Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี ม.1

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี ม.1

Published by Nui Wachirawit, 2018-10-27 22:32:00

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี ม.1

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า ศิลปะพ้ืนฐาน ( ดนตรี ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ จดั ทาโดย นายวชิรวิทย์ หันจางสิทธิ์ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตาบลช่างเคิ่ง อาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชยี งใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษสานักงานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่อื ง ความรู้พื้นฐานเกย่ี วกบั ดนตรไี ทย แผนการสอนท่ี 1 เรอ่ื ง ความร้พู ้ืนฐานเกย่ี วกบั ดนตรีไทย รายวิชา ศิลปะ (ดนตรี) ชั้น มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ครูผสู้ อน นายวชริ วทิ ย์ หนั จางสทิ ธิ์ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ เวลาท่ใี ช้ 2 ช่ัวโมง ตัวชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ช้นิ งาน การวดั และ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ผลการเรยี นรู้ ประเมินผล แบบประเมินศ 2.1 ม.1/2 1) เสียงร้องและเสียงของเคร่ือง บทความ เร่อื ง ตรวจ 1. ครเู ปดิ ซีดกี ารแสดงดนตรี 1)หนังสอื เรยี น ดนตรไี ทยใน แบบทดสอบ ไทยใหน้ ักเรียนดู แลว้ ให้ ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.เปรยี บเทยี บ ดนตรีในบทเพลงจากวัฒนธรรม วัฒนธรรมที่ตา่ งกัน ก่อนเรียน หน่วยการ นักเรยี นร่วมกนั แสดงความรู้สกึ 1เสยี งร้องและ ตา่ งๆ เรียนรทู้ ่ี 1 ท่ีมีตอ่ ดนตรีไทย 2) ซีดีการแสดง 2. นักเรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ดนตรไี ทยเสยี งของเครอ่ื ง - วิธกี ารขบั ร้องดนตรที ม่ี าจาก - เครอื่ งดนตรีท่ใี ช้วฒั นธรรมท่ี 2) บทบาทและอทิ ธิพลของดนตรี ความคิดตา่ งกัน - บทบาทดนตรีใน 3. ครูอธิบายเช่ือมโยงให้ศ 2.2 ม.1/1 สงั คม นักเรียนเห็นความสาคัญของอธิบายบทบาท - อิทธิพลของดนตรใี น ดนตรีไทยต่อวิถชี ีวติ ของคนไทยความสัมพันธ์ สังคม ตง้ั แต่อดีตจนถึงปจั จุบัน ท่ีและอิทธพิ ลของ 3) องคป์ ระกอบของดนตรีในแต่ ศิลปินสร้างสรรคข์ น้ึ จนกลายดนตรที ม่ี ีตอ่ ละวฒั นธรรม มาเปน็ มรดกอันลา้ คา่ และสงั คมไทย เอกลักษณป์ ระจาชาติม.1/2ระบคุ วาม 4 .นักเรียนแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 5หลากหลายของ คน ตามความสมัครใจ แลว้ ให้องคป์ ระกอบ สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มเลอื กดนตรใี น หมายเลขประจาตัว 1-5วฒั นธรรมต่างกัน

5. สมาชกิ แต่ละหมายเลข ศกึ ษาความรู้จากหนังสือ เรยี น หอ้ งสมุด และ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามหวั ข้อทีก่ าหนด ดงั นี้ - หมายเลข 1 ศึกษา ความรู้เรื่อง ความหมายและ ประวัตคิ วามเป็นมา ของดนตรีไทย - หมายเลข 2 ศึกษา ความรู้เรื่อง บทบาท และอิทธิพลของ ดนตรีต่อสงั คมไทย - หมายเลข 3 ศึกษา ความรเู้ ร่อื ง องค์ประกอบของ ดนตรีไทย - หมายเลข 4 ศกึ ษา ความรเู้ รอื่ ง ระบบ เสียงและทานองของ ดนตรีไทย - หมายเลข 5 ศกึ ษา ความรู้เรอื่ ง ลักษณะ ของบทเพลงไทย

แล้วบนั ทกึความรูท้ ี่ไดจ้ ากการศกึ ษาลงในแบบบันทกึ การอา่ น6..สมาชิกแต่ละหมายเลขผลดักันอธิบายความรทู้ ีไ่ ด้จากการศึกษาให้สมาชกิ หมายเลขอนื่ ๆ ในกลมุ่ ฟงั ตามลาดับหมายเลข และผลดั กันซักถามขอ้ สงสัยจนเกดิ ความเข้าใจท่ีตรงกัน7. สมาชกิ แต่ละกลมุ่ ช่วยกนั ตัง้คาถามจากเรอ่ื งทศ่ี ึกษา กลุ่มละ3-4 ข้อ8. ครสู มุ่ นกั เรียนคนใดคนหนึง่ในกลุ่มออกมาอา่ นคาถามที่กลุ่มตนเองคิด แลว้ เลือกเพือ่ นกลุม่ อื่นตอบคาถาม ถา้ เพอื่ นกลมุ่ นน้ั ตอบไม่ถูกต้อง อาจเรียกเพอื่ นอีก 2-3 กลุ่ม ตอบคาถามแทนจนเกดิ ความถูกต้องหรือกลุ่มผูถ้ ามอาจเฉลยคาตอบท่ีถูกตอ้ งให้เพอ่ื นกลมุ่ อ่นื ฟงั

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง ความรพู้ ื้นฐานเกีย่ วกับดนตรไี ทย แผนการสอนท่ี 2 เรอื่ ง เครอื่ งหมายและสัญลกั ษณ์ทางดนตรี รายวิชา ศิลปะ (ดนตรี) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ครผู ู้สอน นายวชิรวทิ ย์ หนั จางสิทธิ์ ตาแหนง่ พนักงานราชการ เวลาทใ่ี ช้ 1 ชั่วโมง ตัวชว้ี ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ ประเมินผล เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณ์ทาง แบบประเมนิ การอา่ น 1. ครูตดิ โน้ตเพลงเขมรไลค่ วาย บน 1) หนงั สือเรียนศ 2.1 ม.1/1 ดนตรี เขียน และรอ้ งตาม ประเมินการ กระดาน แล้วให้นกั เรยี นช่วยกนั บอกวา่ ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.อา่ น เขียน ร้อง โนต้ เพลงไทย นาเสนอผลงาน สิง่ ทคี่ รนู ามาให้ดูน้ีคืออะไร และมี 1โนต้ ไทยและโนต้ - โนต้ บทเพลงไทย อัตรา ความสาคัญตอ่ การเล่นดนตรีไทย 2) โน้ตเพลงเขมรสากล จังหวะสองช้นั อย่างไร ไล่ควาย 2. ครูเฉลยคาตอบและอธบิ าย เชอื่ มโยงใหน้ กั เรียนเข้าใจเกีย่ วกับโนต้ ดนตรีไทย 3. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละคนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน ตามหัวขอ้ ดงั นี้ - เครื่องหมายและสัญลกั ษณ์ ทางดนตรี - โนต้ ดนตรีไทย 4. ครูอา่ นโนต้ เพลงเขมรไลค่ วายให้ นกั เรียนฟงั 2-3 รอบ เพอ่ื ให้นกั เรยี น สังเกตและจดจา หรือศึกษาเพ่มิ เติม จากเอกสารประกอบการสอน

5. นักเรยี นแตล่ ะคนฝกึ อา่ นโน้ตเพลงเขมรไลค่ วาย ตามแบบทค่ี รสู าธติ ให้ดู2-3 รอบ จนเกิดความเข้าใจ6. ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะคนฝึกเขยี นโนต้ เพลงเขมรไลค่ วายตามแบบ7. ครดู แู ลและแนะนานักเรยี นตลอดระยะเวลาท่ีปฏบิ ัตกิ จิ กรรม เพื่อให้นักเรียนเกดิ ความเขา้ ใจท่ถี ูกตอ้ ง8. ครสู อบถามนักเรยี นเกยี่ วกับปญั หาและอปุ สรรคทีเ่ กิดขึ้นในระหว่างปฏบิ ตั ิกจิ กรรมว่ามีอะไรบ้างและนักเรยี นมีวธิ ีการแก้ปัญหาทีเ่ กิดขึ้นอย่างไร ครูเสนอแนะเพ่มิ เตมิ เพือ่ ให้นกั เรยี นสามารถนาไปแก้ไขได้ถูกต้อง9. นกั เรียนแตล่ ะคนฝกึ รอ้ งและเขยี นโน้ตเพลงเขมรไล่ควาย ด้วยตนเอง โดยมีครสู งั เกตการปฏิบัติกิจกรรมของนกั เรยี น10. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ความคิด

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 เร่ือง เคร่ืองดนตรแี ละวงดนตรไี ทย แผนการสอนท่ี 3 เรือ่ ง เครื่องดนตรไี ทย รายวิชา ศลิ ปะ (ดนตรี) ช้ัน มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ครูผู้สอน นายวชริ วิทย์ หันจางสทิ ธิ์ ตาแหนง่ พนักงานราชการ เวลาท่ีใช้ 1 ชว่ั โมง ตวั ชวี้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน การวดั และ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้ผลการเรียนรู้ ประเมนิ ผล แบบทดสอบก่อนเรียนศ 2.1 ม.1/9 การใช้และบารุงรกั ษาเคร่อื ง หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 ตรวจแบบทดสอบ 1. ครูนาภาพเครือ่ งดนตรหี ลายๆ ชนดิ 1) หนงั สอื เรียน กอ่ นเรียน หนว่ ยใช้และ ดนตรขี องตน การเรยี นรู้ท่ี 2 มาให้นกั เรยี นดู แลว้ ให้นกั เรียนช่วยกนั ดนตรี-นาฏศิลป์ ม. 1บารุงรกั ษาเครอ่ื ง จาแนกวา่ เครือ่ งดนตรีแตล่ ะชนดิ น้ัน 2) บตั รภาพ 3) ใบงานท่ี 2.1ดนตรีอยา่ ง จัดอย่ใู นเครอ่ื งดนตรีประเภทใดบ้าง เรื่อง การใชแ้ ละระมัดระวงั และ ดังน้ี บารุงรกั ษาเครอื่ ง ดนตรขี องไทยรบั ผิดชอบ - เครื่องดดี - เครอื่ งสี - เคร่อื งตี - เครือ่ งเป่า 2. ครเู ฉลยคาตอบท่ถี ูกต้องให้นกั เรยี น ฟัง และอธบิ ายเพิ่มเตมิ เก่ียวกับประวตั ิ ความเป็นมาของเครือ่ งดนตรไี ทย 3.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ตามความสมัครใจ แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่ม ร่วมกนั ศกึ ษาความร้จู ากหนงั สอื เรยี น ห้องสมุด และแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ ในหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ 1) ประเภทของเครื่องดนตรี ไทย

2) หลกั การใชแ้ ละ บารงุ รกั ษาเคร่ืองดนตรขี องไทย 3) สสี ันและนา้ เสยี งของ เครอ่ื งดนตรไี ทย แลว้ บันทกึ ความรู้ท่ีได้จาก การศึกษาลงในแบบบันทึกการ อา่ น3. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นาความรทู้ ไ่ี ด้จากการศึกษามาเปน็ พน้ื ฐานในการทาใบงานท่ี 2.1 เร่ือง การใช้และบารุงรักษาเครื่องดนตรขี องไทย4. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนนาเสนอใบงานท่ี 2.1 หนา้ ช้ันเรียน กลุ่มละ 1 ข้อ แลว้ ให้เพื่อนกลมุ่อื่นท่มี ผี ลงานแตกต่างนาเสนอเพิม่ เติม5. นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความสาคัญของการดแู ลรกั ษา เคร่อื งดนตรขี องไทย6. นักเรยี นตอบคาถามกระต้นุความคดิ

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรอื่ ง เคร่ืองดนตรแี ละวงดนตรีไทย แผนการสอนท่ี 4 เรอ่ื ง ประเภทของวงดนตรไี ทย รายวิชา ศลิ ปะ (ดนตร)ี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ครผู สู้ อน นายวชิรวิทย์ หันจางสิทธ์ิ ตาแหน่ง พนักงานราชการ เวลาทใ่ี ช้ 1 ชัว่ โมง ตัวช้วี ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ชน้ิ งาน การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ผลการเรยี นรู้ ใบงานที่ 2.2 ประเมินผล 1) หนงั สอื เรียนศ 2.1 ม.1/4 วงดนตรีไทย ตรวจใบงานท่ี 2.2 1. ครูนาภาพเครอ่ื งดนตรไี ทย มาให้ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ม. 1จดั ประเภทของ นกั เรียนดู แลว้ ใหน้ กั เรยี นสงั เกตและ 2) บตั รภาพ 3) ใบงานที่ 2.2วงดนตรไี ทยและ เปรียบเทียบวา่ เคร่ืองดนตรที ใ่ี ช้ เร่ือง เคร่อื งดนตรที ่ี ใชใ้ นวงดนตรไี ทยวงดนตรที ม่ี าจาก บรรเลงแตล่ ะวงดนตรมี คี วามแตกต่างวัฒนธรรมต่างๆ กนั อยา่ งไร 2. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด 3.นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันศึกษา ความรเู้ ร่ือง ประเภทของ วงดนตรีไทย จากหนงั สอื เรยี น ดังน้ี 1) วงปี่พาทย์ 2) วงเคร่ืองสายไทย 3) วงมโหรี 4.สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกนั อธบิ าย ความรทู้ ่ีไดจ้ ากการศกึ ษา เกย่ี วกับ ประเภทของวงดนตรีไทย แล้วร่วมกนั สรุปประเดน็ สาคญั

5. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกนับอกความแตกตา่ งของ เครื่องดนตรีที่ใชใ้ นวงดนตรีแตล่ ะประเภท6. นักเรียนแต่ละคนทาใบงานที่ 2.2เรื่อง เครอื่ งดนตรที ใี่ ชใ้ นวงดนตรไี ทยเสรจ็ แล้วเก็บรวบรวมใบงานสง่ ครู7. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั สรุปเก่ยี วกบั การจัดประเภทของวงดนตรีไทยและเครอ่ื งดนตรีไทยที่ใชใ้ นวงดนตรีแต่ละประเภท8. ครูตรวจสอบผลนักเรียนจากการทาใบงานท่ี 2.2 และจากการสรุปความรู้เกีย่ วกบั ประเภทของวงดนตรไี ทย

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง เครือ่ งดนตรแี ละวงดนตรไี ทย แผนการสอนที่ 5 เรอื่ ง ประเภทของวงดนตรีพ้ืนบ้าน รายวชิ า ศิลปะ (ดนตรี) ชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ครูผ้สู อน นายวชิรวทิ ย์ หนั จางสิทธิ์ ตาแหนง่ พนักงานราชการ เวลาที่ใช้ 1 ช่วั โมง ตวั ช้วี ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ช้นิ งาน การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ผลการเรียนรู้ ใบงานที่ 2.3 ประเมนิ ผลศ 2.1 ม.1/2 1) เสยี งรอ้ งและเสยี งของ ตรวจใบงานที่ 2.3 1.ครเู ปิดซดี ีการแสดงดนตรพี น้ื บ้าน 1) หนงั สอื เรียนเปรยี บเทยี บเสยี ง เครื่องดนตรใี นบทเพลงจาก ของภาคกลางและภาค ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ม.ร้องและเสียงของ วฒั นธรรมตา่ งๆ ตะวันออกเฉียงเหนือใหน้ กั เรียนดู แลว้ 1เคร่อื งดนตรีทม่ี า - วธิ ีการขับร้อง ให้นักเรยี นแต่ละกลุม่ (กลุ่ม 2) ซีดีการแสดงจากวฒั นธรรมที่ - เครอื่ งดนตรีท่ใี ช้ เดิมจากแผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1) ดนตรีพ้ืนบ้านตา่ งกัน 2) วงดนตรพี ื้นเมือง ชว่ ยกันสังเกตและพิจารณาวา่ เสียงรอ้ ง 3) ใบงานที่ 2.3ม.1/4 จัด และเสยี งของเครอื่ งดนตรที ีว่ งดนตรแี ต่ เรื่อง ความแตกต่างประเภทของวง ละภาคใช้มลี กั ษณะอย่างไร ของวงดนตรีดนตรีไทยและวง 2. สมาชกิ แต่ละกลุม่ นาผลการสงั เกต พ้ืนบา้ นดนตรีท่ีมาจาก ในขัน้ ที่ 1 มาวเิ คราะห์ว่า ดนตรีวฒั นธรรมต่างๆ พน้ื บา้ นของทงั้ 2 ภาค มีเสยี งรอ้ งและ เสยี งของ เคร่อื งดนตรีแตกต่างกัน อยา่ งไร 3. ครใู ห้นกั เรียน 5-6 กลุ่ม นาเสนอ ผลการวิเคราะหห์ นา้ ช้นั เรยี น แลว้ ให้ เพือ่ นกลุ่มอืน่ ช่วยเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ใน สว่ นที่แตกต่าง 4. สมาชิกในกลุ่มชว่ ยกนั เปรียบเทียบ ว่า ดนตรีพนื้ บา้ นของ ทั้ง 2 ภาค มี

เสียงรอ้ งและเสยี งของเครอื่ งดนตรีใดบ้างที่เหมือนกันหรอื คล้ายคลึงกนั5. ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอผลการเปรียบเทียบหน้าชัน้ เรียน ครูตรวจสอบความถกู ต้อง6. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนาความรทู้ ไ่ี ด้จากการวิเคราะห์ในข้นั ที่ 2 และขั้นที่ 3 มาเป็นพ้ืนฐานในการสรุปความแตกต่างของเสียงรอ้ งและเสยี งของเครอ่ื งดนตรีท่มี าจากวฒั นธรรมทแ่ี ตกต่างกัน7. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ8. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันศกึ ษาความร้เู รอื่ ง ประเภทของ วงดนตรีพ้ืนบา้ น จากหนงั สือเรยี น9. สมาชกิ แต่ละกลุม่ ช่วยกันทาใบงานที่ 2.3 เร่อื ง ความแตกตา่ งของวงดนตรีพน้ื บ้าน10. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั เฉลยคาตอบในใบงานท่ี 2.3 เสร็จแลว้ เก็บรวบรวมใบงานส่งครู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook