Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการเรียนการสอนเรื่องวงดนตรีไทย

สื่อการเรียนการสอนเรื่องวงดนตรีไทย

Published by Nui Wachirawit, 2018-09-17 00:16:35

Description: สื่อการเรียนการสอนเรื่องวงดนตรีไทย

Search

Read the Text Version

ส่ือการเรียนการสอน เรือ่ ง วงดนตรีไทย รายวชิ า ศิลปศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ (ดนตร)ี จัดทาโดย นายวชิรวทิ ย์ หันจางสทิ ธ์ิ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลช่างเคิง่ อาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษสานกั งานการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

วงดนตรไี ทย โดยท่วั ไปวงดนตรีไทยที่เปน็ ท่รี ู้จักกนั โดยทว่ั ทกุ ภาคของประเทศมีอยู่ด้วยกนั 3 ประเภทวงปพี่ าทย์ วงดนตรไี ทยประเภทหน่ึงซ่ึงประกอบดว้ ยเครอื่ งเป่า คอื ปี่ ผสมกับเครื่องตี ไดแ้ ก่ระนาดและฆอ้ งวงชนิดต่าง ๆ เปน็ หลัก และยงั มีเครอ่ื งกากบั จังหวะ เช่น ฉ่ิง ฉาบ กรบั โหมง่ ตะโพน กลองทดักลองแขก และกลองสองหน้า ปี่พาทยน์ บ้ี างสมยั เรียกวา่ \"พิณพาทย\"์ วงป่พี าทย์อาจจาแนกประเภทแตกตา่ งกันไป แตท่ ี่พอจะรวบรวมได้มที ้งั ส้นิ 8 แบบ

วงปี่พาทย์เคร่ืองหา้เปน็ วงป่ีพาทย์ที่เป็นวงหลัก มีจานวนเครื่องดนตรีนอ้ ยชน้ิ ที่สุด ดงั นี้ -ป่ีใน 1 เลา -ระนาดเอก 1 ราง -ฆอ้ งวงใหญ่ 1 วง -กลองทัด 2 ลกู -ตะโพน 1 ลกู -ฉิง่ 1 คู่ (ในบางกรณอี าจใช้ฉาบ กรบั โหม่งด้วย)

วงปพ่ี าทยเ์ ครอ่ื งคู่ เป็นวงปพ่ี าทย์ทป่ี ระกอบด้วยเคร่อื งทาทานองเปน็ คู่เนื่องดว้ ยในรชั สมัย พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกล้าเจา้ อยูห่ ัว ได้มผี ้คู ิดเคร่ืองดนตรเี พ่มิ ขน้ึ อีก 2 อย่าง คอืระนาดทุ้มกบั ฆอ้ งวงเลก็ และนาเอาปนี่ อกซงึ่ ใช้ในการบรรเลงปีพ่ าทยส์ าหรับการแสดง หนังใหญ่สมัยโบราณมารวมเข้ากับวงปี่พาทย์เครอ่ื งห้าทีม่ อี ยู่เดมิ วงปพ่ี าทยเ์ คร่ืองคู่มเี ครอื่ งดนตรีดังนี้ -ป่ี 1 คู่ คอื ปีใ่ นและป่ีนอก -ระนาด 1 คู่ คือ ระนาดเอกและระนาดทุ้ม -ฆอ้ งวง 1 คู่ คอื ฆอ้ งวงใหญ่และฆอ้ งวงเล็ก -กลองทัด 1 คู่ -ตะโพน 1 ลกู -ฉิง่ 1 คู่ -ฉาบเล็ก 1 คู่ -ฉาบใหญ่ 1 คู่ -โหม่ง 1 ใบ-กลองสองหนา้ 1 ลูก (บางทีใช้กลองแขก 1 คู่ แทน) และในบางกรณีอาจใชก้ รับดว้ ย

วงปี่พาทย์เครอื่ งใหญ่ เปน็ วงป่ีพาทย์เครอื่ งคู่ทเ่ี พ่ิมระนาดเอกเหล็กกับระนาด บางวงก็เพิม่ กลองทดั รวมเปน็ 3 ใบบา้ ง 4 ใบบ้าง สว่ นฉาบใหญ่นามาใช้ในวงปพ่ี าทย์ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั วงปพ่ี าทย์ทั้งเคร่ืองหา้ เครอ่ื งคู่ และเคร่อื งใหญ่ ถา้ มกี ารบรรเลงเพลงภาษาจะใช้เครอ่ื งดนตรีกากับจังหวะของภาษานัน้ ๆ ด้วย เชน่ -ภาษาเขมร ใช้ โทน -ภาษาจีน ใช้ กลองจนี กลองต๊อกแตว๋ -ภาษาฝรง่ั ใช้ กลองมรกิ นั (อเมริกนั ) หรือกลองแตร็ก (side drum, snare drum) -ภาษาพมา่ ใช้ กลองยาว -ภาษามอญ ใช้ ตะโพน เปิงมาง

วงป่พี าทย์นางหงส์ เปน็ วงปพ่ี าทย์ธรรมดาซ่งึ ใชบ้ รรเลงทั่วไป แต่เม่ือนามาใชป้ ระโคมในงานศพ จะนาวงบวั ลอยซงึ่ประกอบด้วยปีช่ วา 1 เลา กลองมลายู 1 คู่ และเหมง่ 1 ใบ ท่ีใชป้ ระโคมในงานศพเขา้ มาผสม (ดูวงบัวลอย ประกอบ) โดยตดั ปี่ใน ตะโพน และกลองทดั ออก ใช้ปชี่ วาแทนปี่ใน ใช้กลองมลายแู ทนตะโพนและกลองทัด ส่วนเหมง่ นน้ั มเี สียงไม่เหมาะกบั วงปพ่ี าทย์จึงไม่นามาใช้ ใชแ้ ต่โหม่งซึง่ มีอยู่ เดิม เรียกว่า \"วงปีพ่ าทย์นางหงส\"์วงปพี่ าทย์นางหงส์ใชบ้ รรเลงเฉพาะในงานศพมาแตโ่ บราณก่อนวงป่พี าทย์มอญ สาเหตุทเี่ รียกวา่ ปี่พาทยน์ างหงส์ ก็เพราะใชเ้ พลงเรือ่ งนางหงส์ 2 ชน้ั เป็นหลกั สาคัญในการบรรเลง นอกจากนยี้ ังมี ววิ ฒั นาการไปใช้บรรเลงเพลงภาษาต่าง ๆ เรยี กว่า \"ออกภาษา\" ดว้ ย

วงปี่พาทย์มอญ ประกอบด้วยเครื่องดนตรีทไ่ี ดอ้ ิทธิพลมาจากมอญ เช่น ฆ้องมอญ ปม่ี อญ ตะโพนมอญ และ เปงิ มางคอก ปัจจุบันวงปี่พาทยม์ อญมี 3 ขนาด ได้แก่ 5.1 วงปี่พาทยม์ อญเครื่องห้า ประกอบด้วยปม่ี อญ ระนาดเอก ฆ้องมอญ ตะโพนมอญ เปิงมาง คอก และเคร่ืองกากบั จงั หวะ ได้แก่ ฉงิ่ ฉาบ โหม่ง 5.2 วงป่ีพาทยม์ อญเครื่องคู่ มีลกั ษณะเดียวกับวงปี่พาทยม์ อญเครอ่ื งห้า แตเ่ พิ่มระนาดทุ้มและ ฆอ้ งมอญวงเลก็ 5.3 วงปพ่ี าทย์มอญเครื่องใหญ่ มลี กั ษณะเดียวกับวงปพ่ี าทยม์ อญเครอื่ งคู่ แต่เพมิ่ ระนาดเอก เหลก็ และระนาดทุ้มเหล็ก วงปพ่ี าทย์มอญนั้นทีจ่ ริงแลว้ ใชบ้ รรเลงในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ท้งั งานมงคล เช่น งานฉลอง พระแก้วมรกตในสมยั ธนบุรี และงานอวมงคล เชน่ งานศพ แตต่ อ่ มานิยมบรรเลงในงานศพเนื่องจากท่วงทานองเพลงมอญมลี ลี าโศกเศร้า โหยหวน ซึ่งเหมาะกับบรรยากาศของงาน จนบาง ทา่ นนกึ ว่าปีพ่ าทย์มอญใช้บรรเลงเฉพาะในงานศพเท่าน้ัน

วงปี่พาทย์ชาตรีเป็นวงดนตรีเก่าแก่ท่มี มี าแต่โบราณ ใช้บรรเลงประกอบการแสดงโนราหช์ าตรี และหนังตลุงทางภาคใต้ของไทย เรียกว่า “ วงป่ีพาทย์ชาตรี “ และทเ่ี รียกวา่ “ วงปพี่ าทย์เคร่ืองเบา “ เพราะ เรยี กช่ือให้ตรงกนั ขา้ มกับ “ ปีพ่ าทย์เคร่อื งหนกั “( ป่ีพาทย์ไม้แขง็ ) ท้ังนี้เพราะเครื่องดนตรีในวงปพ่ี าทยช์ าตรีมนี ้าหนกั เบากวา่ เคร่อื งดนตรใี นวงป่ี พาทยไ์ มแ้ ข็ง ปี่พาทย์ชาตรีประกอบดว้ ยเครือ่ งดนตรีดงั นี้ 1. ป่ี 2. โทนชาตรี 3. กลองชาตรี ( กลองต๊กุ ) 4. ฆ้องคู่ 5. ฉง่ิ 6. กรับไม้

วงป่ีพาทยด์ ึกดาบรรพ์เปน็ วงป่พี าทย์ประสมชนดิ หน่ึง มตี ้นเค้าสบื เนอื่ งมาจากละครดึกดาบรรพ์ ซ่ึงเจา้ พระยา เทเวศรว์ งศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) และสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ กรม พระยานรศิ รานวุ ัตตวิ งศ์ รว่ มกนั ปรบั ปรงุ ขึ้นโดยอาศยั แนวอปุ รากร(Opera) ของตะวนั ตกเข้ามาประกอบ ละครนไ้ี ด้ช่อื ตามโรงละคร ซึง่ เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์ววิ ัฒน์ตง้ั ช่อื วา่ “โรงละครดึกดาบรรพ์” ละครก็เรียกวา่ “ละครดกึ ดาบรรพ์” ด้วย วงปี่พาทย์ท่ีบรรเลงในการเล่นละครคร้ังนีจ้ ึงมชี ือ่ ว่า “ป่พี าทยด์ ึกดาบรรพ์” สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟา้ กรมพระยานริศรานวุ ตั ติวงศ์ ได้ทรงคัดเลือกเครือ่ งดนตรีทีม่ ีเสียงทุ้มนุม่ นวล ประสมเขา้ ดว้ ยกนั ให้เหมาะสมกบั การแสดงละครดึกดาบรรพ์ คือ ระนาดเอก(ใชไ้ ม้นวม) ระนาดทมุ้ ระนาดทุม้ เหล็ก ฆอ้ งวงใหญ่ ฆอ้ งหยุ่ 7 ใบ มีเสียงเรยี งลาดบั กนั 7 เสยี ง ขลยุ่ เพยี งออ ตะโพน กลองตะโพน ฉ่ิง ซออู้ (เพ่ิมขนึ้ ภายหลงั เมอื่ แสดงเร่ือง สงั ข์ศลิ ปช์ ัย ได้ทรงบรรจุเพลงสงั ขาราซ่ึงต้องใชซ้ ออู้สปี ระกอบ) ขลยุ่ อู้ (มผี ู้คิดเพมิ่ ในภายหลงั ) วงป่พี าทยด์ ึกดาบรรพน์ น้ี อกจากจะเปลย่ี นแปลงการประสมเครื่องดนตรีตา่ งไปจากวงปพี่ าทย์เดิมแล้ว ยังได้เปล่ยี นแปลงวธิ กี ารต้ังเครื่องดนตรอี ีกด้วย โดยตงั้ ระนาดเอกไว้กลาง ระนาดทมุ้ อยู่ขวา ระนาดทุ้มเหลก็ อยูซ่ ้าย ฆ้องวงใหญ่อยู่หลงั ระนาดเอก สว่ นระเบยี บวิธกี ารบรรเลงน้ันกม็ แี บบแผนเฉพาะตวั ไม่เหมอื นกบั การบรรเลงในการ แสดงโขนละครโดยทวั่ ไป

วงปพ่ี าทย์เสภา เปน็ วงปพี่ าทย์ซึง่ ใช้กลองสองหนา้ กากบั จงั หวะหน้าทับแทนตะโพนและกลองทัดเร่มิ นามาบรรเลงร่วมกับการเล่นเสภาในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลยั

วงเครอ่ื งสาย วงดนตรีไทยประเภทหนงึ่ ซ่ึงเคร่ืองดนตรสี ว่ นใหญ่ในวงจะประกอบด้วยเคร่อื ง ดนตรที ี่ใชส้ ายเป็นตน้ กาเนนิ ของเสียงดนตรี เช่น ซอดว้ ง ซออู้ จะเข้ แม้วา่ เครื่องดนตรีที่นามาบรรเลงนัน้ จะมวี ิธบี รรเลงแตกต่างกนั เช่น สี ดีด หรือตี ก็ ตาม จึงเรียกวงดนตรีประเภทน้วี ่า \"วงเครอ่ื งสาย\" วงเครอ่ื งสายอาจมีเครอื่ งดนตรปี ระเภทเคร่ืองเป่า เช่น ขลุ่ย หรอื เคร่ืองกากบัจงั หวะ เช่น ฉิง่ กลองบรรเลงดว้ ยกถ็ ือว่าอยู่ในวงเคร่ืองสายเชน่ กันเพราะมเี ปน็ จานวนนอ้ ยท่นี าเข้ามาร่วมบรรเลงด้วยเพอ่ื ช่วยเพ่ิมรสในการบรรเลงด้วยเพอ่ื ชว่ ยเพ่มิ รสในการบรรเลงใหน้ า่ ฟงั มากยงิ่ ขน้ึวงเครื่องสายเกดิ ขนึ้ ในสมัยอยธุ ยา ซ่งึ มเี ครอ่ื งสี คือ ซอ เครื่องดีด คือ จะเข้ และ กระจับปี่ ผสมในวง ปัจจุบันวงเครื่องสายมี 4 แบบ คอื

วงเครื่องสายไทยเครอ่ื งเดี่ยวเป็นวงเครื่องสายทม่ี ีเครือ่ งดนตรีผสมเพยี งอย่างละ 1 ชิ้น เรยี กอกี อยา่ งหนง่ึ วา่วงเครอ่ื งสายไทยวงเล็ก เคร่อื งดนตรีท่ผี สมอยู่ในวงเครือ่ งสายไทยเครอื่ งเดยี่ วนี้นับวา่ เปน็ สง่ิ สาคัญและถือเป็นหลักของวงเครอ่ื งสายไทยที่จะขาดสิง่ หน่ึงส่ิงใดเสยี มิได้ เพราะแตล่ ะสงิ่ ลว้ นดาเนินทานองและมีหนา้ ทต่ี ่าง ๆ กนั เม่ือผสมเป็นวงข้นึ แล้ว เสยี งและหนา้ ที่ของเครื่องดนตรีแต่ละอย่างก็จะประสมประสานกันเปน็ อนั ดี เคร่ืองดนตรีท่ผี สมอยใู่ นวงเครือ่ งสายไทยเครอ่ื งเดีย่ วซ่ึงถอื เปน็ หลัก

วงเครือ่ งสายไทยเคร่ืองคู่คาว่า เครอื่ งคู่ ย่อมมีความหมายชดั เจนแล้วว่าเปน็ อยา่ งละ 2 ชน้ิ แตส่ าหรบั การ ผสมวงดนตรีจะตอ้ งพจิ ารณาใครค่ รวญถึงเสียงของเคร่ืองดนตรที จ่ี ะผสมกนั น้ัน วา่ จะบงั เกิดความไพเราะหรือไม่อีกดว้ ย เพราะฉะนน้ั วงเครอ่ื งสายไทยเครอื่ งคู่จงึ เพิม่ เครอื่ งดนตรใี นวงเครื่องสายไทยเครอื่ งเด่ียวข้ึนเปน็ 2 ชิ้น แตเ่ พยี งบางชนดิ

วงเคร่ืองสายผสมเป็นวงเคร่อื งสายที่นาเอาเครื่องดนตรตี ่างชาติเขา้ มาร่วมบรรเลงกบั เครอ่ื งสายไทย การเรยี กชื่อวงเครื่องสายผสมนน้ั นิยมเรียกตามชอ่ื ของเคร่ืองดนตรตี า่ งชาติทีน่ าเข้ามารว่ มบรรเลงในวง เชน่ นาเอาขมิ มาร่วมบรรเลงกับ ซอด้วง ซออู้ ขลยุ่และเคร่ืองกากับจงั หวะตา่ ง ๆ แทนจะเข้ กเ็ รียกวา่ \"วงเคร่ืองสายผสมขมิ \" หรอื นาเอาออรแ์ กนหรอื ไวโอลนิ มาร่วมบรรเลงดว้ ยกเ็ รียกวา่ \"วงเคร่อื งสายผสม ออรแ์ กน\" หรอื \"วงเครื่องสายผสมไวโอลิน\" เครื่องดนตรีตา่ งชาตทิ ีน่ ิยมนามา บรรเลงเปน็ วงเคร่อื งสายผสมนนั้ มมี ากมายหลายชนิด เช่น ขิม ไวโอลิน ออร์แกน เปยี โน แอกคอร์เดียน กเู่ จิง เปน็ ตน้

วงเครอ่ื งสายปีช่ วา เป็นวงเครื่องสายไทยทง้ั วงบรรเลงประสมกับวงกลองแขก โดยไมใ่ ชโ้ ทนและรามะนา และใชข้ ลุ่ยหลบี แทนขลุย่ เพียงออกเพ่อื ให้เสียงเขา้ กบั ปช่ี วาได้ดี เดิมเรียกว่า วง กลองแขกเครอื่ งใหญ่ วงเคร่อื งสายปี่ชวาเกดิ ขึน้ ในปลายรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัวการบรรเลงเคร่ืองสายปชี่ วานน้ั นักดนตรจี ะตอ้ งมีไหวพรบิ และความเชี่ยวชาญในการบรรเลงเป็นพิเศษ โดยเฉพาะฉิง่ กากับจังหวะจะต้องเปน็ คนทีม่ ีสมาธดิ ี ที่สดุ จึงจะบรรเลงไดอ้ ย่างไพเราะ เพลงที่วงเครื่องสายปช่ี วานยิ มใช้บรรเลงเป็นเพลง โหมโรง ไดแ้ ก่ เพลงเรื่องชมสมุทร เพลงโฉลก เพลงเกาะ เพลงระกา เพลงสะระหม่า แลว้ ออกเพลงแปลง เพลงออกภาษา แลว้ กลับมาออกเพลงแปลงอกี คร้ังหนงึ่

วงมโหรี วงมโหรี เป็นวงดนตรีไทยทม่ี วี ิวัฒนาการสบื เน่ืองมาอยา่ งยาวนาน จัดเปน็ การ ประสมวงทมี่ คี วามสมบูรณใ์ นดา้ นเสียงสงู สุด กล่าวคอื เป็นการรวมเอาเครื่องดนตรที าทานองของวงปีพ่ าทย์ทีม่ ีเคร่อื งตี คือ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดเอก เหลก็ ระนาดทมุ้ เหลก็ ฆอ้ งวงใหญ่ ฆ้องวงเลก็ ร่วมกับเคร่ืองดนตรใี นวงเคร่ืองสายทมี่ ีเครื่องดีด คือ จะเข้ เคร่ืองสี คอื ซอดว้ ง และซออู้ และเครือ่ งเปา่คือ ขลยุ่ เอาไว้ดว้ ยกนั การนาเอาวงปพี่ าทย์และวงเครอ่ื งสายมารวมกนั น้ี ทาให้ วงมโหรเี ป็นการรวมกนั ของเครอื่ งดนตรีทุกตระกูล คือ ดดี สี ตี และเปา่ มา รวมอยใู่ นวงเดยี วกันไดอ้ ย่างลงตวั ละเอียดออ่ น และละเมียดละไม มแี นวทาง การบรรเลงทน่ี ุ่มนวล ไพเราะ นยิ มใชบ้ รรเลงในพิธกี ารท่ศี กั ดสิ์ ทิ ธิและเป็น มงคลต่างๆ

วงมโหรสี มัยโบราณ (มโหรเี คร่ืองสี)่มผี ู้บรรเลงเพยี ง ๔ คน เท่านั้น คือ คนสซี อสามสาย คนดดี พณิ (กระจบั ป่)ี คนตีทบั (โทน) และคนรอ้ งซงึ ตกี รบั พวงด้วยเคร่อื งดนตรีท่ที าหน้าทีด่ าเนนิ ทานอง คือ ซอสามสายกับพิณหรือกระจบั ป่ี ทบั ซ่ึงในสมัยปัจจบุ นั เรยี กวา่ โทน ทาหน้าท่ีกากับจังหวะหนา้ ทับ เพอ่ื ให้รปู้ ระโยคและทานองเพลง ส่วนกรับพวงท่ี คนรอ้ งตนี น้ั กากับจังหวะย่อย

วงมโหรเี คร่ืองหก ต่อมาวงมโหรไี ด้เพมิ่ เตมิ เครื่องดนตรีขึน้ มาอกี ๒ อยา่ ง และเปลี่ยนแปลงไป อย่างหนึ่งเป็นวงมโหรีเครื่องหก เพราะมีผู้บรรเลง ๖ คน คอื ซอสามสาย พิณหรือกระจบั ปี่ ทับหรือโทน รามะนา (เพมิ่ ใหม่) ตสี อดสลับกับโทนหรือทบั ขลยุ่ (เพิ่มใหม่) ชว่ ยดาเนนิ ทานองเพลง และกรบั พวงของเดมิ เปล่ียนมาเปน็ ฉง่ิ

วงมโหรีวงเลก็วงมโหรีไดม้ ีววิ ัฒนาการ เพ่มิ เตมิ เปลย่ี นแปลงมาโดยลาดับ ครงั้ แรกได้เพม่ิ ฆ้อง วงกับระนาดเอก ต่อมาจึงได้เพม่ิ ซอด้วง ซออู้ และขลุ่ย ส่วนพิณหรอื กระจับปี่นั้น เปน็ เครอ่ื งดนตรีที่บรรเลงเม่ือยล้าเม่ือพบจะเขซ้ งึ่ เดิมเป็นเคร่ืองดนตรขี อง มอญเปน็ เครือ่ งดนตรีทวี่ างบนพน้ื ราบและดดี เป็นเสียงเช่นเดยี วกัน ท้งั นมที่บังคับเสียงเรียงลาดับก็ถ่ีพอสมควร สะดวกและคลอ่ งแคลว่ ในการบรรเลงดีกว่าจึงนาจะเขม้ าแทนพิณหรอื กระจบั ปี่ ซ่ึงนับเป็นวงมโหรีวงเลก็ ท่ีใช้อยู่ในปัจจุบนั นี้สว่ นหน้าที่ในการบรรเลงก็เป็นดังน้ี ซอสามสาย บรรเลงเป็นเสยี งยาวโหยหวน บ้าง เกบ็ ถ่ี ๆบา้ งตามทานองเพลง และเปน็ ผู้คลอเสียงร้องดว้ ย

วงมโหรีเคร่ืองคู่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนง่ั เกล้าเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ ๓ แหง่ กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ วงปีพ่ าทย์ไดเ้ พิม่ ระนาดทุ้มกบั ฆอ้ งวงเล็กกลายเปน็ วงป่ีพาทยเ์ ครอื่ งคู่ วงมโหรี ก็เพ่มิ ระนาดทุม้ กบั ฆ้องวงเล็กบ้าง ท้ังเพม่ิ ซอด้วง ซออู้ ขน้ึ เปน็ อย่างละ๒ คัน จะเขเ้ พ่ิมเปน็ ๒ ตวั ขลุ่ยนั้นเดมิ มแี ตข่ ลุ่ยเพยี งออก็เพิ่ม ขลุย่ หลิบ (เลาเล็ก) ขึ้น อกี ๑ เลา เหมอื นในวงเคร่ืองสาย ส่วนซอสามสายกเ็ พิ่มซอสามสายหลบิ (คันเลก็ และเสยี งสงู กว่า) อกี ๑ คัน เคร่อื งประกอบจังหวะคงเดิม เรยี กว่า วงมโหรีเคร่ืองคู่

วงมโหรเี ครอ่ื งใหญ่ ถงึ สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ ๔ วงปพ่ี าทยไ์ ดเ้ พิ่ม ระนาดทุ้มกับระนาดเอกเหลก็ ขนึ้ อีก ๒ ราง กลายเปน็ วงปพ่ี าทยเ์ คร่อื งใหญ่ มโหรจี ึงเลียนแบบ โดยเพิม่ ระนาดท้มุ เหล็กขึ้นบ้าง ส่วนระนาดเอกเหล็กนั้นเปล่ยี นเปน็ สรา้ งลูก ระนาดดว้ ยทองเหลียง เพราะเทยี บใหเ้ สยี งสูงไพเราะกว่าเหล็ก เรียกว่าระนาดทองรวมทัง้ วงเรียกวา่ วงมโหรีเคร่อื งใหญ่ ซ่ึงไดถ้ ือเปน็ แบบปฏิบัติใช้บรรเลงมาจนปัจจบุ ันนี้ บรรดาเคร่อื งดนตรีตา่ ง ๆ ทว่ี งมโหรีไดเ้ ลยี นแบบมาจากวงปี่พาทย์ คือ ระนาดเอกระนาดทุม้ ระนาดเอกเหล็ก (เป็นระนาดทอง) ระนาดทมุ้ เหล็ก (บางวงทาดว้ ยทองเหลืองเรยี กว่า ระนาดทุ้มทองก็มี) ฆ้องวงใหญ่ และฆ้องวงเลก็ นัน้ ทกุ ส่งิ จะตอ้ งยอ่ ขนาดลดลงใหเ้ ลก็ เพราะสมยั โบราณผู้บรรเลงมโหรมี แี ตส่ ตรที ัง้ น้ัน จึงต้องลดขนาดลงให้พอเหมาะแก่กาลงั อกี ประการหน่งึ การลดขนาดเครอื่ งตเี หล่าน้ีลงก็เพื่อให้เสยี งดงั สมดุลกับเครอ่ื ง ดนตรีประเภทดีดสี มฉิ ะนนั้ เสยี งจะกลบพวกเครือ่ งสายหมด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook