Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Published by konnakong, 2020-05-12 22:20:14

Description: ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Search

Read the Text Version

ระบบปฎบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์เบอ้ื งตน้ ระบบปฏบิ ตั กิ าร (operating system) หรอื โอเอส (OS) เป็ นซอฟต์แวร์ทที่ าหน้าทเี่ ป็ นตวั กลางระหวา่ งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ประยุกต์ท่วั ไป บางครง้ั เราอาจะเห็นระบบปฏบิ ตั กิ ารเป็ นเฟิ ร์มแวร์ก็ได้ ระบบปฏบิ ตั กิ ารมีหน้าทหี่ ลกั ๆ คอื การจดั สรรทรพั ยากรในเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ เพอื่ ใหบ้ รกิ ารซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ ในเรอื่ งการรบั สง่ และจดั เก็บขอ้ มลู กบั ฮาร์ดแวร์ เชน่ การสง่ ขอ้ มูลภาพไปแสดงผลทจี่ อภาพ การสง่ ขอ้ มลู ไปเก็บหรอื อา่ นจากฮาร์ดดสิ ก์ การรบั สง่ ขอ้ มลู ในระบบเครอื ขา่ ย การสง่ สญั ญานเสยี งไป ออกลาโพง หรือจดั สรรพื้นทใี่ นหน่วยความจา ตามทซี่ อฟตแ์ วร์ประยกุ ต์รอ้ ง ขอรวมทง้ั ทาหน้าทจี่ ดั สรรเวลาการใชห้ น่วยประมวลผลกลางในกรณีทอี่ นุญาต ใหร้ นั ซอฟต์แวร์ประยกุ ตห์ ลายๆ ตวั พรอ้ มๆ กนั ระบบปฏบิ ตั กิ าร ชว่ ยใหต้ วั ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ไมต่ อ้ งจดั การเรอื่ งเหลา่ นน้ั ดว้ ยตนเอง เพียงแคเ่ รียกใช้ บรกิ ารจากระบบปฏบิ ตั กิ ารก็พอ ทาใหพ้ ฒั นาซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ไดง้ า่ ยขน้ึ ระบบปฏบิ ตั กิ ารหรอื OS (Operating System) ทาหน้าทจี่ ดั การ เกยี่ วกบั การเขา้ ใชท้ รพั ยากรตา่ ง ๆ ของโปรแกรมทรี่ นั บนคอมพวิ เตอร์เครอื่ ง นน้ั ทรพั ยากรของคอมพวิ เตอร์มีหลายชนิด เช่น หน่วยความจา, ฮาร์ดดสิ ก์ , จอภาพ, คยี ์บอร์ด และเมาส์ เป็ นตน้ ถา้ ไมม่ รี ะบบปฏบิ ตั กิ าร คอมพวิ เตอร์ คงจะรนั โปรแกรมมากกวา่ หนึ่งโปรแกรมไมไ่ ด้ เพราะแตล่ ะโปรแกรมอาจ แยง่ ใชท้ รพั ยากรดงั กลา่ ว จนอาจทาใหร้ ะบบลม่ ได้ ระบบเครือขา่ ย เชน่ เครอื่ งพมิ พ์ ฮาร์ดดสิ ก์ เป็ นตน้ คอมพวิ เตอร์ทเี่ ชือ่ มตอ่ เขา้ กบั เครือขา่ ย จาเป็ นตอ้ งมีระบบปฏบิ ตั กิ ารทง้ั สองประเภท เพือ่ ทจี่ ะทาหน้าทที่ ง้ั จดั การ ทรพั ยากรภายในคอมพวิ เตอร์และในระบบเครอื ขา่ ย แตโ่ ดยสว่ นใหญร่ ะบบ ปฏบิ ตั กิ ารทง้ั สองประเภทจะอยูใ่ นตวั เดยี วกนั เมอื่ ตดิ ตง้ั ระบบปฏบิ ตั กิ ารเสร็จ แลว้ ก็เพียงตดิ ตง้ั สว่ นทเี่ ป็ นเครอื ขา่ ยเทา่ นน้ั ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือขา่ ยอาจเป็ น ชุดซอฟต์แวร์ทตี่ อ้ งตดิ ตง้ั เพม่ิ เตมิ หรืออาจจะเป็ นสว่ นหน่ึงของระบบปฏบิ ตั ิ การท่วั ๆ ไปขน้ึ อยูก่ บั บรษิ ทั ทีผ่ ลติ ตวั อยา่ งเชน่ เน็ตแวร์ (NetWare) ซงึ่ เป็ นซอฟต์แวร์ของบรษิ ทั โนเวลเป็ นระบบปฏบิ ตั กิ ารทีต่ อ้ งตดิ ตง้ั เพม่ิ เตมิ บน เครอื่ งทมี่ ีระบบปฏบิ ตั กิ ารอยแู่ ลว้ สว่ นระบบปฏบิ ตั กิ ารวนิ โดวส์ NT/2000/2003, วนิ โดวส์ 95/98/Me และยนู ิกซ์มีระบบปฏบิ ตั กิ าร เครือขา่ ยอยใู่ นตวั อยแู่ ลว้ โดยไมต่ อ้ งตดิ ตง้ั เพม่ิ เตมิ

1. ระบบปฏบิ ตั กิ าร ระบบปฏบิ ตั กิ าร หรือทเี่ รยี กยอ่ ๆ วา่ โอเอส (Operating System : OS) เป็ นซอฟต์แวร์ใชใ้ นการดแู ลระบบคอมพวิ เตอร์ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ทกุ เครอื่ งจะตอ้ งมซี อฟตแ์ วร์ระบบปฏบิ ตั กิ ารน้ี ระบบปฏบิ ตั กิ ารทีน่ ิยมใชก้ นั มาก และเป็ นทรี่ ูจ้ กั กนั ดเี ชน่ ดอส วนิ โดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอนิ ทอช เป็ นตน้ 1) ดอส (Disk Operating System : DOS) เป็ นซอฟตแ์ วร์จดั ระบบงานทพี่ ฒั นามานานแลว้ การใชง้ านจงึ ใชค้ าส่งั เป็ นตวั อกั ษร ดอสเป็ นซอฟตแ์ วร์ทีร่ จู้ กั กนั ดใี นหมูผ่ ใู้ ช้ไมโครคอมพวิ เตอร์ใน อดตี ปจั จบุ นั ระบบปฏบิ ตั กิ ารดอสนน้ั มกี ารใชง้ านน้อยมาก 2) วนิ โดวส์ (Windows) เป็ นระบบปฏบิ ตั กิ ารทพี่ ฒั นาตอ่ จากดอส โดยใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถส่งั งานได้ จากเมาส์มากขนึ้ แทนการใชแ้ ผงแป้ นอกั ขระเพยี งอยา่ งเดยี วนอกจากนี้ ระบบปฏบิ ตั กิ ารวนิ โดวส์ยงั สามารถทางานหลายงานพรอ้ มกนั ได้ โดยงานแต่ ละงานจะอยใู่ นกรอบชอ่ งหน้าตา่ งบนจอภาพ การใชง้ านเน้นรูปแบบกราฟิ ก ผใู้ ชง้ านสามารถใชเ้ มาส์เลอื่ นตวั ช้ีเพือ่ เลือกตาแหน่งทปี่ รากฏบนจอภาพ ทาให้ ใชง้ านคอมพวิ เตอร์ไดง้ า่ ย ระบบปฏบิ ตั กิ ารวนิ โดวส์จงึ ไดร้ บั ความนิยมอยา่ ง มากในปจั จบุ นั 3) ยูนิกซ์ (Unix) เป็ นระบบปฏบิ ตั กิ ารทพี่ ฒั นามาตง้ั แตค่ รง้ั ใชก้ บั เครอื่ งมนิ ิคอมพวิ เตอร์ ระบบปฏบิ ตั กิ ารยูนิกซ์เป็ นระบบปฏบิ ตั กิ ารทีเ่ ป็ นเทคโนโลยแี บบเปิ ด (open system) ซงึ่ เป็ นแนวคดิ ทีผ่ ใู้ ชไ้ มต่ อ้ งผกู ตดิ กบั ระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้ อปุ กรณ์ทมี่ ียหี่ อ้ เดยี วกนั ยนู ิกซ์ยงั ถูกออกแบบมาเพอื่ ตอบสนองการใชง้ านใน ลกั ษณะทมี่ ผี ใู้ ชไ้ ดห้ ลายคนในเวลาเดียวกนั ทเี่ รียกวา่ ระบบหลายผใู้ ช้ (multiusers) และสามารถทางานไดห้ ลายๆ งานในเวลาเดยี วกนั ในลกั ษณะ ทเี่ รียกวา่ ระบบหลายภารกจิ (multitasking) ระบบปฏบิ ตั กิ ารยนู ิกซ์จงึ นิยม ใชก้ บั เครอื่ งทเี่ ชือ่ มโยงเป็ น เครือขา่ ยเพือ่ ใชง้ านรว่ มกนั หลายๆ เครอื่ งพรอ้ ม กนั

AIX โดยบรษิ ทั IBM AUX โดยบรษิ ทั Apple IRIS โดย บรษิ ทั Silicon Graphic Linux เป็ น Freeware OSF/I โดย บรษิ ทั DEC SCO UNIX โดย บรษิ ทั SCO SunOS โดย บรษิ ทั SUN Microsystem ULTRIX โดย บรษิ ทั DEC 4) ลีนุกซ์ (linux) เป็ นระบบปฏบิ ตั กิ ารทีพ่ ฒั นามาจากระบบยูนิกซ์ เป็ นระบบซงึ่ มกี าร แจกจา่ ยโปรแกรมตน้ ฉบบั ใหน้ กั พฒั นาช่วยกนั พฒั นาคุณสมบตั ขิ อง ระบบปฏบิ ตั กิ าร ระบบปฏบิ ตั กิ ารลีนุกซ์เป็ นทีน่ ิยมกนั มากขนึ้ ในปจั จบุ นั เนื่องจากมโี ปรแกรมประยุกตต์ า่ งๆ ทที่ างานบนระบบลีนุกซ์จานวนมาก โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ โปรแกรมในกลมุ่ ของกูส์นิว (GNU) และสง่ิ ทสี่ าคญั ทสี่ ดุ ก็ คอื ระบบลนี ุกซ์เป็ นระบบปฏบิ ตั กิ ารประเภทแจกฟรี (Free Ware) ผใู้ ช้ สามารถใชง้ านไดโ้ ดยไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ย 5) แมคอนิ ทอช (macintosh) เป็ นระบบปฏบิ ตั กิ ารสาหรบั เครอื่ งไมโครคอมพวิ เตอร์ แมคอนิ ทอช สว่ นมากนาไปใชง้ านดา้ นกราฟิ ก ออกแบบและจดั แตง่ เอกสาร นิยมใชใ้ น สานกั พมิ พ์ตา่ งๆ นอกจากระบบปฏบิ ตั กิ ารทกี่ ลา่ วมาแลว้ ยงั มีระบบปฏบิ ตั กิ าร อีกมาก เชน่ ระบบปฏบิ ตั กิ ารทใี่ ชใ้ นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เพอื่ ให้ คอมพวิ เตอร์ทางานรว่ มกนั เป็ นระบบ เชน่ ระบบปฏบิ ตั กิ ารเน็ตแวร์ นอกจากนี้ยงั มรี ะบบปฏบิ ตั กิ ารทใี่ ชง้ านเฉพาะกบั เครอื่ งคอมพวิ เตอร์

พืน้ ฐานเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ จุดประสงค์ของการประดษิ ฐ์คอมพวิ เตอร์ใชใ้ นสมยั แรก ๆ นน้ั เพอื่ ให้ คอมพวิ เตอร์ไดท้ างานบางอยา่ งแทนมนุษย์ได้ เช่น การคานวณเลข ซงึ่ ถา้ เป็ นตวั เลขจานวนมาก ๆ มนุษย์จะใชเ้ วลาในการคานวณมากและมีโอกาส เกดิ ขอ้ ผดิ พลาดไดม้ าก ในขณะทคี่ อมพวิ เตอร์สามารถคานวณไดเ้ ร็วกวา่ มาก อกี ทง้ั ยงั มคี วามแมน่ ยาและมีความผดิ พลาดน้อยกวา่ มนุษย์มาก การทางานจะ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพสูงจะ ตอ้ งทาเป็ นหมคู่ ณะ หรอื ทีมเวริ ์ค (Teamwork) คอมพวิ เตอร์ก็ซงึ่ ถูกสรา้ งมาเพอื่ ทางานแทนมนุษย์ก็จาเป็ นทตี่ อ้ งมกี ารสอื่ สาร ซงึ่ กนั และกนั เชน่ กนั ฉะนน้ั คอมพวิ เตอร์เครือ่ งใดทีไ่ มไ่ ดเ้ ชือ่ มตอ่ เขา้ กบั เครอื่ งอนื่ ก็เปรยี บเสมอื นคนทีช่ อบความสนั โดษ ในการเชือ่ มตอ่ กนั เป็ น เครือขา่ ยนน้ั เป็ นสาเหตทุ เี่ นื่องมาจากการทผี่ ใู้ ชต้ อ้ งการทางานเป็ นกลมุ่ หรือ ทมี ซง่ึ การทางานแบบนี้ยอ่ มมปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ การทางานแบบเดยี่ ว ๆ หลงั จากทคี่ อมพวิ เตอร์ไดค้ ดิ คน้ ขนึ้ มาแลว้ นน้ั ก็ยงั ไดม้ กี ารพฒั นามา อยา่ งตอ่ เนื่องและรวดเร็วจน ในปจั จุบนั เป็ นทยี่ อมรบั มากวา่ อตุ สาหกรรม คอมพวิ เตอร์เป็ นอุตสาหกรรมทมี่ ีการพฒั นารวดเร็วอยา่ งรวดเร็วมากทสี่ ุด อตุ สาหกรรมหนึ่ง ปจั จบุ นั น้ีก็เป็ นยคุ ขอ้ มูลขา่ วสารโดยการใชเ้ ครือ่ ง คอมพวิ เตอร์เป็ น เทคโนโลยีทรี่ องรบั คอมพวิ เตอร์ในสมยั แรก ๆ เทา่ นน้ั เป็ น คอมพวิ เตอร์ทถี่ ูกออกแบบใหใ้ ชง้ านแบบรวมศนู ย์ (Centralized Computing) เชน่ เมนเฟรม มนิ ิคอมพวิ เตอร์ เป็ นตน้ ซง่ึ คอมพวิ เตอร์จะถูก สรา้ ง และเก็บไวใ้ นหอ้ ง ๆ หนึ่ง เนือ่ งมาจากสมยั นน้ั เป็ นคอมพวิ เตอร์ทีม่ ี ราคาแพงมาก ผใู้ ชแ้ ตล่ ะคนจะใชจ้ อภาพ (Dump Terminal) เพือ่ เชือ่ มตอ่ เขา้ กบั เครอื่ งเมนเฟรม

เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (Computer Network) คอื ระบบทมี่ ี คอมพวิ เตอร์อยา่ งน้อยสองเครอื่ งเชือ่ มตอ่ กนั โดยใชส้ ือ่ กลาง และก็สือ่ สาร ขอ้ มูลกนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ ทาใหผ้ ใู้ ชค้ อมพวิ เตอร์แตล่ ะเครอื่ ง สามารถแลกเปลยี่ นขอ้ มูลซง่ึ กนั และกนั ได้ นอกจากน้ียงั สามารถใชท้ รพั ยากร (Resources) ทมี่ ีอยใู่ นเครอื ขา่ ยรว่ มกนั ได้ เช่น เครอื่ งพมิ พ์ ซีดรี อม สแกนเนอร์ ฮาร์ดดสิ ก์ เป็ นตน้ แนวคดิ ในการสรา้ งเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์นน้ั เรม่ิ มาจากการทผี่ ใู้ ช้ ตอ้ งการทีจ่ ะแลกเปลีย่ นขอ้ มูลกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและรวดเร็ว คอมพวิ เตอร์เดยี่ วๆ เป็ นอุปกรณ์ทมี่ ีความสามารถในการประมวลผลขอ้ มูลใน ปรมิ าณมากอยา่ งรวดเร็วอยแู่ ลว้ แตข่ อ้ เสียคอื ผใู้ ชไ้ มส่ ามารถแชร์ขอ้ มูลนน้ั กบั คนอืน่ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพไดก้ อ่ นทีจ่ ะมเี ครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ องค์ประกอบพ้ืนฐานของเครือขา่ ย การทีค่ อมพวิ เตอร์จะเชือ่ มตอ่ กนั เป็ นเครือขา่ ยได้ ตอ้ งมี องคป์ ระกอบพืน้ ฐานดงั ตอ่ ไปน้ี - คอมพวิ เตอร์ อยา่ งน้อย 2 เครอื่ ง - เน็ตเวริ ์ดการ์ด หรือ NIC ( Network Interface Card) เป็ นการ์ดทีเ่ สียบเขา้ กบั ชอ่ งที่ เมนบอร์ดของคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ เป็ นจุดเชือ่ มตอ่ ระหวา่ งคอมพวิ เตอร์และเครอื ขา่ ย - สือ่ กลางและอุปกรณ์สาหรบั การรบั สง่ ขอ้ มลู เชน่ สายสญั ญาณ สว่ น สายสญั ญาณทนี่ ิยมทใี่ ชก้ นั ในเครือขา่ ยก็เชน่ สายโคแอ็กเชียล สายคเู่ กลียว บดิ และสายใยแกว้ นาแสง เป็ นตน้ สว่ นอปุ กรณ์ เครือขา่ ย เชน่ ฮบั สวติ ช์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็ นตน้ - โปรโตคอล ( Protocol) โปรโตคอลเป็ นภาษาทีค่ อมพวิ เตอร์ใช้ ตดิ ตอ่ สอื่ สารกนั ผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ทสี่ ามารถสือ่ สารกนั ไดน้ น้ั จาเป็ นที่ ตอ้ งใช้ “ภาษา” หรอื ใชโ้ ปรโตคอลเดยี วกนั เช่น OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็ นตน้

- ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครอื ขา่ ย หรอื NOS (Network Operating System)ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครอื ขา่ ยจะเป็ นตวั คอยจดั การเกีย่ วกบั การใชง้ าน เครือขา่ ยของผใู้ ชแ้ ตล่ ะคน ววิ ฒั นาการของคอมพวิ เตอร์ จุดกาเนิดของคอมพวิ เตอร์ ตน้ กาเนิดของคอมพวิ เตอร์อาจกลา่ วไดว้ า่ มาจากแนวความคดิ ของ ระบบตวั เลข ซง่ึ ไดพ้ ฒั นาเป็ นวธิ ีการคานวณตา่ ง ๆ รวมทง้ั อุปกรณ์ทชี่ ว่ ยใน การคานวณอยา่ งงา่ ย ๆ คอื \" กระดานคานวณ\" และ \"ลูกคดิ \" ในศตวรรษที่ 17 เครือ่ งคาแบบใชเ้ ฟื่ องเครอื่ งแรกไดก้ าเนิดขน้ึ จากนกั คณิตศาสตร์ชาวฝร่งั เศษ คอื Blaise Pascal โดยเครอื่ งของเขาสามารถ คานวณการบวกการลบไดอ้ ยา่ งเทีย่ งตรง และในศตวรรษเดยี วกนั นกั คณิตศาสตร์ชาวเยอร์มนั คอื Gottried Wilhelm von Leibniz ไดส้ รา้ ง เครอื่ งคดิ เลขเครอื่ งแรกทสี่ ามารถคณู และหารไดด้ ว้ ย ในตน้ ศตวรรษที่ 19 ชาวฝร่งั เศษชือ่ Joseph Marie Jacquard ได้ พฒั นาเครอื่ งทอผา้ ทสี่ ามารถโปแกรมได้ โดยเครอื่ งทอผา้ นี้ใชบ้ ตั รขนาดใหญ่ ซง่ึ ไดเ้ จาะรไู้ วเ้ พอื่ ควบคมุ รูปแบบของลายทจี่ ะปกั บตั รเจาะร(ู punched card) ที่ Jacquard ใชน้ ี้ไดถ้ ูกพฒั นาตอ่ ๆมาโดยผอู้ ืน่ เพอื่ ใชเ้ ป็ นอปุ กรณ์ ป้ อนขอ้ มูลและโปรแกรมเขา้ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ในยคุ แรกๆ ตอ่ มาในศตวรรษเดียวกนั ชาวองั กฤษชือ่ Charles Babbage ไดท้ า การสรา้ งเครอื่ งสาหรบั แกส้ มการโดยใชพ้ ลงั งานไอน้า เรียกวา่ difference engine และถดั จากนน้ั ไดเ้ สนอทฤษฎเี กีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์สมยั ใหม่ เมอื่ เขา ไดท้ าการออกแบบ เครอื่ งจกั รสาหรบั ทาการวเิ คราะห์ (analytical engine) โดยใชพ้ ลงั งานจากไอน้า ซง่ึ ไดม้ กี ารออกแบบใหใ้ ชบ้ ตั รเจาะรูของ Jacquard ในการป้ อนขอ้ มลู ทาใหอ้ ุปกรณ์ชน้ิ น้ีมีหน่วยรบั ขอ้ มูล หน่วย ประมวลผล หน่วยแสดงผล และหน่วยเก็บขอ้ มูลสารอง ครบตามรปู แบบของ คอมพวิ เตอร์สมยั ใหม่ แตโ่ ชคไมด่ ที แี่ มว้ า่ แนวความคดิ ของเขวจะถกู ตอ้ ง แต่

เทคโนโลยีในขณะนน้ั ไมเ่ ออื้ อานวยตอ่ การสรา้ งเครอื่ งทสี่ ามารถทางานไดจ้ รงิ อยา่ งไรก็ดี Charles Babbage ก็ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เป็ นบดิ าของ คอมพวิ เตอร์คนแรก และผรู้ ว่ มงานของเขาคอื Augusta Ada Byron ก็ ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เป็ นนกั เขยี นโปรแกรมคนแรกของโลก ยุคของคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์มกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่อง สามารถแบง่ ออกได้ โดยแบง่ สว่ นประกอบของฮาร์ดแวร์ (Hardward ) เป็ น 4 ยคุ ดว้ ยกนั ยคุ ที่ 1 (1951-1958) กอ่ นหน้าปี 1951 เครอื่ งคอมพวิ เตอร์จะมีใชเ้ ฉพาะนกั วทิ ยาศาสตร์ วศิ วกร และทหารเทา่ นน้ั จนกระท่งั ผสู้ รา้ ง ENIAC คอื Mauchly และ Eckert ไดจ้ ดั ตง้ั บรษิ ทั เพือ่ ทาตลาดเชงิ พาณิชย์ของเครอื่ งรนุ่ ถดั มาของพวก เขา คอื เครือ่ ง UNIVAC ซงึ่ คอมพวิ เตอร์ในยุคน้ีจะมี หลอดสูญญากาศ และ ดรมั แมเ่ หล็ก (magnetic drum) เป็ นสว่ นประกอบสาคญั แตห่ ลอด สุญญากาศจะมีไมน่ ่าเชือ่ ถอื สูง เป็ นเหตใุ หต้ อ้ งใชค้ วามพยายามอยา่ งมากใน การทาใหเ้ ครอื่ งในยุคนน้ั สามารถทางานได้ สว่ นดรมั แมเ่ หล็กถูกใชเ้ ป็ น หน่วยความจาหลกั (primary memory) บนเครอื่ งคอมพวิ เตอร์สว่ นมาก ในยุคแรกนี้ สว่ นหน่วยบนั ทกึ ขอ้ มูลสารอง (secondary storage) ซงึ่ ใช้ เก็บทง้ั ขอ้ มลู และคาส่งั โปรแกรมในยคุ น้ีจะอยใู่ นบตั รเจารู จนปลายยคุ น้ีเทป แมเ่ หล็กจงึ ไดถ้ กู นามาใชเ้ ป็ นหน่วยบนั ทกึ ขอ้ มูลสารอง ภาษาคอมพวิ เตอร์ในยุคนี้จะอยใู่ นรูปของภาษาเครอื่ ง ซงึ่ เป็ นตวั เลข ฐาน 2 ทง้ั สน้ิ ทาใหผ้ ทู้ จี่ ะสามารถโปรแกรมใหเ้ ครอื่ งทางานได้ ตอ้ งเป็ น ผเู้ ชีย่ วชาญเทา่ นน้ั

ยคุ ที่ 2 (1959-1964) การพฒั นาทีส่ าคญั ทสี่ ุดทแี่ บง่ แยกยคุ น้ีออกจากยคุ แรก คอื การแทนที่ หลอดสูญญากาศดว้ ยทรานซสิ เตอร์ (transistor) หน่วยความจาพนื้ ฐานก็ ไดม้ ีการพฒั นามาเป็ น magnetic core รวมทง้ั มกี ารใช้ magnetic disk ซงึ่ เป็ นหน่วยบนั ทกึ ขอ้ มลู สารองทีม่ คี วามเร็วสงู ขน้ึ นอกจากน้ี สว่ นประกอบที่ คอมพวิ เตอร์ไดถ้ กู รวบรวมเขา้ ไวใ้ น แผน่ วงจรพมิ พ์ลาย (printed circuit boards) ซงึ่ งา่ ยตอ่ การเปลีย่ นและมีการสรา้ งโปรแกรมวเิ คราะห์เพอื่ หาสว่ น ผดิ พลาดไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ภาษาโปรแกรมระดบั สงู เชน่ FORTRAN และ COBOL ไดถ้ ูกใชใ้ น การโปรแกรมสาหรบั ยคุ น้ี โปรแกรมเมอร์สามารถใชง้ านภาษาเหลา่ นี้ได้ สะดวกกวา่ คอมพวิ เตอร์ในยคุ ที่ 1 เนือ่ งจากมีไวยากรณ์ทคี่ ลา้ ยคลืงกบั ภาษาองั กฤษ อยา่ งไรก็ดี เนือ่ งจากคอมพวิ เตอร์สามารถทางานไดแ้ ตเ่ ฉพาะ กบั ภาษาเครอื่ ง ทาใหต้ อ้ งใชโ้ ปรแกรมตวั อนื่ คอื compiler และ interpreter ในการแปลงภาษาระดบั สูงใหเ้ ป็ นภาษาเครอื่ ง ในยคุ ที่ 2 เรม่ิ มกี ารตดิ ตอ่ สอื่ สารระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ 2 เครือ่ งทอี่ ยู่ หา่ งกนั โดยผา่ นสายโทรศพั ท์ ถงึ แมว้ า่ จะตดิ สอื่ สารกนั ไดช้ า้ มากก็ตาม ปญั หา ในยคุ นี้คอื อุปกรณ์รบั ขอ้ มูลและอุปกรณ์แสดงผลทางานไดช้ า้ มาก ทาให้ คอมพวิ เตอร์ตอ้ งรอการรบั ขอ้ มูลหรือการแสดงผลบอ่ ย ๆ ซง่ึ Dr.Daniel Slotnick ไดท้ าการพฒั นาเพม่ิ เตมิ โดยใชห้ ลกั การของการประมวลผลแบบ ขนานกนั นอกจากนย้ั งั มีกลมุ่ คณาจารย์และนกั เรยี กจาก Massachusetts Instiute of Technoligy พฒั นาระบบ มลั ตโิ ปรแกรมมง่ิ (multiprogramming) ซง่ึ เป็ นการจดั สรรใหค้ อมพวิ เตอร์ทางานหลาย โปรแกรมพรอ้ ม ๆ กนได้ ทาใหไ้ มต่ อ้ งเสียเวลารอหน่วยรบั ขอ้ มลู และหน่วย แสดงผลอกี ตอ่ ไป

ยุคที่ 3 (1965-1971) ในยคุ ที่ 3 เป็ นยคุ ของอตุ สาหกรรมคอมพวิ เตอร์ทมี่ กี ารเตบิ โตมาก ไดม้ ี การนา แผงวงจรรวม (IC หรือ integrated circuits) ซงึ่ ประกอบดว้ ย ทรานซสิ เตอร์และวงจรไฟฟ้ าทรี่ วอยบู่ นแผน่ ซลิ กิ อนเล็ก ๆ มาแทนการ ประกอบแผน่ วงจรพมิ พ์ลาย ทาใหเ้ วลาการทางานขงิ คอมพวิ เตอร์ลดลงอยใู่ น หน่วยหนึ่งสว่ นพนั ลา้ นวนิ าที นอกจากน้ี มนิ ิคอมพวิ เตอร์ไดถ้ อื กาเนิดขนึ้ ในปี ค.ศ.1965 คอื เครอื่ ง PDP-8 ของ Digital Equipment Corportion (DEC) ซง่ึ ตอ่ มาก็มกี ารใชม้ นิ ิคอมพวิ เตอร์ทสี่ ามารถตดิ ตอ่ กบั คอมพวิ เตอร์ กนั อยา่ งแผรห่ ลาย รวมทง้ั มีการใชง้ าน เทอร์มนิ ลั (terminal) ซง่ึ เป็ น จอคอมพวิ เตอร์ผา่ นทาง คยี ์บอร์ด (keyboard) ทาใหก้ ารป้ อนขอ้ มูลและ พฒั นาโปรแกรมกระทาไดส้ ะดวกขน้ึ ยคุ ที่ 4 (1971-ปจั จุบนั ) ในยุคที่ 4 เทคโนโลยแี ผงวงจรรวมไดพ้ ฒั นาขน้ึ เป็ น แผงวงจรรวม ขนาดใหญ่ (LSI หรือ large-scale integartion) และจากนน้ั ก็มีการ พฒั นาตา่ เป็ น แผงวงจรขนาดใหญม่ าก (Very Large-Scale integartion - VLSI) ซงึ่ ทาใหเ้ กดิ microprocessor ตวั โลกของโลก คอื Intel 4004 จากบรษิ ทั Intel ซงึ่ เป็ นการใช้แผน่ ชฟิ เพยี งแผน่ เดียวสาหรบั เก็บ หน่วยควบคมุ (control unit) และ คานวณเลขตรรกะ (arithmetic- logic unit) ของคอมพวิ เตอร์ทง้ั หมดเทคนิคในการยอ่ ทรานซีสเตอร์ใหอ้ ยู่ กนั อยา่ งหนาแน่นบนแผน่ ซลิ กิ อนน้ี ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่องจากปจั จบุ นั สามารถเก็บทรานซสิ เตอร์นบั ลา้ นตวั ไวใ้ นชปิ เพียงหนึ่งแผน่ ในสว่ นของ หน่วยบนั ทกึ ขอ้ มูลสารอง (secondary storage) ก็ไดเ้ พมิ่ ความจขุ นึ้ อยา่ ง มากจนสามารถเก็บขอ้ มูลนบั พนั ลา้ นตวั อกั ษรไดใ้ นแผน่ ดสิ ก์ขนาด 3 น้ิว เนื่องจากการเพมิ่ ความจุของหน่วยบนั ทกึ ขอ้ มลู สารองนีเ่ อง ซอฟตแ์ วร์ ชนิดใหมไ่ ดพ้ ฒั นาขน้ึ เพือ่ ใหส้ ามารถเก็บรวมรวบและบนั ทกึ แกไ้ ขขอ้ มลู จา นวณมหาศาลทถี่ ูกจดั เก็บไว้ น่นั คอื ซอฟร์แวร์ ฐานขอ้ มูล (Data base )

นอกจากน้ี ยงั มีการถือกาเนิดขนึ้ ของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์สว่ นบุคคลในปี 1975 คอื เครอื่ ง Altair ซงึ่ ใชช้ ปิ intel 8080 และถดั จากนน้ั ก็เป็ นยคุ ของเครอื่ ง และ ตามลาดบั ในสว่ นของซอฟต์แวร์ก็ไดม้ ีการพฒั นาใหเ้ ป็ นมติ รกบั ผใู้ ช้ มี ขนาดใหญแ่ ละซบั ซ้อนมากขนึ้ เรือ่ ย ๆ รวมทง้ั มกี ารนาเทคนิคตา่ ง ๆ เชน่ OOP (Object-Oriented Programming) และ Visual Programming มาเป็ นเครอื่ งมือชว่ ยในการพฒั นา การพฒั นาทีส่ าคญั อนื่ ๆในยุคที่ 4 คอื การพฒั นาเครอื่ งขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ความเร็วสูง ทาใหค้ อมพวิ เตอร์สามารถเชือ่ มโยงและแลกเปลยี่ นกนั ได้ โดย การใชง้ านภายในองคก์ รนน้ั ระบบเครอื่ ขา่ ยทอ้ งถน่ิ (Local Araa Networks) ซง่ึ นิยมเรยี กวา่ แลน (LANs) จะมีบทบาทในการเชือ่ งโยง เครอื่ งนบั รอ้ ยเขา้ ดว้ ยกนั ในพน้ื ทีไ่ ทห่ า่ วกนั นกั สว่ นระบบเครอื่ งข่ายระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรอื แวน (WANs) จะทาหน้าทเี่ ชือ่ มโยง เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ทีอ่ ยหู่ า่ งไกลคนละซีกโลกเขา้ ดว้ ยกนั อา้ งองิ : https://sites.google.com/site/bawsxnphuththala/rabb- kherux-khay-beuxng-tn


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook