*-*) สถานศกึ ษา รวม 18 (5-29-11) ชนั้ ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 รหสั วิชา ช่อื วชิ า น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ ก. หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 23 – 4000 – 1602 มนษุ ยสัมพนั ธใ์ นองค์กร 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา ข. กล่มุ วิชาเฉพาะพืน้ ฐาน กลุ่มวชิ าพื้นฐานทางเทคโนโลยี 23 – 4001 – 2004 ความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในสถานประกอบการ 3 (0-9-0) สถานประกอบการ ข. วชิ าเฉพาะด้าน กลมุ่ วชิ าเทคโนโลยเี ฉพาะสาขา 23 – 4201 – 2009 การบัญชบี ริหาร 3 (3-0-6) สถานศึกษา กลุม่ วิชาบูรณาการการเรยี นร้รู ่วมการทางาน 23 – 4201 – 8001 ปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการบัญชแี ละดจิ ิตอล 3 (0-9-0) สถานประกอบการ กลุ่มวชิ าโครงงาน 23 – 4201 – 8502 โครงงานพัฒนาทักษะวิชาชีพ 2 3 (0-9-0) สถานประกอบการ ค. หมวดวชิ าเลือกเสรี 23 – xxxx - xxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 3 (*-*-*) สถานศึกษา รวม 18 (6-27-12) รวม 2 ปีการศกึ ษา 78 หน่วยกิต อาชีวศกึ ษาบัณฑิต สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก 41
หลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ (ตอ่ เนอ่ื ง) (หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2562) วทิ ยาลยั /คณะ/ภาควชิ า : วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี 1. ชอื่ หลกั สูตร ชอื่ ภาษาไทย : หลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ (ตอ่ เน่ือง) ชือ่ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Technology Program in Business Computer (Continuing Program) 2. ชือ่ ปริญญาและสาขาวชิ า ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : เทคโนโลยบี ัณฑติ (คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ ) ช่ือย่อ (ภาษาไทย) : ทล.บ. (คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ) ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Technology (Business Computer) ช่ือยอ่ (ภาษาองั กฤษ) : B. Tech. (Business Computer) 3. คุณสมบัตผิ ู้เขา้ ศึกษา สาเร็จการศึกษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้นั สูง (ปวส.) หรือเทยี บเท่า สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลกั สูตร 72 หน่วยกติ 5. อาชีพที่สามารถประกอบไดห้ ลงั สาเรจ็ การศกึ ษา 1. นกั ปฏบิ ตั ิงานด้านวชิ าการคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ 2. นักบรกิ ารงานโปรแกรมประยุกต์ และระบบสารสนเทศในสานกั งาน 3. นกั วเิ คราะห์ขอ้ มลู หรอื ดแู ลระบบฐานข้อมลู หรือบรหิ ารฐานขอ้ มูล 4. นกั ปฏบิ ตั งิ านด้านระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 5. นักพัฒนาซอฟต์แวร์ 6. เจา้ หน้าทีง่ านธุรการ หรือบุคลากรในหน่วยงานของรฐั วสิ าหกิจ หรอื รฐั บาล 7. เจ้าหน้าทง่ี านฝา่ ยบญั ชีคอมพิวเตอร์ 8. เจา้ หน้าท่ีงานฝา่ ยขาย หรือฝา่ ยโฆษณา 9. เจา้ หนา้ ทีง่ านธนาคารด้านคอมพวิ เตอร์ และระบบสารสนเทศ 10. ผ้ปู ระกอบอาชีพอิสระด้านคอมพวิ เตอร์ และระบบสารสนเทศ อาชวี ศกึ ษาบัณฑติ สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออก 42
6. ชอ่ื ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร ตาแหนง่ สาเรจ็ การศึกษา จากสถาบัน ท่ี ชื่อ นามสกลุ ทาง คุณวุฒกิ ารศกึ ษา วิชาการ ปพี .ศ. 2545 1 นางสาวชูศรี เกลยี วสกุลโกวิท อาจารย์ คอ.ม. (คอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระ และเทคโนโลยี จอมเกลา้ ธนบรุ ี 2537 2 นางพัทธนนั ท์ ภแู กว้ อาจารย์ สารสนเทศ) 2549 มหาวิทยาลัยสยาม 2535 3 นางจนั ทนา ลยั วรรณา อาจารย์ บธ.บ. (คอมพวิ เตอร์ 2542 ธุรกจิ ) มหาวทิ ยาลัยบูรพา 2536 4 นางพรี ญา ดนุ ขุนทด อาจารย์ 2553 วท.ม. (เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจบณั ฑิต 2548 5 นางนติ ยา เสาหงษ์ อาจารย์ สารสนเทศ) 2555 CENTRAL LUZON STATE 2545 บธ.บ. (คอมพวิ เตอร์ UNIVERSITY ธรุ กิจ) มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม MAB. (Master in Agribusiness Mgt.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระ บธ.บ. (คอมพวิ เตอร์ จอมเกล้าพระนครเหนอื มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช ธรุ กจิ ) มงคลธัญบุรี วท.ม. (เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระ สารสนเทศ) จอมเกล้าพระนครเหนือ บธ.บ.(ธรุ กิจศกึ ษา สถาบันราชภัฏสวนดุสิต คอมพวิ เตอร์ วท.ม. (เทคโนโลยี สารสนเทศ) บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ ธุรกจิ อาชีวศึกษาบณั ฑติ สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก 43
แผนการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ (ตอ่ เนอื่ ง) วิทยาลัยอาชวี ศึกษาชลบรุ ี ชน้ั ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 รหสั วชิ า ช่ือวชิ า น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป 23 – 4000 – 1102 ภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สารและการนาเสนอ 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา 23 – 4000 – 1405 สถติ เิ พ่ืองานอาชพี 3 (3-0-6) สถานศึกษา 23 – 4000 – 1502 การบริหารจดั การยุคใหมแ่ ละภาวะผู้นา 3 (3-0-6) สถานศึกษา หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเฉพาะพน้ื ฐาน กล่มุ วิชาพนื้ ฐานทางเทคโนโลยี 23 – 4001 – 2001 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเฉพาะดา้ น กล่มุ วิชาเทคโนโลยเี ฉพาะสาขา 23 – 4204 – 2001 การจดั การขอ้ มูลขนาดใหญ่ 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา 23 – 4204 – 2004 การจัดการทรัพยากรเครือขา่ ย 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา รวม 18 (18-0-36) แผนการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ (ต่อเน่ือง) วิทยาลัยอาชวี ศึกษาชลบรุ ี ชัน้ ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 รหสั วิชา ช่อื วชิ า น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ หมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป 23 – 4000 – 1203 ภาษาอังกฤษเพ่อื การนาเสนอในงานอาชีพ 3 (3-0-6) สถานศึกษา 23 – 4000 – 1303 วิทยาศาสตรเ์ พือ่ สิง่ แวดล้อม 3 (3-0-6) สถานศึกษา หมวดวชิ าเฉพาะ วชิ าเฉพาะพืน้ ฐาน กลมุ่ วิชาพ้ืนฐานทางคณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 23 – 4001 – 1101 ระเบยี บวธิ วี ิจยั ทางธุรกิจ 3 (2-2-5) สถานศึกษา หมวดวชิ าเฉพาะ วิชาเฉพาะดา้ น กลมุ่ วชิ าเทคโนโลยเี ฉพาะสาขา 23 – 4204 – 2002 เหมอื งข้อมลู 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา 23 – 4204 – 2005 การพฒั นาเวบ็ ไซตเ์ พอ่ื งานธุรกจิ 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา รวม 15 (12-6-27) อาชวี ศึกษาบัณฑติ สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออก 44
แผนการศึกษาระดบั ปริญญาตรี สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ (ตอ่ เนอ่ื ง) วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี ช้ันปที ี่ 1 ภาคฤดรู อ้ น รหัสวชิ า ชอื่ วิชา น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป 23 – 4000 – 1602 มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา หมวดวิชาเฉพาะดา้ น วิชาเฉพาะด้าน กลมุ่ วชิ าเทคโนโลยเี ฉพาะสาขา 23 – 4204 – 2008 การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูล 3 (3-0-6) สถานศึกษา 23 – 4204 – 2011 การเขยี นโปรแกรมภาษาบนอุปกรณ์เคลอ่ื นที่ 3 (2-2-5) สถานศกึ ษา รวม 9 (8-2-17) แผนการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ (ตอ่ เนื่อง) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี ชั้นปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 รหัสวิชา ช่อื วชิ า น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ หมวดวชิ าเฉพาะ วิชาเฉพาะพน้ื ฐาน กลุ่มวิชาพนื้ ฐานทางคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ 23 – 4001 – 1202 นวตั กรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื ส่งิ แวดล้อม 3 (3-0-6) สถานศกึ ษา หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าเฉพาะพน้ื ฐาน กลมุ่ วิชาพน้ื ฐานทางเทคโนโลยี 23 – 4001 – 2002 การพฒั นาบุคลากรและการฝึกอบรมดา้ นเทคโนโลยี 3 (0-9-0) สถานประกอบการ 23 – 4001 – 2004 ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ในสถานประกอบการ 3 (0-9-0) สถานประกอบการ หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าเฉพาะดา้ น กลมุ่ วชิ าเทคโนโลยเี ฉพาะสาขา 23 – 4204 – 2007 ระบบสารสนเทศและการใช้งานสาหรบั องคก์ ร 3 (0-9-0) สถานประกอบการ หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าเฉพาะด้าน กล่มุ วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 23 – 4204 – 8001 การประยกุ ตใ์ ชซ้ อฟตแ์ วร์สาเรจ็ รปู ทางธรุ กจิ 3 (0-9-0) สถานประกอบการ หมวดวชิ าเฉพาะ กลุม่ วิชาโครงงาน 23 – 4204 – 8501 โครงงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1 2 (0-6-0) สถานประกอบการ หมวดวิชาเลือกเสรี 23 – 4204 - xxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 3 (x-x-x) สถานประกอบการ รวม 20 (3-42-6) อาชีวศกึ ษาบณั ฑิต สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก 45
แผนการศกึ ษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ (ต่อเนอ่ื ง) วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี ชนั้ ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ช่ือวิชา น (ท-ป-ศ) หมายเหตุ หมวดวชิ าเฉพาะ วชิ าเฉพาะพนื้ ฐาน กลุ่มวชิ าพ้ืนฐานทางเทคโนโลยี 23 – 4001 – 2005 การจดั การอตุ สาหกรรม 3 (0-9-0) สถานประกอบการ หมวดวชิ าเฉพาะ วิชาเฉพาะดา้ น กลุ่มวชิ าเทคโนโลยีเฉพาะสาขา 23 – 4204 – 2012 ธุรกิจดิจทิ ลั 3 (0-9-0) สถานประกอบการ หมวดวชิ าเฉพาะ กลุ่มวิชาโครงงาน 23 – 4204 – 8502 โครงงานคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ 2 4 (0-12-0) สถานประกอบการ กลมุ่ วชิ าโครงงาน 23 – 4201 – 8502 โครงงานพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี 2 3 (0-9-0) สถานประกอบการ หมวดวชิ าเลือกเสรี 23 – 4204 - xxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 3 (x-x-x) สถานประกอบการ รวม 13 (0-30-0) รวมตลอด 4 ภาคการศกึ ษา 75 หนว่ ยกติ อาชีวศึกษาบัณฑิต สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก 46
หลกั สตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟา้ (ต่อเนื่อง) (หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2562) วิทยาลัย/คณะ/ภาควชิ า : วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบรุ ี) 1. ชื่อหลกั สูตร ชอื่ ภาษาไทย : หลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยไี ฟฟา้ (ต่อเนื่อง) ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Technology Program in Electrical Technology (Continuing Program) 2. ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า ช่ือเต็ม (ภาษาไทย) : เทคโนโลยีบณั ฑิต (เทคโนโลยีไฟฟา้ ) ช่ือยอ่ (ภาษาไทย) : ทล.บ. (เทคโนโลยไี ฟฟา้ ) ช่ือเต็ม (ภาษาองั กฤษ) : Bachelor of Technology (Electrical Technology) ช่ือย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B. Tech. (Electrical Technology) 3. คณุ สมบัติผเู้ ข้าศกึ ษา สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า สาขาวิชาไฟฟ้ากาลัง หรือสาขาวิชาท่ีสัมพนั ธก์ นั ในสาขาวชิ าทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับสาขาวชิ าไฟฟ้า 4. จานวนหน่วยกิตท่เี รียนตลอดหลักสูตร 75 หนว่ ยกิต 5. อาชีพท่ีสามารถประกอบได้หลงั สาเร็จการศกึ ษา 1. นกั เทคโนโลยปี ฏิบตั ิการทางไฟฟา้ 2. นักฝกึ อบรม และเผยแพร่ทางด้านเทคโนโลยีไฟฟ้า 3. นกั วิเคราะห์ และออกแบบระบบไฟฟา้ ในการเปน็ ผปู้ ระกอบการ และงานอุตสาหกรรม 4. ผู้ดแู ลตรวจสอบ บารุงรักษา และแก้ไขปรบั ปรุงระบบไฟฟ้าในงานอตุ สาหกรรม 5. นกั เทคโนโลยีดา้ นพลังงานไฟฟ้าทดแทน 6. นกั เทคโนโลยีออกแบบและประมาณการงานทางด้านไฟฟ้า 7. ประกอบอาชีพอิสระสว่ นตัว และธุรกิจด้านไฟฟา้ อาชวี ศกึ ษาบณั ฑิต สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก 47
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115