Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore น.ส.-วรารัตน์-ขัดปินใจ-เลขที่14-ปวส2

น.ส.-วรารัตน์-ขัดปินใจ-เลขที่14-ปวส2

Published by Wararat Khatpinjai, 2020-10-02 02:00:25

Description: น.ส.-วรารัตน์-ขัดปินใจ-เลขที่14-ปวส2

Search

Read the Text Version

บทท่2ี การบญั ชีตน้ ทนุ มาตรฐาน นางสาววรารตั น์ ขดั ปินใจ แผนกพาณิชยการ วทิ ยาลยั เทคนิคเทงิ

สารบญั หนา้ เร่ือง 1 การบัญชตี น้ ทนุ มาตรฐาน 2 ความหมายของการบัญชีต้นทนุ มาตรฐาน 5 การคานวณตน้ ทุนสนิ คา้ ตามวิธตี ้นทนุ จรงิ วิธตี ้นทนุ ปกติ และวิธตี น้ ทนุ มาตรฐาน 9 การกาหนดมาตรฐานตน้ ทุน และการเปรียบเทยี บผลต่าง 15 การคานวณผลตา่ งเก่ียวกบั วัตถดุ ิบทางตรง 20 การบนั ทึกบญั ชีเกย่ี วกบั วัตถุดบิ ทางตรง 22 การบนั ทึกผลตา่ งเกยี่ วกับแรงงานทางตรง 24 การบันทกึ บญั ชเี กยี่ วกับแรงงานทางตรง 27 การบนั ทกึ ผลต่างเกยี่ วกับคา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ 31 การบนั ทึกบญั ชเี กยี่ วกบั ค่าใชจ้ ่ายในการผลิต

การบญั ชีตน้ ทนุ มาตรฐาน การบญั ชตี ้นทุนมาตรฐาน (Standard Costing) ถือเสมือนเป็นเครือ่ งมอื ในการบริหารจดั การตน้ ทนุ ใหฝ้ า่ ยบรหิ ารเพือ่ ใชใ้ นการวางแผน และควบคุมตน้ ทุนการผลิตตามทที่ ราบแลว้ ว่ากจิ การสามารถเลือกระบบบญั ชีเพอ่ื สะสมขอ้ มลู ตน้ ทุนและจัดทารายงานทางการเงินตามลักษณะการ ผลิตสนิ คา้ ได้ 2 ระบบคอื การบัญชีตน้ ทุนงาน (Job Costing) และการบัญชตี ้นทนุ ชว่ งการผลิต (Process Costing) กิจการจะเลือกปฏบิ ัตติ ามระบบ บญั ชใี ดขึน้ อยกู่ ับลกั ษณะของสินคา้ ทีผ่ ลติ การบญั ชีตน้ ทนุ มาตรฐานเป็นลกั ษณะการบัญชที ่ีใชเ้ พ่อื เปรียบเทยี บต้นทนุ ท่เี กดิ ข้นึ จริงกับมาตรฐานท่ี กาหนดไว้อย่างเหมาะสมเปน็ เครือ่ งมือในการควบคุมและบริหารจัดการต้นทนุ การบญั ชีต้นทนุ มาตรฐานจึงมปี ระโยชนต์ ่อผบู้ ริหารเป็นอยา่ งมาก สามารถนาวธิ กี ารบัญชตี น้ ทุนมาตรฐาน

ความหมายของการบญั ชตี ้นทนุ มาตรฐาน หมายถงึ ระบบการบัญชตี น้ ทุนการผลิตซ่ึงถูกกาหนดไว้ล่วงหน้าก่อนทาการผลิตจริงท้ังมาตรฐานปริมาณ (Quantity Standard) และ มาตรฐานราคา (Price Standard) โดยกาหนดอยา่ งมหี ลักเกณฑต์ ามความเหมาะสมของกิจการและต้องร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อนาจานวนท่ี กาหนดไวล้ ่วงหน้าหรอื มาตรฐานมาเปรียบเทยี บกับผลการผลิตจริงเพื่อพัฒนาต้นทุนให้ได้ต้นทุนต่าท่ีสุดสินค้ามีคุณภาพตามต้องการสร้างกาไรสูงสุด ให้กจิ การวิธีการบัญชีต้นทนุ มาตรฐานนอกจากมีประโยชนใ์ นการบรหิ ารจดั การต้นทุนจากการนาผลต่างท่ีได้จากการเปรียบเทียบต้นทุนมาตรฐานกับ ต้นทนุ ท่ีเกิดข้นึ จรงิ ไปปรับการทางานของทุกฝา่ ยที่เก่ียวข้องผู้บริหารสามารถใช้วิธีการบัญชีต้นทุนมาตรฐานเพ่ือควบคุมการทางานวางแผ นการผลิต ประกอบการตดั สนิ ใจที่เปน็ ประโยชน์ต่อกิจการแล้วในการตีราคาสนิ ค้าคงเหลอื ปลายงวด กิจการสามารถใชร้ าคามาตรฐานของสินคา้ เพอ่ื คานวณมูลค่าสนิ ค้าคงเหลือปลายงวดได้ข้อสังเกตหากเราเปรียบเทียบ“ ตน้ ทุนมาตรฐาน” (Standard Cost) กับ“ งบประมาณ (Budget) วา่ มคี วามสัมพนั ธ์กนั เหมือนกนั หรือแตกต่างกันอย่างไรพอสรุปได้วา่ ) “ ตน้ ทุนมาตรฐาน” ถูกกาหนดเป็นมาตรฐานตอ่ หน่วยเทียบเท่าหนว่ ยสาเร็จรูปตามส่วนประกอบของต้นทุนการผลิต “ งบประมาณ” ถกู กาหนดเป็นยอดรวมท้งั หมดโดยแยกเป็นแต่ละรายการตน้ ทนุ การผลิตทค่ี าดว่าจะเกิด

การคานวณต้นทุนสินค้าตามวธิ ตี น้ ทนุ จรงิ วธิ ตี ้นทนุ ปกติ และวิธี ต้นทนุ มาตรฐาน การคานวณต้นทนุ การผลิตสินคา้ มีวิธีการที่แตกต่างกนั ตามลกั ษณะการเกบ็ สะสมต้นทนุ การผลิตตามขนาดและลกั ษณะการปฏบิ ตั งิ าน ของแต่ละกิจการ แบ่งการคานวณต้นทุนการผลิตสินค้าได้ 3 วธิ ีคอื 1. วธิ ีต้นทุนจริง (Actual Cost) 2. วิธีต้นทุนปกติ (Normal Cost) 3. วิธีตน้ ทนุ มาตรฐาน (Standard Cost)

วิธตี น้ ทนุ จรงิ การคานวณต้นทุนสินค้าวิธีน้ีส่วนประกอบของ ตน้ ทุนการผลิตทั้งหมดจะถูกบันทกึ ด้วยปรมิ าณท่ีใช้จริงและราคา ที่ซ้ือจริง ไม่มีการกาหนดกาลังการผลิตและอัตราค่าใช้จ่ายการ ผลิตคิดเข้างานไว้ล่วงหน้าและไม่มีการเปรียบเทียบผลต่างของ การผลิตทั้งผลตา่ งปริมาณและผลตา่ งราคา วิธีต้นทุนจริงน้ีเหมาะ สาหรับกิจการทผ่ี ้บู รหิ ารสามารถควบคุมและดูแลการใช้ต้นทุนได้ อย่างท่วั ถงึ และมีประสทิ ธิภาพ

วธิ ตี ้นทนุ ปกติ การคานวณต้นทุนสินค้าวิธีนี้วัตถุดิบทางตรง แล ะ แร งงานท างตร งจะถูกบันทึกด้ว ยป ริมาณ ที่ใช้จริงแล ะ ราคาท่ีซ้ือจริง ส่วนค่าใช้จ่ายการผลิตจะบันทึกโดยวิธีคิดเข้า งาน มีการกาหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานต่อฐาน กิจกรรมไว้ล่วงหน้า (Predetermine Overhead Rate) และ เลือกฐานกิจกรรมที่ใช้ เม่ือคานวณค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้า ง า น แ ล้ ว จ ะ เ ป รี ย บ เ ที ย บ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ก า ร ผ ลิ ต จ่ า ย จ ริ ง กั บ ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน เม่ือมีผลต่างของค่าใช้จ่ายการ ผลิตคิดเขา้ งานสูงหรือต่าไปนาไปปรับปรุงกับบัญชีต้นทุนขาย หรือปรับปรุงบัญชีต้นทุนขาย บัญชีงานระหว่างทาและบัญชี สินค้าสาเร็จรูป ตามส่วนที่เหมาะสม วิธีต้นทุนปกติน้ีเหมาะ กับกิจการท่ีมีค่าใช้จ่ายการผลิตเป็นจานวนมากและต้องการ กาหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานเพ่ือควบคุมต้นทุน ค่าใชจ้ า่ ยการผลติ

วธิ ตี น้ ทุนมาตรฐาน การคานวณต้นทุนการผลิตตามวิธีน้ีกจิ การจะกาหนด ปริมาณวตั ถดุ บิ ทางตรงจานวนช่วั โมงแรงงานทางตรงท่ีควรใช้และ กาหนดราคาทค่ี วรจัดซื้อหรอื ควรจ่ายไวล้ ว่ งหน้าพร้อมทง้ั กาหนด อัตราค่าใชจ้ า่ ยการผลิตคิดเข้างานท้ังคา่ ใช้จา่ ยการผลิตผนั แปร) และ คา่ ใชจ้ ่ายคงท่โี ดยแยกส่วนประกอบของตน้ ทนุ การผลิตท้ัง 3 ประเภท ตามพฤติกรรมต้นทุนแบบผันแปร (Variable Cost) และต้นทนุ แบบ คงที่ (Fixed Cost)

การกาหนดมาตรฐานต้นทุน และการเปรียบเทียบผลต่าง การกาหนดมาตรฐานต้นทนุ (Standard Setting) มาตรฐานตน้ ทุนการผลิตจะถูกกาหนดทั้ง 2 ด้าน คือ มาตรฐานปรมิ าณหรอื มาตรฐานประสทิ ธิภาพและมาตรฐานดา้ นราคาคาหรือ มาตรฐานดา้ นการจา่ ยเงนิ โดยแยกกาหนดมาตรฐานตามสว่ นประกอบของตน้ ทุนการผลติ ทง้ั 3 ประเภทคอื วัตถุดบิ ทางตรง แรงงานทางตรง และ ค่าใช้จ่ายการผลติ 1. วตั ถุดบิ ทางตรง (Direct Materials) เปน็ ส่วนประกอบของต้นทุนการผลิตทม่ี ลี ักษณะพฤตกิ รรมต้นทนุ เปน็ แบบผันแปร กาหนดมาตรฐาน 2 ดา้ น ดังนี้ 1.1 มาตรฐานปรมิ าณวตั ถุดบิ (Quantity Standard) เป็นการกาหนดเกย่ี วกับปรมิ าณหน่วยของวตั ถุดบิ ทางตรงท่ีใชใ้ นการผลิตสนิ คา้ ตอ่ หน่วย อาจ กาหนดเป็นนา้ หนักทใี่ ช้ หรอื หน่วยนบั อน่ื เชน่ กระป๋อง กิโลกรมั ความยาวเป็นเมตร เปน็ ต้น ฝา่ ยทีอ่ อกแบบสนิ ค้า และฝา่ ยทท่ี าการผลิตจะเป็นผู้ กาหนดมาตรฐานจานวนวัตถุดิบท่ใี ช้ 1.2 มาตรฐานราคา (Price Standard) เป็นการกาหนดราคาตอ่ หน่วยของวตั ถุดบิ ทางตรงท่ีใชใ้ นการผลิตสินคา้ ต่อหน่วยฝา่ ยท่ีรบั ผดิ ชอบการกาหนด มาตรฐานราคาของวัตถุดิบทางตรงกค็ ือฝา่ ยจัดซอื้ การกาหนดราคาใหเ้ หมาะสมและปฏิบตั ไิ ด้จริงควรศึกษาข้อมูลที่เก่ยี วข้องโดยเฉพาะอย่างย่ิง แนวโนม้ ทจี่ ะเป็นไปในอนาคตสภาวะแวดลอ้ มที่เกี่ยวขอ้ งสภาพเศรษฐกิจสังคมนโยบายการเมือง ฯลฯ

2. แรงงานทางตรง (Direct Labor) เป็นส่วนประกอบของตน้ ทนุ การผลติ ในส่วนของการแปรสภาพมพี ฤตกิ รรมตน้ ทนุ เป็นแบบผันแปรให้กาหนดมาตรฐาน 2 ด้านดังน้ี 2.1 มาตรฐานจานวนช่ัวโมงหรือประสทิ ธภิ าพ (Time Efficiency Standard) เปน็ การกาหนดเก่ยี วกบั จานวนชว่ั โมงแรงงานทางตรงทใี่ ชใ้ นการผลิตสนิ ค้าตอ่ หนว่ ยฝา่ ยทีอ่ อกแบบสนิ ค้าและฝ่ายที่ทาการผลติ จะเป็นผู้กาหนดมาตรฐานจานวนชั่วโมงแรงงานทางตรงท่ีใช้ 2.2 มาตรฐานอตั ราการจา้ ง (Wage Rate Standard) เป็นการกาหนดอัตราการจ้างแรงงานทางตรงท่ีใช้ในการผลติ สินค้าต่อชั่วโมงแรงงานทางตรงฝ่ายท่ี รบั ผดิ ชอบในการกาหนดมาตรฐานอัตราค่าจ้างแรงงานคอื ฝ่ายจ้างแรงงานการกาหนดอตั ราให้เหมาะสมและปฏิบตั ไิ ด้จริงควรศึกษาข้อมูลที่เกย่ี วข้อง โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงแนวโนม้ ทจ่ี ะเปน็ ไปในอนาคตสภาวะแวดลอ้ มทเี่ กี่ยวข้องสภาพเศรษฐกิจสงั คมนโยบายการเมอื ง ฯลฯ 3. คา่ ใชจ้ ่ายการผลิต (Manufacturing Overhead) เป็นส่วนประกอบของตน้ ทุนการผลติ ในส่วนของต้นทนุ แปรสภาพมีพฤติกรรมตน้ ทุนเปน็ ท้งั แบบต้นทนุ ผันแปรและแบบตน้ ทนุ คงทวี่ ิธกี ารกาหนดมาตรฐานจะมีความแตกตา่ งกันตามลกั ษณะพฤตกิ รรมต้นทุนดงั น้ี 3.1 คา่ ใช้จา่ ยการผลติ ผันแปร (Variable Manufacturing Overhead) ใหเ้ ลอื กฐานกจิ กรรมที่ใช้และกาหนดอัตราคา่ ใช้จา่ ยการผลติ ผันแปรตอ่ ฐานกิจกรรม ท่ีเลอื กโดยกาหนดมาตรฐาน 2 ด้านดังนี้ 3.1.1 มาตรฐานประสทิ ธภิ าพ (Variable Overhead Efficiency Standard) เลอื กฐานกิจกรรมแลว้ กาหนดจานวนตามฐานกิจกรรม 3.1.2 มาตรฐานการจา่ ยเงนิ (Spending Variable Overhead Standard) กาหนดค่าใช้จา่ ยการผลติ ผันแปรตอ่ หนว่ ยของฐานกิจกรรมทเี่ ลือกฝา่ ยควบคุม ค่าใชจ้ ่ายการผลิตผันแปรเปน็ ผกู้ าหนด

เมือ่ ทาการผลติ แลว้ นาหนว่ ยทผ่ี ลิตเสรจ็ คานวณคา่ ใช้จา่ ยการผลติ ผนั แปรคิดเข้างานผลต่างทเ่ี กิดขึน้ ถ้าเป็นผลตา่ งที่ไมน่ ่าพอใจให้นาไปปรับปรุงและแก้ไขตาม ฝา่ ยที่เกย่ี วข้อง 3.2 ค่าใชจ้ า่ ยการผลิตคงท่ี (Fixed Manufacturing Overhead Costs) กาหนดอัตราค่าใชจ้ า่ ยการผลิตคงท่คี ิดเข้างานไว้ล่วงหน้าทาโดยประมาณต้นทุน คา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตคงที่ตลอดปหี ารดว้ ยกาลงั การผลิตตามฐานกิจกรรมท่ีเลือก 3.2.1 มาตรฐานกาลงั การผลิต (Volume Standard) เม่ือเลอื กฐานกิจกรรมแล้วฝ่ายผลติ กาหนดกาลังการผลิตตามฐานกิจกรรมรว่ มกับฝ่ายการตลาด 3.2.2 มาตรฐานการจา่ ยเงนิ ตามงบประมาณ (Budget Standard) กาหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลติ คงที่ฝ่ายทท่ี าหน้าท่คี วบคุมค่าใช้จ่ายการผลิตคงทเี่ ปน็ ผู้กาหนด การเปรียบเทียบผลตา่ ง เม่อื ผลติ ไดจ้ านวนผลผลติ (Output) แล้วนาจานวนผลผลติ ทท่ี าได้มาคานวณปริมาณแยกตามส่วนประกอบของตน้ ทุนการผลิตว่าควรใช้ในจานวนมาตรฐาน เทา่ ใดหรอื ควรจะจา่ ยในราคามาตรฐานเท่าใดเปรียบเทียบกับปรมิ าณทใ่ี ชจ้ ริงและราคาท่ีจา่ ยจริงหากกิจการใช้ระบบการบัญชีต้นทนุ ชว่ งการผลิตผลผลิตท่ี นามาคานวณเพ่อื เปรียบเทยี บน้นั ตอ้ งเป็นผลผลติ ทคี่ านวณหนว่ ยเทียบเท่าหน่วยสาเร็จรปู หากกิจการใช้ระบบการบญั ชีตน้ ทุนงานส่งั ทาก็ใชจ้ านวนหน่วยของ สินคา้ ที่ผลิตเสร็จแต่ละงาน

ผลตา่ งที่เกิดข้ึน คือ ผลการปฏิบตั งิ านของแตล่ ะฝ่ายท่ีเกย่ี วข้องว่ามีผลการปฏิบตั ิงานสูงหรือต่ากว่ามาตรฐานอย่างไรผู้บริหารจะใช้ผลต่างท่เี กดิ ขึ้นเหล่านเี้ พอื่ บริหารจัดการตน้ ทนุ ให้เหมาะสมโดยแยกเปรียบเทยี บ 2 ด้านตามส่วนประกอบของต้นทุนการผลิตดังน้ี 1. วัตถดุ ิบทางตรง 1.1 ผลต่างปริมาณ (Quantity Variance) เกดิ จากการเปรียบเทียบจานวนมาตรฐานของวัตถุดิบทางตรงทีค่ วรใช้ตามผลผลติ ท่ที าได้กับจานวนวัตถุดบิ ทาง ตรงที่ใชจ้ รงิ ผลตา่ งปรมิ าณวัตถุดิบทางตรงถ้าเปน็ ผลต่างท่ไี มน่ ่าพอใจให้นาไปปรบั ปรงุ และแกไ้ ขการทางานของฝ่ายผลิต 1.2 ผลต่างราคา (Price Variance) เกิดจากการเปรียบเทียบผลต่างระหวา่ งราคาวัตถุดบิ ตามมาตรฐานกับราคาวัตถุดบิ ท่ซี อื้ จริงผลต่างราคาวัตถุดิบถ้าเป็น ผลต่างทไ่ี มน่ า่ พอใจนาไปปรับปรงุ และแกไ้ ขการทางานของฝา่ ยจัดซื้อ 2. แรงงานทางตรง 2.1 ผลตา่ งประสทิ ธภิ าพแรงงาน (Efficiency Variance) เกดิ จากการเปรยี บเทยี บจานวนมาตรฐานของช่วั โมงแรงงานทางตรงท่ีควรใช้ตามผลผลิตทท่ี าได้กบั จานวนชัว่ โมงแรงงานทางตรงท่ใี ช้จรงิ ผลต่างประสทิ ธิภาพแรงงานถ้าเปน็ ผลต่างที่ไมน่ า่ พอใจใหน้ าไปปรับปรุงและแก้ไขการทางานของฝ่ายผลิต

3. คา่ ใชจ้ า่ ยการผลิต 3.1 ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร 3.1.1 ผลต่างประสทิ ธภิ าพค่าใช้จ่ายการผลติ ผนั แปร (Variable Overhead Eficiency Variance) เกิดจากการเปรยี บเทียบจานวนมาตรฐานตามผลผลิตของ ฐานกิจกรรมเลือกกบั จานวนฐานกิจกรรมท่เี กิดข้นึ จริงผลต่างประสทิ ธิภาพของคา่ ใช้จ่ายการผลติ ผนั แปรถา้ เป็นผลต่างที่ไม่น่าพอใจใหน้ าไปปรับปรุงและแก้ไข การทางานตามฝ่ายของฐานกิจกรรม 3.1.2 ผลต่างการจา่ ยเงิน (Spending Variance) เกิดจากการเปรียบเทยี บผลต่างระหวา่ งอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตผนั แปรคิดเข้างานกบั อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต ผนั แปรท่ีเกิดจรงิ ผลต่างการจ่ายเงินของค่าใช้จ่ายการผลิตผนั แปรถา้ เป็นผลต่างที่ไมน่ า่ พอใจให้นาไปปรบั ปรงุ และแก้ไขการทางานของฝา่ ยควบคุมค่าใช้จ่ายการ ผลิตผันแปร 3.2 คา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ คงที่ 3.1.1 ผลต่างกาลงั การผลติ หรอื ผลต่างเน่ืองจากประสทิ ธภิ าพของค่าใช้จ่ายการผลิตคงท่ี (Volume Variance or Fixed EfficiencyVariance) เกดิ จากการ เปรยี บเทยี บจานวนกาลังการผลิตตามงบประมาณกับกาลงั การผลิตตามผลผลิตท่ที าได้จริงตามฐานกิจกรรมท่เี ลอื ก (คิดเขา้ งาน) ผลตา่ งกาลังการผลติ ถา้ เปน็ ผลตา่ งท่ไี มน่ า่ พอใจใหน้ าไปปรับปรุงและแก้ไขการทางานของฝ่ายผลิต 3.1.2 ผลต่างการจ่ายเงินตามงบประมาณ (Budget Variance) เกดิ จากการเปรยี บเทยี บผลต่างระหว่างการจ่ายเงนิ ของคา่ ใช้จา่ ยการผลิตคงทก่ี บั งบประมาณ ของคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตคงทผ่ี ลตา่ งการจ่ายเงินตามงบประมาณของค่าใช้จา่ ยการผลิตคงท่ีถ้าเป็นผลตา่ งท่ไี มน่ ่าพอใจให้นาไปปรับปรุงและแก้ไขการทางานของ ฝา่ ยควบคมุ งบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายการผลิตคงที่

ข้อสังเกตหากกจิ การบันทึกค่าใช้จา่ ยการผลิตเกิดขนึ้ จริงโดยไม่แยกต้นทุนผันแปรและตน้ ทุนคงท่อี อกจากกันใหเ้ ปรียบเทียบผลตา่ ง การจ่ายเงนิ รวมกนั ไดเ้ มื่อเปรียบเทียบผลตา่ งแตล่ ะประเภทตามสว่ นประกอบของตน้ ทุนการผลติ แลว้ ต้องระบวุ า่ ผลต่างทเ่ี กิดขนึ้ เป็น ผลตา่ งประเภทใด ดงั ต่อไปนี้ 1. ผลต่างทน่ี า่ พงึ พอใจ (Favorable Variance) หมายถงึ ผลต่างของราคาหรอื ผลต่างของปริมาณทีก่ าหนดตามมาตรฐานสูงกว่า ราคาหรอื ปริมาณทเี่ กิดจริงผลตา่ งทนี่ ่าพอใจเปน็ ผลตา่ งท่ีหวงั การทางาน เปน็ ที่ยอมรบั ได้ 2. ผลต่างท่ไี ม่น่าพึงพอใจ (ความแปรปรวนทไ่ี ม่เอ้ืออานวย) หมายถึงผลต่างของราคาหรือปรมิ าณท่ีกาหนดตามมาตรฐานตา่ กว่า ราคาหรอื ปรมิ าณทเ่ี กดิ จรงิ ผลตา่ งทไี่ ม่นา่ พอใจเปน็ ผลต่างทีถ่ ือเปน็ ผล ทางานต่ากวา่ ปกตทิ ก่ี าหนดควรได้รบั การแก้ไขตามยอมการ คานวณผลต่างกับระยะทางตรง

การคานวณผลต่างเกี่ยวกับวตั ถุดบิ ทางตรง 1. ผลตา่ งวัตถุดบิ ทางตรง จาแนกเปน็ ผลตา่ งราคาวัตถดุ ิบและผลต่างปรมิ าณการใช้วัตถุดบิ 1.1 ผลต่างราคาวัตถุดิบ คานวณหาไดโ้ ดยการ เปรยี บเทียบราคาจ่ายซ้ือวัตถดุ ิบไปจริงกับราคามาตรฐานท่ีฝา่ ยจัดซ้อื ไดป้ ระมาณการไว้ลว่ งหน้า ผลตา่ งทีไ่ ด้คูณด้วยปริมาณวัตถุดบิ ท่ีซื้อจริง ผลต่างราคาวตั ถดุ บิ = (ราคาจริง – ราคามาตรฐาน) x ปริมาณซอื้ จริง = (40 บาท – 42 บาท) x 10,500 เมตร = -10,500 บาท ประหยัดค่าใช้จ่ายได้ ต้นทุนขายลดลง กาไรขนั้ ต้นเพมิ่ ขึ้น 1.2 ผลต่างปริมาณการเบกิ ใช้วัตถดุ ิบ คานวณหาไดโ้ ดยการเปรยี บเทยี บปรมิ าณวัตถุดิบทีเ่ บกิ ใช้จริงกับปริมาณมาตรฐานท่ียอมใหส้ าหรับหน่วยผลติ จริง ผลต่างท่ีไดค้ ูณดว้ ยราคามาตรฐาน ผลตา่ งปริมาณการเบิกใช้วัตถดุ ิบ = (ปรมิ าณเบกิ ใช้จรงิ – ปริมาณมาตรฐานท่ียอมใหส้ าหรบั หน่วยผลิตจริง) x ราคามาตรฐาน = (10,400 เมตร – (1 เมตร x 10,000 หน่วย)) x 41 บาท = 16,400 บาท มีต้นทุนการผลติ เพมิ่ ขน้ึ จากการเบิกใช้ปริมาณวัตถุดบิ สงู กว่าท่ีได้คาดการณ์ไว้ กาไรข้ันต้นจะลดลง

การคานวณหาผลต่างวตั ถดุ บิ ทางตรงขา้ งตน้ แสดงการคานวณหาไดใ้ นอีกลกั ษณะหนึ่ง ดงั น้ี

2.ผลตา่ งค่าแรงงานทางตรง จาแนกเปน็ ผลตา่ งอตั ราคา่ แรงงานทางตรงและผลต่างประสิทธิภาพแรงงานทางตรง 2.1 ผลต่างอัตราค่าแรงงานทางตรง คานวณหาได้โดยการเปรียบเทียบอัตราค่าจ้างท่ีจ่ายไปจริงกับอัตรามาตรฐานท่ีฝ่ายบุคคลได้ประมาณการไว้ล่วงหน้า ผลตา่ งทไี่ ดค้ ูณด้วยจานวนชวั่ โมงแรงงานทางตรงทีใ่ ชใ้ นการผลติ จริง ผลตา่ งอัตราค่าแรงงานทางตรง = (อตั ราจริง – อัตรามาตรฐาน) x ช่ัวโมงจริง = (60 บาท – 60 บาท) x 4,800 ชวั่ โมง = 0 บาท ควบคุมการดาเนินงานท่ีเกดิ ขน้ึ จรงิ ให้สอดคล้องตามแผนงบประมาณทกี่ าหนดไว้ 2.2 ผลตา่ งประสิทธิภาพแรงงานทางตรง คานวณหาได้โดยการเปรยี บเทยี บช่ัวโมงแรงงานทางตรงที่ใช้จริงกับช่ัวโมงมาตรฐานที่ยอมให้สาหรับหน่วยผลิตจริง ผลตา่ งที่ไดค้ ูณด้วยอตั รามาตรฐาน ผลตา่ งประสิทธิภาพแรงงานทางตรง = (ชั่วโมงจรงิ – ชว่ั โมงมาตรฐานที่ยอมให้สาหรับหน่วยผลิตจรงิ ) x อัตรามาตรฐาน = (4,800 ช่วั โมง – (1/2 ชั่วโมง x 10,000 หน่วย)) x 60 บาท = -12,000 บาท ประหยัดค่าใชจ้ ่ายได้จากการทางานเสร็จเร็วกว่าท่ไี ด้คาดการณ์ไว้

3.ผลตา่ งคา่ ใช้จา่ ยการผลิต จาแนกเป็นผลต่างคา่ ใชจ้ ่ายการผลิตที่ควบคุมได้และผลต่างค่าใช้จา่ ยการผลิตเน่อื งจากปริมาณการผลิต 3.1 ผลตา่ งคา่ ใช้จา่ ยการผลติ ท่ีควบคมุ ได้ คานวณหาไดโ้ ดยการเปรยี บเทยี บค่าใชจ้ ่ายการผลิตทเ่ี กิดขน้ึ จริงกับงบประมาณยืดหยนุ่ คา่ ใช้จ่ายการผลติ สาหรบั งบประมาณยืดหยุน่ นัน้ จะประกอบไปดว้ ย ค่าใชจ้ ่ายในการผลติ ผนั แปรทีย่ อมให้ตามหนว่ ยผลผลิตจริง และงบประมาณคา่ ใช้จา่ ยการผลติ คงท่ีตามแผนงบประมาณ ผลต่างค่าใชจ้ า่ ยการผลติ ที่ควบคุมได้ = ค่าใช้จา่ ยการผลิตทเ่ี กิดขน้ึ จริง - งบประมาณยืดหยุ่นคา่ ใช้จ่ายการผลิต = (51,500 บาท + 50,500 บาท) – (คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ ผันแปรท่ยี อมใหต้ ามหน่วยผลผลิตจริง + งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตคงท่ตี ามแผนงบประมาณ) = (51,500 บาท + 50,500 บาท) – ((1/2 ชว่ั โมง x 10,000 หน่วย x 60 บาท) + 50,000) = 102,000 บาท – 110,000 บาท = - 8,000 บาท ควบคุมค่าใชจ้ ่ายการดาเนินงานท่ีเกิดขน้ึ จริงให้มคี ่าต่ากว่าจานวนเงนิ งบประมาณยืดหยุ่นที่วางแผนไว้ ประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายได้ กาไรขั้นต้นเพม่ิ ขึน้ 3.2 ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตเนอ่ื งจากปรมิ าณการผลิต คานวณหาได้โดยการเปรยี บเทียบงบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จา่ ยการผลติ กับค่าใช้จา่ ยการผลติ คิดเข้างาน ผลตา่ งค่าใช้จ่ายการผลิตเนอื่ งจากปรมิ าณการผลิต = งบประมาณยดื หย่นุ ค่าใช้จ่ายการผลติ - คา่ ใช้จ่ายการผลติ คิดเข้างาน = 110,000 บาท - (อัตราคา่ ใชจ้ ่ายการผลิตผันแปรท่ีฐานกจิ กรรมค่าแรงงานทางตรงตามมาตรฐาน ณ หนว่ ยผลผลติ จรงิ + อตั ราค่าใชจ้ า่ ยการผลิตคงที่ตอ่ หน่วย ตามหนว่ ยผลผลิตจริง) = 110,000 บาท – ((20% x 300,000) + (5 บาท x 10,000 หน่วย)) = 0 บาท ผลิตสนิ ค้าไดจ้ รงิ เทา่ กบั ปรมิ าณการผลติ ตามแผนงบประมาณจงึ ไมม่ ีผลต่างค่าใช้จา่ ยเกิดข้ึน

การคานวณหาผลต่างคา่ ใชจ้ ่ายการผลติ ขา้ งต้น แสดงการคานวณหาไดใ้ นอกี ลักษณะหน่งึ ดังน้ี

การบนั ทกึ บัญชีเกยี่ วกบั วัตถดุ บิ ทางตรง วัตถุดิบทางตรงเป็นส่วนประกอบส่วนหน่ึงของต้นทุนการผลิตที่มีพฤติกรรมต้นทุนแบบผันแปรหากกิจการใช้ระบบ ตน้ ทุนจรงิ (Actual Costing) หรือระบบตน้ ทุนปกติ (Normal Costing) วตั ถุดิบทางตรงถกู บันทกึ ในจานวนที่ใช้จริงและราคาซื้อจริง ในระบบตน้ ทุนมาตรฐานวตั ถุดบิ ทางตรงจะบนั ทกึ ด้วยปรมิ าณตามมาตรฐานที่ควรใชจ้ ากผลผลิตท่ีทาได้จริง (กับราคาตามมาตรฐานท่ี กาหนดการบันทกึ บัญชีเก่ยี วกบั วัตถุดิบทาได้ 2 วิธีคอื 1. บันทึกตามราคามาตรฐาน 2. บันทึกตามราคาซ้ือจรงิ

1. บนั ทกึ ตามราคามาตรฐานวิธนี ีจ้ ะบันทกึ บญั ชวี ัตถุดิบในราคามาตรฐาน หากมผี ลตา่ งราคาจะบันทกึ ผลต่างราคาท้ังหมดเม่ือจัดซื้อไว้ในบัญชีผลต่างราคาเม่ือซื้อ บญั ชีวตั ถุดบิ แสดงในราคามาตรฐาน เมือ่ เบกิ ใชก้ บ็ ันทึกผลตา่ งเฉพาะผลต่างจานวนในวันส้ินงวดบัญชีต้องปรับผลต่างราคาเม่ือซ้ือออกมาเป็นผลต่างราคาเมื่อใช้ ให้ผลต่างราคาเมื่อซอ้ื เหลอื ตามสว่ นของจานวนวตั ถุดิบคงเหลอื ปลายงวด และถือเป็นบัญชีที่ตอ้ งนาไปปรับมูลค่าวัตถุดิบคงเหลือในวันส้ินงวดเพ่ือให้บัญชีวัตถุดิบ ทางตรงแสดงยอดท่ีแท้จรงิ มีขั้นตอนการบันทกึ ดงั นี้ 1.1 บนั ทึกบัญชีซือ้ 1.2 บนั ทกึ บญั ชีเมอ่ื เบกิ ใช้ 1.3 บนั ทกึ ปรับปรงุ ผลต่างราคา 2. บันทึกตามราคาซื้อจริงการบันทึกบัญชีวัตถุดิบตามราคาซ้ือจริง บัญชีวัตถุดิบจะถูกบันทึกในราคาทุนท่ีซื้อ บัญชีวัตถุดิบแสดงในราคาทุ นที่ซ้ือเม่ือเบิกใช้จะ บันทกึ ผลตา่ งทงั้ ผลต่างเนื่องจากราคา และผลต่างเนื่องจากจานวน ในวันส้ินงวดบัญชีไม่ต้องบันทึกปรับผลต่างราคาในวันสิ้นงวดบัญชีวัตถุ ดิบทางตรงจะแสดง ยอดในราคาทุนทีแ่ ทจ้ ริง มีข้นั ตอนการบันทกึ ดงั นี้ 2.1 บันทกึ บญั ชเี ม่อื ซื้อ 2.2 บันทกึ บญั ชีเมอ่ื ใช้ 2.3 บนั ทึกปดิ บญั ชีผลต่าง

การบันทึกผลต่างเกีย่ วกบั แรงงานทางตรง แรงงานทางตรง เปน็ สว่ นประกอบท่สี าคัญของตน้ ทนุ การผลติ มีพฤตกิ รรมตน้ ทนุ แบบผนั แปรการคานวณผลตา่ งเกี่ยวกับแรงงานทางตรง คานวณผลต่าง 2 ด้านคือ 1. ผลต่างอัตราค่าจา้ งแรงงาน 2. ผลต่างประสทิ ธิภาพแรงงาน 1. ผลตา่ งอัตราคา่ จ้างแรงงาน หมายถึง ผลต่างระหว่างอัตราค่าจ้างแรงงานทางตรงตามมาตรฐาน กับอตั ราการจ้างแรงงานทางตรงท่ีเกดิ จริงในจานวนชั่วโมงแรงงาน ตามมาตรฐานทค่ี วรใช้ตามผลผลิตที่ทาได้ อตั ราคา่ จา้ งแรงงานจริงไมค่ วรสูงกว่าอตั รามาตรฐาน คานวณได้ดงั น้ี

2. ผลต่างประสทิ ธิภาพแรงงาน หมายถงึ ผลตา่ งระหวา่ งจานวนช่วั โมงแรงงานทางตรงมาตรฐานทคี่ วรใช้ตามผลผลติ ทีท่ าได้ กบั จานวนช่วั โมงแรงงานทางตรงที่ ใช้จริง ชัว่ โมงแรงงานใช้จริงไมค่ วรสงู กว่าชวั่ โมงมาตรฐาน คานวณได้ดงั น้ี

การบนั ทกึ บัญชเี กย่ี วกับแรงงานทางตรง แรงงานทางตรง เป็นส่วนประกอบสว่ นหนง่ึ ของต้นทนุ การผลติ ท่ีมพี ฤติกรรมตน้ ทนุ แบบผนั แปรหากกิจการใช้ระบบต้นทุนจรงิ (Actual Costs) หรอื ระบบตน้ ทุนปกติ (Normal Costs) แรงงานทางตรงถูกบันทึกในจานวนทใี่ ช้จริงและอัตราที่เกิดจรงิ ในระบบต้นทนุ มาตรฐานแรงงานทางตรงจะบันทกึ การเกิดคา่ แรงทางตรง และทางออ้ มตามปกตแิ ละจะบันทึกแรงงานทางตรงเข้างานตามเวลา มาตรฐานท่ีควรใช้จากผลผลิตท่ที าได้จรงิ ในอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานท่ีกาหนดพร้อมบันทึกผลต่างเกยี่ วกับค่าแรงและโอนปดิ ผลตา่ ง มีขัน้ ตอนการ บนั ทึกบญั ชดี ังน้ี 1. บันทกึ การเกดิ คา่ แรง

2. บันทกึ ค่าแรงเข้างาน

3. บนั ทกึ ปดิ บญั ชผี ลตา่ ง

การบนั ทกึ ผลต่างเกย่ี วกบั ค่าใชจ้ ่ายในการผลิต คา่ ใชจ้ ่ายการผลติ เป็นส่วนประกอบของตน้ ทุนการผลิตในส่วนของต้นทุนแปรสภาพ มีลกั ษณะพฤตกิ รรมต้นทนุ เป็นทงั้ ตน้ ทุนแบบผนั แปรและตน้ ทุนแบบคงท่ี วธิ ตี น้ ทุนมาตรฐานนค้ี ่าใช้จ่ายการผลติ จะถูกกาหนดอตั ราคา่ ใชจ้ ่ายการผลิตคิดเข้างานไวล้ ่วงหน้าทั้งในสว่ นที่เป็นตน้ ทุนผนั แปรและตน้ ทุนคงท่ี โดยเลอื กฐานกิจกรรมท่ใี ชเ้ ปน็ อตั ราคิดเขา้ งาน อตั ราคา่ ใช้จา่ ยการผลติ คิดเขา้ งานดงั กล่าว มักจะใช้ชว่ั โมงแรงงานทางตรงเปน็ ฐานกิจกรรม คา่ ใช้จา่ ยการผลติ ผนั แปร จะถกู กาหนดเป็นอัตราคา่ ใช้จ่ายการผลติ คิดเข้างานต่อช่ัวโมงแรงงานทางตรง โดยไม่จาเปน็ ตอ้ งกาหนด กาลังการผลิต ส่วนคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ คงทจ่ี ะถูกกาหนดอัตราคิดเข้างานต่อชั่วโมงแรงงานทางตรงโดยประมาณคา่ ใช้จา่ ยการผลิตคงท่ีตลอดปี และ กาหนดกาลังการผลติ ในระดับปกติ เนื่องจากค่าใชจ้ ่ายการผลิตมที ้ังค่าใช้จ่ายการผลิตแบบผันแปร และค่าใชจ้ ่ายการผลิตแบบคงที่ การคานวณ ผลต่างเก่ียวกับคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตจึงตอ้ งแยกคานวณเพ่ือนาผลต่างทีเ่ กิดขน้ึ มาวิเคราะห์และประเมนิ ผลการทางานตามส่วนของค่าใช้จ่ายการผลติ ผนั แปร และคา่ ใช้จ่ายการผลิตคงท่กี าร

ผลต่างเก่ยี วกับค่าใชจ้ ่ายการผลติ ตามวธิ ีตน้ ทนุ มาตรฐานมีลักษณะที่แตกต่างกนั ตามวิธีใช้และจุดมงุ่ หมายของผบู้ รหิ าร คานวณได้ 3 แบบ คือ 1. การคานวณผลต่างแบบ 4 ทาง 2. การคานวณผลตา่ งแบบ 3 ทาง 3. การคานวณผลตา่ งแบบ 2 ทาง 1. การคานวณผลต่างคา่ ใช้จ่ายการผลติ แบบ 4 ทาง การคานวณผลตา่ งค่าใชจ้ า่ ยการผลิตแบบ 4 ทาง เป็นการคานวณแยกระหวา่ งค่าใชจ้ า่ ยการผลติ ผนั แปร 2 ด้านและคา่ ใช้จา่ ยการผลิตคงท่ี 2 ดา้ นคานวณ ผลต่าง 4 ทางดงั น้ี 1.1 คา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตผนั แปร 1.1.1 ผลตา่ งการจ่ายเงิน 1.1.2 ผลต่างประสิทธิภาพ 1.2 คา่ ใชจ้ ่ายการผลติ คงท่ี 1.2.1 ผลติ งบประมาณ 1.2.2 ผลตา่ งกาลงั การผลิต

2. การคานวณผลตา่ งค่าใช้จา่ ยการผลติ แบบ 3 ทาง ในกรณีที่กจิ การบนั ทึกคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตจ่ายจรงิ โดยรวม ไม่แยกค่าใช้จา่ ย การผลิตผนั แปร และค่าใช้จา่ ยการผลติ คงที่ออกจากกัน กจิ การไมส่ ามารถคานวณ แบบ 4 ทางไดส้ ามารถคานวณไดเ้ พียง 3 ทางดังน้ี 2.1 ผลต่างการจ่ายเงนิ 2.2 ผลตา่ งประสิทธภิ าพค่าใชจ้ ่ายการผลิตผนั แปร 2.3 ผลตา่ งกาลังการผลติ 2.1 ผลตา่ งการจ่ายเงิน คือ ผลตา่ งระหวา่ งค่าใช้จา่ ยการผลิตตามงบประมาณ ณ ชั่วโมงจริง กับค่าใชจ้ ่ายการผลิตจ่ายจริงท้ังหมด 2.2 ผลต่างเน่ืองจากประสทิ ธภิ าพของคา่ ใชจ้ ่ายการผลิตผันแปรตามขอ้ 2.3 ผลต่างเน่อื งจากกาลงั การผลติ ของคา่ ใชจ้ ่ายการผลิตคงทตี่ ามข้อ

3. การคานวณผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบ 2 ทาง บางกรณีผู้บริหารอาจต้องการวิเคราะห์ผลต่างเพื่อประโยชนใ์ นการควบคมุ ตน้ ทุนการผลติ โดยวเิ คราะห์ตน้ ทุนการผลิตส่วนท่ีควบคุมได้ และ ตน้ ทนุ การผลิตสว่ นท่ีควบคมุ ไม่ได้ สามารถวเิ คราะหผ์ ลต่างได้แบบ 2 ทางดงั นี้ 3.1 ผลต่างที่ควบคมุ ได้ 3.2 ผลต่างทคี่ วบคุมไม่ได้ 3.1 ผลต่างท่ีควบคมุ ได้ หมายถึง ผลตา่ งระหว่างการจา่ ยเงนิ ของค่าใชจ้ ่ายการผลติ จ่ายจรงิ กับค่าใชจ้ ่ายการผลิตตามงบประมาณ ณ ชวั่ โมงจริง กบั คา่ ใช้จา่ ย การผลิตจ่ายจรงิ ทงั้ หมดคานวณ 3.2 ผลต่างทีค่ วบคมุ ไม่ไดห้ รอื ผลตา่ งเน่อื งจากกาลังการผลติ

การบันทกึ บัญชีเก่ียวกบั คา่ ใช้จา่ ยในการผลิต คา่ ใชจ้ ่ายการผลติ เป็นสว่ นประกอบของตน้ ทนุ การผลติ ที่มีการบันทกึ บญั ชคี า่ ใชจ้ ่ายการผลิตท่ีเกดิ ข้ึนจริงตลอดงวดบัญชีไวใ้ นบัญชี คา่ ใชจ้ ่ายการผลติ ผันแปรและคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตคงที่หรืออาจบนั ทึกไว้ในบัญชคี ่าใชจ้ ่ายการผลิตรวมกไ็ ด้กิจการทใี่ ชว้ ิธีต้นทนุ มาตรฐานเมอ่ื ส้ินงวด บญั ชีจะบันทกึ ค่าใช้จ่ายการผลิตคดิ เข้างานดว้ ยฐานกิจกรรมตามมาตรฐานท่คี วรใช้ตามผลผลติ ทท่ี าไดจ้ ริงและอัตราค่าใช้จา่ ยการผลิตคิดเข้างานท่ี กาหนดไวล้ ่วงหนา้ และบนั ทกึ ผลตา่ งทีเ่ กดิ ขน้ึ จากตัวอย่างที่ 3 แสดงการบันทึกบัญชจี ากการคานวณผลต่างแบบ 4 ทางได้ดงั นี้ 1. บันทกึ บญั ชี เกี่ยวกับคา่ ใช้จา่ ยการผลิตผนั แปร

1. การบนั ทกึ บญั ชเี ก่ยี วกับคา่ ใช้จา่ ยการผลติ ผนั แปร

2. การบนั ทกึ บญั ชเี ก่ยี วกับคา่ ใช้จา่ ยการผลติ คงท่ี

การปดิ บัญชีผลต่างเก่ียวกับค่าใชจ้ า่ ยการผลติ ในวันสนิ้ งวดบัญชีกิจการต้องปดิ ผลต่างทุกรายการเนอื่ งจากบญั ชีผลเตา่ งทุกบญั ชมี ลี กั ษณะเปน็ บญั ชีชัว่ คราวจงึ ตอ้ งปิดใหห้ มดภายในงวดบญั ชโี ดยสามารถปิดเข้าบญั ชดี ังตอ่ ไปน้ี 1. บญั ชีตน้ ทนุ ขายทัง้ หมด 2. แบ่งสว่ นเข้าบญั ชีต้นทุนขายบญั ชงี านระหวา่ ง ทาและบัญชีสนิ คา้ สาเรจ็ รูป 3. บัญชีกาไรขาดทุนท้งั หมดกิจการจะปดิ บัญชีผลต่างเขา้ บัญชใี ดทาได้ตามความเหมาะสมจากตัวอย่างท่ี 3 กิจการปดิ บัญชีผลต่าง ท้ังหมดเขา้ บญั ชีตน้ ทุนขายบันทึกการปิดบัญชตี ามรายการข้างล่างนี้บนั ทกึ ปิดบญั ชผี ลต่างเกย่ี วกบั ค่าใช้จ่ายการผลติ เข้าบัญชีต้นทุนขาย

สรปุ วธิ กี ารบัญชีต้นทุนมาตรฐานเป็นวิธีการบัญชีท่ีมีการกาหนดต้นทุนการผลิตตามส่วนประกอบไว้ล่วงหน้าอย่างรอบคอบ และร่วมมือกันทกุ ฝ่ายที่เกย่ี วข้อง การกาหนดมาตรฐานตามส่วนประกอบของต้นทุนน้ันกาหนดทั้งปริมาณที่ควรใช้และราคาท่ีควรซื้อ ทัง้ วัตถดุ ิบทางตรงแรงงานทางตรงและคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิต ในการกาหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานต้องคานึงถึงระดับการผลิต ท่ีเป็นระดับการผลิตปกติและมาตรฐานท่ีกาหนดข้ึนมาใช้ควรมีการกาหนดเวลาใช้ ควรได้รับการปรับปรุงและกาหนดใหม่ตาม สถานการณ์ สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกจิ สังคมที่เปล่ยี นแปลง เมื่อผลิตได้จริงนาผลผลิตท่ีได้จริงเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตตามส่วนประกอบของต้นทุนการผลิตว่าควรใช้ ส่วนประกอบของต้นทุนการผลิตในปริมาณเท่าใด และควรจัดซื้อหรือจ่ายเงินจานวนเท่าใด หากมีผลต่างเกิดข้ึนให้นาผลต่างมา วิเคราะห์ว่าเป็นผลต่างท่ีน่าพอใจหรือไม่น่าพอใจเพ่ือนาผลต่างท่ีไม่น่าพอใจไปปรับปรุงและแก้ไขการปฏิบัติงานของฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง วิธกี ารบญั ชตี ้นทนุ มาตรฐานเป็นประโยชน์ต่อผูบ้ รหิ ารเปน็ อยา่ งมากทั้งในเรือ่ งการควบคุมต้นทุนการผลติ การกาหนดราคาขาย รวมถึง การตีราคาสินคา้ คงเหลอื ปลายงวด

บรรณานุกรม อ้างอิงมาจากหนงั สอื การบญั ชตี น้ ทนุ 2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook