Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 เขียนรูปสัญลักษณ์วัสดุอุปกรณ์ทางไฟฟ้า

หน่วยที่ 2 เขียนรูปสัญลักษณ์วัสดุอุปกรณ์ทางไฟฟ้า

Published by thaipat sirisuwan, 2019-08-29 23:33:46

Description: เขียนรูปสัญลักษณ์วัสดุอุปกรณ์ทางไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 2 รูปสญั ลกั ษณ์วสั ดุอปุ กรณ์ทางไฟฟ้า ไธพตั ย์ ศิริสุวรรณ วทิ ยลยั การอาชีพหนองหาน | จงั หวดั อุดรธานี

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวชิ า 2105 – 2001 ชอ่ื วิชาเขียนแบบไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ ท-ป-น 0-3-1 ชื่อหน่วย เขียนรูปสญั ลักษณ์วสั ดอุ ุปกรณ์ทางไฟฟ้า เรื่อง เขียนรปู สัญลกั ษณว์ สั ดุอุปกรณ์ทางไฟฟ้า จานวนชัว่ โมงสอน 3 เนื้อหาสาระ แบบไฟฟ้าดูเหมือนจะมคี วามชดั เจนมากในงานด้านวศิ วกรรมไฟฟา้ ในงานติดต้ังเพราะทงั้ ผ้ทู า และ ผอู้ อกแบบจะติดตอ่ กันผ่านทางแบบนี้ทั้งสน้ิ จนงานสาเร็จ ในการเขยี นแบบไฟฟา้ สว่ นใหญแ่ ลว้ จะเป็นหน้าท่ี ของชา่ งเทคนคิ ทีม่ ีความชานาญในการเขยี นโดยใชว้ ิธกี าร และเครอ่ื งมือต่าง ๆ งานเขยี นแบบแล้วยงั เช่อื มโยง ไปถึงงานการออกแบบโดยงานการออกแบบท้ังหมดจะอยใู่ นความรับผดิ ชอบของวิศวกรไฟฟา้ หรือผู้ท่ชี านาญ งานท้ังสิ้น ผเู้ ขยี นแบบไฟฟ้าต้องประสานงาน และทาความเข้าใจกบั ผู้ออกแบบเปน็ อย่างดี เพอ่ื ทาให้แบบทีไ่ ด้ ออกมานั้นมีความสมบรู ณ์มากท่สี ุด ดงั นน้ั ผู้เขียนแบบจงึ ต้องมีความรู้เก่ยี วกบั “หลกั การเบอื้ งตน้ ในการ ออกแบบระบบไฟฟ้า” ไว้พอสงั เขปดงั นี้ การออกแบบไฟฟ้า หมายถงึ การพฒั นาแบบ วิธกี ารเพ่ือจา่ ยกาลงั ไฟฟ้า สัญญาณไฟฟา้ ไปยงั อุปกรณ์ปลายทาง การออกแบบเป็นงานท่ีมีความกว้างมากต้องใชข้ ้อมลู มากมายในการตัดสนิ ใจเลือกใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสม เพอ่ื ให้ได้ระบบท่ดี ี ถกู ต้อง และปลอดภัย 1.1 งานของผอู้ อกแบบระบบ และมาตรฐานทางไฟฟ้า 1.1.1 งานของผูอ้ อกแบบระบบไฟฟ้า แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน ดงั นคี้ อื 1. ระบบกาลัง (Power System) (1) ระบบจาหน่าย (Power Distribution System) (2) ระบบแสงสวา่ ง (Lighting System) (3) ระบบพลังงานสารอง (Standby System) (4) ระบบปอ้ งกัน (Protection System) (5) ระบบขนถ่าย (Vertical Transportation System) 2. ระบบสอ่ื สาร และระบบควบคุม (Communication and Control System) (1) ระบบโทรศพั ทส์ ื่อสาร (Telephone System) (2) ระบบเตือนภยั (Fire Alarm System) (3) ระบบเสาอากาศกลาง (Master Antenna TV System) (4) ระบบรกั ษาความปลอดภยั (Security System) (5) ระบบทีวีวงจรปิด (Closed Circuit TV System) (6) ระบบเสยี ง (Sound System)

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วิชา 2105 – 2001 ชือ่ วิชาเขียนแบบไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท-ป-น 0-3-1 ชอื่ หน่วย เขียนรปู สญั ลักษณว์ ัสดอุ ุปกรณ์ทางไฟฟ้า เรื่อง เขียนรูปสัญลักษณว์ ัสดุอปุ กรณ์ทางไฟฟ้า จานวนชั่วโมงสอน 3 (7) ระบบควบคมุ อาคารอัตโนมัติ (Building Automation Control System) 1.1.2 หน้าท่ีของผู้ออกแบบระบบ ผู้ออกแบบต้องเป็นผูท้ ่มี คี วามรู้กวา้ งขวาง และจาเป็นตอ้ งมีขอ้ มลู ท่ี ถกู ต้อง ทนั สมยั จานวนมาก และมหี นา้ ที่ดงั น้ี 1. พัฒนาออกแบบระบบใหส้ ามารถจ่ายได้อย่างเพยี งพอ และปลอดภยั 2. เปน็ ไปตามข้อกาหนด มาตรฐานตา่ ง ๆ 3. สอดคล้องกบั ความต้องการ 4. ประสานงานกับฝา่ ยตา่ ง ๆ เพ่ือความปลอดภยั 5. เขยี นกาหนดรายละเอียดครบถว้ น และถูกตอ้ ง 1.1.3 ระบบที่ดี (System Stability) ระบบที่ดคี วรเปน็ ไปตามขอ้ กาหนดต่าง ๆ ดังน้ี 1. มีความปลอดภัย (Safety) 2. มมี ูลค่าการเร่ิมต้นลงทุนต่า (Minimum Initial Investment) 3. มกี ารบารงุ รักษาที่ต่อเน่ืองตา่ (Minimum Service Continuity) 4. มีความยดื หยุ่นต่อการขยายตวั ในอนาคต (Maximum Flexibility and Expandability) 5. มีประสิทธภิ าพสงู สดุ (Maximum Efficiency) 6. มีมลู คา่ การบารุงรกั ษาต่า (Minimum Maintenance Cost) 7. มีการส่งถ่ายกาลังได้ดี (Maximum Power Convey) 1.1.4 มาตรฐาน (Standard) มาตรฐานเปน็ เร่อื งที่สาคญั มากในการออกแบบ ระบบมาตรฐานตา่ ง ๆ จะ เป็นตวั กาหนดพิกดั ทางกล พิกัดทางไฟฟา้ และพิกดั อื่น ๆ ของอปุ กรณใ์ นระบบทั้งหมด และยงั รวมถึงการ เชื่อมต่อระบบต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั อีกด้วย ซงึ่ ประกอบด้วย 2 สว่ น คือ 1. มาตรฐานอปุ กรณ์ไฟฟ้า (Standard Equipment) มาตรฐานทใ่ี ช้อ้างอิง ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) มาตรฐานสากล (International Standard) เช่น ISO, IEC, EN (2) มาตรฐานประจาชาติ (National Standard) เชน่ ANSI, BS, DIN, VDE, JIS และ TIS 2. มาตรฐานการติดตงั้ (Standard Installation) มาตรฐานการตดิ ต้ังในประเทศไทย (1) การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) (2) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) (3) สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (ว.ส.ท.)

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวิชา 2105 – 2001 ชื่อวิชาเขียนแบบไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท-ป-น 0-3-1 ชอื่ หน่วย เขียนรูปสัญลักษณ์วสั ดุอปุ กรณ์ทางไฟฟ้า เรือ่ ง เขียนรปู สัญลักษณว์ สั ดอุ ุปกรณ์ทางไฟฟา้ จานวนชว่ั โมงสอน 3 1.1.5 หน่วยงานระบบ และมาตรฐานสากล ปจั จุบันเทคโนโลยไี ด้เจริญรุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว ประเทศ ที่พฒั นาแล้วไดส้ ร้างผลิตภณั ฑ์วิทยาศาสตร์ และอตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ ออกจาหน่ายใหก้ ับประเทศทพี่ ัฒนาน้อย กว่าในเร่อื งน้นั ๆ ทาให้เกิดความยงุ่ ยากในการสื่อความหมายเรอ่ื งรหสั สญั ลักษณ์ การติดต้งั ใช้งาน การอ่าน คู่มอื ของผลติ ภัณฑต์ า่ ง ๆ เป็นอยา่ งมาก และท่สี าคญั คือการถ่ายทอดเทคโนโลยี (Technology Transfer) ระหวา่ งกนั เพอ่ื การศึกษา และพฒั นาเนื่องจากสาเหตนุ ้ี จึงมีประเทศที่พฒั นาแล้วไดร้ วมกนั จัดต้งั หน่วยงานข้นึ เพื่อกาหนดระบบ และมาตรฐานของงานอาชีพสาขาตา่ ง ๆ ขน้ึ หน่วยงานทท่ี าหนา้ ทน่ี ี้ คือ International Organization for Standardization ใช้ตวั ยอ่ ISO แปลเปน็ ภาษาไทยว่าองค์การระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ย มาตรฐาน องค์การนจี้ ะทาหน้าที่บัญญัติศัพท์ ใหค้ าจากัดความ กาหนดรูปแบบสัญลักษณ์กาหนดคณุ สมบัติ คุณภาพของบริภัณฑ์ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และสาขาอ่ืน ๆ อีกมาก สาหรบั งานดา้ นไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกสน์ ้ันจะมีหน่วยงานแยกออกไปเฉพาะ คือ International Electro technical Commission ใชต้ วั ยอ่ IEC แปลเป็นภาษาไทยว่าคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าดว้ ยเทคนคิ ไฟฟ้า สาหรบั วิชาเขียนแบบไฟฟ้า และอเิ ลก็ ทรอนิกส์น้ัน รูปภาพ สญั ลักษณ์ (Graphic Symbol) ประเทศไทยจะ ยึดถอื ของ IEC ซง่ึ ขณะนหี้ ลายประเทศได้ปรบั เปลี่ยนระบบมาใชม้ าตรฐานของ IEC แล้ว เช่น อังกฤษ เยอรมัน และสหรัฐอเมริกา ผลติ ภัณฑ์รุน่ ใหมจ่ ะใชส้ ัญลกั ษณ์สากลแทน ประเทศไทยโดยรฐั บาลได้ยอมรบั และใช้ IEC เปน็ มาตรฐานของรปู ภาพ และสัญลกั ษณเ์ ช่นกัน 1.1.6 หนว่ ยงานมาตรฐานในประเทศ ประเทศไทยได้จดั ตง้ั สานกั งานมาตรฐานข้นึ ซ่งึ เป็นหนว่ ยงานของ รฐั ขึ้นอย่กู ับกระทรวงอตุ สาหกรรมมชี ื่อวา่ สานักงานมาตรฐานผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรม (Thailand Industrial Standards Institute) ซ่งึ ใช้ตวั ย่อ TIS สานักงานมเี ลขาธกิ ารเปน็ ผบู้ ังคับบัญชา และมีรฐั มนตรกี ระทรวง อุตสาหกรรมเป็นประธาน การทางานจะอย่ใู นรปู คณะกรรมการเมื่อจะทาเรื่องใดที่นามาตรฐานสากลมาใชเ้ ปน็ หลกั แล้วดาเนินการเปน็ ขน้ั ตอนจนประกาศใชใ้ นราชกจิ จานเุ บกษาสาหรบั การเขยี นแบบไฟฟ้าอเิ ล็กทรอนกิ ส์ นน้ั ไดเ้ ริม่ ทาบางส่วนแตม่ ีเรื่องทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การเขียนแบบท่วั ไปอย่ดู ้วย ซึ่งไดป้ ระกาศใชแ้ ล้ว เช่น วธิ ีเขยี น แบบท่วั ไปทางเคร่ืองกล มอก. 446 แผนภาพ แผนภูมิ และตาราง (เดชา : 30) มาตรฐานมคี วามสาคัญมาก เพราะเป็นสว่ นที่อ้างอิงทจ่ี ะทาใหท้ ุกสว่ นเขา้ กนั ได้อย่างพอดี และปลอดภัยรวมถึงการอนุรักษ์ตา่ ง ๆ ดว้ ย 1.1.7 สญั ลกั ษณ์ (Symbol) ผลงานสดุ ท้ายของการออกแบบ คือแบบของระบบ อปุ กรณต์ ่าง ๆ จะถกู แทนด้วยสญั ลักษณ์ท่กี าหนดเปน็ มาตรฐานเดียวกัน สัญลักษณถ์ ูกนาไปใช้ เพอ่ื อธิบายถึงความหมายตา่ ง ๆ แทนอธบิ ายในงานออกแบบ และงานเขียนแบบ ผู้ออกแบบ และผเู้ ขียนแบบ ต้องมีความรสู้ ามารถท่ีจะแปล

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวิชา 2105 – 2001 ชือ่ วิชาเขียนแบบไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท-ป-น 0-3-1 ชื่อหน่วย เขียนรูปสัญลักษณว์ ัสดอุ ปุ กรณ์ทางไฟฟ้า เรือ่ ง เขียนรปู สัญลักษณว์ สั ดุอุปกรณท์ างไฟฟา้ จานวนชั่วโมงสอน 3 ความหมายของสญั ลกั ษณ์ต่าง ๆ ได้เปน็ อย่างดี สัญลกั ษณใ์ นงานเขยี นแบบเปรยี บเสมอื นภาษาท่ี 3 ท่ี ผอู้ อกแบบ ผ้เู ขียนแบบ ผู้อา่ นแบบตอ้ งมีความเข้าใจตรงกันอยา่ งไมผ่ ดิ เพ้ียนนั่นหมายถึง ความถกู ตอ้ งในการ สื่อสารทาใหร้ ะบบต่าง ๆ ท่จี ะดาเนินการถูกต้อง สัญลกั ษณ์ทางไฟฟา้ ในระบบ SI

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วชิ า 2105 – 2001 ช่ือวชิ าเขยี นแบบไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท-ป-น 0-3-1 ช่อื หน่วย เขียนรูปสญั ลักษณว์ สั ดอุ ุปกรณท์ างไฟฟ้า เร่อื ง เขียนรูปสัญลักษณว์ ัสดอุ ปุ กรณท์ างไฟฟ้า จานวนชั่วโมงสอน 3

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วชิ า 2105 – 2001 ช่ือวชิ าเขยี นแบบไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท-ป-น 0-3-1 ช่อื หน่วย เขียนรูปสญั ลักษณว์ สั ดอุ ุปกรณท์ างไฟฟ้า เร่อื ง เขียนรูปสัญลักษณว์ ัสดอุ ปุ กรณท์ างไฟฟ้า จานวนชั่วโมงสอน 3

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วชิ า 2105 – 2001 ช่ือวชิ าเขยี นแบบไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท-ป-น 0-3-1 ช่อื หน่วย เขียนรูปสญั ลักษณว์ สั ดอุ ุปกรณท์ างไฟฟ้า เร่อื ง เขียนรูปสัญลักษณว์ ัสดอุ ปุ กรณท์ างไฟฟ้า จานวนชั่วโมงสอน 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook