Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook คู่มือ ป ผญ 1 (1-65)

Ebook คู่มือ ป ผญ 1 (1-65)

Published by toonny_nurse, 2022-06-19 14:33:02

Description: Ebook คู่มือ ป ผญ 1 (1-65)

Keywords: Adult Nursing,Nursing Practicum

Search

Read the Text Version

คู่มือการฝกึ ปฏิบัตกิ ารพยาบาล รายวิชา ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลผู้ใหญ่ และผสู้ งู อายุ 1 หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2562) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

คำนำ คู่มือการฝึกปฏิบัติรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ นักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ใช้ในการฝึกปฏิบัติการพยาบาล ณ แหล่งฝึก ให้เป็นไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย อีกทั้งยังเป็นแนวทางในการฝึกให้การพยาบาลผู้ป่วย ภายใต้ความรู้และความเขา้ ใจท่ีถูกต้อง ซึ่งภายในคู่มอื ประกอบดว้ ยรายละเอียดวิชา รูปแบบการเรียนการสอน ประสบการณ์ที่นักศึกษาควรได้รับ รวมถึงการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาให้ครอบคลุมทั้งผลลัพธ์การ เรียนรู้ทั้ง 6 ด้าน เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์อย่างเต็มศักยภาพและเตรียมเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มี คุณภาพตอ่ ไป ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธ์ิ อาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบวิชา 2 มิถุนายน 2565

สารบัญ หนา้ รายละเอยี ดของประสบการณภ์ าคสนาม 1 การจดั การเรียนการสอนภาคปฏิบัติ 12 กำหนดการการปฐมนิเทศและการเตรยี มความพรอ้ มก่อนการฝึกปฏิบตั ิ (Preclinic) 21 กำหนดการศึกษาดงู านโครงการจดั การเรียนการสอนภาคปฏิบตั ิการพยาบาล 26 การประเมนิ นกั ศกึ ษา 29 ตารางฝกึ ปฏิบัติรายวชิ า ปฏิบัตกิ ารพยาบาลผ้ใู หญแ่ ละผู้สงู อายุ 1 35 ระเบียบปฏบิ ัติในการฝกึ ปฏบิ ตั งิ านบนหอผู้ปว่ ยของนักศกึ ษา 37 แนวทางการทำรายงานหรืองานทนี่ กั ศกึ ษาไดร้ ับมอบหมาย 40 แบบบนั ทึกการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล 41 รูปแบบการเขียนรายงานการศึกษาเฉพาะกรณี 61 แบบประเมนิ การเขียนแผนการพยาบาล 76 แบบประเมินผลรายงานกรณีศึกษา (Case Study) 77 แบบประเมินผลการปฏบิ ตั ิการพยาบาล 78

รายละเอยี ดของประสบการณภ์ าคสนาม ช่อื สถาบันอดุ มศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะพยาบาลศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อมลู ทวั่ ไป 1. รหสั และชื่อรายวิชา 4173781 ปฏิบัติการการพยาบาลผูใ้ หญ่และผู้สงู อายุ 1 Adult and Geriatric Nursing Practicum 1 2. จำนวนหน่วยกติ 3 หนว่ ยกิต 3 (0-9-5) 3. หลักสูตรและประเภทรายวชิ า หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) ประเภทรายวชิ า หมวดวชิ าชพี 4. อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบและอาจารย์ผู้สอนภาคปฏบิ ัติ 4.1 อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบวชิ า ผูช้ ่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธิ์ e-mail: [email protected] อาจารยจ์ ุฑาทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ e-mail: [email protected] อาจารย์อ้อฤทัย ธนะคำมา e-mail: [email protected] 4.2 อาจารยผ์ ้สู อนภาคปฏบิ ตั ิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยว์ รางคณา สายสิทธิ์ e-mail: [email protected] อาจารยจ์ ุฑาทพิ ย์ เทพสวุ รรณ์ e-mail: [email protected] อาจารย์อ้อฤทัย ธนะคำมา e-mail: [email protected] อาจารย์นงนุช เชาวนศ์ ิลป์ e-mail: [email protected] อาจารยอ์ ภิชาติ ศริ ิสมบัติ e-mail: [email protected] อาจารยอ์ นญั ญา โสภณนาค e-mail: [email protected] 5. ภาคการศกึ ษา/ชัน้ ปีท่กี ำหนดใหม้ ีการฝึกประสบการณ์ภาคสนามตามแผนการศกึ ษาของหลักสตู ร ภาคการศกึ ษาที่ 1 ช้นั ปีท่ี 3 6. รายวิชาทตี่ ้องเรียนมากอ่ น (Pre-requisites) ไมม่ ี

2 7. รายวิชาทต่ี ้องเรียนพรอ้ มกัน (Co-requisites) ไม่มี 8. วนั ท่จี ดั ทำหรอื ปรับปรงุ รายละเอียดของรายวชิ าประสบการณ์ภาคสนามครงั้ ลา่ สดุ วนั ท่ี 2 มถิ นุ ายน 2565 9. สถานที่ฝกึ ประสบการณ์ภาคสนาม โรงพยาบาลนครปฐม ประกอบด้วย หอผปู้ ว่ ยอายรุ กรรมชาย 1, 2 หอผปู้ ว่ ยอายุรกรรมหญิง 1, 2 หอผู้ปว่ ยศัลยกรรมชาย หอผ้ปู ว่ ยศัลยกรรมหญงิ หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถปุ ระสงค์ 1. จดุ มุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ วางแผน ตัดสินใจทางคลินิคและปฏิบัติการพยาบาลท่ีถูกต้อง และเหมาะสมกับการส่งเสริมสุขภาพผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีภาวะสุขภาพดี และผู้ใหญ่และผู้สูงอายุท่ี เจ็บป่วยในระยะฉุกเฉิน วิกฤต และเร้ือรัง ท้ังด้านอายุรกรรมและศัลยกรรม โดยคำนึงถึงการพยาบาล ต่างวัฒนธรรม ประเด็นและแนวโน้มด้านสิทธิผู้ป่วย สิทธิมนุษยชน กฎหมาย จริยธรรม และ จรรยาบรรณทเี่ ก่ียวขอ้ ง เม่ือสิ้นสดุ การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล นกั ศึกษาสามารถ 1.1 บูรณาการกระบวนการพยาบาลโดยคำนึงถงึ ความตา่ งวัฒนธรรม จริยธรรมและ จรรยาบรรณวชิ าชีพในการดแู ลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยในระบบตา หู คอ จมูก ระบบความสมดุล ของสารน้ำ เกลือแร่ และกรดด่าง ระบบผิวหนัง ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบ โลหิตและนำ้ เหลอื ง ระบบกระดูกและกลา้ มเนื้อ มะเรง็ และนรเี วชวทิ ยาได้ 1.2 ให้การพยาบาลผปู้ ว่ ยผูใ้ หญ่และผู้สงู อายใุ นระยะก่อน ระหวา่ งและหลังผา่ ตดั และส่งเสริม การฟนื้ หายของโรค และให้โภชนบำบัดอยา่ งเหมาะสมได้ 1.3 ใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลและนวตั กรรมท่เี กี่ยวขอ้ งในการดูแลผ้ปู ว่ ยผใู้ หญแ่ ละผ้สู ูงอายแุ ละ สง่ เสริมการฟื้นหายของโรคได้ 1.4 จดั การความปวดในผู้ป่วยผใู้ หญแ่ ละผ้สู ูงอายไุ ด้ 1.5 ใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ลในผู้ป่วยผใู้ หญแ่ ละผู้สงู อายไุ ด้

3 2. วตั ถุประสงค์ของการพัฒนาหรอื ปรับปรงุ ประสบการณภ์ าคสนาม จากผลการประเมินรายวิชาในปีการศึกษา 2564 พบว่ามีด้านท่ีควรนำมาปรับปรุงเพื่อให้เกิด การพัฒนาท่ีดีขึ้นในส่วนของนักศึกษา คือ การเตรียมตัวก่อนเรียน อยู่ระดับปานกลาง µ = 3.97 (σ 0.73) ซึ่งจาก มคอ 6 ในวิชานี้ปีการศึกษา 2564 ได้มีข้อเสนอแนะที่สอดคล้องเพื่อการปรับปรุง พฒั นาไดแ้ ก่ 2.1 เตรียมคู่มือสถานการณ์จำลองเสมือนจริงสำหรับฝึกปฏิบัติทางการพยาบาลและแบบ ประเมินผล ซ่ึงได้จัดเตรียมไว้แล้วเรียบร้อยในรูปแบบของ E-book เพื่อให้เป็นการเตรียมตัวของ นกั ศึกษาก่อนขน้ึ ฝึกปฏบิ ตั ิ 2.2 จัด Preclinic ให้นักศึกษาโดยการเทคนิคการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่และ Active learning รว่ มกับการสอนสาธิตโดยอาจารย์ประจำกลุ่มซ่ึงสอดคล้องกับผลการประเมินด้วยวิธีอ่นื ๆ รวมถึงวิธีการ ในขอ้ 2.1 ร่วมด้วย ท้ังนีไ้ ดว้ างแผนดำเนนิ การจัด Preclinic ในวันที่ 21-24 มิถุนายน 2565 นอกจากน้ีเตรียมแผนสำรองสำหรับการฝึกปฏบิ ัติห้อง NLRC หากเกิดสถานการณ์แพร่ระบาด ของโรคระบาดในอนาคตที่อาจเกิดขนึ้ ได้ รวมถึงปรับสาระวิชาในการฝึกปฏิบัตใิ นมีความทนั สมัย เช่น ผู้ป่วยท่ีมีเป็นโรคติดเช้ือโควิด 19 ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโควิด 19 (long COVID19) โรคอุบัติ ใหม่ การใชย้ าอย่างสมเหตุผล เปน็ ต้น สำหรับประเดน็ ที่โดดเด่นของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562) จาก หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2559) ท่ีรายวิชานำมาพัฒนาปรับปรุงประเด็น หลัก คือ เทคโนโลยดี จิ ิทัลทางด้านสขุ ภาพ ความรอบรู้ในด้านสุขภาพ และการใชย้ าอย่างสมเหตผุ ล การบรู ณาการวิชา การปฏิบตั กิ ารพยาบาลของอาจารย์ การบรกิ าร งานวจิ ัย การทำนุบำรุง วิชาการแก่ ศิลปวฒั นธรรม ภายใน ระหวา่ ง ระหวา่ ง (Faculty Practice) 1.วรางคณา สาย วิชา วชิ า คณะ สังคม สิทธ,ิ์ อนัญญา โสภณ - เนอ้ื หา ประเภทงาน หน่วยงาน นาค, ธญั ญารตั น์ -√ - รายวชิ าการ ถอื ศิล , นรรี ัตน์ คดิ รายวิชา บูรณา ทบ่ี ูรณาการ พยาบาล รัมย,์ นุสรา สรุ วิ งค์ , การ ผู้ใหญ่ 1 ใน ณัฐกญั ญ์ ทองจลิ า, พยาบาล การ ประเด็นการ ปัณฑารีย์ นิติยะ ผูใ้ หญ่ 1 ประเมนิ โยธนิ และคณะ. การ (รา่ ง) ศช ภาวะสุขภาพ (2565). ผลของการ และให้ ใช้แอพพลเิ คชนั การ ปอ้ งกนั บทความ ศญ คำแนะนำใน ช่วยฟื้นคืนชีพกรณี การปอ้ งกัน แผล วิจยั เรอื่ งการ อญ1, 2 โรคในระบบ ทางเดนิ กดทับ ดูแลผปู้ ่วย อช 1,2 ตามแนวทาง SSIET bundle เพ่อื ปอ้ งกัน แผลกดทับ

4 ภายใน ระหว่าง ระหวา่ ง การปฏิบตั กิ ารพยาบาลของอาจารย์ การบริการ งานวจิ ัย การทำนุบำรุง วิชา วิชา คณะ (Faculty Practice) วชิ าการแก่ ศลิ ปวัฒนธรรม พบผู้ที่มภี าวะหัวใจ เนอื้ หา ประเภทงาน หนว่ ยงาน สังคม หยดุ เต้นนอก บรู ณา ที่บูรณาการ โรงพยาบาลใน การ อาหาร ระบบ นกั ศึกษาหลักสูตร ทางเดนิ พยาบาลศาสตร ปสั สาวะ บณั ฑิตช้ันปีท่ี 1 ระบบโลหติ มหาวิทยาลัยราชภฏั และน้ำเหลือง นครปฐม. รายงาน ระบบกระดูก สบื เนือ่ งการประชมุ และ วชิ าการระดับชาติ กล้ามเนื้อ ครงั้ ท่ี 14 “การวิจยั มะเรง็ และ เชงิ สขุ ภาพ สร้างดุลย นรีเวชวิทยา ภาพชวี ิตในยคุ Next Normal” 7-8 กรกฎาคม 2565 มหาวทิ ยาลัยราช ภฏั นครปฐม. 2. วรางคณา สาย สทิ ธ,์ิ ออ้ ฤทัย ธนะ คำมา, พนิตนนั ท์ แซ่ ล้มิ , ดนุพล หยอย สระ, ปฐมพร พิศวง, ธนากร เสรฐิ ภูเขียว , ธนารตั น์ อรรคติ และคณะ. (2565). ผลของการใช้ หนังสอื อเิ ลคทรอนคิ ส์เรือ่ ง โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ในกลมุ่ ประชาชนวยั ผูใ้ หญ่. รายงาน สืบเนอ่ื งการประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้งั ที่ 14 “การวจิ ยั เชงิ สขุ ภาพ สรา้ งดุลย ภาพชีวิตในยุค Next Normal” 7-8

5 ภายใน ระหว่าง ระหวา่ ง การปฏบิ ัติการพยาบาลของอาจารย์ การบริการ งานวจิ ัย การทำนบุ ำรงุ วชิ า วชิ า คณะ (Faculty Practice) วชิ าการแก่ ศลิ ปวฒั นธรรม กรกฎาคม 2565 เนอื้ หา ประเภทงาน หน่วยงาน สังคม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ บูรณา ที่บรู ณาการ นครปฐม. การ หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ กลยุทธ/์ วธิ กี ารสอน กลยุทธ์/วิธกี ารประเมินผล 1. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ผลการเรียนร้หู ลกั - มีความซ่ือสัตย์ มวี ินัย ตรงตอ่ เวลา (1) - orientation: ปฐมนิเทศรายวิชา - สงั เกตพฤตกิ รรมการ - มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสงั คม และทำข้อตกลงร่วมกันในการข้อ ปฏบิ ตั ิการพยาบาล (2) ควรปฏิบัตใิ นการฝกึ ปฏิบตั ิงาน - ประเมินการปฏิบตั ิการ - แสดงออกถงึ การเคารพ คุณคา่ และสง่ งาน พยาบาล ความแตกตา่ ง และศกั ด์ิศรีของความเปน็ - case study and practice: ใน (ประเมินทกุ วนั ของการฝึก มนษุ ย์ของผู้อื่นและตนเอง (4) ผู้ป่วยที่ได้รับมอบหมายรายบุคคล ปฏิบตั ิการพยาบาล) - แสดงออกถึงการมีจิตสาธารณะ โดยสอดแทรกเนื้อหาการคำนึงถึง คำนึงถงึ ส่วนรวมและสังคม (5) ปั จ เจ ก บุ ค ค ล สิ ท ธิ ผู้ ป่ ว ย - แสดงออกถึงการมีทศั นคติทีด่ ตี อ่ วิชาชีพ จรรยาบรรณและกฎหมายวิชาชีพ การพยาบาล ตระหนกั ในคณุ คา่ วชิ าชีพ การพิทักษ์สิทธ์ิผู้ใช้บริการ ในการ และสิทธขิ องพยาบาล (6) ประชุมปรึกษาก่อนและหลังการ ปฏิบัติ งาน ระหว่างฝึกปฏิบัติการ ผลการเรียนรรู้ อง พยาบาล การตรวจเยี่ยมทางการ - สามารถใชด้ ลุ ยพินจิ ในการจัดการ พยาบาล และการสอนทางคลินิก ประเดน็ หรอื ปญั หาทางจริยธรรม (3) - Experiential learning: โ ด ย ผู้ ส อ น แ ล ะ นั ก ศึ ก ษ าร่ว ม กั น ว า ง แ ผ น ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย ผู้ ให ญ่ แ ล ะ ผสู้ ูงอายุเปน็ รายบุคคล - case and group discussion เปิดโอกาสให้นักศึกษาอภิปราย กลุ่มกรณีศึกษาท่ีมีประเด็นปัญหา เชิงจริยธรรม และให้นักศึกษา สะท้อนคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับ พ ฤ ติ ก ร ร ม สุ ข ภ า พ แ ล ะ ก า ร

6 ผลลพั ธ์การเรียนรู้ กลยทุ ธ/์ วธิ ีการสอน กลยทุ ธ/์ วิธีการประเมนิ ผล ปฏิบัติการพยาบาลของตนเองเพื่อ ก า ร ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ พั ฒ น า ต น เอ ง ต่อไป - nursing round ร่ ว ม กั บ นักศึกษา และทีมพยาบาล รวม ถึงสหสาขาวิชาชพี - bedside teaching / accidental teaching - Practice กับกรณศี กึ ษาท่ีได้รับ มอบหมายใหด้ แู ลเปน็ รายบุคคล 2. ด้านความรู้ ผลการเรียนร้หู ลกั - มคี วามรแู้ ละความเข้าใจในสาระสำคญั - orientation, demonstration, - สังเกตพฤติกรรมการ ของศาสตร์ทางวิชาชีพการพยาบาลและ simulation ปฏบิ ตั ิการพยาบาลทกุ วัน โดย การผดงุ ครรภ์อย่างกวา้ งขวางและเปน็ เตรียมความพร้อมด้านความรู้และ ประเมนิ การปฏิบัตกิ าร ระบบ (2) ทักษะการปฏบิ ัติการพยาบาลก่อน พยาบาล - มีความรู้และตระหนั กในงาน วิจัย ก า ร ฝึ ก ป ฏิ บั ติ โด ย ก า ร ใช้ - ประเมินการเขียนรายงาน ทางการพยาบาลท่ีเป็นปัจจุบัน และ สถานการณจ์ ำลองเสมือนจริง ราย งาน ผ ล ก ารพ ย าบ าล สามารถนำผลการวิจัยมาใช้ในการปฏิบัติ ร า ย ง า น ก ร ณี ศึ ก ษ า ทุ ก ค ร้ั ง ทางการพยาบาล (4) - case management ของการสง่ งานตามกำหนด - มีความรแู้ ละความเข้าใจในการบรหิ าร โดยผู้สอนและนักศึกษาร่วมกัน - ประเมินความรู้และทักษะ และการจดั การทางการพยาบาล (5) วางแผน ให้ ท บ ท วน ค วาม รู้ที่ การปฏิบตั กิ ารพยาบาล โดย - มคี วามรูแ้ ละความเขา้ ใจกฎหมาย เก่ียวข้องกับการพยาบาลผู้ป่วย วิธกี ารสอบแบบ Objective วชิ าชีพและกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง หลกั ผู้ใหญ่และผู้สงู อายุ Structured Clinical จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ และสิทธิ - case management, Examination (OSCE) และ ผู้ป่วย (6) Experiential learning: โดย แบบ Modified Essay - มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเลอื กใช้ ผู้สอนและนกั ศกึ ษาร่วมกัน Question ในวันสดุ ทา้ ยของ เทคโนโลยดี จิ ิทัลได้เหมาะสมกบั ประเภท วางแผนดูแลผปู้ ่วยผู้ใหญ่และ สัปดาห์สดุ ท้ายของการฝกึ การใช้งานการสอ่ื สารและผรู้ บั สาร (7) ผ้สู งู อายุเปน็ รายบุคคล ปฏบิ ัติ - case assignment มอบหมาย - ประเมินการนำเสนอรายงาน ผลการเรียนรูร้ อง ให้ เขี ย น แ ผ น ก า ร พ ย า บ า ล กรณีศึกษาในสัปดาห์สุดท้าย - มคี วามรอบร้แู ละเขา้ ใจในสาระสำคญั ประจำวัน (daily care plan) ของการฝกึ ปฏบิ ตั ิ ของศาสตร์ทเ่ี ปน็ พืน้ ฐานชวี ิตท้งั ด้าน - Pre-Post conference สงั คมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เปิดโอกาสให้นักศึกษาเช่ือมโยง คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ ค ว า ม รู้ เชิ ง ท ฤ ษ ฎี กั บ ก า ร รวมถงึ ศาสตร์อ่นื ทส่ี ่งเสริมทกั ษะศตวรรษ ปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์

7 ผลลัพธ์การเรียนรู้ กลยทุ ธ์/วธิ ีการสอน กลยุทธ์/วธิ ีการประเมนิ ผล ท่ี 21 ตลอดถงึ ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ จรงิ (1) - feedback and reflection ทั้ ง - มีความรแู้ ละเข้าใจในระบบสขุ ภาพของ ระหว่างการฝึกปฏิบัติและหลังการ ประเทศ และปัจจัยทม่ี ผี ลต่อระบบสุขภาพ ฝกึ ปฏิบัติ (3) - case study and presentation มอบหมายให้ทำ รายงานกรณีศกึ ษา และนำเสนอ - Cooperative learning: ผู้สอน และนักศึกษาร่วมกันวางแผนให้ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศสืบค้นข้อมูล รวมถึงนวัตกรรมท่ีเกี่ยวข้องในการ พยาบาลผูป้ ว่ ยผูใ้ หญ่และผสู้ ูงอายุ - nursing round ร่วมกับ นักศกึ ษา และทีมพยาบาล รวม ถงึ สหสาขาวิชาชพี - bedside teaching / accidental teaching - Practice กบั กรณีศกึ ษาท่ไี ด้รับ มอบหมายให้ดูแลเปน็ รายบคุ คล 3. ดา้ นทักษะทางปัญญา ผลการเรยี นรู้หลัก - สามารถสบื คน้ ข้อมูลจากแหล่งท่ี - orientation, demonstration, - สงั เกตพฤติกรรมการ หลากหลาย วเิ คราะห์ และเลือกใชข้ อ้ มูลใน simulation ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทกุ วนั โดย การอ้างองิ เพ่อื พัฒนาความรแู้ ละแก้ไข เตรียมความพร้อมด้านความรู้และ ประเมนิ ปฏิบตั ิการพยาบาล ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (1) ทักษะการปฏบิ ัติการพยาบาลก่อน - ประเมินการเขียนรายงาน - สามารถคิดอยา่ งเปน็ ระบบ คิดสรา้ งสรรค์ ก า ร ฝึ ก ป ฏิ บั ติ โด ย ก า ร ใช้ ผลการพ ยาบาล รายงาน คิดอยา่ งมีวจิ ารญาณ เพื่อหาแนวทางใหม่ สถานการณจ์ ำลองเสมือนจริง กรณีศึกษาทุกคร้ังของการส่ง ในการแกไ้ ขปญั หาการปฏิบัตงิ าน และบอก - case management งานตามกำหนด ถึงผลกระทบจากการแกไ้ ขปัญหาได้ (2) โดยผู้สอนและนักศึกษาร่วมกัน - ประเมนิ ความรู้และทักษะ - สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วางแผน ให้ ท บ ท วน ค วาม รู้ที่ การปฏิบตั กิ ารพยาบาล โดย ทางการวจิ ยั และนวัตกรรมในการแกไ้ ข เก่ียวข้องกับการพยาบาลผู้ป่วย วิธกี ารสอบแบบ Objective ปัญหาและการศึกษาปญั หาทางสขุ ภาพ (3) ผใู้ หญ่และผู้สูงอายุ Structured Clinical ผลการเรยี นรู้รอง - case management, Examination (OSCE) และ - ไมม่ ี Experiential learning: โดย แบบ Modified Essay ผู้สอนและนักศกึ ษาร่วมกัน Question ในวันสดุ ท้ายของ วางแผนดูแลผู้ปว่ ยผูใ้ หญแ่ ละ สัปดาห์สุดทา้ ยของการฝึก

8 ผลลัพธ์การเรยี นรู้ กลยุทธ/์ วธิ ีการสอน กลยุทธ์/วิธกี ารประเมินผล 4. ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ผู้สูงอายุเป็นรายบคุ คล ปฏิบตั ิ บุคคลและความสามารถในการ รบั ผิดชอบ - case assignment มอบหมาย - ประเมินการนำเสนอรายงาน ผลการเรียนรูห้ ลกั - มปี ฏสิ ัมพนั ธอ์ ยา่ งสร้างสรรคก์ ับ ให้ เขี ย น แ ผ น ก า ร พ ย า บ า ล กรณีศึกษาในสัปดาห์สุดท้าย ผู้รับบริการ ผรู้ ่วมงาน และผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ ง (1) ประจำวัน (daily care plan) ของการฝึกปฏบิ ัติ - สามารถทำงานเป็นทีมในบทบาทผ้นู ำ และสมาชิกในบริบทหรือสถานการณ์ที่ - Pre-Post conference เปิดโอกาสให้นักศึกษาเช่ือมโยง ค ว า ม รู้ เชิ ง ท ฤ ษ ฎี กั บ ก า ร ปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์ จรงิ - feedback and reflection ทั้ ง ระหว่างการฝึกปฏิบัติและหลังการ ฝกึ ปฏบิ ัติ - case study and presentation มอบหมายให้ทำ รายงานกรณีศึกษา และนำเสนอ - Cooperative learning: ผู้สอน และนักศึกษาร่วมกันวางแผนให้ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศสืบค้นข้อมูล รวมถึงนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องในการ พยาบาลผู้ป่วยผใู้ หญ่และผ้สู ูงอายุ - nursing round ร่วมกับ นักศึกษา และทมี พยาบาล รวม ถึงสหสาขาวิชาชพี - bedside teaching / accidental teaching - Practice กับกรณีศกึ ษาทไ่ี ด้รบั มอบหมายให้ดแู ลเปน็ รายบคุ คล - orientation, demonstration, - สั ง เก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร simulation ป ฏิ บั ติ ก ารพ ยาบ าล โด ย เตรียมความพร้อมด้านความรู้และ ป ร ะ เมิ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร ทกั ษะการปฏบิ ัติการพยาบาลก่อน พยาบาล ในทุกวันของการฝึก ก า ร ฝึ ก ป ฏิ บั ติ โด ย ก า ร ใช้ ปฏิบตั ิการพยาบาลร่วมกบั ทีม

9 ผลลัพธ์การเรียนรู้ กลยุทธ/์ วธิ กี ารสอน กลยทุ ธ์/วธิ กี ารประเมินผล หลากหลาย (2) - สามารถแสดงความคิดเหน็ ของตนเอง สถานการณจ์ ำลองเสมอื นจรงิ และการทำงานกลุ่มในการ อย่างเปน็ เหตุเป็นผล และเคารพใน ความคดิ ของผู้อ่ืน (3) - case management นำเสนอรายงานกรณีศึกษา ผลการเรียนรูร้ อง แสดงออกถงึ การมสี ว่ นร่วมในการพฒั นา โดยผู้สอนและนักศึกษาร่วมกัน ร่ ว ม กั บ เพ่ื อ น ใน ก ลุ่ ม ใน วิชาชีพและสังคมอยา่ งตอ่ เน่อื ง (4) วางแผน ให้ ท บ ท วน ค วาม รู้ท่ี สัปดาห์สุดท้ายของการฝึก เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้ป่วย ปฏบิ ัติ ผู้ใหญแ่ ละผสู้ งู อายุ - case management, Experiential learning: โดย ผสู้ อนและนักศึกษารว่ มกนั วางแผนดแู ลผูป้ ่วยผู้ใหญแ่ ละ ผ้สู งู อายุเป็นรายบคุ คล - case assignment มอบหมาย ให้ เขี ย น แ ผ น ก า ร พ ย า บ า ล ประจำวนั (daily care plan) - Pre-Post conference เปิดโอกาสให้นักศึกษาเชื่อมโยง ค ว า ม รู้ เชิ ง ท ฤ ษ ฎี กั บ ก า ร ปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์ จรงิ - case study and presentation มอบหมายใหท้ ำ รายงานกรณีศกึ ษา และนำเสนอ - Cooperative learning: ผู้สอน และนักศึกษาร่วมกันวางแผนให้ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศสืบค้นข้อมูล รวมถึงนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องในการ พยาบาลผู้ป่วยผใู้ หญแ่ ละผู้สูงอายุ - nursing round รว่ มกบั นักศึกษา และทีมพยาบาล รวม ถึงสหสาขาวชิ าชพี - bedside teaching / accidental teaching - Practice กับกรณศี กึ ษาทีไ่ ดร้ ับ มอบหมายใหด้ แู ลเปน็ รายบุคคล

10 ผลลัพธ์การเรยี นรู้ กลยุทธ/์ วิธกี ารสอน กลยุทธ/์ วธิ กี ารประเมินผล 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยฯี ผลการเรียนรหู้ ลกั - สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศไดอ้ ย่าง - case study and - สงั เกตพฤติกรรมการ มีประสิทธิภาพและมีจริยธรรม (3) presentation มอบหมายใหท้ ำ ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล โดย - สามารถสื่อสารเพ่ือให้ผู้รับบริการได้รับ รายงานกรณศี ึกษา และนำเสนอ ประเมินผลการปฏิบตั ิการ บรกิ ารสขุ ภาพอยา่ งปลอดภัย (4) - Cooperative learning: ผู้สอน พยาบาล ในสัปดาห์สุดทา้ ย ผลการเรียนรรู้ อง และนักศึกษาร่วมกันวางแผนให้ใช้ ของการฝกึ ปฏิบัติ - สามารถประยกุ ต์ใชห้ ลักทาง เทคโนโลยีสารสนเทศสืบค้นข้อมูล - ประเมินการเขียนรายงาน คณิตศาสตร์ และสถิติในการปฏิบัตงิ าน รวมถึงนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องในการ ผลการพ ยาบาล รายงาน (1) พยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญแ่ ละผู้สูงอายุ กรณีศึกษาทุกคร้ังของการส่ง - สามารถส่อื สารด้วยภาษาไทยและ - nursing round ร่วมกบั งานตามกำหนด ภาษาอังกฤษได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ (2) นักศึกษา และทีมพยาบาล รวม - ประเมนิ ความรู้และทักษะ ถึงสหสาขาวชิ าชพี การปฏิบัติการพยาบาล โดย - bedside teaching / วธิ ีการสอบแบบ Objective accidental teaching Structured Clinical - Practice กบั กรณีศกึ ษาทไี่ ด้รบั Examination (OSCE) และ มอบหมายใหด้ ูแลเปน็ รายบุคคล แบบ Modified Essay Question ในวันสดุ ทา้ ยของ สปั ดาหส์ ดุ ทา้ ยของการฝกึ ปฏิบัติ 6. ด้านทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ ผลการเรียนรู้หลกั - สามารถปฏบิ ตั ิการพยาบาลและการผดุง - orientation, demonstration, - สังเกตพฤตกิ รรมการ ครรภ์อยา่ งเปน็ องค์รวมเพ่ือความ simulation ปฏิบัติการพยาบาล โดย ปลอดภยั ของผูร้ ับบริการ ภายใต้หลักฐาน เตรียมความพร้อมด้านความรู้และ ประเมินปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล เชิงประจกั ษ์ กฎหมาย และจรรยาบรรณ ทักษะการปฏิบัติการพยาบาลก่อน - ประเมินการเขียนรายงาน วิชาชพี (1) ก า ร ฝึ ก ป ฏิ บั ติ โด ย ก า ร ใช้ ผลการพ ยาบาล รายงาน - สามารถใชก้ ระบวนการพยาบาลในการ สถานการณจ์ ำลองเสมือนจริง กรณีศึกษาทุกคร้ังของการส่ง ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ (2) - case management งานตามกำหนด - ปฏิบตั ิการพยาบาลและการผดุงครรภ์ โดยผู้สอนและนักศึกษาร่วมกัน - ประเมินความรู้และทักษะ ดว้ ยความเมตตา กรณุ า และเอ้ืออาทร วางแผน ให้ ท บ ท วน ค วาม รู้ที่ การปฏบิ ัติการพยาบาล โดย โดยคำนงึ ถงึ สิทธ์ผิ ูป้ ่วยและความ เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้ป่วย วิธีการสอบแบบ Objective หลากหลายทางวัฒนธรรม (3) ผู้ใหญแ่ ละผูส้ ูงอายุ Structured Clinical - สามารถปฏบิ ัติทักษะการพยาบาลได้ทัง้ - case management, Examination (OSCE) และ

11 ผลลพั ธ์การเรียนรู้ กลยุทธ/์ วธิ ีการสอน กลยทุ ธ/์ วิธกี ารประเมนิ ผล ในสถานการณจ์ ำลองและในสถานการณ์ จรงิ (4) Experiential learning: โดย แบบ Modified Essay ผลการเรยี นรู้รอง ไมม่ ี ผ้สู อนและนกั ศึกษาร่วมกัน Question ในวนั สุดท้ายของ วางแผนดูแลผู้ปว่ ยผู้ใหญ่และ สปั ดาหส์ ดุ ท้ายของการฝกึ ผ้สู งู อายุเป็นรายบคุ คล ปฏิบตั ิ - case assignment มอบหมาย ให้ เขี ย น แ ผ น ก า ร พ ย า บ า ล ประจำวนั (daily care plan) - Pre-Post conference เปิดโอกาสให้นักศึกษาเช่ือมโยง ค ว า ม รู้ เชิ ง ท ฤ ษ ฎี กั บ ก า ร ปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์ จริง - feedback and reflection ทั้ ง ระหว่างการฝึกปฏิบัติและหลังการ ฝกึ ปฏิบตั ิ - case study and presentation มอบหมายใหท้ ำ รายงานกรณศี กึ ษา และนำเสนอ - Cooperative learning: ผู้สอน และนักศึกษาร่วมกันวางแผนให้ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศสืบค้นข้อมูล รวมถึงนวัตกรรมท่ีเก่ียวข้องในการ พยาบาลผู้ป่วยผูใ้ หญ่และผู้สูงอายุ - nursing round รว่ มกับ นกั ศึกษา และทมี พยาบาล รวม ถึงสหสาขาวิชาชพี - bedside teaching / accidental teaching - Practice กบั กรณศี ึกษาทไ่ี ด้รับ มอบหมายให้ดแู ลเป็นรายบคุ คล

12 หมวดที่ 4 ลักษณะและการดำเนนิ การ 1. คำอธบิ ายโดยทั่วไปของประสบการณภ์ าคสนามหรือคำอธบิ ายรายวชิ า ฝกึ ปฏบิ ัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ทม่ี ีภาวะสขุ ภาพดีและเจบ็ ปว่ ย โดยใช้กระบวนการ พยาบาลในการดูแลระยะฉุกเฉิน วิกฤต และเร้ือรัง อายุรกรรมและศัลยกรรม ในระบบตา หู คอ จมูก ระบบความสมดลุ ของสารน้ำ เกลือแร่ และกรดด่าง ระบบผิวหนัง ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดิน ปัสสาวะ ระบบโลหิตและน้ำเหลือง ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ มะเร็ง และนรีเวชวิทยา การพยาบาล ก่อน ระหว่างและหลังผ่าตัด ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องในการดูแล การส่งเสริมการ ฟ้ืนตัว การจัดการความปวด การใช้ยาอย่างสมเหตุผล โภชนบำบัด การพยาบาลต่างวัฒนธรรม ประเด็นและแนวโน้มด้านสทิ ธผิ ูป้ ่วย สิทธิมนุษยชน กฎหมาย จริยธรรม และจรรยาบรรณท่ีเก่ียวขอ้ ง 2. การจัดกจิ กรรม 2.1. กิจกรรมนกั ศึกษา 1. ปฏิบตั ิการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล ไดแ้ ก่ 1) ประเมินภาวะสุขภาพด้วยการรวบรวมข้อมลู จากการตรวจร่างกาย ผลการตรวจ ต่างๆ การซกั ประวตั ติ าม 11 แบบแผน 2) วินจิ ฉยั ปญั หาทางการพยาบาล โดยการวเิ คราะห์ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการประเมนิ ภาวะ สขุ ภาพ รวมถงึ วัตถปุ ระสงคก์ ารพยาบาลและเกณฑ์การประเมนิ ผล 3) วางแผนการพยาบาลทส่ี อดคล้องกบั ปญั หาทางการพยาบาล 4) ปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาลที่วางแผนไว้ และปรึกษากบั อาจารย์ ผู้สอนภาคปฏิบัตหิ รอื อาจารย์พเิ ศษภาคปฏิบตั เิ มือ่ มีการเปลย่ี นแปลง 5) ประเมินผลการพยาบาลทกุ คร้งั หลังใหก้ ารพยาบาล 6) บันทึกกจิ กรรมการพยาบาลในแบบบนั ทกึ ทางการพยาบาล 2. ฝึกทักษะการปฏิบัติการพยาบาลท่ีไม่ซับซ้อนแก่ผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ระยะ ฉกุ เฉิน เฉยี บพลัน วกิ ฤต และเรือ้ รัง เช่น 2.1.2.1 ประเมินและจัดการกับอาการหรือปญั หาที่พบได้บ่อย ไดแ้ ก่ 1) ความปวด 2) ความเครียด 3) การเกดิ แผลและการตดิ เช้อื 4) ความไมส่ มดุลของกรดด่างและอเิ ลคโตรไลท์ 2.1.2.2 ปฏิบัติการพยาบาลผ้ปู ว่ ยผใู้ หญ่และผู้สงู อายุ ระยะฉุกเฉิน เฉียบพลัน วิกฤต และเรอ้ื รงั ทีม่ ีความผดิ ปกติและภาวะของโรค ดงั น้ี 1) ระบบทางเดินอาหาร

13 2) ระบบผิวหนัง โครงร่างและกลา้ มเนื้อ 3) ตา หู คอ จมกู 4) นรีเวชวิทยา 5) โรคมะเรง็ 6) ระบบเลอื ดและนำ้ เหลอื ง 2.1.2.3 ให้ความรู้และคำแนะนำเก่ียวกับโรคและการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยผู้ใหญ่และ ผ้สู ูงอายุ ระยะฉกุ เฉนิ เฉยี บพลนั วิกฤต และเรอื้ รงั และครอบครัว 2.1.3 สาธติ ย้อนกลับการสอนทางคลินิก (Clinical teaching) เม่ืออาจารยผ์ ู้สอนภาคปฏบิ ัตไิ ด้ แนะนำและสาธติ ดังนี้ 2.1.3.1. การพยาบาลผปู้ ่วยศลั ยกรรม ไดแ้ ก่ หอผูป้ ว่ ยศลั ยกรรมหญงิ ศลั ยกรรมชาย 1) การตดั ไหม หรอื off staple 2) การเตรยี มผปู้ ว่ ยกอ่ นผ่าตัด และการดแู ลผปู้ ว่ ยหลงั ผ่าตดั 3) การดแู ลแผลผา่ ตดั ทมี่ ที อ่ ระบาย 2.1.3.2. การพยาบาลผู้ป่วยอายุรกรรม ได้แก่ อายรุ กรรมหญงิ 1, 2 และอายุรกรรมชาย 1, 2 1) การจดั ท่าระบายเสมหะ 2) การดแู ลผปู้ ว่ ยที่ได้รบั ออกซเิ จนวิถที างต่างๆ 2.1.4 รว่ มประชุมก่อนและหลังการปฏิบตั ิการพยาบาล 2.1.5 ศึกษาผปู้ ่วยเฉพาะกรณี และนำเสนอเป็นรายบุคคล 2.1.6 ศึกษาดงู านสถานการณจ์ ริงที่หน่วยงานห้องผา่ ตดั หอ้ งพักฟน้ื นรเี วชกรรม ตาหูคอ จมกู และออรโ์ ธปิดิกส์ 2.1.7 ทำงานรว่ มกับสหสาขาวชิ าชีพ และนำเสนอกรณีศึกษารายบคุ คลโดยใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศทท่ี ันสมยั 2.2. กิจกรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรมการเรียนการสอน ผสู้ อน ตามมาตรฐานผลลัพธก์ าร เรยี นรู้ - การฝึกทักษะปฏิบัติการพยาบาลในผู้ป่วยกลุ่ม 1.ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา TQF1 (1,2,4,5,6) ต่าง ๆ ได้แก่ การพยาบาลผู้ป่วยทางอายุรกรรม สายสิทธิ์ TQF2 (2,5,6,7) ศัลยกรรม ศัลยกรรมกระดูก ตา หู คอ จมูก การ 2.อาจารย์นงนุช เชาวน์ศิลป์/ TQF3 (1,2,3) พยาบาลผู้ป่วยนรีเวชกรรม การพยาบาลผู้ป่วยใน อาจารย์อภิชาติ ศิรสิ มบัติ TQF4 (1,2,3) ห้องผ่าตัด และการพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดใน 3.อาจารยจ์ ฑุ าทพิ ย์ TQF5 (3,4) ห้องพักฟื้น (ปฏิบัติการพยาบาลตา หู คอ จมูก เทพสุวรรณ์ /อาจารย์อนัญญา TQF6 (1,2,3,4)

14 กจิ กรรมการเรยี นการสอน ผ้สู อน ตามมาตรฐานผลลพั ธ์การ เรียนรู้ การ และการพยาบาลนรีเวชกรรม การพยาบาล โสภณนาค ในห้องผ่าตัด อบรมและ ฝึกปฏิบัติ ณ ห้อง NLRC 4.อาจารยอ์ ้อฤทยั ธนะคำมา โดยวิทยากรผู้เช่ียวชาญจากแผนกตา หู คอ จมูก ห้องผ่าตดั และนรีเวชกรรม) - การเขียนแผนการพยาบาลประจำวัน อาจารยจ์ ุฑาทิพย์ TQF1 (1) เทพสุวรรณ์ /อาจารย์อนัญญา TQF2 (2,4,5,6) โสภณนาค TQF3 (1,2,3) อาจารยอ์ ้อฤทยั ธนะคำมา TQF5 (2,4) TQF6 (2) - การศึกษาผปู้ ่วยกรณศี กึ ษา การจัดทำรายงาน 1.ผ้ชู ่วยศาสตราจารยว์ รางคณา TQF1 (1,2,4,5,6) และการนำเสนอกรณศี กึ ษาในการประชุมทาง สายสิทธ์ิ TQF2 (2,4,5,6,7) คลนิ ิกเป็นรายบุคคล 2.อาจารย์นงนุช เชาวน์ศิลป์/ TQF3 (1,2,3) อาจารยอ์ ภชิ าติ TQF4 (1,2,3) ศิริสมบัติ TQF5 (3,4) 3.อาจารยจ์ ฑุ าทพิ ย์ TQF6 (2) เทพสุวรรณ์ /อาจารย์อนัญญา โสภณนาค 4.อาจารยอ์ ้อฤทยั ธนะคำมา - การประเมินความรู้และทักษะปฏิบัติ หลังการ 1.ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา TQF1 (1,2,4,5,6) ฝึกปฏิบัติ ด้วยวิธีสอบวัดความรู้ก่อนหลังการฝึก สายสิทธ์ิ TQF2 (2,4,5,6,7) ปฏิบัติ และการประเมินทักษะการปฏิบัติการ 2.อาจารย์นงนุช เชาวน์ศิลป์/ TQF3 (1,2,3) พยาบาลดว้ ยวิธกี ารสอบ OSCE และ MEQ อาจารยอ์ ภิชาติ ศิรสิ มบตั ิ TQF4 (3) 3.อาจารยจ์ ฑุ าทิพย์ TQF5 (4) เทพสุวรรณ์ /อาจารย์อนัญญา TQF6 (1,2,3,4) โสภณนาค 4.อาจารยอ์ อ้ ฤทัย ธนะคำมา 3. รายงานหรอื งานท่นี ักศกึ ษาได้รับมอบหมาย รายงานหรอื งานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย กำหนดส่ง แผนการพยาบาลผปู้ ่วยประจำวัน ส่งทกุ เชา้ วันทมี่ ีการปฏิบตั ิงาน และรวบรวมสง่ ทุกฉบบั ทกุ วนั ศกุ ร์ รายงานกรณีศกึ ษาผปู้ ่วยเฉพาะรายในหอผู้ป่วยทขี่ ้ึนฝึก กลุ่ม 1 (ศัลยกรรมหญิง) วนั ท่ี 29 สงิ หาคม 2565 ปฏบิ ัติงานและนำเสนอตามวนั ท่ีกำหนด กลมุ่ 2 (ศลั ยกรรมชาย) วันที่ 29 สงิ หาคม 2565

15 รายงานหรอื งานท่ีได้รับมอบหมาย กำหนดส่ง กลมุ่ 3 (อายุรกรรมหญงิ 1) วันท่ี 29 สงิ หาคม 2565 สอบ OSCE กลมุ่ 4 (อายุรกรรมหญิง) วันท่ี 25 กรกฎาคม2565 นำเสนอ Case study กลุ่ม 5 (อายุรกรรมชาย2) วันท่ี 25 กรกฎาคม2565 ศึกษาดูงานสถานการณ์จริง กลมุ่ 6 (ศลั ยกรรมชาย) วนั ท่ี 25 กรกฎาคม2565 1. ห้องผ่าตัดและห้องพกั ฟืน้ กลุ่ม 7 (ศัลยกรรมหญงิ ) วนั ที่ 25 กรกฎาคม2565 กลมุ่ 1, 2, 3 วันท่ี 26 สงิ หาคม 65 2. นรเี วช กระดกู และตาหคู อจมกู กลุ่ม 4, 5, 6, 7 วนั ที่ 22 กรกฎาคม 65 กลุ่ม 1, 2, 3 วันที่ 26 สงิ หาคม 65 กลุ่ม 4, 5, 6, 7 วนั ท่ี 22 กรกฎาคม 65 กลุ่ม 1, 2 วนั ที่ 24 สงิ หาคม 65 กลมุ่ 3 วนั ที่ 25 สงิ หาคม 65 กลุ่ม 4,5 วันท่ี 11 กรกฎาคม 65 กลุ่ม 6,7 วันที่ 12 กรกฎาคม 65 กล่มุ 1, 2 วันที่ 25 สิงหาคม 65 กลมุ่ 3 วนั ท่ี 24 สิงหาคม 65 กลุ่ม 4,5 วันที่ 12 กรกฎาคม 65 กลมุ่ 6,7 วันท่ี 11 กรกฎาคม 65 กรณไี ม่ได้ฝกึ ทโ่ี รงพยาบาลเน่ืองจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคอุบตั ใิ หมแ่ ละโรคระบาด ปัจจุบัน เชน่ โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 เป็นต้น แผนการฝึกทีห่ อ้ ง NLRC จำนวน 2 สปั ดาห์ = 10 วนั สมรรถนะ กจิ กรรมการฝึก รายละเอียด จำนวน ความพรอ้ ม สดั ส่วนการ TQF ท่ี เงือ่ นไขกรณี หลกั ทจ่ี ำเปน็ ปฏบิ ัตทิ างการ กจิ กรรมการฝึก ชว่ั โมง ของอุปกรณ์ ประเมิน ประเมนิ กิจกรรมการ ของรายวชิ า ปฏิบัตทิ ดแทน ท่ีฝึก และของใช้ใน กิจกรรมการ ฝกึ ปฏบิ ตั ไิ ม่ พยาบาลที่ ปฏิบตั ิ กิจกรรรมการ ฝกึ ปฏบิ ัติ ทดแทนการฝกึ (ระบุ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ทดแทน สามารถ ช่ัวโมง) ทดแทน (ระบุ ทดแทนได้ ปฏิบตั ใิ น อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ น โรงพยาบาล NLRCหรือ (ระบุ วิธกี าร) อ่นื ๆ) 1. บรู ณาการ ฝึกท่ี - ใ ช้ ตั ว อ ย่ า ง 35 - หนุ่ ผ้ใู หญ่ ประเมนิ จาก TQF1 ประสบการณ์ กระบวนการ ห้องปฏบิ ตั ิการ (1,2,4,5,6) ท่ีต้อง พยาบาลใน พยาบาล NLRC สถานการณ์จาก ชว่ั โมง - หุน่ ท่มี ี - แบบ TQF2 เพิม่ เตมิ ที่ การดูแล โดยใช้ (2,5,6,7) โรงพยาบาล ผ้ใู หญแ่ ละ - VDO clip / ก ร ณี ศึ ก ษ า (5 วนั ) บาดแผล ประเมินการ TQF3 - การศึกษาดู ผ้สู งู อายุท่ี you tube (1,2,3) งานห้อง ส ถ า น ก า ร ณ์ ประเภทต่างๆ ปฏบิ ัตกิ าร จำลอง หรือจาก - อปุ กรณ์ พยาบาล VDO ท่ีเกี่ยวกับ สำหรับประเมิน (60%)

16 สมรรถนะ กจิ กรรมการฝกึ รายละเอยี ด จำนวน ความพรอ้ ม สดั สว่ นการ TQF ท่ี เง่อื นไขกรณี หลักทจี่ ำเปน็ ปฏบิ ตั ิทางการ กจิ กรรมการฝกึ ชว่ั โมง ของอุปกรณ์ ประเมิน ประเมนิ กจิ กรรมการ ของรายวิชา ปฏิบตั ทิ ดแทน ท่ีฝึก และของใชใ้ น กจิ กรรมการ ฝึกปฏบิ ตั ิไม่ พยาบาลที่ ปฏิบัติ กิจกรรรมการ ฝึกปฏิบตั ิ TQF4 เจบ็ ปว่ ยใน ทดแทนการฝกึ ผู้ป่วยผู้ใหญ่และ (ระบุ ฝึกปฏิบตั ิ ทดแทน (1,2,3) สามารถ ระบบตา หู ผู้ สู ง อ า ยุ ที่ ช่วั โมง) ทดแทน (ระบุ TQF5 ทดแทนได้ คอ จมูก ปฏบิ ตั ิใน เจ็บป่วยฉุกเฉิน อุปกรณท์ ใี่ ชใ้ น - แบบ (3,4) ระบบความ โรงพยาบาล เฉียบพลัน และ NLRCหรอื ประเมนิ การ TQF6 (ระบุ สมดุลของ เร้ือรัง ทางด้าน เขยี นรายงาน (1,2,3,4) วธิ กี าร) สารนำ้ เกลอื - กรณศี กึ ษา อายุร-กรรมและ อ่นื ๆ) แผนการ แร่ และกรด - สถานการณ์ ศัลยกรรม ความ และตรวจ พยาบาล ผ่าตัด และ ด่าง ระบบ จำลอง ผิ ด ป ก ติ ท า ง น รี รา่ งกาย (15%) หอผู้ป่วยออร์ ผิวหนัง ระบบ - pre and post เวชกรรม ตา หู (stethoscope, - แบบ โธปิดิกส์ ทางเดิน conference คอ จมูก รวมถึง EKG 12 ประเมินการ - การดูแล อาหาร ระบบ - nursing round ใน ร ะ ย ะ ก่ อ น leads, v/s เขยี นรายงาน ผปู้ ว่ ยท่ีได้รับ ทางเดิน - รบั สง่ เวร แ ล ะ ห ลั ง ผ่ า ตั ด monitor, กรณีศึกษา การถ่วง ปัสสาวะ - อภิปรายกลมุ่ โดยให้นักศึกษา pulse (15%) นำ้ หนกั ระบบโลหติ - feedback and ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ดังน้ี oximeter) - การสอบ - การบูรณา และนำ้ เหลือง reflection 1) ซั ก ป ร ะ วั ติ - อปุ กรณ์ให้ OSCE, MEQ การ ระบบกระดูก รับฟังการบรรยาย และตรวจ สารนำ้ ทาง (10%) กระบวนการ และกล้ามเนื้อ พเิ ศษจาก ร่างกายในระบบ หลอดเลอื ดดำ พยาบาลใน มะเรง็ และ ผู้เช่ียวชาญเร่อื ง รา่ งกาย (IV set, ผู้ป่วยผู้ใหญ่ นรเี วชวิทยา หอ้ งผ่าตดั 2) ร ว บ ร ว ม infusion และผู้สงู อายุ ได้ ห้องพกั ฟ้นื หอ ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร pump, ใน ผู้ป่วยหู ตา คอ ซั ก ป ร ะ วั ติ แ ล ะ medicut) สถานการณ์ จมกู และหอ ตรวจร่างกายมา - อุปกรณ์ จรงิ ผู้ป่วยนรีเวช วิ เค ร าะ ห์ เป็ น สำหรับทำแผล ใน ปั ญ ห า ท า ง ก า ร และตดั ไหม โรงพยาบาล พยาบาล - อุปกรณก์ าร ใชร้ ะยะเวลา 3) วางแผนการ ใหย้ าวถิ ีทาง 15 วนั พยาบาล ตา่ งๆ 4) ป ฏิ บั ติ ก า ร - อุปกรณใ์ ห้ พยาบาลตาม เลือดและ แผนท่ีวางไว้ตาม ส่วนประกอบ ปั ญ ห า ท า ง ก า ร ของเลือด พยาบาล รวมถึง - อุปกรณ์ ค ว า ม สุ ข ส บ า ย สำหรบั การถ่วง ต่างๆ ดึงน้ำหนัก - อื่นๆ เช่น Foley’s cath, NG tube

17 สมรรถนะ กิจกรรมการฝกึ รายละเอียด จำนวน ความพร้อม สัดส่วนการ TQF ท่ี เงือ่ นไขกรณี หลกั ที่จำเป็น ปฏบิ ัตทิ างการ กจิ กรรมการฝึก ชวั่ โมง ของอุปกรณ์ ประเมิน ประเมนิ กิจกรรมการ ของรายวชิ า ปฏิบตั ทิ ดแทน ทีฝ่ กึ และของใชใ้ น กิจกรรมการ ฝึกปฏิบตั ไิ ม่ พยาบาลที่ ปฏบิ ตั ิ กจิ กรรรมการ ฝกึ ปฏบิ ัติ ทดแทนการฝกึ 5) ติ ด ต า ม (ระบุ ฝึกปฏบิ ตั ิ ทดแทน สามารถ ประเมินผล ชว่ั โมง) ทดแทน (ระบุ ทดแทนได้ ปฏบิ ตั ใิ น - เขียนแผนการ อุปกรณท์ ี่ใช้ใน ประเมินจาก โรงพยาบาล พ ยาบ าล 21 NLRCหรือ - แบบ (ระบุ ประจำวัน ชวั่ โมง ประเมินการ วิธีการ) - เขียนรายงาน (3 วัน) อน่ื ๆ) ปฏิบัติการ 2. ใ ห้ ก า ร ฝึกที่ กรณีศึกษา พยาบาล TQF1 ประสบการณ์ พ ยาบ าล หอ้ งปฏิบัตกิ าร ใช้ตวั อยา่ ง - หุ่นผู้ใหญ่ (40%) (1,2,4,5,6) ที่ต้อง ผู้ ป่ ว ย ผู้ ใ ห ญ่ พยาบาล NLRC กรณีศกึ ษาให้ - หุ่นที่มี TQF2 เพม่ิ เตมิ ที่ และผู้สูงอายุ โดยใช้ นกั ศึกษาฝึกทำ บาดแผล (2,5,6,7) โรงพยาบาล ในระยะก่อน - VDO clip / หัตถการ ดงั นี้ ประเภทตา่ งๆ TQF3 ในการดูแล ระหว่างและ you tube ดา้ นศลั ยกรรม - อปุ กรณ์ (1,2,3) ผู้ป่วยผใู้ หญ่ ห ลั ง ผ่ า ตั ด - กรณศี กึ ษา ได้แก่ สำหรบั ประเมนิ TQF4 และผู้สงู อายุ และสง่ เสริม - clinical 1) การตัดไหม และตรวจ (1,2,3) ระยะก่อน การฟ้ื นหาย teaching หรอื off staple ร่างกาย TQF5 ระหว่างและ ของโรค และ - feedback and 2) การเตรยี ม (stethoscope, (3,4) หลงั ผ่าตัด ใ ห้ โ ภ ช น reflection ผ้ปู ว่ ยกอ่ นผ่าตดั EKG 12 TQF6 การจดั การ บ ำบั ดอย่าง และการดูแล leads, v/s (1,2,3,4) ความปวด เหมาะสมได้ ผู้ปว่ ยหลงั ผา่ ตัด monitor, และการใชย้ า 3. จั ด ก า ร 3) การดูแลแผล pulse อย่างสม ความปวดใน ผ่าตัดทมี่ ที อ่ oximeter) เหตุผลใน ผู้ ป่ ว ย ผู้ ใ ห ญ่ ระบาย - อปุ กรณ์ให้ สถานการณ์ และผู้สูงอายุ 4) การดูแล สารน้ำทาง จรงิ ใน ได้ ผปู้ ่วยทไี่ ด้รบั การ หลอดเลอื ดดำ โรงพยาบาล 4. ใช้ยาอย่าง ถว่ งดงึ น้ำหนัก (IV set, ใช้ระยะเวลา สมเหตุผลใน (traction) infusion 5 วนั (รวม ผู้ ป่ ว ย ผู้ ใ ห ญ่ ด้านอายุรกรรม pump, กบั สมรรถนะ และผู้สูงอายุ ได้แก่ medicut) ท่ี 1 ได้) ได้ 1) การจดั ทา่ - อุปกรณ์ ระบายเสมหะ สำหรบั ทำแผล 2 ) ก า ร ดู แ ล และตดั ไหม ผู้ ป่ ว ย ท่ี ได้ รั บ - อุปกรณ์การ ออกซิเจนวิถีทาง ใหย้ าวิถีทาง ต่างๆ ต่างๆ

18 สมรรถนะ กิจกรรมการฝกึ รายละเอยี ด จำนวน ความพรอ้ ม สดั สว่ นการ TQF ท่ี เงอื่ นไขกรณี หลกั ท่ีจำเปน็ ปฏบิ ตั ิทางการ กิจกรรมการฝึก ช่ัวโมง ของอุปกรณ์ ประเมนิ ประเมิน กิจกรรมการ ของรายวิชา ปฏบิ ัตทิ ดแทน ทฝี่ ึก และของใชใ้ น กจิ กรรมการ ฝกึ ปฏบิ ตั ิไม่ พยาบาลท่ี ปฏบิ ัติ กิจกรรรมการ ฝกึ ปฏบิ ัติ TQF5 5. ใช้ ทดแทนการฝึก ใช้ตวั อยา่ ง (ระบุ ฝกึ ปฏิบตั ิ ทดแทน (3,4) สามารถ เทคโนโลยี กรณศี ึกษา ช่ัวโมง) ทดแทน (ระบุ ทดแทนได้ ดิจิทลั และ ปฏิบัติใน สถานการณ์ อปุ กรณ์ที่ใช้ใน ประเมนิ จาก นวัตกรรมท่ี โรงพยาบาล จำลอง หรือ 14 NLRCหรือ - ความถกู ต้อง (ระบุ เกี่ยวข้องใน VDO ให้ ชั่วโมง และคณุ ภาพ วธิ ีการ) การดูแล ฝกึ ท่ี นักศึกษาสบื ค้น (2 วัน) อ่นื ๆ) ของการเขยี น ผู้ปว่ ยผู้ใหญ่ ห้องปฏิบตั กิ าร และใช้ - อุปกรณ์ให้ รายงานผล และผสู้ งู อายุ พยาบาล NLRC เทคโนโลยดี ิจิทัล ออกซเิ จน การพยาบาล และ โดยใช้ และนวัตกรรมที่ - อปุ กรณ์ รายงาน สง่ เสริมการ - VDO clip / เก่ยี วขอ้ งในการ สำหรับการถว่ ง กรณศี กึ ษา ฟื้นหายของ you tube ดแู ลผ้ปู ว่ ยผู้ใหญ่ ดึงนำ้ หนกั ตามแบบ โรคได้ - กรณีศกึ ษา และผู้สงู อายุ - อื่นๆ เชน่ ประเมิน - feedback and และ Foley’s cath, แผนการ reflection ส่งเสริมการฟื้น NG tube พยาบาลและ - การสืบคน้ ด้วย หายของโรค - หนุ่ แบบประเมนิ การใชเ้ ทคโนโลยี - อุปกรณ์ต่างๆ กรณศี ึกษา สารสนเทศที่ ในการให้การ (30%) ทันสมยั พยาบาล หมายเหตุ การประเมนิ ผล การฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นหอ้ ง NLRC (TQF 2,3,4,5,6) คิดเป็น 90% คุณธรรม จริยธรรม (TQF 1) คดิ เปน็ 10% 100% รวม

19 4. การติดตามผลการเรยี นร้กู ารฝึกประสบการณภ์ าคสนามของนกั ศกึ ษา 4.1 อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบตั ิตรวจบันทึกทางการพยาบาลผู้ป่วย พรอ้ มทั้งสะท้อนให้นักศึกษา รบั ทราบข้อบกพรอ่ ง เพ่อื นำไปแก้ไข 4.2 อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติตรวจแผนการพยาบาลผู้ป่วยประจำวัน พร้อมท้ังสะท้อนให้ นักศกึ ษารับทราบขอ้ บกพร่องและนำไปแกไ้ ขในวันถัดไป 4.3 อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติรับฟังการนำเสนอกรณีศึกษา และตรวจรายงาน พร้อมให้ ข้อเสนอแนะ 4.4 อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติฟังการนำเสนอ และตรวจรายงานกรณีศึกษาท่ีมีการอ้างอิง บทความวชิ าการหรอื บทความวจิ ยั ทง้ั ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ 4.5 อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติประเมินผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบประเมินผล การฝึกปฏบิ ัติการพยาบาล 5. หนา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบของอาจารยพ์ ิเศษภาคปฏบิ ตั ิ (Preceptor) 5.1 ปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาเกย่ี วกบั กฎระเบียบ ข้อปฏิบัตขิ องหน่วยงาน 5.2 แนะนำสถานท่ี เครอื่ งมอื อปุ กรณ์ของหน่วยงานทสี่ ามารถนำมาใช้เพือ่ การฝึกประสบการณภ์ าคสนาม 5.3 แนะนำบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งหรือทตี่ อ้ งทำงานร่วมกนั 5.4 ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ประเมินการทำงานของนักศึกษาฝึกประสบการณภ์ าคสนาม 5.5 ประสานงาน ประชุมกับอาจารย์ท่ีรับผิดชอบวิชา อาจารย์นิเทศเพ่ือให้เห็นสิ่งที่ควร ปรับปรงุ ในการฝึกประสบการณภ์ าคสนาม 5.6 รว่ มประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา 6. หนา้ ทแี่ ละความรับผดิ ชอบของอาจารย์สอนภาคปฏิบตั ิ 6.1 จดั ตารางการฝกึ ปฏบิ ัติงาน 6.2 ปฐมนิเทศรายวิชา กฎระเบียบ แนวปฏิบัติต่าง ๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ว่าด้วยการฝึก ปฏิบัตงิ าน 6.3 ประสานงานกับแหล่งฝึก ช้ีแจงรายละเอียดเกี่ยวกับรายวชิ าและความต้องการการพัฒนา นกั ศึกษาของรายวิชา 6.4 มอบหมายกรณีศึกษาและผู้ป่วยเป็นรายบุคคลให้นักศึกษาดูแลร่วมกับพยาบาลประจำหอ ผปู้ ่วย 6.4 ฝึกประสบการณ์ภาคสนามให้นักศึกษาได้มีทักษะ ประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุในหอผู้ป่วย/หน่วยงานที่รับผิดชอบ โดยใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น สาธิต ให้คำแนะนำปรึกษา การปฏิบัติการพยาบาล การประชุมก่อนและหลังการปฏิบัติการพยาบาล การอภิปรายประเด็น จรยิ ธรรมในการปฏิบตั ิการพยาบาล 6.6 ร่วมกิจกรรมกบั นกั ศึกษา ไดแ้ ก่ การรับส่งเวร การตรวจเย่ียมทางการพยาบาล

20 6.7 ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพ่ือให้ นักศกึ ษาได้พฒั นาตนเอง 6.8 อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติเป็นแบบอย่างท่ีดแี ก่นักศึกษาในการปฏิบัติการพยาบาลและการ ดูแลผปู้ ่วยรวมทั้งการติดต่อสอื่ สารและการทำงานร่วมกบั ทีม 6.9 ใหก้ ารพยาบาลแก่ผรู้ ับบรกิ ารตามสถานการณ์ 7. การเตรียมการในการแนะแนวและชว่ ยเหลอื นักศกึ ษา 7.1 ปฐมนเิ ทศรายวิชากอ่ นการฝกึ ปฏิบัตงิ าน จดั เตรยี มหอผปู้ ว่ ย/ หนว่ ยงาน และประสานงาน กับแหลง่ ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ 7.2 เตรยี มความพรอ้ มของนกั ศกึ ษาก่อนฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี 7.3 ปฐมนเิ ทศแหลง่ ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ 8. สิง่ อำนวยความสะดวกและการสนบั สนนุ ท่ีต้องการจากสถานทที่ ีจ่ ัดประสบการณ์ภาคสนาม / สถานประกอบการ 8.1 มีห้องสมดุ สำหรบั การศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง 8.2 มีหอ้ ง/สถานท่ีสำหรบั การประชุมกอ่ นและหลงั การปฏิบตั กิ ารการพยาบาล 8.3 มีหนงั สอื วารสารทางการพยาบาล-แพทยใ์ นหอผู้ปว่ ย หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรยี มการ 1. การกำหนดสถานท่ีฝึก สถานท่ีฝึกประสบการณ์ภาคสนาม คือ โรงพยาบาลนครปฐม ประกอบด้วย หอผู้ป่วยอายุรกรรม ชาย 2 หอผู้ป่วยอายุรกรรมหญงิ 1,2 หอผปู้ ่วยศัลยกรรมชาย หอผ้ปู ่วยศลั ยกรรมหญิง 2. การเตรียมนกั ศึกษา 2.1 ปฐมนเิ ทศรายวชิ าเพอ่ื ช้ีแจงรายละเอยี ด รวมท้งั เตรยี มความพรอ้ มก่อนข้นึ ฝึกปฏิบตั ิ 2.2 ประเมินความพรอ้ มดา้ นความรู้ และทกั ษะของนกั ศึกษากอ่ นข้ึนฝึกปฏิบัติ 2.3 จัดให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการพยาบาลในห้องปฏิบัติการทางการพยาบาลก่อนเริ่มต้นฝึก ปฏบิ ัติ

21 กำหนดการการปฐมนเิ ทศและการเตรยี มความพร้อมกอ่ นการฝกึ ปฏบิ ัติ (Preclinic) วนั ท่ี 20-24 มถิ ุนายน 2565 สำหรบั กลุ่มท่ี 4-7 สถานท่ี หอ้ งปฏิบตั กิ ารพยาบาล NU 404 วันเวลา หัวขอ้ ผูร้ ับผดิ ชอบ วนั ที่ 20 มถิ ุนายน 2565 08.30-09.00 น ลงทะเบียน นางสาววกิ านตด์ า โหม่งมาตย์ 09.00-10.00 น. ปฐมนิเทศรายวชิ าการฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผู้ใหญแ่ ละผู้สูงอายุ 1 ผู้ชว่ ยศาสตราจารยว์ รางคณา - กฎระเบยี บการฝกึ ปฏบิ ัติการพยาบาล และการปฏิบัติตวั สายสทิ ธ์ิ - รายละเอยี ดรายวิชา ประสบการณก์ ารฝกึ ปฏบิ ตั ิ อาจารยจ์ ฑุ าทิพย์ เทพสวุ รรณ์ - งานท่มี อบหมาย และการประเมินผล 10.00-12.00 น. การเตรียมฝึกปฏิบัติด้วยการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง ผชู้ ่วยศาสตราจารย์วรางคณา (Simulation Based Learning: SBL) สายสทิ ธิ์ -รูปแบบการฝกึ ปฏบิ ัติ -การเตรยี มและการแบง่ กลุ่มยอ่ ยเตรียมฝกึ ปฏบิ ตั ิ 12.00-13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 น. การป้องกันการแพร่กระจายเช้ือโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อาจารยจ์ ุฑาทิพย์ เทพสุวรรณ์ (Coronavirus Disease 2019; COVID-19) อาจารย์อนญั ญา โสภณนาค 15.00-16.00 น. หลกั ของ 2P Safety อาจารย์นงนุช เชาวนศ์ ลิ ป์ วนั ท่ี 21 มถิ ุนายน 2565 08.30-09.00 น ลงทะเบียน นางสาววิกานต์ดา โหมง่ มาตย์ 09.00-12.00 น. ทบทวนกระบวนการพยาบาล การซักประวัติตามแบบแผนกอร์ดอน อาจารยอ์ อ้ ฤทัย ธนะคำมา การตรวจรา่ งกาย และการบนั ทึกการตรวจร่างกาย อาจารย์อภิชาติ ศิริสมบัติ 12.00-13.00 น. พกั รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. ฝกึ ปฏิบตั ทิ างการพยาบาล (ห้อง NLRC) (แบ่งนกั ศึกษา 4 กลุ่ม เข้าฐานละ 1 กล่มุ ๆ ละ 40 นาท)ี ฐาน 1 การดูดเสมหะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธ์ิ ฐาน 2 การพ่นยา อาจารยอ์ อ้ ฤทยั ธนะคำมา ฐาน 3 การใส่ Foley’s catheter อาจารยน์ งนุช เชาวนศ์ ิลป์ อาจารยอ์ ภิชาติ ศริ ิสมบัติ ฐาน 4 การใส่ NG tube และการ feeding อาจารยจ์ ฑุ าทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ อาจารยอ์ นญั ญา โสภณนาค วนั ที่ 22 มิถนุ ายน 2565 08.30-09.00 น ลงทะเบียน นางสาววกิ านตด์ า โหมง่ มาตย์ 09.00-12.00 น. ฝกึ ปฏบิ ัตทิ างการพยาบาล (ห้อง NLRC)

22 วันเวลา หัวขอ้ ผู้รับผดิ ชอบ (แบง่ นักศกึ ษา 4 กลมุ่ เขา้ ฐานละ 1 กลมุ่ ๆ ละ 40 นาที) ฐาน 1 การทำความสะอาดแผล (แผลปดิ แผลเปดิ แผลท่อระบาย) ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสิทธ์ิ ฐาน 2 การทำแผลเจาะคอ อาจารย์ออ้ ฤทยั ธนะคำมา ฐาน 3 การเจาะเลอื ดและใหส้ ารน้ำทางหลอดเลือดดำ อาจารย์จฑุ าทพิ ย์ เทพสวุ รรณ์ อาจารย์อภชิ าติ ศริ ิสมบตั ิ ฐาน 4 การประเมนิ คลืน่ ไฟฟ้าหวั ใจ 12 leads และการแปลผล อาจารยน์ งนุช เชาวนศ์ ลิ ป์ อาจารยอ์ นัญญา โสภณนาค 12.00-13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. ฝกึ ปฏิบัติทางการพยาบาล (ห้อง NLRC) ฝึกปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง ฐาน 1 การทำความสะอาดแผล (แผลปดิ แผลเปิด แผลท่อระบาย) ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา การดูดเสมหะ สายสิทธ์ิ ฐาน 2 การทำแผลเจาะคอ การพ่นยา อาจารยอ์ ้อฤทยั ธนะคำมา ฐาน 3 การเจาะเลอื ดและใหส้ ารน้ำทางหลอดเลือดดำ อาจารย์จุฑาทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ การใส่ NG tube และการ feeding อาจารยอ์ ภชิ าติ ศิริสมบตั ิ ฐาน 4 การประเมนิ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ 12 leads และการแปลผล อาจารยน์ งนุช เชาวน์ศิลป์ การใส่ Foley’s catheter อาจารย์อนญั ญา โสภณนาค วนั ท่ี 23 มถิ นุ ายน 2565 08.30-09.00 น ลงทะเบียน นางสาววกิ านตด์ า โหมง่ มาตย์ 09.00-12.00 น. ฝึกปฏิบัติด้วยการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation ผู้ชว่ ยศาสตราจารยว์ รางคณา Based Learning: SBL) สายสิทธ์ิ กลมุ่ 4 อาจารย์อ้อฤทยั ธนะคำมา อาจารย์จฑุ าทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ กลุ่ม 5 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธิ์ อาจารยน์ งนุช เชาวน์ศิลป์ กลุ่ม 6 อาจารย์นงนชุ เชาวนศ์ ิลป์ และอาจารย์อภชิ าติ ศิรสิ มบตั ิ อาจารยอ์ ้อฤทยั ธนะคำมา กลมุ่ 7 อาจารยจ์ ฑุ าทิพย์ เทพสวุ รรณ์ และอาจารย์อนญั ญา อาจารย์อภิชาติ ศริ ิสมบตั ิ โสภณนาค อาจารย์อนญั ญา โสภณนาค 12.00-13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 น. ฝึกปฏิบัติด้วยการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation อาจารยป์ ระจำกล่มุ Based Learning: SBL) กลุม่ 4 อาจารยอ์ อ้ ฤทยั ธนะคำมา กลมุ่ 5 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา สายสิทธิ์ กลมุ่ 6 อาจารยน์ งนชุ เชาวน์ศลิ ป์ และอาจารยอ์ ภิชาติ ศริ ิสมบัติ กลมุ่ 7 อาจารย์จฑุ าทิพย์ เทพสุวรรณ์ และอาจารยอ์ นญั ญา

23 วนั เวลา หวั ข้อ ผ้รู ับผดิ ชอบ โสภณนาค 15.00-16.00 น. สรุปฝึกปฏิบัติด้วยการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation อาจารยป์ ระจำกลุ่ม Based Learning: SBL) วนั ที่ 24 มถิ ุนายน 2565 08.30-09.00 น ลงทะเบยี น นางสาววิกานตด์ า โหม่งมาตย์ 09.00-11.00 น. ฝึกปฏิบัติด้วยการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา Based Learning: SBL) (ต่อ) สายสทิ ธ์ิ กลมุ่ 4 อาจารยอ์ อ้ ฤทัย ธนะคำมา อาจารยน์ งนชุ เชาวน์ศลิ ป์ กลุ่ม 5 ผูช้ ่วยศาสตราจารยว์ รางคณา สายสทิ ธิ์ อาจารย์อ้อฤทยั ธนะคำมา กลุ่ม 6 อาจารยน์ งนุช เชาวนศ์ ิลป์ อาจารย์อภชิ าติ ศริ ิสมบัติ กลุ่ม 7 และอาจารยอ์ ภชิ าติ ศิริสมบตั ิ 11.00-12.00 น. สรุปฝึกปฏิบัติด้วยการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation อาจารย์ประจำกลุ่ม Based Learning: SBL) 12.00-13.00 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. พบอาจารยป์ ระจำกลมุ่ อาจารย์ประจำกลมุ่ กลุ่ม 4 อาจารยอ์ อ้ ฤทยั ธนะคำมา กลุม่ 5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธิ์ กลุ่ม 6 อาจารยน์ งนุช เชาวนศ์ ลิ ป์ และอาจารยอ์ ภิชาติ ศริ สิ มบตั ิ กลมุ่ 7 อาจารยจ์ ฑุ าทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ และอาจารยอ์ นญั ญา โสภณนาค (ผูช้ ่วยศาสตราจารยว์ รางคณา สายสิทธ)ิ์

24 กำหนดการการปฐมนิเทศและการเตรียมความพรอ้ มกอ่ นการฝกึ ปฏบิ ัติ (Preclinic) วนั ที่ 25-29 กรกฎาคม 2565 (วนั หยุด 28-29 กรกฎาคม 2565) สำหรับกล่มุ ท่ี 1-3 สถานที่ ห้องปฏิบัติการพยาบาล NU 404 วนั เวลา หัวข้อ ผู้รบั ผดิ ชอบ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2565 08.30-09.00 น ลงทะเบยี น นางสาววกิ านต์ดา โหม่งมาตย์ 09.00-10.00 น. ปฐมนิเทศรายวชิ าการฝกึ ปฏิบตั ิการพยาบาลผู้ใหญ่และผสู้ งู อายุ 1 ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ รางคณา - กฎระเบยี บการฝึกปฏบิ ัติการพยาบาล และการปฏบิ ตั ิตวั สายสิทธ์ิ - รายละเอยี ดรายวิชา ประสบการณก์ ารฝึกปฏิบตั ิ อาจารย์จฑุ าทิพย์ เทพสวุ รรณ์ - งานท่ีมอบหมาย และการประเมนิ ผล การเตรี ยมฝึ กปฏิ บั ติ ด้ วยการใช้ สถานการณ์ จำลองเสมื อนจริ ง (Simulation Based Learning: SBL) -รปู แบบการฝึกปฏิบตั ิ -การเตรยี มและการแบ่งกลุ่มยอ่ ยเตรียมฝึกปฏิบัติ 10.00-12.00 น. ทบทวนกระบวนการพยาบาล การซักประวัติตามแบบแผนกอร์ดอน อาจารย์อภิชาติ ศิริสมบัติ การตรวจร่างกาย และการบนั ทกึ การตรวจร่างกาย อาจารย์อ้อฤทยั ธนะคำมา 12.00-13.00 น. พกั รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 น. การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อาจารย์อนัญญา โสภณนาค (Coronavirus Disease 2019; COVID-19) อาจารย์จุฑาทิพย์ เทพสุวรรณ์ 15.00-16.00 น. หลกั ของ 2P Safety อาจารยน์ งนชุ เชาวน์ศิลป์ วันที่ 26 กรกฎาคม 2565 08.30-09.00 น ลงทะเบียน นางสาววิกานตด์ า โหมง่ มาตย์ 09.00-12.00 น. ฝึกปฏบิ ตั ิทางการพยาบาล (ห้อง NLRC) (แบ่งนักศกึ ษา 4 กลุม่ เข้าฐานละ 1 กลมุ่ ๆ ละ 40 นาท)ี ฐาน 1 การดดู เสมหะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธิ์ ฐาน 2 การพน่ ยา อาจารย์ออ้ ฤทัย ธนะคำมา ฐาน 3 การใส่ Foley’s catheter อาจารยน์ งนชุ เชาวนศ์ ิลป์ อาจารย์อภชิ าติ ศิริสมบัติ ฐาน 4 การใส่ NG tube และการ feeding อาจารยจ์ ุฑาทิพย์ เทพสุวรรณ์ อาจารย์อนญั ญา โสภณนาค 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. ฝึกปฏบิ ตั ิทางการพยาบาล (หอ้ ง NLRC) (แบง่ นกั ศกึ ษา 4 กลุ่ม เข้าฐานละ 1 กลุ่ม ๆ ละ 40 นาท)ี ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา ฐาน 1 การทำความสะอาดแผล (แผลปิด แผลเปดิ แผลท่อระบาย) สายสทิ ธ์ิ

25 วนั เวลา หวั ข้อ ผู้รบั ผดิ ชอบ ฐาน 2 การทำแผลเจาะคอ อาจารยอ์ อ้ ฤทัย ธนะคำมา ฐาน 3 การเจาะเลือดและให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ อาจารยจ์ ุฑาทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ อาจารยอ์ ภชิ าติ ศริ ิสมบตั ิ ฐาน 4 การประเมนิ คลืน่ ไฟฟา้ หวั ใจ 12 leads และการแปลผล อาจารยน์ งนุช เชาวน์ศลิ ป์ อาจารยอ์ นัญญา โสภณนาค วนั ท่ี 27 กรกฎาคม 2565 08.30-09.00 น ลงทะเบียน นางสาววกิ านตด์ า โหม่งมาตย์ 09.00-12.00 น. ฝึกปฏิบัติด้วยการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา Based Learning: SBL) สายสิทธิ์ กลุ่ม 4 อาจารย์อ้อฤทยั ธนะคำมา อาจารย์จฑุ าทพิ ย์ เทพสวุ รรณ์ กลุม่ 5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสิทธิ์ อาจารยน์ งนุช เชาวนศ์ ิลป์ กลมุ่ 6 อาจารยน์ งนุช เชาวน์ศิลป์ และอาจารยอ์ ภิชาติ ศริ ิสมบตั ิ อาจารยอ์ อ้ ฤทัย ธนะคำมา กลมุ่ 7 อาจารย์จฑุ าทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ และอาจารยอ์ นัญญา อาจารย์อภชิ าติ ศิรสิ มบัติ โสภณนาค อาจารย์อนญั ญา โสภณนาค 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.00 น. ฝึกปฏิบัติด้วยการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation อาจารย์ประจำกลุ่ม Based Learning: SBL) กลุม่ 4 อาจารยอ์ ้อฤทยั ธนะคำมา กลุ่ม 5 ผู้ช่วยศาสตราจารยว์ รางคณา สายสิทธิ์ กลุ่ม 6 อาจารย์นงนชุ เชาวนศ์ ิลป์ และอาจารยอ์ ภิชาติ ศริ ิสมบัติ กลมุ่ 7 อาจารย์จุฑาทิพย์ เทพสุวรรณ์ และอาจารย์อนัญญา โสภณนาค 14.00-15.00 น. สรุปฝึกปฏิบัติด้วยการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation อาจารย์ประจำกลุ่ม Based Learning: SBL) 15.00-16.00 น. พบอาจารยป์ ระจำกลุ่ม อาจารย์ประจำกลมุ่ กลมุ่ 4 อาจารยอ์ ้อฤทัย ธนะคำมา กลุ่ม 5 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธิ์ กลมุ่ 6 อาจารย์นงนชุ เชาวน์ศลิ ป์ และอาจารยอ์ ภชิ าติ ศิริสมบัติ กลมุ่ 7 อาจารยจ์ ฑุ าทิพย์ เทพสุวรรณ์ และอาจารยอ์ นญั ญา โสภณนาค

26 กำหนดการศกึ ษาดงู านโครงการจดั การเรยี นการสอนภาคปฏิบตั ิการพยาบาล กิจกรรมศึกษาดงู านรายวชิ าปฏิบัตกิ ารพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผู้สงู อายุ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม กล่มุ ท่ี 1, 2 (นักศึกษา 16 คน) วันท่ี 24 สิงหาคม 2565 กลุม่ ท่ี 3 (นกั ศกึ ษา 8 คน) วนั ที่ 25 สิงหาคม 2565 กลุม่ ท่ี 4, 5 (นักศกึ ษา 16 คน) วนั ท่ี 11 กรกฎาคม 2565 กลมุ่ ท่ี 6, 7 (นักศกึ ษา 16 คน) วนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2565 แผนกหอ้ งผา่ ตัดและหอ้ งพกั ฟ้ืน โรงพยาบาลนครปฐม เวลา หัวข้อการศึกษาดูงาน วทิ ยากร หน่วยงาน 08.00-09.00 ลงทะเบยี น นางเพชรฎา หน่วยงานห้องผา่ ตัด น. ศึกษาสถานการณจ์ รงิ การพยาบาล ห้วยเรไร แอชตัน ผ้ปู ว่ ยในระยะก่อนการผ่าตัด และ ขณะผ่าตัด 09.00-12.00 ศึกษาสถานการณจ์ รงิ บทบาทของ นางเพชรฎา หน่วยงานหอ้ งผ่าตดั น. พยาบาลทมี่ หี นา้ ทใี่ นห้องผ่าตดั ห้วยเรไร แอชตัน เพิ่มขน้ึ เช่น พยาบาลวิสญั ญี พยาบาลประจำหอ้ งผ่าตดั (Operating room nurse) พยาบาล ส่งเครือ่ งมอื (Scrub nurse / Sterile nurse) พยาบาลช่วยทมี ผา่ ตัดหรอื พยาบาลช่วยรอบนอก Circulating nurse) ศกึ ษาสถานการณจ์ ริงในหน่วยงาน ผ่าตดั 12.00-13.00 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั 13.00-14.00 การพยาบาลผ้ปู ่วยในระยะหลังผา่ ตดั นางนนั ทวรรณ หน่วยงานหอ้ งพกั ฟ้นื น. แสงโสภติ 14.00-16.00 ศึกษาสถานการณจ์ รงิ บทบาทของ นางนันทวรรณ หน่วยงานหอ้ งพกั ฟื้น น. พยาบาลวิสัญญีและศกึ ษา แสงโสภิต สถานการณจ์ ริงในหนว่ ยงานห้องพัก ฟน้ื หมายเหตุ กลุ่ม 1,4,6 ศึกษาดูงานแผนกหอ้ งผา่ ตดั เวลา 09.00-12.00 น. ศกึ ษาดูงานแผนกหอ้ งพักฟน้ื เวลา 13.00-16.00 น. กลุม่ 2,5,7 ศึกษาดงู านแผนกห้องผ่าตดั เวลา 13.00-16.00 น. ศกึ ษาดงู านแผนกหอ้ งพกั ฟ้ืน เวลา 09.00-12.00 น.

27 กำหนดการศกึ ษาดูงานโครงการจดั การเรยี นการสอนภาคปฏิบัตกิ ารพยาบาล กจิ กรรมศึกษาดงู านรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผ้สู งู อายุ 1 กลุ่มที่ 1, 2 (นักศึกษา 16 คน) วนั ที่ 25 สิงหาคม 2565 กลมุ่ ที่ 3 (นกั ศกึ ษา 8 คน) วันท่ี 24 สิงหาคม 2565 กลมุ่ ที่ 4, 5 (นกั ศกึ ษา 16 คน) วนั ที่ 12 กรกฎาคม 2565 กลุ่มที่ 6, 7 (นักศกึ ษา 16 คน) วนั ท่ี 11 กรกฎาคม 2565 หอผู้ปว่ ยนรเี วช หอผปู้ ว่ ยศลั ยกรรมกระดกู และแผนกตาหูคอจมูก โรงพยาบาลนครปฐม เวลา หวั ข้อการศึกษาดงู าน วทิ ยากร หน่วยงาน 07.50-08.00 ลงทะเบยี น น. 08.00-11.00 ศึกษาสถานการณจ์ ริงบทบาทของ นางสาวเยาวลักษณ์ สงวน หอผปู้ ว่ ยศัลยกรรม น. พยาบาลในการดูแลผู้ปว่ ยหรือ พานิช กระดกู ผูบ้ าดเจบ็ ทีม่ ปี ญั หาของระบบกระดกู เช่น การดูแลผูป้ ่วยท่ี on skeletal / skin traction, on cast / splint การฟืน้ ฟูสภาพ การดแู ลผ้ปู ว่ ยท่ี เปลย่ี นข้อสะโพก/ข้อเข่า เป็นต้น 11.00-12.00 น. พกั รับประทานอาหารกลางวนั 12.00-14.00 ศกึ ษาสถานการณจ์ รงิ การพยาบาล นางจนั ทร์ยงค์ หอผูป้ ว่ ยนรเี วช น. ผ้ปู ่วยท่ีมปี ัญหาระบบนรีเวช ลิ้มวนานนท์ 14.00-16.00 ศึกษาสถานการณจ์ ริงการพยาบาล นางสาวสมคดิ มะโนมนั่ แผนกตาหูคอจมกู น. ผปู้ ่วยทีม่ ีปญั หาระบบตาหูคอจมกู หมายเหตุ กลมุ่ 1,4,6 ศึกษาดงู านหอผปู้ ่วยศัลยกรรมกระดูก เวลา 09.00-11.00 น. ศึกษาดูงานหอผู้ปว่ ยนรีเวชและแผนกตาหคู อจมูก เวลา 12.00-16.00 น. กลมุ่ 2,5,7 ศกึ ษาดงู านหอผปู้ ว่ ยศัลยกรรมกระดกู เวลา 09.00-11.00 น. ศึกษาดูงานหอผู้ป่วยนรเี วชและแผนกตาหคู อจมกู เวลา 12.00-16.00 น.

28 3. การเตรยี มอาจารย์ผู้สอนภาคปฏบิ ตั ิ จัดประชุมช้ีแจงวัตถุประสงค์ของการฝึกปฏิบัติ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน การมอบหมายงาน การประเมินผลการเรียนรู้ ตารางการนิเทศ พร้อมคู่มือการนิเทศของ รายวิชาก่อนการฝึกปฏิบัติ อย่างน้อย 1 สัปดาห์ 4. การเตรยี มอาจารยเิ ศษภาคปฏิบัตใิ นสถานท่ีฝกึ ประสานงานกับหอผู้ป่วย/หน่วยงาน ในการแต่งต้ังอาจารย์พิเศษภาคปฏิบัติแก่นักศึกษา ในหอ ผู้ป่วย/หน่วยงานอ่ืน ๆ ในกรณีท่ีอาจารย์ติดภารกิจ หรือมีเหตุการณ์ที่ไม่สามารถสอนภาคปฏิบัติได้ตาม แผนการฝกึ 5. การจดั การความเส่ยี ง 5.1 จัดรถรบั -สง่ นกั ศึกษาไปกลับจากแหลง่ ฝกึ – หอพัก (ระเบียบปฏิบัตติ ามคู่มือการฝกึ ปฏบิ ตั ิ ของรายวชิ า) 5.2 อาจารย์ให้คำแนะนำ/ สอนระหว่างการฝึกปฏิบัติอย่างใกล้ชิด อัตราส่วนอาจารย์: นักศึกษา ไม่เกิน 1: 8 5.3 ประสานงานกบั แหล่งฝกึ อยา่ งต่อเนอ่ื ง 5.4 จดั ใหม้ ีตัวแทนนักศกึ ษาทท่ี ำหนา้ ทีต่ ิดต่อประสานงานกบั อาจารย์สอนภาคปฏบิ ัติตลอดการฝกึ งาน 5.5 ติดตามความก้าวหน้าระหว่างการฝึกอย่างใกล้ชิด เพื่อรับทราบปัญหา อุปสรรคในการฝึก ปฏิบตั งิ านและหาแนวทางแกไ้ ข 5.6 จัดเตรียมอาจารย์ให้คำแนะนำ สอน การฝึกปฏิบัติเพ่ิมเติม ให้แก่นักศึกษา ในกรณี ประเมินผลแล้วนักศึกษาไม่ผ่านเกณฑ์การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ก่อนรายงานผลการศึกษาต่อ มหาวิทยาลัย 5.7 กรณีอาจารย์ผู้สอนมีเหตุจำเป็น ไม่สามารถสอนภาคปฏิบัติในวันที่กำหนดได้ ให้จัดวันสอน ชดเชย หรือประสานกับพยาบาลพ่เี ลี้ยงในการสอนประสบการณภ์ าคสนามต่อไป

29 หมวดที่ 6 การประเมินนกั ศึกษา 1. หลักเกณฑก์ ารประเมนิ เครอ่ื งมือประเมิน นำ้ หนัก วตั ถุประสงค์ท่วี ัด แบบประเมนิ การฝกึ คะแนน รายการประเมิน 60 % 1.1, 1.2, 1.2, 1.4, ปฏิบตั ิ 1.5 1. การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล 40 แบบประเมนิ รายงาน 10 . ทกั ษะปฏบิ ตั ิการพยาบาล (TQF: 6) แผนการพยาบาล 5 . คุณธรรม จรยิ ธรรมในการปฏบิ ัติงาน แบบประเมนิ รายงาน 5 (TQF: 1) กรณศี ึกษา 15% 1.1, 1.4, 1.5 . ความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคล (TQF: 4) แบบประเมนิ การสอบ . เทคโนโลยีและการสอื่ สาร (TQF: 5) OSCE และข้อสอบ 15% 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5 2. รายงานแผนการพยาบาล MEQ 10% 1.1, 1.2, 1.4, 1.5 (TQF: 3) 3. กรณีศึกษา การรายงานและการนำเสนอ กรณีศึกษา (TQF: 3) 4. การสอบ OSCE, MEQ (TQF: 2, 3) หมายเหตุ 1. นกั ศึกษาตอ้ งฝกึ ภาคปฏิบัติให้ไดค้ รบตามเวลาของหน่วยกิต 2. นักศกึ ษาตอ้ งทำรายงานทกุ ฉบบั และสอบ OSCE, MEQ (ถา้ ขาดอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ถอื วา่ ไมผ่ ่าน) 3. กรณนี กั ศกึ ษามผี ลการเรยี นต่ำกว่า C ต้องลงทะเบยี นเรยี นใหม่ เนอื่ งจากเป็นรายวชิ าชพี ท่ีตอ้ งมผี ลการเรียนมากกวา่ C 4. กรณีพบนกั ศึกษากระทำผดิ วนิ ยั ในระหวา่ งการฝกึ ปฏิบตั ิของรายวชิ า จะไดร้ ับการสอบสวน จากกรรมการทีเ่ กยี่ วขอ้ ง และไดร้ ับผลการเรยี นไมเ่ กิน C หรอื ตามมติของกรรมการสอบสวนวนิ ัย หรือ ตามระเบียบท่ีเก่ยี วข้อง 5. นักศึกษาตอ้ งปฏบิ ัตติ นตามมาตรการปอ้ งกันและควบคุมการแพรก่ ระจายเชื้อ COVID-19 อย่างเคร่งครดั และมใี บยนิ ยอมในการฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลจากผู้ปกครอง 6. หา้ มนำของมคี า่ ไปในแหลง่ ฝึก หากนำไปถอื ว่าผิดขอ้ กำหนดของคณะฯ และหากเกดิ การ สูญหาย ทางคณะฯจะไมร่ บั ผดิ ชอบใดๆท้ังส้ิน

30 2. กระบวนการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านของนกั ศึกษา 2.1 ประเมนิ ผลการปฏิบัติการพยาบาลตามแบบประเมิน โดยนักศึกษาจะไดร้ ับการประเมนิ ใน ระหว่างการฝึกเพ่ือให้มีการพัฒนา ปรับปรุงตนเองก่อนท่ีจะประเมินเพ่ือตัดสินคะแนน โดยให้คะแนน ตาม Rubric 2.2 ประเมนิ จากรายงานการวางแผนการพยาบาลผ้ปู ่วยเฉพาะราย โดยใหค้ ะแนนตาม Rubric 2.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาผู้ป่วยเฉพาะราย และการนำเสนอ โดยให้คะแนนตาม Rubric 2.4 ประเมินความรู้ และทักษะหลังฝึกปฏิบัติ โดยใช้การสอบ OSCE โดยให้คะแนนตาม Rubric และสอบขอ้ สอบ MEQ โดยคะแนนเปน็ ไปตามขอ้ ถกู 2.5 ประเมินผลการทำงานร่วมกนั เป็นทมี โดยกลมุ่ เพอื่ นและอาจารยพ์ ยาบาล จากแบบ ประเมนิ ของรายวิชา 3. ความรบั ผดิ ชอบของพยาบาลพิเศษภาคปฏบิ ัติตอ่ การประเมนิ นกั ศึกษา ทำหนา้ ทีส่ อน แนะนำ สาธติ การฝกึ ปฏิบัตงิ านในหนว่ ยงาน และประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ของนักศึกษาร่วมกบั อาจารยผ์ สู้ อนภาคปฏิบัติ 4. ความรับผดิ ชอบของอาจารยผ์ ้สู อนภาคปฏบิ ตั ติ ่อการประเมนิ นักศึกษา ประเมนิ ผลร่วมกับอาจารยผ์ ู้สอนภาคปฏิบัติ รวบรวมผลการประเมนิ เพ่อื การตัดเกรด นำเสนอ คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร และคณะกรรมการบริหารคณะ 5. การสรุปผลการประเมนิ ทแ่ี ตกต่าง หากเกดิ ความแตกต่างกันในผลการประเมิน จัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างผู้เก่ียวข้อง เพ่ือ พิจารณาหาข้อสรปุ ต่อไป หมวดท่ี 7 การประเมนิ และปรบั ปรุงการดำเนนิ การของการฝึกประสบการณภ์ าคสนาม 1. กระบวนการประเมนิ การฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยผูเ้ กยี่ วขอ้ งต่อไปน้ี 1.1 นกั ศึกษา 1) ประเมินการบรรลุวัตถุประสงค์การฝึกในแง่ของผลการเรียนรู้ ความเพียงพอของแหล่ง สนับสนุนการเรียนรู้ ความพร้อมของแหล่งฝึก ความร่วมมือของทีมสุขภาพ จำนวนและความเหมาะสม ของผปู้ ่วย คณุ ภาพการดแู ลจากอาจารยผ์ ูส้ อนภาคปฏบิ ัติ 2) ใหข้ อ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละความตอ้ งการฝกึ เพมิ่ 1.2 อาจารยผ์ ู้สอนภาคปฏบิ ตั ิ 1) ประเมินสมรรถนะของนักศึกษาในภาพรวม เก่ียวกับการบรรลุตามผลลัพธ์การเรียนรู้ ของ การฝึกปฏบิ ตั ิ

31 2) ประเมินผลการจัดประสบการณ์เก่ียวกับความเพียงพอของแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ ความพร้อมของแหล่งฝึก ความร่วมมือของทีมสุขภาพ จำนวนและความเหมาะสมของผู้ป่วย คุณภาพ ของอาจารยผ์ สู้ อนภาคปฏบิ ัติ 3) ประเมนิ การทำหนา้ ที่ของตนเอง และอาจารยผ์ ู้สอนภาคปฏบิ ัติ 2. กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรบั ปรุง กลุ่มวิชามอบหมายอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวชิ าสรุปผลการประเมินการฝึกภาคปฏิบัติของนักศึกษา ถึงการบรรลุผลการเรียนรู้ของรายวิชา ประเมินผลการจัดประสบการณ์เก่ียวกับความเพียงพอของแหล่ง สนับสนุนการเรียนรู้ ความพร้อมของแหล่งฝึก ความร่วมมือของทีมสุขภาพ จำนวนและความเหมาะสมของ ผู้ป่วย ประเมินการทำหน้าท่ีของตนเอง ของอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติภายใน 1 สัปดาห์ หลังสิ้นสุดการ ประเมิน นำเสนอกลุ่มวิชาเพื่อตรวจสอบ และวางแผนปรับปรุงการฝึกปฏิบัติในวิชานี้ให้แล้วเสร็จภายใน 2 สัปดาห์ เพื่อจัดทำรายงาน (มคอ. 6) ใหเ้ สร็จสน้ิ ภายใน 30 วนั หลงั สิ้นสดุ ภาคการศึกษา 3. การทวนสอบผลสัมฤทธข์ิ องการฝึกปฏิบตั ิการพยาบาล/ ภาคสนาม อาจารย์ผูร้ ับผิดชอบจัดเตรยี มคะแนนและเกรดของนักศกึ ษาทกุ คนในกิจกรรมต่าง ๆ ที่กำหนด ในรายวชิ า คะแนนการปฏิบัติการพยาบาล รายงานการวางแผนการพยาบาล รายงานกรณีศึกษาผู้ป่วย เฉพาะราย การมีส่วนร่วมในการอภิปรายกรณีศึกษา การแปลภาษาอังกฤษ และคะแนนการประเมิน ความรู้ และทักษะหลังการฝึกปฏิบัติ พร้อมกับ มคอ. 6 ตลอดจนเอกสารทุกช้ินที่เก่ียวข้องกับการ ประเมิน ส่งให้คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของคณะ เพ่ือตรวจสอบ และนำผลการทวนสอบมา ปรบั ปรุงการประเมนิ ผลสมั ฤทธขิ์ องนกั ศกึ ษาต่อไป หนงั สือ/ตำราหลกั ภาษาไทย 1. ขวญั ฤทยั พนั ธ.ุ (บรรณาธกิ าร). (2562). การพยาบาลผู้ป่วยท่ีไดร้ บั หตั ถการทางการแพทย์ทาง อายุรกรรม. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พ์จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. 2. ดนัย ดสุ รักษ์. (บรรณาธกิ าร). (2560). การพยาบาลผ้ปู ว่ ยมะเรง็ (Nursing care for patients with cancer). ราชบุรี : วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั . 3. ดำเนินสนั ต์ พฤกษากร, จงกลณี เศรษฐกร และบษุ ยามาส ชวี สกุลยง. (บรรณาธิการ). (2559). การ ดแู ลรักษามะเรง็ ระยะลุกลามมาทกี่ ระดกู (Clinical approach for bone metastasis). เชียงใหม่ : โครงการตำรา คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. 4. นงณภัทร รงุ่ เนย. (บรรณาธกิ าร). (2560). การประเมินสุขภาพแบบองคร์ วม (Health assessment : A holistic approach). นนทบรุ ี : โครงการสวสั ดิการวิชาการ สถาบนั พระบรมราช ชนก กระทรวงสาธารณสขุ . 5. ประทมุ สรอ้ ยวงศ์. (บรรณาธกิ าร). (2560). การพยาบาลอายรุ ศาสตร.์ เชยี งใหม่ : มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่.

32 6. ไพรสุดา บัวลอย และคณะ. (บรรณาธิการ). (2560). การพยาบาลศลั ยศาสตร์และหอ้ งผา่ ตดั ทนั ยุค 3 (Update surgical and perioperative nursing). สงขลา : ภาควิชาศลั ยศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์. 7. ผ่องพรรณ อรณุ แสง. (บรรณาธิการ). (2561). การประเมนิ ภาวะสุขภาพผใู้ หญแ่ ละผสู้ ูงอายุ : การ ประยุกต์ใชใ้ นการพยาบาล. ขอนแกน่ : คณะพยาบาลศาสตร์. 8. วจิ ิตรา กุสมุ ภ.์ (บรรณาธกิ าร). (2560). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวกิ ฤตแบบองค์รวม (Critical care nursing : A holistic approach). กรุงเทพฯ : สามัญนิตบิ คุ คล สหประชาพาณชิ ย.์ 9. วภิ า แซเ่ ซี้ย. (บรรณาธิการ). (2561). การจัดการแผลเรื้อรงั บทบาทท่ที ้ายทายของพยาบาล. กรงุ เทพฯ : สหมิตรพัฒนาการพิมพ์ (1992). 10. ศริ ริ ตั น์ ปานอุทยั และทพิ าพร วงศห์ งษก์ ุล. (บรรณาธิการ). (2562). การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลทาง อายุรกรรม. เชยี งใหม่ : โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่ 11. ศรเี วยี งแกว้ เตง็ เกยี รติ์ตระกลู และเบญจมาภรณ์ บตุ รศรีภูมิ. (บรรณาธกิ าร). (2559). การ พยาบาล ปรศิ ัลยกรรม (Perioperative Nursing). กรงุ เทพฯ : คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาล รามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหิดล. 12. สมพร ชินโนรส. (บรรณาธิการ). (2561). การพยาบาลทางศัลยศาสตร์ เล่ม 2. กรงุ เทพฯ : ภาควชิ าพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ด.ี 13. อนงค์ ภบิ าล. (บรรณาธิการ). (2561). การจดั การความปวดทา่ มกลางความหลากหลาย วัฒนธรรมสองภาษา. สงขลา : สมศกั ด์กิ ารพิมพ.์ 14. อภชิ ัย องั สพัทธ์. (บรรณาธกิ าร). (2560). Wound care 2017 : Go together for best practice in wound and burn care. กรงุ เทพฯ : กรงุ เทพเวชสาร. หนงั สือ/ตำราหลักภาษาตา่ งประเทศ 1. Beth B. Hogans. (ed.) (2022). Pain medicine at a glance. Hoboken,NJ : Wiley Blackwel. 2. Carol Fordham-Clarke and Sarah Curr. (Eds). (2022). Clinical nursing skills at a glance. Wiley-Blackwell: Oxford. 3. Claire Boyd. (Ed). (2022). Medicine management skills for nursesOxford ; Wiley- Blackwel. 4. Dianne Burns. (Ed). (2019). Foundations of adult nursing. Los Angeles : SAGE. 5. Donna D. Ignatavicius, M. Linda Workman, Cherie R. Rebar. (Eds). (2018). Medical- surgical nursing : concepts for interprofessional collaborative care. Missouri : Elsevier

33 6. Ian Peate and Helen Dutton. (Eds). (2021). Acute nursing care : Recognizing and responding to medical emergencies. London : Routledge. 7. John Paley. (Ed). (2022). Concept analysis in nursing : A new approach. Milton Park, Abingdon: Routledge 8. Karen Elcock, et al. (2019). Essentials of nursing adults. Los Angeles : SAGE. 9. Neal Cook. (Ed). (2019). Essentials of pathophysiology for nursing practice. Los Angeles : SAGE. 10. Neal Cook, Andrea Shepherd, and Jennifer Boore. (Eds). (2021). Essentials of anatomy and physiology for nursing practice. Los Angeles : SAGE Publications Ltd. 11. Peter Ellis. Ed). (2019). Evidence-based practice in nursing. London : SAGE Publications Ltd. เอกสารแนะนำให้อา่ นเพมิ่ เตมิ 1. วรางคณา สายสิทธิ.์ (2564). เอกสารประกอบคำสอน การพยาบาลผูใ้ หญ่ 1. นครปฐม: คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม. 2. วรางคณา สายสิทธ.ิ์ (2564). เอกสารประกอบคำสอน การพยาบาลผใู้ หญ่ 2. นครปฐม: คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม. ฐานข้อมูลสาขาพยาบาลศาสตร์ ฐานขอ้ มูลสำหรบั การสืบคน้ ทางสาขาพยาบาลศาสตร์ ไดแ้ ก่ CHNAL, Science Direct, PubMed, EBSCO, Scopus หนงั สืออเิ ลคทรอนิคส์ (E-Book) E-Books สาขาพยาบาลศาสตร์ ได้แก่ eBook Nursing Collection, Clinical Key for Nursing, McGraw-Hill eBook Library, E-Book EBSCO HOST วารสาร 1. วารสารภาษาไทย ไดแ้ ก่ 1.1 วารสารการพยาบาลศาสตร์และสขุ ภาพ 1.2 รามาธิบดพี ยาบาลสาร 1.3 สภาการพยาบาล 2. วารสารภาษาตา่ งประเทศ ได้แก่

34 2.1 Journal of Cardiovascular Nursing 2.2 Intensive and Critical Care Nursing Journal 2.3 Journal of Emergency Nursing 2.4 Nursing & Health Science Journal 2.5 Nursing Research

35 ตารางฝกึ ปฏบิ ตั ิรายวชิ า ปฏบิ ตั ิการพยาบาลผใู้ หญ่และผสู้ งู อายุ 1 รหัสวชิ า 4173781 จำนวน หน่วยกติ 3 (0-9-5) ประจำภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 แหลง่ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ โรงพยาบาลนครปฐม วันที่ 20 มถิ นุ ายน – 22 กรกฎาคม 2565 กลุ่มฝึกปฏบิ ตั คิ ือ กล่มุ ที่ 4-7 และวันที่ 25 กรกฎาคม – 26 สงิ หาคม 2565 กลมุ่ ฝกึ ปฏบิ ตั คิ ือ กลมุ่ ท่ี 1-3

36

37 ระเบยี บปฏบิ ตั ใิ นการฝึกปฏบิ ัตงิ านบนหอผู้ป่วยของนักศกึ ษา 1. การฝกึ ปฏิบัตกิ ารพยาบาล 1.1 ระเบยี บการปฏิบตั ิในวันฝึกปฏิบตั ิการพยาบาล มดี ังน้ี 1.1.1 นกั ศกึ ษาตอ้ งมาขึน้ รถรับ-สง่ ตามเวลาทกี่ ำหนด ดังนี้ 1) กรณีไปศกึ ษาขอ้ มูลผปู้ ่วยทไี่ ดร้ บั มอบหมายในวนั อาทิตย์ มีรถออกจาก มหาวทิ ยาลัย เวลา 12.30 น. และมรี ถรับกลับจากโรงพยาบาลนครปฐมเวลา 16.00 น. 2) กรณีไปฝกึ ปฏิบตั กิ ารพยาบาลตามตารางการฝึกฯ ณ โรงพยาบาล นครปฐม มีรถออกจากมหาวิทยาลัย เวลา 07.00 น. และมีรถรับกลับจากโรงพยาบาลนครปฐมเวลา 16.30 น. 1.1.2 นกั ศึกษาตอ้ งเดินทางไปโรงพยาบาลโดยรถยนตท์ ่ีคณะพยาบาลศาสตร์จัดให้ เท่านนั้ (ไมอ่ นุญาตใหน้ ักศึกษาเดินทางด้วยตนเอง) 1.1.3 นกั ศกึ ษาต้องไปฝกึ ปฏบิ ตั งิ านบนหอผปู้ ่วยก่อนเวลารบั เวรประมาณ 30 นาที เพ่ือ ประเมินผู้ป่วยอีกคร้ัง และเตรียมพร้อมในการรับเวร โดยนักศึกษาจะอยู่ในความดูแลของอาจารย์ ประจำหอผ้ปู ่วย / อาจารย์พิเศษภาคปฏิบัติ (preceptor) 2. การออกจากหอผปู้ ว่ ย 2.1 นักศึกษาจะออกจากหอผู้ป่วยได้ เม่ือปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จ และส่งเวรกับ พยาบาลหัวหน้าทีม หรือพยาบาลหัวหน้าเวร / อาจารย์พิเศษภาคปฏิบัติ เรียบร้อยแล้วตามเวลาท่ีฝึก ปฏิบัติ และตอ้ งแจง้ กับอาจารยป์ ระจำหอผู้ปว่ ยก่อนทกุ ครงั้ 2.2 ในกรณีท่ีนักศึกษามีความจำเป็นเร่งด่วนต้องออกจากหอผู้ป่วยก่อนเวลา ต้องแจ้งอาจารย์ ประจำหอผปู้ ว่ ย / อาจารยพ์ ิเศษภาคปฏบิ ัติ และจะออกจากหอผู้ป่วยได้เมอ่ื ได้รับอนุญาตแล้วเท่าน้นั 2.3 การพักรับประทานอาหารกลางวัน นักศึกษาจะพักได้รอบละ 1 ช่ัวโมง และก่อนลงไป รับประทานอาหารจะต้องส่งเวรหรือส่งต่องานไว้กับพยาบาลหัวหน้าทีม หรือพยาบาลหัวหน้าเวร / อาจารย์พเิ ศษภาคปฏิบตั ิ 2.4 เพือ่ ป้องกนั การตดิ เชอื้ และส่งเสรมิ สขุ ภาพ หา้ มนกั ศกึ ษานำอาหาร ขนมและอ่นื ๆ ไป รบั ประทานบนหอผู้ป่วย (ที่มผี ู้ป่วยพักอย่)ู นอกจากในห้องพกั ทห่ี อผปู้ ว่ ย/หน่วยงานจัดเตรยี มไวใ้ ห้ 3. การลาป่วยและลากิจ การฝึกปฏิบัติงานในวิชาการฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 เป็นการจัดการฝึก ประสบการณ์การพยาบาลตามความสำคัญที่นกั ศึกษาควรจะไดร้ ับจากการเรียนรายวิชาน้ี โดยเวลาทีจ่ ัด ให้นักศึกษาขึ้นฝึกนั้น มีระยะเวลาที่จำกัด นักศึกษาจึงไม่ควรขาด (วันรับมอบหมายการดูแลและวัน

38 ปฏิบัติงาน) ยกเว้นมีความจำเป็นที่ไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ นักศึกษาต้องแจ้งให้อาจารย์ประจำหอ ผู้ป่วย/หน่วยงานทราบล่วงหน้าด้วยตนเอง ทางโทรศัพท์ หรือหาช่องทางติดต่ออื่นๆ ให้อาจารย์ทราบ โดยเร็วท่ีสุด และต้องได้รับอนุญาตจากอาจารย์ก่อน จึงสามารถท่ีจะลาป่วยและลากิจได้ โดยปฏิบัติ ตามเงอื่ นไขดงั ตอ่ ไปนี้ 3.1 การลาปว่ ย 3.1.1 นกั ศึกษาตอ้ งแจง้ การลาป่วยกับอาจารยป์ ระจำหอผปู้ ่วยด้วยตนเอง 3.1.2 ส่งใบรับรองแพทย์ให้อาจารย์ประจำหอผ้ปู ่วยโดยเรว็ เท่าทเ่ี ปน็ ไปได้ 3.2 การลากจิ 3.2.1 แจง้ การลาพรอ้ มสง่ ใบลาให้อาจารย์ประจำหอผู้ปว่ ย ลว่ งหนา้ อยา่ งน้อย 3 วัน ยกเว้น ในกรณีรีบด่วน ใหแ้ จ้งอาจารย์ประจำหอผปู้ ่วยทนั ทีท่ที ราบและสง่ จดหมายลาภายใน 24 ชั่วโมง 4. การฝึกปฏบิ ตั พิ ยาบาลชดเชย 4.1 การลาทกุ ชนดิ (วันรบั มอบหมายการดแู ลและวันปฏบิ ัตงิ าน) นกั ศกึ ษาตอ้ งข้ึนฝกึ ปฏิบตั งิ านชดเชย อย่างนอ้ ยตามจำนวนวนั ทข่ี าดการฝึก ท้ังน้ีอยใู่ นดลุ ยพินิจของอาจารย์ประจำหอ ผปู้ ว่ ย/หนว่ ยงาน และอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบรายวิชา 4.2 กรณี นักศึกษาขาดการปฏบิ ตั ิงาน (วันรบั มอบหมายการดูแลและวนั ปฏบิ ัติงาน) โดยไม่ แจง้ ใหท้ ราบลว่ งหน้า แตม่ าแจง้ ภายหลัง จะถือว่านักศึกษาขาดการฝกึ ปฏบิ ตั ิงาน และตอ้ งขึ้นฝกึ ปฏิบตั ิงานชดเชย อยา่ งน้อย จำนวน 2 เท่า ของวนั ทขี่ าดการฝึก 5. การแต่งกาย 5.1 แต่งชุดนักศึกษาพยาบาลในการไปศึกษาข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับมอบหมาย เพ่ือวางแผนการ พยาบาลตามแบบวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยประจำวัน ในแบบบนั ทกึ การใชก้ ระบวนการพยาบาล 5.2 ในวนั ฝึกปฏิบัติงาน ให้แต่งชุดนักศึกษาพยาบาลไป แล้วเปลี่ยนชุดฝึกปฏิบัติงานในวันที่ข้ึน ปฏิบตั งิ านจรงิ เพือ่ ลดการแพร่กระจายเช้อื โรค 6. การป้องกนั การตดิ เชือ้ โรคไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019; COVID-19) 6.1 ลา้ งมือทุกคร้ังท้งั ก่อนและหลงั สมั ผัสกบั ผปู้ ่วย โดยลา้ งมือแบบล้างมือท่วั ไป (normal hand washing) หรือการใช้แอลกอฮอล์เจล ซ่ึงการล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล ควรใช้แอลกอฮอล์ เจลประมาณ 10 มิลลิลิตร ล้างมือโดยใช้เวลา 15-25 วนิ าที ซึง่ ไม่ตอ้ งล้างดว้ ยน้ำหรือไม่ต้องเช็ดซ้ำด้วย ผา้ เชด็ มือ

39 6.2 สวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกตอ้ ง โดยหันด้านสีเข้มออกด้านนอกเสมอ คลุมหน้ากากให้ปิด จมูก ปาก คาง และคล้องหูให้พอดีกับใบหน้า หลังจากนั้นกดขดลวดขอบบนให้แนบสนิทกับสันจมูก นอกจากนี้ตอ้ งเปลยี่ นหนา้ กากทกุ วนั 7. การใช้เคร่อื งมือสอ่ื สาร ห้ามใช้เครื่องมือส่ือสารขณะปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล เน่ืองจากอุปกรณ์ทางการแพทย์บาง ชนดิ ท่ีมีสญั ญาณโทรศพั ท์ อาจรบกวนการทำงานของอปุ กรณ์ดงั กล่าว 8. กรณนี ักศึกษาเกิดความผิดพลาดในการปฏบิ ตั งิ าน (Malpractice) ต้องแจ้งอาจารย์ประจำหอผู้ป่วย/ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาทราบทันที และต้องส่งรายงาน ภายใน 24 ชั่วโมง หมายเหตุ 1. นกั ศกึ ษาตอ้ งฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิให้ได้ครบตามเวลาของหนว่ ยกิต 2. นกั ศึกษาตอ้ งทำรายงานทุกฉบับและสอบ OSCE, MEQ (ถา้ ขาดอย่างใดอย่างหนึง่ ถือวา่ ไมผ่ ่าน) 3. กรณนี กั ศกึ ษามผี ลการเรยี นตำ่ กว่า C ต้องลงทะเบียนเรียนใหม่ เนอ่ื งจากเป็นรายวชิ าชพี ท่ตี อ้ งมผี ลการเรียนมากกว่า C 4. กรณพี บนกั ศึกษากระทำผดิ วินัยในระหวา่ งการฝึกปฏบิ ัตขิ องรายวิชา จะไดร้ ับการสอบสวน จากกรรมการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และได้รบั ผลการเรียนไมเ่ กนิ C หรอื ตามมตขิ องกรรมการสอบสวนวนิ ยั หรือ ตามระเบียบทเี่ กยี่ วขอ้ ง 5. นกั ศกึ ษาตอ้ งปฏิบตั ติ นตามมาตรการป้องกนั และควบคุมการแพรก่ ระจายเชือ้ COVID-19 อยา่ งเคร่งครัด และมใี บยินยอมในการฝึกปฏิบตั กิ ารพยาบาลจากผปู้ กครอง 6. หา้ มนำของมคี า่ ไปในแหลง่ ฝกึ หากนำไปถอื ว่าผดิ ข้อกำหนดของคณะฯ และหากเกิดการ สูญหาย ทางคณะฯจะไม่รบั ผดิ ชอบใดๆทง้ั ส้ิน

40 แนวทางการทำรายงานหรอื งานทน่ี ักศกึ ษาได้รับมอบหมาย การทำรายงานนักศกึ ษาทุกคนตอ้ งสง่ รายงานทุกฉบับ ตามวันเวลาที่กำหนด ดังนี้ 1. รายงานหรอื งานท่ีนกั ศกึ ษาไดร้ บั มอบหมาย 1.1 แผนการพยาบาลผู้ป่วยประจำวัน เป็นการเขียนแผนการพยาบาลตามแบบบันทึกการใช้ กระบวนการพยาบาล รายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ โดยส่งอาจารย์ประจำหอผู้ป่วยทุก เช้าวันที่มีการปฏิบัติงาน หลังจากน้ันรวบรวมทุกฉบับส่งทุกวันศุกร์ โดยต้องมีข้อมูลท่ีสมบูรณ์ ทั้งใน ส่วนการประเมินสภาพผู้ป่วย การวินิจฉัยปัญหาทางการพยาบาล วัตถุประสงค์และเกณฑ์การ ประเมินผล การพยาบาลและเหตุผล และการประเมนิ ผลการพยาบาล 1.2 รายงานกรณีศึกษาผู้ปว่ ยเฉพาะราย ตามตารางทกี่ ำหนด โดยทำรายงานการศึกษาผูป้ ว่ ยเฉพาะกรณี ดงั นี้ 1) ขณะฝึกปฏิบตั ใิ นหอผู้ป่วย ให้นกั ศกึ ษาเลือกกรณีศกึ ษาทน่ี ่าสนใจ 1 ราย โดยเป็นผ้ปู ่วยที่ นกั ศกึ ษาได้รบั มอบหมายดูแลไม่น้อยกว่า 2-3 วัน หรอื ไดร้ บั ความเห็นชอบจากอาจารย์ทีป่ รึกษา 2) ปรกึ ษาอาจารย์ประจำหอผู้ป่วยทีร่ บั ผิดชอบ เมอื่ ผา่ นการเห็นชอบจากอาจารยแ์ ลว้ นำไป ศกึ ษาค้นควา้ เพิ่มเติม 3) ให้นกั ศกึ ษาคน้ ขอ้ มลู จากตำรา เอกสารประกอบการสอน หนังสอื วารสาร หรือจาก ฐานขอั มลู e- journal ของมหาวทิ ยาลยั 4) รปู เล่ม ลักษณะรายงานตามขอ้ กำหนดของรายงาน คณะพยาบาลศาสตร์ 5) สอดแทรกบทความวิจยั หรอื บทความวชิ าการภาษาอังกฤษ ให้นกั ศกึ ษาเลอื กคน้ คว้า บทความวิชาการหรือบทความวิจัย คนละ 1 บทความท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวข้องกับผู้ป่วยกรณีศึกษา หรือรายวชิ า การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ จากวารสารภาษาอังกฤษในห้องสมุดของมหาวิทยาลัย หรือ e- journal ท่ี ตีพิมพ์มาแล้วไม่เกิน 5 ปี (นับจากปีปัจจุบัน) และแปลบทความ พร้อมท้ังสรุป วิเคราะห์บทความที่แปล และนำความรทู้ ีไ่ ด้รับมาแลกเปลย่ี น อภิปรายรว่ มกนั พร้อมกับกรณศี กึ ษา

41 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม แบบบนั ทึกการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล รายวิชาปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผสู้ งู อายุ 1 ชอ่ื นกั ศึกษา.................................................... รหัสนักศึกษา.........................................ชั้นปีท่ี ........... ภาคการศึกษาที่ .............. ปีการศกึ ษา .......................อาจารย์ ............................................................ หอผู้ปว่ ย ..................................................... โรงพยาบาล ............................................................... ส่วนที่ 1 ข้อมลู ทั่วไป ช่อื -สกุลผ้ปู ว่ ย.............................................. HN ………………………………….. AN ………………………. เตยี ง .................. หอผูป้ ่วย ................................... โรงพยาบาล .......................................................... เพศ..........อายุ............... สถานภาพสมรส ................... เช้ือชาติ ...........................สัญชาติ.................. ศาสนา...................... การศกึ ษา...................................... อาชพี .......................................................... รายได้ครอบครวั /เดือน ................... ภูมิลำเนา ............................ ท่ีอยู่ปัจจบุ ัน ............................ .................................................................................................................................................................. สิทธกิ ารรักษา ………………………..……………วันที่เข้ารับการรักษา ............................................................. วันทีเ่ ร่ิมดแู ล ................................................... แหลง่ ข้อมูล........................................................................................................................ สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู พนื้ ฐานเก่ียวกับสขุ ภาพ การวินจิ ฉัยแรกรับ………………………………….……………. การวนิ จิ ฉยั ปจั จุบนั ……………………..……..……………..... การผ่าตดั ..................................................................... วนั ท…ี่ ……………………………….…………………………....... อาการสำคญั นำส่ง (Chief Complaint: C.C.)…………………………………… ……….... ………………………………………………………………………………………………………………………………...... ประวัตกิ ารเจ็บป่วยปจั จุบนั (Present Illness: P.I.) ………………………………….…………..... ………………………………………………………….…………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ประวัตกิ ารเจ็บป่วยในอดตี (Past History: P.H.)………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………….…………………………………....... ประวตั ิสุขภาพครอบครวั (Family History: F.H.) ………………………………………………………………………………

42 สว่ นที่ 3 การประเมนิ ตามแบบแผนสุขภาพ การซกั ประวัติ การสงั เกต/การตรวจร่างกาย 1. แบบแผนการรับรสู้ ขุ ภาพและการจัดการสขุ ภาพ 1.1 การรับรสู้ ุขภาพโดยท่ัวไปในปัจจบุ ัน 1.1 ลักษณะโดยทวั่ ไป (รปู ร่าง ความสะอาดของ ร่างกาย เครอ่ื งแตง่ กาย ความพิการ ฯลฯ) 1.2 ประวตั กิ ารตรวจรา่ งกาย, การรับภูมิคมุ้ กนั 1.2 สภาพจติ ใจโดยท่ัวไป 1.3 การดูแลความสะอาดของรา่ งกาย (อาบน้ำ 1.3 ความร่วมมอื ในการรักษาพยาบาล แปรงฟนั ) 1.4 ความเป็นระเบียบเรยี บร้อย และความสะอาด ของสิ่งแวดล้อม 1.4 พฤติกรรมเส่ียง - สบู บรุ ่ี (ปรมิ าณ/วนั ) ระยะเวลา - ด่ืมสรุ า (ปรมิ าณ/วัน) ระยะเวลา - ส่ิงเสพติดอ่นื ๆ (ระบ)ุ - ยาทร่ี ับประทานเป็นประจำและเหตผุ ล 1.5 การแพส้ ารตา่ งๆ (อาหาร ยา สารเคมฯี ) อาการและการแก้ไข 1.6 การดูแลสขุ ภาพตนเอง (กอ่ นป่วย ขณะปว่ ย) 1.7 ความรเู้ กี่ยวกบั โรคและการรกั ษาพยาบาล สรุปผลการประเมิน

43 การซกั ประวตั ิ การสังเกต/การตรวจร่างกาย 2. แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร 2.1 ชนดิ และปริมาณอาหารทรี่ บั ประทาน 2.1 พฤตกิ รรมการรับประทานอาหารทส่ี ังเกตได้ 2.2 ชนิดและปริมาณน้ำที่ได้รบั 2.2 ปรมิ าณนำ้ ทไ่ี ดร้ ับต่อวัน 2.3 อาหารที่ไมร่ ับประทาน และเหตผุ ล 2.4 อาหารเสรมิ อาหารบำรุง อาหารระหวา่ งม้ือ 2.3 อาหารเฉพาะโรค 2.4 การตรวจร่างกาย 1) นำ้ หนกั ส่วนสูง BMI 2) ผิวหนงั (ความยืดหยนุ่ ความชืน้ บวม บาดแผล ฯ) 2.5 อาการผิดปกตเิ ช่น ท้องอืด เบอ่ื อาหาร 3) ผม คล่ืนไส้ อาเจียน ปญั หาการเคีย้ ว กลนื และการแก้ไข 4) เล็บ 5) ตา 2.6 ความรเู้ ก่ยี วกับอาหารและโภชนาการที่ 6) ช่องปาก คอ ฟัน เก่ยี วขอ้ งกับการเจบ็ ป่วยในคร้งั น้ี 5) ลักษณะท้อง ทอ้ งอืด 2.7 ประวตั ิการตดิ เชอ้ื / แผลเรื้อรงั เสียงลำไส้ กอ้ นในทอ้ ง 6) ตอ่ มน้ำเหลอื ง 7) ต่อมธยั รอยด์ 2.4 การตรวจทางห้องปฏิบัติการท่ีเก่ยี วข้อง (เช่น, CBC, Electrolytes, BS, LFT, lipid profile, อ่ืนๆ) 2.5 การตรวจพิเศษท่ีเก่ียวขอ้ ง (เช่น Ultrasound, Gastro scope, และอน่ื ๆ)

การซักประวตั ิ 44 สรุปผลการประเมิน การสังเกต/การตรวจร่างกาย 3. แบบแผนการขับถา่ ย 3.1 ปสั สาวะ 3.1 การใชถ้ งุ / สายสวนปัสสาวะ(ระบ)ุ 3.2 ลักษณะสี จำนวนปสั สาวะ 1) ปกตปิ สั สาวะกลางวัน ครั้ง 3.3 Colostomy, Ileostomy, Jejunostomy, กลางคนื คร้ัง gastrostomy 3.4 ลกั ษณะสี จำนวนอุจจาระ ลกั ษณะสี จำนวนปัสสาวะ 3.5 จำนวนของเหลวท่ีออกจากรา่ งกาย (ปสั สาวะ, อาการผิดปกติและการแกไ้ ข ท่อ ระบาย และอนื่ ๆ) 2) ขณะปว่ ยปสั สาวะกลางวนั ครง้ั 3.6 ผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการและการตรวจ กลางคืน ครง้ั พเิ ศษ (เชน่ U/A, U/C, Stool exam และอน่ื ๆ) อาการผิดปกติและการแกไ้ ข 3.2 อจุ จาระ ครงั้ 1) ปกติอจุ จาระวันละ อาการผดิ ปกตแิ ละการแกไ้ ข ลักษณะสี จำนวนอจุ จาระ 2) ขณะปว่ ยอจุ จาระวันละ ครั้ง อาการผิดปกตแิ ละการแก้ไข 3.3 การฝึกการขับถา่ ย สรุปผลการประเมนิ 4. แบบแผนกจิ วัตรประจำวนั และการออกกำลงั กาย 4.1 ความสามารถในการชว่ ยเหลอื ตนเองในการ 4.1 การช่วยเหลอื ตนเอง ปฏิบัตกิ จิ วตั รประจำวนั (ก่อนป่วย/ ขณะปว่ ย) - การอาบนำ้ 4.2 ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือ (Muscle power)

45 การซักประวตั ิ การสงั เกต/การตรวจรา่ งกาย - การแต่งตวั - การรับประทานอาหาร 4.3 การเคลื่อนไหวของขอ้ /อาการบวม (Range of - การขับถ่าย motion/ edema) - การเคลอื่ นไหว 4.4 ระบบหายใจ - อตั ราการหายใจ ครงั้ /นาที 4.2 การดแู ลที่พักอาศยั - จงั หวะ -ลกั ษณะ (เช่น tachypnea, bradypnea) 4.3 กจิ กรรมในงานอาชีพ/ ลกั ษณะงานที่ทำอยู่ - เสยี งปอด ใน 4.5 หัตถการทเ่ี ก่ียวขอ้ ง (เชน่ ICD) ปจั จบุ ัน 4.4 การออกกำลังกาย กีฬา 4.6 ผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารท่ีเกี่ยวข้อง (เชน่ Hct., blood gas, sputum AFB และอนื่ ๆ) 4.5 งานอดิเรก การใช้เวลาว่าง และนันทนาการ 4.7 ชนิด/ประเภทของการได้รบั ออกซิเจน 4.6 ประวตั กิ ารเปน็ ลม หายใจขดั เจ็บหน้าอก 4.8 ระบบหัวใจและหลอดเลอื ด หอบเหน่อื ย ความดันโลหติ สูง - ชีพจร ครง้ั /นาที จังหวะการเตน้ (regular, irregular) - ความแรงของชีพจร ครงั้ / - อตั ราการเต้นของหวั ใจ นาที จงั หวะการเตน้ เสียงหวั ใจ - ความดันโลหติ mmHg. - การตรวจพิเศษอน่ื ๆ (เช่น EKG, Echo, Cardiogram และอน่ื ๆ)

การซักประวตั ิ 46 สรุปผลการประเมนิ การสงั เกต/การตรวจร่างกาย 5. แบบแผนการนอนหลับและพักผอ่ น 5.1 การนอนหลบั 5.1 ก่อนป่วยนอนกลางวนั วันละ 1) ลักษณะทวั่ ไป ความสดชน่ื งว่ ง อ่อนเพลยี ชั่วโมง 5.2 พฤตกิ รรมกอ่ นการนอน (เช่นอ่านหนังสอื , นอนกลางคนื คนื ละ สวดมนต์ ดทู วี )ี ชว่ั โมง 5.3 พฤติกรรมการนอน - ปญั หาเกีย่ วกับการนอน สาเหตุ และการแกไ้ ข 5.4 การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการและการตรวจ 5.2 ขณะปว่ ยนอนกลางวนั วนั ละ พเิ ศษ ช่วั โมง (เชน่ Sleep apnea) นอนกลางคนื คนื ละ ชั่วโมง - ปญั หาเก่ยี วกบั การนอน สาเหตุ และการแก้ไข 5.3 การผอ่ นคลาย/การปฏบิ ัติตนใหร้ ูส้ กึ ผ่อน 5.5 อาการที่แสดงถงึ การพักผอ่ นไมเ่ พยี งพอ คลาย 5.4 ความเพยี งพอของการพักผอ่ นในปจั จบุ นั สรุปผลการประเมนิ 6. แบบแผนดา้ นสติปญั ญาและการรับรู้ 6.1 ระดบั ความรสู้ ึกตวั 6.1 ความผดิ ปกตขิ องสายตา/ การแก้ไข

47 การซกั ประวตั ิ การสงั เกต/การตรวจร่างกาย 6.2 ความผดิ ปกติของการได้ยิน/ การแก้ไข Neuro signs 6.3 ความผิดปกตขิ องการได้กลิน่ / การแกไ้ ข Reflex 6.4 ความผดิ ปกติในการรบั รส/ การแกไ้ ข Signs of Meningeal Irritation 6.5 ความผดิ ปกตใิ นการสัมผสั / การแกไ้ ข 6.2 ตรวจการมองเหน็ 6.6 มอี าการปวดเฉพาะที่/ การแก้ไข 6.3 ตรวจการไดย้ นิ 6.7 มอี าการเหนบ็ ชาท/ี่ การแก้ไข 6.4 ตรวจการรับรส 6.8 การรบั รู้บุคคล เวลา สถานที่ 6.5 ตรวจการสมั ผสั 6.6 ตรวจอาการเจบ็ ปวด, ชา 6.7 การประเมนิ ความจำ 6.8 ลักษณะการโต้ตอบ/การใชภ้ าษา 6.9 การตรวจพิเศษอน่ื ๆ (เชน่ CSF, IICP และอ่ืนๆ) สรุปผลการประเมิน 7. แบบแผนการรบั รู้เก่ยี วกบั ตนเองและอัตมโนทัศน์ 7.1 ความรสู้ ึกตอ่ รูปร่างหน้าตาของตนเอง 7.1 พฤตกิ รรมทแี่ สดงถึงความสนใจในรูปรา่ ง หน้าตา ของตนเอง 7.2 การปิดบงั อวยั วะบางสว่ น 7.2 ความรสู้ กึ ตอ่ ความสามารถของตนเอง 7.3 การเปรยี บเทยี บตนเองก่อนและหลงั เจบ็ ปว่ ย หรอื กับผอู้ ่ืน 7.3 ความรสู้ ึกผิดปกตทิ ่เี กย่ี วขอ้ งกบั ความ 7.พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ ความภาคภูมใิ จ/ปมด้อย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook