Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่1 พื้นฐานการเขียนแบบ

หน่วยที่1 พื้นฐานการเขียนแบบ

Published by thaipat sirisuwan, 2019-08-29 23:12:07

Description: พื้นฐานการเขียนแบบ

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี ๑ พ้ืนฐานการเขียนแบบ ไธพตั ย์ ศิริสุวรรณ วทิ ยาลยั การอาชีพหนองหาน หน่วยท่ี ๑

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวิชา 2105 – 2001 ชอื่ วิชาเขียนแบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ ท-ป-น 0-3-1 ช่ือหน่วย พ้นื ฐานการเขยี นแบบ เร่ือง พ้ืนฐานการเขียนแบบ จานวนชัว่ โมงสอน 3 เนอื้ หาสาระ 1 ความสาคญั ของงานเขียนแบบ ในงานชา่ งด้านตา่ งๆ แบบงานน้นั เปน็ ส่ือท่ีถือว่าเปน็ หัวใจสาคัญของ งานช่างทกุ สาขา ไมว่ ่าจะเป็นวศิ วกร ช่างเทคนิค และคนงานท่ีเกย่ี วข้องกบั การผลิต ทุกคนตอ้ งสเกตซ์หรือ เขียนแบบพร้อมทงั้ สามารถอ่านแบบได้ เนื่องจากการเขียนแบบเปน็ องค์ประกอบท่สี าคัญในงานชา่ ง อุตสาหกรรม ตลอดจนการจะผลติ ชน้ิ งานสง่ิ ประดิษฐ์ หรือส่ิงปลูกสรา้ งต่างๆ กจ็ ะต้องมีแบบงานเปน็ หลัก แบบงานทดี่ ีจึงต้องมลี ักษณะทง่ี า่ ย กระชบั เที่ยงตรง จึงจะทาใหผ้ ผู้ ลติ หรือผูส้ รา้ งเขา้ ใจ จินตนาการมองเห็น รูปร่าง ขนาด และสว่ นประกอบตา่ งๆ ของชน้ิ สว่ นงานเหล่านน้ั ได้ สามารถนามาวางแผนข้ันตอนการทางาน ตลอดจนถงึ การประมาณการ ระยะเวลาทผี่ ลิตได้ ดงั ตวั อย่างงานทสี่ อื่ ความหมายหลกั การประกอบชิ้นสว่ น ของเคร่ืองยนต์ (ดงั รูป 1.1) รปู ที่ 1.1 แบบงานภาพประกอบของชนิ้ สว่ นเครอ่ื งยนต์ ในงานช่างอุตสาหกรรม 2 ววิ ฒั นาการของงานเขยี นแบบ มนษุ ย์เรมิ่ รจู้ ักการเขยี นแบบตัง้ แต่สมยั โบราณยุคก่อนประวตั ศิ าสตร์ จากการสารวจของนักโบราณคดี ไดท้ าการสารวจดินแดนอียปิ ต์โบราณสมัยของฟาโรห์ โซเซอร์ แหง่ ราชวงศ์ท่ี 3 ของ ยุคอนาจักรเก่า ได้พบบันทึกเป็นภาษารูปภาพ มีอายุประมาณ 4,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราชในบนั ทึกนน้ั จะใชว้ ธิ ี ขีดเขียนเปน็ สัญลกั ษณ์ รูปภาพบนก้อนหนิ ผนังถ้า พืน้ ดนิ และผวิ หนงั เพอ่ื ใชใ้ นการบนั ทกึ ความจา บอกเล่า และสอ่ื สารเหตุการณต์ ่างๆ (ดังรูป)

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วชิ า 2105 – 2001 ชื่อวิชาเขียนแบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ท-ป-น 0-3-1 ชอื่ หน่วย พ้ืนฐานการเขยี นแบบ เร่ือง พน้ื ฐานการเขยี นแบบ จานวนช่วั โมงสอน 3 รูปท่ี 1.2 สญั ลักษณ์ท่ีคนโบราณบนั ทึกไว้ ต่อมามีการพบหลกั ฐานชน้ิ สาคัญในทางโบราณคดี ซง่ึ แสดงใหเ้ ห็นถงึ จินตนาการความคดิ สร้างสรรค์ งาน ทางด้านสถาปัตยกรรม โดยพบแผน่ หนิ เขียนเปน็ ภาพแปลนของป้อมปราการ ซ่งึ เขยี นโดย ซาลเดนกูตวั ชาว เมโสโปเตเมีย เมื่อประมาณ 4,000 ปี กอ่ นคริสต์ศกั ราช ชาวเมโสโปเตเมยี เป็นชาตแิ รกท่ีรูจ้ กั การเขยี นแบบ จากการสารวจนักโบราณคดี พบแผ่นหินเขียนเป็นภาพแปลนของป้อมปราการ ซ่งึ เขียนโดย ซาลเดนกตู วั (ดัง รปู 1.3) รปู ท่ี 1.3 แผ่นหินเขยี นเปน็ ภาพป้อมปราการซึ่งเขียนโดย ซาลเดนกตู วั ทม่ี า:ประเวศ มณกี ุล, 2541 ในศตวรรษที่ 15 ลโิ อนาโด ดาวนิ ซี ชาวอิตาลี ได้รับการยกยอ่ งให้เปน็ บดิ าของการเขียนแบบ ลโิ อนาโด ดาวิน ซี เป็นนักปราชญ์ ที่ถ่ายทอดจนิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ด้วยการเขยี นเป็นภาพ 3 มติ ิ ภาพจาก จนิ ตนาการของ ลโิ อนาโด ดาวินซี หลายชนิ้ เป็นตน้ แบบในการสร้างเคร่ืองจกั รกล (ดังรปู ท่ี 1.4)

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวชิ า 2105 – 2001 ชอ่ื วชิ าเขียนแบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ท-ป-น 0-3-1 ช่ือหน่วย พ้นื ฐานการเขยี นแบบ เรื่อง พ้นื ฐานการเขยี นแบบ จานวนชัว่ โมงสอน 3 รปู ที่ 1.4 ภาพสเกตซธ์ นขู นาดใหญ่ จากจนิ ตนาการของ ลโิ อนาโด ดาวินซี ทีม่ า:ประเวศ มณกี ุล, 2541 การเขยี นแบบไดม้ ีการพฒั นาข้ึนมาเร่ือยๆ โดยตลอด ทั้งวธิ ีการเขียนเพ่อื สื่อความหมาย ให้เขา้ ใจตรงกนั ระหวา่ งผอู้ อกแบบกบั ช่างเทคนคิ ผปู้ ฏิบตั ิงาน เชน่ แบบภาพฉาย ภาพตดั และการใช้สัญลกั ษณต์ ่างๆ ในการ เขยี นแบบ ตลอดจนเครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ท่ีใช้ในการเขยี นแบบ ซง่ึ ต้องอาศยั ทกั ษะและประสบการณ์ของ ผู้เขียนเอง ในปัจจุบนั ได้มีการพัฒนาการเขยี นแบบโดยนาเอา คอมพิวเตอร์ มาช่วยใช้ในการเขยี นแบบ ซึง่ แบบท่ีได้จาก การเขียนดว้ ยคอมพิวเตอร์ จะสามารถทางานไดเ้ รยี บร้อย สวยงาม ทนั สมยั และรวดเร็วขึ้น (ดงั รปู 1.5 และ 1.6) รปู ท่ี 1.5 คอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนแบบ

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วชิ า 2105 – 2001 ชอื่ วิชาเขยี นแบบไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ ท-ป-น 0-3-1 ช่ือหน่วย พืน้ ฐานการเขยี นแบบ เร่ือง พ้ืนฐานการเขียนแบบ จานวนช่วั โมงสอน 3 รูปท่ี 1.6 ตัวอย่างภาพทใ่ี ช้คอมพิวเตอรเ์ ขียนแบบ 3 จาแนกลักษณะของงานเขียนแบบชนดิ ตา่ งๆ การเขียนแบบมคี วามสาคญั มากในงานชา่ ง อุตสาหกรรม เพราะแบบงานเปน็ ภาษาสากลท่ีใช้สอ่ื ความหมายกัน ระหวา่ งวศิ วกรกับช่างเขยี นแบบ ชา่ ง เทคนคิ และชา่ งฝมี ือ ขอบข่ายของงานจะครอบคลุมทกุ สาขา ในโรงงานขนาดใหญ่การเขียนแบบจะเขยี นเฉพาะ เร่ืองใดเรื่องหนึ่งเทา่ น้นั แต่ในโรงงานขนาดเล็กการเขยี นแบบจะเขียนชนิ้ งานทั่วๆ ผูเ้ ขียนแบบจาเปน็ จะต้องมี ความรพู้ น้ื ฐานเรื่องการเขยี นแบบของสาขานัน้ ๆ เชน่ กนั ต้องเรยี นรู้ทงั้ ด้านการเขยี นแบบสง่ั งานและ ความสามารถในการอา่ นแบบเพอื่ ทางานตามแบบ ซึ่งสามารถจาแนกลกั ษณะของงานเขียนแบบชนิดตา่ งๆ ได้ ดงั น้ี 3.1 งานเขียนแบบทางสถาปตั ยกรรม โดยสถาปนิกจะออกแบบและเขยี นแบบ สาหรับการกอ่ สรา้ ง อาคารท่ีพักอาศยั และอาคารพาณิชย์ โดยคานงึ ถึงประโยชนใ์ ช้สอย งบประมาณการก่อสรา้ ง การใช้งานอย่าง คุ้มคา่ (ดังรูป 1.7)

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวชิ า 2105 – 2001 ชื่อวิชาเขียนแบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ท-ป-น 0-3-1 ชอื่ หน่วย พน้ื ฐานการเขียนแบบ เรอ่ื ง พื้นฐานการเขยี นแบบ จานวนชว่ั โมงสอน 3 รปู ที่ 1.7 งานเขียนแบบทางสถาปตั ยกรรม 3.2 งานเขยี นแบบไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ เป็นแบบงานที่แสดงลักษณะวงจร การไหลของ กระแสไฟฟ้า และวงจรอเิ ลคทรอนกิ ส์ โดยท่วั ไปแลว้ การเขียนแบบจะใชแ้ ทนโดยสญั ลักษณ์เพื่อความสะดวก และรวดเรว็ ในการเขยี นแบบ (ดงั รปู 1.8)

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วชิ า 2105 – 2001 ชื่อวชิ าเขยี นแบบไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท-ป-น 0-3-1 ชอื่ หน่วย พ้ืนฐานการเขียนแบบ เรื่อง พ้ืนฐานการเขยี นแบบ จานวนชวั่ โมงสอน 3 รปู ท่ี 1.8 งานเขียนแบบวงจรไฟฟ้าและอเิ ลคทรอนิกส์ 3.3 งานเขยี นแบบงานทอ่ เป็นแบบงานท่แี สดงตาแหน่ง ชนดิ และขนาดของทอ่ ท่ีตดิ ตง้ั ในอาคาร บา้ นพัก โดยทวั่ ไปจะใชส้ ัญลักษณ์ทางกราฟกิ แทนท่อ ลน้ิ และอปุ กรณ์ แบบงานอาจเป็นภาพหนง่ึ ดา้ น สอง ดา้ น หรอื สามด้านกไ็ ด้ แผ่นภาพตวั ท่ออาจเขยี นแทนด้วยเส้นเดีย่ วหรอื เส้นคใู่ ชแ้ ทนระบบทเี่ ป็นท่อใหญ่ สว่ น ทอ่ ท่ีมีขนาดเล็กนิยมเขยี นแทนดว้ ยเสน้ เดี่ยว (ดังรปู 1.9) รปู ที่ 1.9 งานเขยี นแบบทอ่

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วิชา 2105 – 2001 ชื่อวชิ าเขียนแบบไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท-ป-น 0-3-1 ชอ่ื หน่วย พื้นฐานการเขยี นแบบ เร่ือง พ้ืนฐานการเขยี นแบบ จานวนชั่วโมงสอน 3 3.4 งานเขียนแบบเคร่อื งกล เปน็ แบบงานทเ่ี ขยี นแสดงลักษณะ รูปรา่ งของช้ินส่วนตา่ งๆ ของ เคร่ืองจักรกล และเครือ่ งกล เพอ่ื จะนาไปผลิตเปน็ ตามกระบวนการทางอุตสาหกรรม ให้ได้ชิ้นส่วนต่างๆ ตาม แบบ การเขียนแบบเครื่องกล แบ่งไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ คือ 3.4.1 แบบภาพแยกช้ิน เปน็ การเขียนแบบช้นิ สว่ นแต่ละชนิ้ ของเคร่ืองจักรกล หรืออุปกรณ์ เครือ่ งใช้ตา่ งๆ เพ่ือแสดงลักษณะ รปู รา่ ง ขนาด และรายละเอยี ดของช้นิ ส่วนแต่ละชน้ิ ให้ชัดเจน ทาให้งา่ ยต่อ การอ่านแบบและเขียนแบบ เพือ่ ผลิตชิ้นส่วน นาไปประกอบเปน็ เคร่อื งจักรต่อไป (ดังรปู 1.10) รปู ที่ 1.10 ตัวอยา่ งแบบภาพแยกชน้ิ

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวิชา 2105 – 2001 ชอ่ื วิชาเขียนแบบไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ ท-ป-น 0-3-1 ชือ่ หน่วย พนื้ ฐานการเขียนแบบ เรอ่ื ง พื้นฐานการเขยี นแบบ จานวนชวั่ โมงสอน 3 3.4.2 แบบภาพประกอบ เปน็ การเขยี นแบบทีแ่ สดงลกั ษณะรูปรา่ ง ชนิ้ สว่ นของเครือ่ งจักรกล หรอื อปุ กรณ์ตา่ งๆ วา่ ประกอบกนั อย่างไร ช้ินส่วนแต่ละชิ้นอยู่ตาแหน่งใด แบบภาพประกอบ มีส่วนสาคัญและ จาเป็นตอ่ การผลติ ช้นิ ส่วน เพราะต้องแสดงการประกอบของช้นิ ส่วนหลายๆ ชิ้น ทาให้สามารถวางแผน กระบวนการผลติ และการควบคุมการผลิตใหเ้ ป็นไปตามแบบงาน (ดังรปู 1.11) รปู ที่ 1.11 ตัวอยา่ งภาพประกอบ 3.5 แบบสิทธิบตั ร เปน็ การเขียนแบบส่งิ ประดิษฐต์ ่างๆ ท่ีคิดค้นขน้ึ เพื่อเสนอตอ่ กองสิทธิบัตรของทาง ราชการ การเขียนสทิ ธิบัตรน้ีจะต้องแสดงรายการส่วนประกอบสาคัญทุกสว่ น (ดังรปู 1.12) รปู ที่ 1.12 ตวั อยา่ งแบบสิทธิบัตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook