Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore inbound3444142354007790880

inbound3444142354007790880

Published by Beebor รหัส​ ​634111003​, 2021-10-08 14:53:26

Description: inbound3444142354007790880

Search

Read the Text Version

รายงานการฝึกปฏิบตั ิวชิ าชีพระหวา่ งเรยี น ๑ PC๖๒๘๐๑ (Practicum ๑) รปู นักศกึ ษา ถกู ตอ้ ง ตามระเบียบ 1 นวิ้ นาย พพิ ฒั น์ จติ ไพรงาม รหสั นกั ศึกษา ๖๓๔๑๑๑๐๐๖ ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ สาขาวิชาศลิ ปศึกษา คณะมนษุ ยศ์ าสตรส์ ังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบึงจังหวดั ราชบุรี

รายงาน การฝึกประสบการณว์ ิชาชีพระหว่างเรียน ๑ PC๖๒๘๑๐ (Practicum ๑) ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ช่ือนักศึกษา นายพิพัฒน์ จิตไพรงาม รหสั นักศึกษา ๖๓๔๑๑๑๐๐๖ สาขาวชิ า ศิลปศึกษา คณะ มนุษย์ศาสตรส์ งั คมศาสตร์ สถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านหนองนกกะเรียน อำเภอ จอมบึง จงั หวดั ราชบุรี สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต ๑

คำนำ ย่อหน้าที่ ๑ วตั ถปุ ระสงค์ของการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพ ระหว่างเรยี น …วัตถประสงค์ของการฝึกงาน ๑ เพอื่ ฝึกใหน้ ักศกึ ษามคี วามรบั ผิดชอบต่อหนา้ ที่ เคารพระเบียบวนิ ยั และทาํ งานรว่ มกับผอู้ น่ื ได้อยา่ ง มี ประสทิ ธิภาพ ๒ เพ่อื ใหน้ ักศึกษาได้เพิ่มทักษะ สรา้ งเสริมประสบการณ์ และพฒั นาวิชาชีพตามสภาพความเปน็ จรงิ ใน สถาน ประกอบการ ๓ เพอ่ื ให้นักศึกษาได้ทราบถงึ ปญั หาตา่ งๆที่เกดิ ขึน้ ในขณะปฏบิ ัตงิ าน และสามารถ ใชส้ ติปัญญา แก้ปญั หาได้อยา่ งมเี หตผุ ล ๔ เพือ่ ให้นักศึกษามีเจตคติที่ดตี อ่ การทำงาน เปน็ แนวทางในการประกอบอาชีพต่อไป ภายหลังจาก สำเรจ็ การศกึ ษา ๕ พฒั นานกั ศึกษาใหม้ สี มรรถภาพในวิชาชพี ทั้งในด้านเทคนคิ วิธี การจดั การงานอาชีพตลอดจน คุณธรรมในการทำงาน ๖ พัฒนาทกั ษะของนักศึกษาให้มปี ระสบการณ์และความสามารถท่ีจะประยุกตท์ ฤษฎีไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ เพ่ือใหเ้ กิดความม่ันใจในการประกอบอาชีพ ๗ พัฒนาทัศนคตใิ นวชิ าชีพใหส้ ามารถนำความรู้และทกั ษะไปใชใ้ นการทำงาน และการดำเนินชีวติ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ย่อหน้าที่ ๒ เน้อื หาภายในเล่ม ประกอบด้วย ส่วนท่ี ๑ -ขอ้ มูลนกั ศกึ ษา สว่ นท่ี ๒ บทท่ี ๑ -บริบทสถานศึกษา บทท่ี ๒ - หนา้ ทข่ี องคุณลกั ษณะและจิตวญิ ญาณความเป็นครู และการพฒั นาวชิ าชีพครู

บทท่ี ๓ -การศกึ ษาพฤตกิ รรมผ้เู รยี น บทที่ ๔ -การปฎบิ ัติหน้าทผ่ี ชู้ ว่ ยครู บทท่ี ๕ -ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ ปญั หาอุปสรรค และความคิดเหน็ ต่อการฝึกประสบการณว์ ิชาชีพระหวา่ ง เรียน ๑ -ภาคผนวกประมวลภาพกจิ กรรมการฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ระหวา่ งเรียน1 ยอ่ หนา้ ที่ ๓ คำกล่าวขอบคุณผู้เก่ยี วข้อง ......ผู้อำนวยการ ร.ร ครพู ่เี ลี้ยง.........…… ไดม้ าฝกึ สอนที่โรงเรียนบ้านหนองนกกะเรียนแห่งนี้ เปน็ หนึ่งเดือนแหง่ การเรียนรแู้ ละประสบการณ์ ด้านการจดั การเรยี นการสอนที่ทรงคุณคา่ เปน็ หน่งึ ปแี ห่งความรสู้ ึกที่ดี อบอนุ่ และมีความสุขมาก ๆ เพราะผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นสดุ ยอด คณะครูสดุ เยี่ยม พ่เี ลีย้ งที่น่ารักและดแู ลเป็นอย่างดี และนกั เรยี น เข้าร่วมกิจกรรมอยา่ งต้งั ใจ ใฝร่ ใู้ ฝ่เรียน เคารพนบั ถือ และให้เกยี รตซิ งึ่ กนั และกัน กราบผมจะเก็บเอาความดีงามท่โี รงเรียนแหง่ นไ้ี วใ้ นความทรงจำตลอดไป ขอบใจทกุ คนทีม่ ีไมตรใี ห้กราบผม ขออภยั ทุกความผิดพลาดบกพรอ่ งท่ีกระผมได้กระทำลงไป ทั้งโดยตั้งใจและไม่ไดต้ ้ังใจ ขออวยพรให้ให้ ผอ. และคณะครทู ุกทา่ นและ ครูพเ่ี ล้ียงของกระผมมีแตค่ วาสุข และโรงเรยี นกา้ วหนา้ พฒั นาไปไดไ้ กล ครับผม สวัสดีและลาก่อนทกุ คน ลงช่อื ...................................................... ............/.............................../................

สารบัญ หน้า คำนำ....................................................................................................................... ก สารบัญ ................................................................................................................... ข ข้อมูลนักศึกษา ........................................................................................................ ๑ แผนการปฏิบตั งิ านตามกรอบภาระงาน ณ สถานศึกษา ........................................... บทท่ี ๑ บริบทสถานศึกษา และบรบิ ทชุมชน............................................ ๑.๑.๑ สภาพทว่ั ไปของสถานศึกษา - ระวตั ิย่อ - สภาพภูมิศาสตร์/ทีต่ ัง้ - วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ - ปรัชญาของสถานศกึ ษา - ลกั ษณะโดยท่วั ไปของผเู้ รียน (ช่วงอายุ พฤตกิ รรมโดยทว่ั ไป บคุ ลกิ การแต่งกาย การแสดงออก ฯลฯ ๑.๑.๒ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศกึ ษา จำนวนบุคลากรในสถานศึกษา จำนวนอาคารและหอ้ งภายในอาคาร อาคารภายในสถานศกึ ษา(แยกตามการใช้ประโยชน์) จำนวนอาคารและห้องภายในอาคาร อาคารภายในสถานศกึ ษา ห้องปฏิบัติการภายในสถานศกึ ษา

๑.๑.๓ แผนผังการบริหารงานในสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นหนองนกกะเรยี น ๑.๑.๔ รายละเอยี ดและการทำหนา้ ทขี่ องบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ๑.๑.๕ แผนผังของสถานศึกษา ๑.๑.๖ สภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกภายในสถานศึกษา - สภาพแวดล้อม (เชน่ ความร่มรนื่ ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรยี บร้อย) - สง่ิ อำนวยความสะดวก (เช่น หอ้ งปฏิบตั ิงาน สถานทสี่ ำหรับฝกึ ปฏบิ ตั ิ วสั ดุ ครุภณั ฑ์) ๑.๑.๗ จดุ เสี่ยงทเ่ี กิดอบุ ัตเิ หตุนอกโรงเรยี นและภายในโรงเรยี น ๑.๒ บริบทชุมชน - ประวัติชุมชนและท่ีมาของชอ่ื หมู่บ้าน - ประชาชนส่วนใหญน่ ับถือศาสนา - อาชีพในชุมชน - ขอ้ ด/ี จดุ เด่นของชุมชน - ถานทสี่ ำคัญ - แหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชน - ภูมปิ ัญญาชาวบ้าน/ทองถนิ่ /ปราชญ์ชาวบ้าน -ขนบธรรมเนียงประเพณี วัฒนาธรรมของชุมชน -จดุ เสี่ยงทกี่ ่อให้เกิดอุบัตเิ หตุในชุนชมที่ใดบ้าง บทท่ี ๒ หน้าท่ีของครู จิตวิญญาณความเป็นครู ความรักและศรัทธา ในวชิ าชีพครู จรรยาบรรณครู และการพฒั นาวิชาชีพครู........................... ๒.๑ บทบาทหนา้ ทีค่ รู ครกู ับนักเรียน ครกู ับครู ครกู ับผู้ปกครอง

๒.๒ คณุ ลักษณะความเป็นครู จติ วิญญาณครคู วามรัก และศรทั ธาในวิชาชพี และ จรรยาบรรณครู ๒.๒.๑ คุณลักษณะทางกาย (บุคลกิ ภาพ การแตง่ กาย ฯลฯ) ๒.๒.๒ คุณลกั ษณะทางใจ (ความร้ตู ามความศรทั ธาในวชิ าชีพ ความโอบออ้ มอารี ฯลฯ) ๒.๓ การพัฒนาวชิ าชีพครู ๒.๓.๑ การพฒั นาด้านวิชาการ (เชน่ การอบรมทางวชิ าการ) ๒.๓.๒ การพัฒนาดา้ นความเปน็ ครู (เช่น การอบรมจริยธรรม) ๒.๓.๓ หนทางความกา้ วหน้าในวิชาชพี ครู (เชน่ เปิดโอกาสสนับสนนุ ในการอบรม ทำวทิ ยฐานะ) บทที่ ๓ การศึกษาพฤติกรรมผู้เรยี น การแกป้ ัญหา และการช่วยเหลือ ผู้เรียน……………………………………………………………………………………… ๓.๑ การศกึ ษาพฤติกรรมผู้เรยี นโดยรวม ๓.๑.๑ พฤติกรรมผู้เรยี น ๓.๒ การศกึ ษาผู้เรียนเป็นรายกรณี การศึกษาผเู้ รียนเป็นรายกรณี (Case Study) แนวปฏบิ ตั ิ การสงั เกตพฤติกรรม บทที่ ๔ ผลลัพธ์การเรยี นรู้......................................................................... ประมวลภาพกจิ กรรม................................................................................... ๔.๑ ผลลัพธ์การเรียนรู้ทเี่ กดิ จากการฝึกปฏบิ ตั ิวิชาชพี ระหว่างเรียนมดี งั น้ี ๔.๑.๑ ความรู้ (Knowledge) ๔.๑.๒ ดา้ นทักษะปฏิบัติ (Process/Skill) ๔.๑.๓ ด้านเจตคติและคณุ ลกั ษณะ (Attitude/Attribute) ๔.๒ ปัญหา/อุปสรรคของนักศึกษาฝกึ ปฏิบตั ิวิชาชพี ระหวา่ งเรียน ๔.๓ แนวทางการแกไ้ ข/ข้อเสนอแนะ

๔.๔ ประสบการณ์ท่ีนักศกึ ษาไดร้ บั จากการฝกึ ปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรยี น ๑ ๔.๕ ส่ิงที่นักศึกษาประทบั ใจจากการฝึกปฏบิ ัติวชิ าชพี ระหวา่ งเรียน ๑ ประมวลภาพกิจกรรมและคำอธิบายภาพ การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพระหว่างเรียน ๑

รปู ถ่าย นักศกึ ษา ขนาด ๑ น้วิ ระเบียนขอ้ มลู นักศึกษา การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพระหว่างเรยี น ๑ ภาคเรียนท.่ี ..๑...... ปกี ารศกึ ษา....๒๕๖๓............ ชื่อ-สกลุ นักศกึ ษา นายพิพัฒน์ จิตไพรงาม ห น อ ง ลู รหัสประจำตัว ๖๓๔๑๑๑๐๐๖ สาขาวิชา ศลิ ปศึกษา คณะ มนุษย์ศาสตร์สงั คมศาสตร์ ท ี ่ อ ย ู ่ ป ั จ จ ุ บ ั น เ ล ข ท่ี ๒ ๑ ๕ / ถ น น –. ต ำ บ ล /แ ข ว ง อำเภอ/เขต สังขละบุรี จงั หวดั กาญจนบุรี รหัสไปรษณยี ์ ๗๑๒๔๐ โทรศพั ท์ .๐๙๒-๘๗๓๔๔๒๓ E-mail - กรปุ๊ เลือด โอ ผู้ที่ตดิ ตอ่ ได้สะดวก โทรศัพท์ สถานที่การฝกึ ประสบการณ์ หน่วยสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านหนองนกกะเรยี น ทต่ี ้งั เลขที่ ๗๒ หมู่ ๔ ถนน – ตำบล รางบัว/ อำเภอ/เขต จอมบึง จังหวัด ราชบุรี รหัสไปรษณยี ์ ๗๐๑๐๕ โทรศัพท์ ๐๖๕-๖๖๘๙๖๕๓ โทรสาร ๐๓๒-๗๓๕๒๔๒ ผู้บริหารสถานศึกษา นางสาวทษวรรณ ปนิ่ แก้ว ครูพเี่ ลี้ยง นางอรพิมล คำสีแกว้ โทร – อาจารยผ์ สู้ อน ครูผู้ช่วยศาสตราจารยท์ รงศกั ดิ์ เกษมรุจิภาคย์

บทที่ ๑ บริบทสถานศกึ ษา และบริบทชมุ ชน ๑.๑ บริบทของสถานศกึ ษา ๑.๑.๑ สภาพทวั่ ไปของสถานศึกษา - ประวตั ิย่อ โรงเรียนบ้านหนองนกกะเรียนประชาบาล ตำบลจอมบึง (วดั หนองนกกะเรียน) ได้มี ผู้ใหญค่ ำ กองแกว้ และนายสมจติ ร หลมิ พลอย ครนู ้อย (สารวตั รศึกษา) กิ่งอำเภอจอมบึงไดจ้ ดั ต้ัง โรงเรียนข้ึน และซักถามบรรดาราษฎรบา้ นหนองนกกะเรียนไดร้ ว่ มมือกันทำเปน็ โรงเรยี น คอื เสาไม้ จริงทุบเปลอื ก เครอ่ื งบนไม้ไผ่ หลังคามุงดว้ ยหญา้ คา กระดานดำ สำเร็จในวนั ท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๔๙๐ ได้เกดิ เรยี น ในวันที่ ๑ สงิ หาคม ๒๔๙๐ ทำการสอนจนถึงทกุ วันนี้ ทางราชการได้สง่ นายฟงุ้ พยพั ตรี รกั ษาการตำแหน่งครูใหญ่ พร้อมด้วยนายสมจิตร หลมิ พลอย ทำการในตำแหนง่ ครนู ้อย ทำ การสอนในโรงเรียนต่อไป พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๐ เจา้ อาวาสวัดหนองนกกะเรยี น ราษฎร ผู้ใหญบ่ า้ น พร้อมด้วยครูในโรงเรยี นได้ ร่วมมือกนั หาอปุ กรณป์ ลูกสรา้ งโรงเรียนขึ้นใหม่ แบบ ป.๑ ก. (๓ ห้องเรียน) แตย่ ังไมไ่ ด้มงุ หลังคา พทุ ธศักราช ๒๕๐๒ ทางการไดช้ ว่ ยเหลือเงนิ คา่ ใชส้ อย เพือ่ ซอื้ สังกะสมี งุ หลังคา เป็นจำนวน เงิน ๕,๐๐๐ บาท มุงเสร็จเรียบร้อยยงั ขาดฝา บานประตู หนา้ ตา่ ง นกั เรียนไดเ้ รม่ิ เรียนมาถึงปจั จุบัน วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๑๒ ทางการไดช้ ่วยเหลอื โดยให้เงนิ จำนวน ๖,๒๑๑ บาท เป็นคา่ ซ่อมแซม อาคารเรียนทีช่ ำรุดเสยี หายบางสว่ น เน่ืองจากถูกวาตภยั เมื่อวนั ที่ ๖ มีนาคม ๒๕๑๒ วนั ที่ ๒ เมษา ๒๕๑๕ ได้รอ้ื ถอนอาคารเรียนเดิมอยทู่ ีว่ ดั หนองนกกะเรยี นไปปลกู สรา้ งในท่ีแห่งใหม่ซ่ึง ท่ีดนิ เป็นของนายสิน เสยี งเพราะไดบ้ ริจาคใหเ้ ป็นทส่ี รา้ งอาคารเรยี นหา่ งจากวดั ประมาณ ๖๐๐ เมตร มเี น้ือที่ ๑๔ ไร่ ๒ งาน ๓๖ ตารางวา มี น.ส.๓ เป็นหลักฐาน การร้ือถอนยา้ ยอาคารเรียนหา่ งได้นบั ความร่วมมือจากราษฎร กรรมการพฒั นาหมู่บ้าน กรรม การศกึ ษา ผู้ใหญบ่ ้านและครู ร่วมมือกนั จัดทำจนสำเร็จเรียบรอ้ ย คอื แรงงาน และซ้ืออุปกรณ์จำนวน เงนิ ๒,๖๒๐ บาท ไดเ้ ปดิ เรียนตง้ั แต่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๕ พุทธราช ๒๕๑๖ ไดง้ ยประมาณสร้างอาคารเรยี นสรา้ งอาคารเรียนแบบ ป.๑ ก.

(๔ ห้องเรยี น) ๑ หลัง งบก่อสร้าง ๑๖๐,๐๐๐ บาท จากงบประมาณ หมวดคา่ ทด่ี นิ และส่ิงปลูกสร้าง งบประมาณประถมศกึ ษา ขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั ราชบรุ ีและไดง้ บประมาณสร้างบ้านพกั ครู ๑ หลัง ขนาด ๓.๖๖ × ๙.๒๐ เมตร งบก่อสร้าง ๒๕,๐๐๐ บาท พทุ ธศักราช ๒๕๑๘ ได้งบประมาณสรา้ งบา้ นพักครู ๑ หลงั ขนาด ๓.๕๐ × ๘.๒๔ เมตร งบก่อสรา้ ง ๕๐,๐๐๐ บาท พทุ ธศักราช ๒๕๒๐ ไดง้ บประมาณก่อสร้างถังเก็บน้ำฝน ก่อสรา้ ง ๑๐,๐๐๐ บาท (จากสาธารณสุข จงั หวัด) พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑ ดง้ บสร้างบา้ นพักครู ๑ หลัง ขนาด ๓.๕๐ × ๘.๒๔ เมตร งบกอ่ สรา้ ง ๗๕,๐๐๐ บาท พุทธศกั ราช ๒๕๒๒ ได้งบประมาณสร้างสว้ ม ๑ หลัง ๕ ท่นี งั่ ขนาด ๖.๒๕ × ๓ เมตร งบก่อสร้าง ๒๕,๐๐๐ บาท พุทธศกั ราช ๒๕๒๔ ไดง้ บประมาณสร้างอาคารอเนกประสงค์ ๑ หลงั ขนาด ๑๗.๕๐ × ๗ เมตร งบ กอ่ สร้าง ๑๓๐,๐๐๐ สรา้ งเสรจ็ เรยี บรอ้ ยเม่ือวนั ท่ี ๗ มกราคม ๒๕๒๕ พุทธศกั ราช ๒๕๓๑ ไดง้ บประมาณสร้างเรอื นเพาะชำ ๑๑ หลงั ขนาด ๖ × ๔ เมตร งบประมาณ ก่อสรา้ ง ๑๙,๖๐๐ บาท พทุ ธศักราช ๒๕๓๙ ได้งบประมาณสรา้ งอาคารเรียนแบบ ๑๐๕/๒๙ (๔ หอ้ งเรยี น) ๑ หลงั งบ ก่อสรา้ ง ๑,๖๔๐,๐๐๐ บาท ปัจจุบนั โรงเรยี นบ้านหนองนกกะเรยี น มีการจัดการเรียนการสอน ๓ ระดับได้แก่ ระดบั ก่อน ประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

- สภาพภมู ิศาสตร์/ท่ีตัง้ โรงเรยี นบา้ นหนองนกกะเรียนตัง้ อยู่ที่หมู่ที่๔ บา้ นหนองนกกะเรียน ตำบลรางบวั อำเภอจอมบึง จงั หวดั ราชบุรี รหสั ไปษณยี ์ ๗๐๑๕๐ โทรศพั ท์ ๐๓๒-๗๓๕๒๔๑ โทรสาร ๐๓๒-๗๓๕๒๔๒ เปิดสอนต้ังแต่ชั้นอนุบาล ๑ ถงึ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ มจี ำนวณ ๒๔ หอ้ งเรยี น - วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ .....โรงเรยี นบ้านหนองนกกะเรยี น จดั การศกึ ษาภาคบังคบั อยา่ งมีคณุ ภาพ เพือ่ พฒั นาให้ผเู้ รียนมีความรู้ค่คู ุณธรรม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ตามมาตรฐานการศึกษา ใส่ใจสิง่ แวดลอ้ ม ก้าวล้ำเทคโนโลยีโดยยึกหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและมีวถิ ชี วี ิตอยา่ งไทย ๑.เพือ่ สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนอา่ นออกเขียนได้คิดคำนวณไดต้ ามศกั ยภาพ ๒.สง่ เสรมิ ให้ครไู ด้รับการพฒั นาศกั ยภาพในการจัดการเรียนการสอนอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๓.เพื่อสง่ เสริมสขุ ภาพทงั้ รา่ งกายและจิตใจและสำนึกในการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมใช้เทคโนโลยีอยา่ งมือ อาชพี ๔.เพือ่ สง่ เสริมภูมปิ ัญญาท้องถิ่นแหลง่ เรยี นร้ทู ้งั ภายในและภายนอก ๕.เพอ่ื สง่ เสริมชุนชมเข้ามามีส่วนรว่ มในการบรหิ ารจดั การศึกษา ๖.เพือ่ พัฒนาสงิ่ แวดล้อมและอาคารสถานท่ีทเ่ี อื้อต่อการจดั การเรยี นรู้ ๗.เพื่อส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนและบุคลากรน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นการดำเนดิ ชวี ติ ๘.เพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพบริหารจดั การแบบมสี ่วนรว่ มภายใต้หลักธรรมาภิบาล - ปรัชญาของสถานศึกษา มวี นิ ยั ใสใ่ จสิ่งแวดล้อม นอ้ มนำคุณธรรม นำเทคโนโลยี - ลกั ษณะโดยท่วั ไปของผูเ้ รียน (ช่วงอายุ พฤติกรรมโดยท่วั ไป บคุ ลิกการแต่งกาย การแสดงออก ฯลฯ - เดก็ รอ้ ยละ ๘๐ มีวินัย ขยนั ประหยัด สุภาพ ซื่อสัตย์ สามัคคี และมีนำ้ ใจต่อเพ่ือน - มนี ้ำใจ มารยาทดี มีความรับผดิ ชอบ มีสัมมาคารวะ และมีความกล้าแสดงออก - มีความเปน็ ผู้นำ ดแู ลรกั ษาส่งิ แวดลอ้ ม มคี วามสามารถพิเศษ แต่งกายถูกระเบยี บเรยี บร้อย

๑.๑.๒ ข้อมูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา จำนวน รวม จำนวนบุคลากรในสถานศึกษา บคุ ลากร ชาย หญิง คร-ู อาจารย์ ๒ ๑๐ ๑๒ เจ้าหนา้ ที่ นักการ ๑๐ ๑ นกั เรยี นชั้น อนบุ าล ๑ นกั เรียนชน้ั อนบุ าล ๒ ๐๑ ๑ นักเรยี นช้ัน อนบุ าล ๓ นักเรยี นชน้ั ปฐมศึกษา ๑ ๐๐ ๐ นักเรยี นชน้ั ปฐมศกึ ษา ๒ นักเรียนช้ันปฐมศึกษา ๓ ๖ ๖ ๑๒ นักเรียนช้นั ปฐมศึกษา ๔ นกั เรยี นชั้น ปฐมศกึ ษา ๕ ๖ ๙ ๑๕ นักเรียนชั้น ปฐมศึกษา ๖ ๑๐ ๕ ๑๕ ๘ ๖ ๑๔ ๘ ๓ ๑๑ ๑๑ ๘ ๑๙ ๑๔ ๑๐ ๒๔ ๓ ๑๐ ๑๓

นักเรียนชั้น มธั ยมศึกษา ๑ ๑๒ ๘ ๒๐ นกั เรียนช้ัน มธั ยมศึกษา ๒ ๙ ๗ ๑๖ นกั เรียนชั้น มธั ยมศกึ ษา ๓ ๖ ๑๐ ๑๖ รวม ๙๕ ๙๔ ๑๘๙ จำนวนอาคารและหอ้ งภายในอาคาร อาคารภายในสถานศกึ ษา(แยกตามการใช้ประโยชน์) ๑ อาคารเรยี น๑ จำนวน ๑ หลงั จำนวน ๔ ........ ห้อง หลัง จำนวน๔........ ห้อง ๒. อาคารเรียน๒ จำนวน ๑ หลงั จำนวน๔........ ห้อง หลงั จำนวน.๘....... ห้อง ๓. อาคารเรียน๓ จำนวน ๑ หลัง จำนวน๑........ ห้อง หลงั จำนวน๑........ หอ้ ง ๔. อาคารเรยี น๔ จำนวน ๑ หลงั จำนวน๑……… หอ้ ง ๕. โรงฝึกงาน จำนวน ๑ ๖ โรงอาหาร จำนวน ๑ ๗ หอ้ งดนตรี จำนวน ๑ หอ้ งปฏิบตั กิ ารภายในสถานศึกษา ได้แก่ จำนวน๑........ ห้อง จำนวน๑........ หอ้ ง ๑. ห้องปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ จำนวน๑........ หอ้ ง จำนวณ๑…. ห้อง ๒. ห้องปฏบิ ัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ ๓. หอ้ งดนตรี ๔. หอ้ งภาษาอังกฤษ

๑.๑.๓ แผนผงั การบรหิ ารงานในสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านหนองนกกะเรยี น นางสาวทษวรรณ ปน่ิ ทอง ผ้อู ำนวยการชำนาญการ นางสำเนียง เจรญิ สขุ นางเรไร ทองสามสี นางเดอื นเพ็ญ กันนะ นางสาวสุวมิ ล เหลอื ลมยั นางกนั ยารตั น์ เฉลมิ ดษิ ฐ์ ครชู ำนาญการพเิ ศษ ครชู ำนาญการพเิ ศษ ครชู ำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ นางดวงใจ แก้วมณี นางสาวนชุ จิรา โพธงิ์ าม นางสาวปรารถนา เจรญิ วงศ์ นางฉลแงชัย คำสแี ก้ว ครนูชาำงนอำรญพมิกลำรคพำิเสศแี ษก้ว ครชู ำนาญการพเิ ศษ ครู ครู ครู ครู นายเอกลักษณ์ เอ่ียมเกดิ นางสาวกนิษฐา ทองลิม่ นางสาวชาลินี คำโสภา นางสาวสุภาพร ชนะมาร นำงคนึงสุข เจริญวฒั นา ครู ครู ครูผ้ชู ว่ ย ครผู ชู้ ่วย ครูอัตราจ้าง นางสาวลกั ษณา พงษไ์ พศาล นายรมย์ สอดตา เจา้ หนา้ ทธี่ ุรการ นกั การ

๑.๑.๔ รายละเอยี ดและการทำหนา้ ทข่ี องบุคลากรในสถานศกึ ษามีดังน้ี (ตามโครงสรา้ ง หน้า ๓๑) การปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องบคุ ลากรโรงเรียนบา้ นหนองนกกะเรยี นทางด้านผู้อำนวยการโรงเรียนทำ หนา้ ทดี่ ูแลบริหารการจดั การความเรยี บร้อยในการบรหิ ารงานต่างๆภายในสถานศึกษาและยงั ช่วย ดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น และบุคลากรภายในสถานศกึ ษา และยังมคี รใู นแต่ละฝ่ายที่ทำหน้าทดี่ แู ลใน ด้านต่างๆ เช่น ฝา่ ยวิชาการ ฝ่ายบรหิ ารงาน บุคคล ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ และฝา่ ย บริหารงานท่ัวไป พร้อมท้งั เปน็ ท่ปี รกึ ษาในการจัดการเรยี นการสอนในรายวชิ าต่างๆ ใหก้ ับ ครผู ูส้ อนและนกั เรียน ในดา้ นของครูผสู้ อนแต่ละทา่ นจะถกู จัดหน้าที่ในการเปน็ ครทู ่ีปรึกษาของ นกั เรยี นในแตล่ ะชนั้ เรยี น และจะมีสว่ นในการดแู ลในเรอ่ื งตา่ งๆ เช่น เวรประจำวนั การดแู ล ควบคุมแถวในการเคารพธงชาติ รวมไปถึงการให้คำปรึกษาแลพคำแนะนำในการเรยี นและการใช้ ชีวิตในโรงเรยี น นักเรยี นสามารถปรึกษาหรือขอความช่วยเหลือในดรื่องต่างๆ ในการปฏิบัตงิ าน ชว่ งเช้าครูเวรประจำวนั ปฏิบตั หิ น้าที่รว่ มกับนกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์ในการคดั กรองเชื้อไวรัส COVID ๑๙ โดยจะมกี ารคัดกรองระดับอณุ หภูมิ และใช้เจลเอลกอฮอรล์ ้างเมื่อเพอ่ื รกั ษาความ สะอาดก่อนทีน่ กั เรียนทกุ คนกอ่ นท่ีจะเขา้ มาในโรงเรยี นในแตล่ ะวนั จะเริ่มปฏบิ ตั ิงานตงั้ แตช่ ว่ งเวลา ๐๗.๐๐ น. – ๐๘.๐๐ น. ต่อมาจะเป็นในส่วนของการทำหนา้ ทีใ่ นช่วงของการเขา้ แถวเคารพธง ชาติ มกี ารควบการแถว หลังจากเสรจ็ กิจกรรมหน้าเสาธงเปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ยจะเป็นการพบปะกับครทู ่ี ปรกึ ษาเพือ่ เกบ็ เงินออมทรัพยป์ ระจำวันภายในห้องเรยี นในช่วงของการเรียนการเข้าเรียน ครูผ้สู อนตามห้องเรยี น หอ้ งเรยี นในการจัดการเรียนการสอนจะเปน็ ห้องเรยี นทเ่ี ปน็ ห้องประจำของ นกั เรียน ในช่วงเลกิ เรียนจะมกี ารทำความสะอาดภายในห้องเรียนของตนเอง และก่อนกลับบ้าน นกั เรียนทกุ คนจะไปรวมตัวบรเิ วณหน้าเสาธงเพ่ือนำธงชาติลงและสวดมนตจ์ ึงจะปล่อยให้นักเรียน กลับบา้ นได้

๑ ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา - นางสาวทษวรรณ ปน่ิ แก้ว ๒ ฝา่ ยงานวชิ าการ (นางดวงใจ แก้วมณี) -๑.งานทะเบยี น / จบหลักสตู ร / เทยี บโอน ๒. งานวัดผล ประเมินผล ๓.งานนิเทศและบรหิ ารกลุ่มสาระ ๔.งานกล่มุ สาระการเรียนรู้ ๕.งานกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๖.งานห้องสมดุ ๗.งานแหล่งเรยี นรแู้ ละภูมิปัญญาท้องถนิ่ ๘.งานสอื่ ICT การเรียนรู้ ๙.งานพัฒนาหลกั สูตรและสถานศกึ ษา ๑๐.งานวจิ ยั เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ๑๑.งานประกนั คุณภาพการศึกษา ๑๒.งานแนะแนว ๑๓.งานสง่ เสริมวิชาการ ๑๔.งานพัฒนาสอื่ และนวัตกรรม / แหลง่ เรยี นรู้

๓ งานบุคลากร (นางกัลยารัตน์ เฉลมิ ดิษฐ) ๑.งานอัตรากำลัง สรรหาบรรจุ แตง่ ตง้ั ๒.งานทะเบยี นประวตั ิ / งานเครือ่ งราชฯ บัตรประจำตวั ข้าราชการ ๓.งานประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน ๔.งานสารบรรณ ๕.งานเลขานกุ ารสำนักงานผูอ้ ำนวยการ ๖.งานพัฒนาบคุ ลากร / งานอบรมศึกษาดูงาน ๗.งานวินัยและการรักษาวนิ ยั ๘.งานนเิ ทศภายใน ๙.งานสวัสดิการบคุ ลากร สร้างขวญั และกำลงั ใจ ๔ งบประมาณ (นายฉลองชัย คำสแี กว้ )-(นางอรพมิ ล คำสแี กว้ ) - ๑.งานแผนงานโรงเรียน ๒.งานการเงิน ๓.งานการบัญชี ๔.งานพัสดุและสินทรัพย์ ๕.งานตรวจสอบภายใน ๖.งานประกนั ชวี ิตนกั เรียน

๕ การบรหิ ารทว่ั ไป (นางสำเนยี ง เจรญิ สขุ ) ๑.งานประชาสมั พันธ์ ๒.งานสอ่ื สาร / โสตทศั นศึกษา ๓.งานรบั สมัครนกั เรียน ๔.งานอาคาร สถานที่ และสง่ิ แวดล้อม ๕.งานสมั พนั ธก์ ับชุมชน ๖.คณะกรรมการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ๗.งานอนามัยโรงเรยี น ๘.งานโภชนาการ ๙.งานปฏิคมโรงเรียน ๑๐.งานแกไ้ ขพฤติกรรมและวินยั นกั เรยี น ๑๑.งานป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ๑๒.งานพฒั นาและส่งเสรมิ พฤติกรรมนักเรียน ๑๓.งานส่งเสรมิ วนิ ัยจราจร ๑๔.งานดูแลระบบช่วยเหลอื นกั เรียน ๑๕.งานเครอื ข่ายผ้ปู กครอง ๑๖.งานสภานกั เรยี น ๑๗.งานกจิ การนักเรียน ๑๘.งานสหกรณ์โรงเรยี น

๑.๑.๕ แผนผังของสถานศึกษา ๑. สวนป่ ำ โรงฝึกงำน โรงจอดรถ สนำม ถนนหนองบวั คา่ ย - หนองนกกะเรียน รถ ฟตุ บอล อำคำร ๔ หอ้ งนำ้ มธั ยม สนำม วอลเลย่ บ์ อล อำคำร ๓ สนำมฟตุ ซอล โรงจอดรถ หอ้ งเรียน ศำลพระ รถ ธรรมชำติ ภมู ิ อำคำร ๒ อำคำร ๑ โรงจอดรถ บำ้ นพกั ครู รถ หอ้ งดนตรี บำ้ นพกั ครู โรงอำหำร

๑.๑.๖ สภาพแวดลอ้ มและสงิ่ อำนวยความสะดวกภายในสถานศึกษา - สภาพแวดล้อม (เช่น ความร่มรนื่ ความสะอาด ความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย) …………- มีตน้ ไม้ท่ใี หค้ วามรม่ รื่น - โรงเรยี นมคี วามสะอาด เนื่องจากในทุก ๆ เช้านักเรยี นทุกคนจะต้องมาทำ ความสะอาดในพ้ืนทที่ ่รี ับผิดชอบ - ภายในห้องเรียนมีความสะอาดเรียบรอ้ ยอาจจะมีเศษฝุ่นบา้ งประปรายเน่ืองจากบริเวณ ช่องระบายอากาศทำใหเ้ ศษฝนุ่ สามารถลอยเข้ามาได้ - นกั เรียนจอดรถจักรยานยนต์ หรอื จกั รยาน เปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ยในท่ที โ่ี รงเรียน จัดสรรไว้ - หอ้ งน้ำสะอาดถูกสขุ ลกั ษณะ - สงิ่ อำนวยความสะดวก (เช่น หอ้ งปฏิบัตงิ าน สถานทีส่ ำหรับฝกึ ปฏิบัติ วัสดุ ครุภณั ฑ์) - มีห้องคอมพิวเตอรท์ เ่ี พยี งพอต่อการใชง้ าน - หอ้ งปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์ -หอ้ งดนตรี - โรงฝึกงาน - มอี ปุ กรณ์ และวสั ดุ ตา่ ง ๆท่ีเพยี งต่อตอ่ จำนวนนักเรยี นท่ีเข้ามาฝึกปฏบิ ัติ ๑.๑.๗ จดุ เสยี่ งที่เกิดอบุ ตั เิ หตนุ อกโรงเรียนและภายในโรงเรียน นอกโรงเรียน ถนนสามแยกวงเวียนก่อนจะเข้าทางโรงเรยี น มรี ้านค้า และร้านอาหาร ในโรงเรยี น ส่ิงกอ่ สรา้ งประปรุงอาคารเรียนใหม่ -

๑.๒ บริบทชุมชน - ประวตั ิชมุ ชนและท่ีมาของช่ือหมู่บ้าน สมัยก่อนมีหนองนำ้ อยใู่ นกลางป่า นายพรานมาเท่ียวลา่ สัตว์เลยมาเจอหนองน้ำแหง่ นี้ แล้วเจอนกกระเรียนอยู่เป็นประจำ เขาก็เลยตัง้ ช่ือหมู่บา้ นแห่งน้เี ปน็ บา้ นหนองนกกระเรียน จนมาถึง ปัจจุบัน- - ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตพน้ื ที่องค์การบรหิ ารส่วนตำบลรางบวั นบั ถือศาสนาพุทธ - อาชพี ในชุมชน (เช่น มีงบประมาณในการบรหิ ารงาน มาก นอ้ ย ปานกลาง ขาดแคลน) ผู้ปกครองของนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองนกกะเรียนส่วนใหญ่จะทำอาชีพรับจ้าง เก็บของป่า จงึ ทำใหส้ ถานภาพของเศรษฐกจิ ของนกั เรียนโรงเรียนบา้ นหนองนกะเรยี นสว่ นใหญ่อยใู่ นเกณฑ์ ปากกลางคอ่ นไปทางยากจน เพราะไม่มีที่ดินในการทำมาหากิน สว่ นใหญจ่ ะเช่าท่ีคนอื่นในการ ทำการเกษตร - ข้อด/ี จดุ เด่นของชุมชน (เช่น มีชื่อเสียง ทีรู้จักเป็นปกติ เหมือนสถานศึกษาทั่วไป หรือมีความโดดเด่นด้าน ใด) โรงเรียนบ้านหนองนกกะเรียนเป็นโรงเรียนขยายโอกาสในตำบลรางบัว โรงเรียนบ้านหนอง นกกะเรียนแห่งนี้จัดตั้งขึ้นเพื่อให้นักเรียนในบริเวณบ้านหนองนกกะเรียนมีโอกาสทาง การศึกษาและโรงเรียนบ้านหนองนกกะเรียนแห่งเป็นที่รู้จักในบริเวณหมู่บ้านหนองนกกะ เรยี น

- สถานทีส่ ำคญั วัดบ้านหนองนกกะเรยี น เปน็ วัดท่ีสวยงาม และเปน็ เอกลกั ษณ์ ท่สี ำคญั ของชุมชน - แหล่งเรียนรู้ในชมุ ชน สถานทที่ เ่ี ป็นแหล่งเรียนร้ใู นระแวงโรงเรยี นบา้ นหนองนกกะเรยี นมดี งั น้ี -วัด -อนามัย - โรงเพาะเหด็ - ภมู ิปัญญาชาวบา้ น/ทอ้ งถิน่ /ปราชญช์ าวบ้าน - ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ได้แก่ การจักรสาน - ภาษาถน่ิ ใช้ ภาษาไทยภาคกลาง - ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรมของชุมชน องค์การบริหารสว่ นตำบลรางบวั มกี ารจดั งานประเพณปี ีละ ๓ ครั้ง คอื - งานประเพณี สงกรานต์ – งานประเพณีลอยกระทง-ทำบญุ บา้ น - จุดเสยี่ งทก่ี ่อให้เกิดอบุ ตั ิเหตุในชมุ ชนมที ่ีใดบา้ ง สามแยกวงเวียนใจก่อนถึงทางไป ร.ร หนา้ รา้ นค้าอาหารและรา้ นคา้ ขายขนม ถนนหนา้ วดั จะเปน็ ทางโค้ง

บทที่ ๒ บทบาทหนา้ ที่ของครู คุณลักษณะและจติ วญิ ญาณความเป็นครู และการพฒั นาวิชาชีพครู ๒.๑ บทบาทหนา้ ท่คี รู จากการศกึ ษา สงั เกตบทบาทหนา้ ท่ขี องครใู นสถานศกึ ษา นกั ศกึ ษา พบว่า ครูได้ปฏิบัติ หนา้ ทข่ี องครูอย่างไรบา้ ง (มีอะไรบา้ ง และมีบทบาทหน้าทีอ่ ยา่ งไร) ครกู บั นักเรียน ครูกบั นกั เรียนนบั วา่ เป็นบุคคลท่ีมคี วามใกลช้ ิดกันมากท่ีสุด จนกระทั่งในอดตี ยกย่องให้ครู เปน็ บิดาคนทีส่ องของศิษย์ ผู้ปกครองเมื่อส่งบุตรหลานเขา้ โรงเรียนก็ฝากความหวังไว้กับครู กลา่ วคือ มอบภาระต่าง ๆ ในการอบรมดูแล ลกู หลานของตนใหแ้ ก่ครู ดังน้ัน ครูจึงควรปฏิบัติหน้าทีข่ องครใู ห้ สมบูรณ์แบบทสี่ ดุ และควรสร้างมนุษย์สมั พนั ธ์อันดีระหว่างครูและศิษย์ให้แน่นแฟ้ง ให้ศิษย์มีความรสู้ กึ ฝงั ใจตลอดไป วธิ ีการที่ครูควรจะทำตอ่ ศษิ ย์ เช่น ๑. สอนศิษย์ใหเ้ กิดความสามารถในการเรียนร้ใู นวชิ าการต่าง ๆ ให้มากท่ีสุดเทา่ ท่ีครจู ะกระทำได้ ๒. สอนใหน้ กั เรยี นหรอื ศิษย์ของตนมีความสุขเพลิดเพลินกับการเลา่ เรยี นไม่เบ่อื หน่าย อยากจะเรียน อยเู่ สมอ ๓. อบรมดแู ลความประพฤตขิ องศิษย์ให้อยู่ในระเบยี บวนิ ยั หรือกรอบของคุณธรรม ไมป่ ล่อยใหศ้ ิษย์ กระทำชัว่ ด้วยประการทัง้ ปวง ๔. ดแู ลความทกุ ข์สขุ ของศษิ ย์อยเู่ สมอ ๕. เป็นท่ีปรึกษาหารอื และไม่ว่าจะถูกหรือผดิ กต็ าม ช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ศษิ ย์

ครกู ับครู ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งครูกบั ครนู บั ว่ามีความสำคัญมากทสี่ ุดตอ่ การพัฒนาวิชาชพี ครู เพราะครูกบั ครู ที่ทำงานรว่ มกนั อยู่ในสถานศึกษาเดียวกนั เปรียบเสมือนครอบครัวเดียวกันและ บุคคลทเ่ี ปน็ สมาชิกในครอบครัวเดียวกัน หากสมาชกิ ในครอบครัวเดยี วกันมีความสมานสามัคคีอันดี ตอ่ กันแล้ว นอกจากการทำงานรว่ มกัน และ การอบรมสัง่ สอนนกั เรียนเป็น ไปอยา่ งมคี ุณภาพแลว้ ยังช่วยใหก้ ารปฏบิ ัติงานในด้านตา่ ง ๆ ทน่ี อกเหนือจากการสอนเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธภิ าพดว้ ย เมื่อเป็นเช่นนี้ การพฒั นาสถานศกึ ษาจะดียิ่งข้ึนตามละดับ และการพัฒนาวชิ าชพี ครูก็จะดำเนนิ ไปอยา่ งรวดเรว็ วธิ ีท่ีครคู วรปฏิบัตติ อ่ ครู เพื่อสรา้ งมนุษย์สัมพันธ์ ตอ่ กัน เชน่ ๑. ร่วมมือกนั ในการอบรมสั่งสอนศษิ ยใ์ หเ้ ปน็ พลเมืองดีของชาตอิ ยา่ งสม่ำเสมอ ๒. ช่วยเหลือเกื้อกลู กันในทางด้านวชิ าการ เช่น การแนะนำการสอน, แนะนำเอกสาร หรอื แหล่ง วทิ ยาการให้ซ่ึงกนั และกัน ๓. ชว่ ยเหลอื งานส่วนตัวซึง่ กันและกนั เทา่ ทโ่ี อกาสจะอำนวย ๔. ทำหน้าทีแ่ ทนกนั เมือ่ คราวจำเปน็ ๕. ใหก้ ำลังใจในการทำงานซึง่ กนั และกนั ซึง่ อาจจะแสดงออกในรูปของวาจาหรือการกระทำที่ดี ๖. กระทำตนใหเ้ ปน็ ผมู้ ีความสภุ าพอ่อนน้อมตอ่ กนั เสมอ ไม่แสดงตนในทำนองยกตนข่มท่าน หรือ แสดงตนวา่ เราเกง่ กว่าผอู้ นื่

ครูกบั ผู้ปกครอง ผปู้ กครองนักเรยี นเป็นบคุ คลอีกกลุ่มหน่ึงนบั ว่ามีบทบาทสำคญั ตอ่ การพัฒนาการศึกษาเลา่ เรยี นของ ศิษยแ์ ละความก้าวหน้าของสถานศกึ ษา โรงเรยี นใดทสี่ ามารถโน้มนา้ วให้ผูป้ กครองนักเรียนเข้ามา ใกล้ชดิ โรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ โรงเรียนนน้ั จะสามารถพฒั นาได้อย่างรวดเรว็ ทัง้ ดา้ นคุณภาพการเรยี น ของนักเรียนและการพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคมรอบ ๆ โรงเรยี น วธิ กี ารทค่ี รสู ามารถ สรา้ งมนุษยส์ ัมพนั ธ์กบั ผปู้ กครองนักเรียนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เช่น - งานศพของคนในหมบู่ า้ นหนองนกกะเรียนโรงเรียนจะไปช่วย การอำนวยสถานที่ในการจัดงานกฬี าหมู่บ้าน - ประชุมประจำเดือน ๑. แจง้ ผลการเรียนหรือความเจริญกา้ วหนา้ ของศิษยใ์ หผ้ ู้ปกครองนกั เรยี นทราบเปน็ ระยะ ๆ ๒. ตดิ ต่อกบั ผู้ปกครองเพ่ือชว่ ยแก้ปญั หาของศิษยใ์ นกรณีท่ีศิษยม์ ีปญั หาทางการเรยี น ความประพฤติ สุขภาพ อืน่ ๆ ๓. หาเวลาเย่ยี มเยยี นผูป้ กครองเม่ือมีโอกาสอันเหมาะสม เชน่ เมอ่ื ได้ข่าวการเจบ็ ป่วย หรือสมาชกิ ใน ครอบครัวถึงแก่กรรม เป็นต้น ๔. เชิญผปู้ กครองรว่ มทำกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน เช่น การแข่งขันกีฬา ประจำปี งานแจก ประกาศนยี บัตร หรอื งานชมุ นุมศษิ ย์เก่า เปน็ ต้น ๕. เมอ่ื ไดร้ ับเชิญไปรว่ มงานของผ้ปู กครองนักเรียน เช่น งานอุปสมบท งานขึน้ บ้านใหม่ งานมงคล สมรส เป็นต้น ตอ้ งพยายามหาเวลาวา่ งไปใหไ้ ด้ ๖. ครคู วรรว่ มมอื กันทำกจิ กรรมเพ่ือสง่ เสริมความรูแ้ ละอาชีพให้ผู้ปกครองและประชาชนใน ทอ้ งถิน่ จะทำให้ประชาชนเห็นความสำคัญของครูมากยงิ่ ขึ้น ๗. เมอ่ื ชุมชนได้รว่ มมือกันจดั งานต่าง ๆ เช่น งานประจำปีของวดั หรอื งานเทศกาลตา่ ง ๆ ครูควรให้ ความร่วมมอื อยา่ งสม่ำเสมอ ๘. ครคู วรแจ้งขา่ วสารตา่ ง ๆ ท่เี ปน็ ประโยชน์ตอ่ ผูป้ กครอง โดยใหผ้ ปู้ กครองได้ทราบเป็นระยะ ๆ ซง่ึ อาจจะสง่ ขา่ วสารทางโรงเรยี น หรือการตดิ ประกาศ ตามที่อา่ นหนังสอื แจ้งขา่ วสารให้แก่หมู่บ้าน

นักศึกษามีความคิดเหน็ ท่ีมตี ่อการปฏบิ ตั ิหน้าทข่ี องครใู นสถานศกึ ษาอย่างไร . รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ที่ และต่อตนเอง .เอาใจใส่ตอ่ การเรียนความประพฤติ ความเปน็ อยู่ .ใฝห่ าความรู้ สำรวจ ปรับปรงุ แก้ไขตนเองอยู่เสมอ .ขยันหม่ันเพยี ร รู้จักคดิ ริเร่มิ มีความยุติธรรมและทำให้ศษิ ย์เกดิ ความอบอนุ่ ใจ .ดำรงตนอยา่ งเรยี บง่าย ประหยัดเหมาะสมกบั สภา .อดทน รู้จักผ่อนปรนต่อปญั หา สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ทง้ั ในเวลาและนอกเวลาสอน อาชพี เปน็ ผูม้ ีวัฒนธรรม และศีลธรรมตามศาสนาท่ีตนนับถือ สุภาพเรยี บร้อย ประพฤติดสี มำ่ เสมอ เหมาะเป็นตัวอย่างที่ดตี ่อศิษย์ ๒.๒ คณุ ลกั ษณะความเปน็ ครู จติ วิญญาณครคู วามรกั และศรัทธาในวิชาชพี และจรรยาบรรณครู ๑.๑ มีเมตตา ปรารถนาดีต่อศิษย์ หาทางให้ศษิ ย์เป็นสุขและเจริญก้าวหนา้ ท้งั ทางด้านวิชาการและ การดำเนินชีวิต คอยระวงั มิให้ศิษย์ตกอยใู่ นความประมาท ๑.๒ มกี รณุ า สงสาร เอน็ ดูศิษย์ ช่วยเหลอื ให้พน้ จากความทุกข์ ความไม่รู้และการเดินทางที่ผิด ๑.๓ มมี ทุ ิตา คือ ช่นื ชมยินดเี มอ่ื ศิษย์ได้ดี และยกยอ่ งเชิดชูใหก้ ำลังใจเพ่ือใหศ้ ษิ ยป์ ระสบความสำเร็จ และชว่ ยให้เกดิ ความภมู ิใจในตนเอง ๑.๔ มอี ุเบกขา คือ วางตวั เป็นกลาง จติ ใจที่ตั้งอย่ใู นความยุตธิ รรม ไม่ลำเอยี ง ไม่มีอคติ จากการศึกษาสงั เกตท่านสามารถอธบิ ายลักษณะของการมีจิตวญิ ญาณครู ความรักและ ศรัทธาในวิชาชพี ครแู ละจรรณยาบรรณของครใู นสถานศึกษาทเ่ี ปน็ แบบอย่างทดี่ อี ย่างไร

๒.๒.๑ คุณลกั ษณะทางกาย (บคุ ลกิ ภาพ การแตง่ กาย ฯลฯ) ๑.ครูควรมคี วามสงบเสงยี่ ม ต้องระมัดระวังในการวางตวั เสมอ ๒.ครูควรแต่งกายเรียบรอ้ ย ไม่แต่งกายนำสมยั เพื่อเป็นแบบอยา่ งท่ีดีของศิษย์ ๓.พดู จาไพเราะนมุ่ นวลอยเู่ สมอเพ่ือให้นักเรยี นสนใจเรียนมากข้นี ๔.ครูควรพดู เสียงดงั เวลาสอน ๕.มีอารมณ์เย็นไมโ่ มโหงา่ ย ๖.เปน็ กันเองกับเด็กนกั เรยี นและมีอารมณ์ขนั บ้างเพ่ือให้นักเรียนมคี วามสุขในการเรยี น ๗.มสี ขุ ภาพแข็งแรงทงั้ ทางด้านจติ ใจและกท็ างด้านร่างกาย ๘.มลี ักษณะเปน็ ผู้นำและเป็นผู้ที่พึง่ พงิ ได้ ๒.๒.๒ คุณลกั ษณะทางใจ (ความรูต้ ามความศรทั ธาในวิชาชพี ความโอบออ้ มอารี ฯลฯ) ควรมคี วามรักและความเมตตาตอ่ ศิษย์ มคี วามเสียสละ หมั่นเพียรศึกษา ปรับปรงุ วิธกี ารสอน เพื่อ พฒั นาตนเองอยู่เสมอ ตอ้ งมีความเขา้ ใจและความเอาใจใส่ตัวศษิ ย์ทกุ คน เป็นกำลงั ใจและชว่ ยสรา้ ง แรงบัลดาลใจให้กบั ศษิ ย์เพ่อื ให้เขาเปน็ คนใฝ่เรยี นร้เู ปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีมจี รรยาบรรณในวิชาชีพครู มีจติ วญิ ญาณของความเปน็ ครู สามารถถ่ายทอดความรู้ได้เป็นอย่างดี มีวิธกี ารสอนทห่ี ลากหลาย มี วิสัยทศั นก์ ว้างไกล มีความยุตธิ รรม ยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อื่น รวมถงึ ยอมรบั และเข้าใจความ แตกตา่ งของเด็กแตล่ ะคน นักศกึ ษามคี วามคิดเห็นที่มตี ่อคณุ ลักษณะความเปน็ ครู จติ วิญญาณครู ความรกั และศรัทธาใน วิชาชพี ครู และจรรยาบรรณครขู องบุคลากรในสถานศกึ ษา - ความรู้คู่คุณธรรมมิใช่เปน็ สงิ่ ทีท่ ำได้ง่าย การเป็นครูที่ดีตอ้ งอาศัยความอดทน เสียสละ มีเมตตา ซง่ึ เปน็ คุณสมบตั เิ พยี งสว่ นหนง่ึ ของความเป็นครูทีด่ ี คุณลักษณะของครูท่ีดีมหี ลายประการ ซึ่งจะได้ นำมากล่าวถึงลักษณะของครูทดี่ ตี ามคำสอนในพุทธศาสนา ลักษณะของครทู ่ีดี เข้าใจเด็กทำให้เด็กรัก ไมท่ ำใหเ้ ด็กเกลยี ด

๒.๓ การพฒั นาวชิ าชพี ครู จากการศึกษาสังเกตทา่ นพบวา่ ครมู ีการพัฒนาวิชาชีพ อย่างไรบา้ ง -การพฒั นาครูชว่ ยแบ่งเบาหรอื ลดภาระหนา้ ที่ของผบู้ ังคับบัญชาหรอื หัวหน้างาน เพราะครไู ด้รบั การ พัฒนาอยา่ งดแี ละต่อเน่ือง จะมีความเข้าใจในงานการสอนและงานอนื่ ๆไดเ้ ป็นอย่างดี ๕. การพฒั นา ครูช่วยกระตนุ้ ให้ครปู ฏิบัติงานเพอื่ ความเจรญิ ก้าวหน้าในตำแหนง่ หนา้ ที่การงาน กลา่ วคือทางใหค้ รู ทกุ คนจะได้มโี อกาสก้าวหน้าไปสู่ตำแหน่งทางวิชาการหรือการบรหิ ารทีม่ สี ถานภาพดขี น้ึ ๖. การ พัฒนาครูช่วยใหค้ รูเปน็ บุคคลทท่ี นั สมัยอย่เู สมอท้ังในด้านความร้แู ละเทคโนโลยตี า่ งๆ รวมท้งั หลกั การ ปฏบิ ัติงานและเคร่ืองมือเครอ่ื งใชต้ า่ งๆ ๒.๓.๑ การพัฒนาดา้ นวิชาการ (เช่น การอบรมทางวิชาการ) การพฒั นาบุคลากรสายสนับสนุนดา้ นทกั ษะภาษาอังกฤษในต่างประเทศ ... มวี ธิ ีการต่าง ๆ เช่น การ ฝึกอบรม การสอนงาน การศึกษา หรือการพฒั นาเพิ่มเพิม่ พนู ความรู้ในด้านต่าง ๆ ตลอดจน ... การ ปฏิบัตงิ าน เพื่อให้มีการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมเปน็ ไปในทางที่สอดคลอ้ งกับองค์การ ... ๒.๓.๒ การพัฒนาด้านความเป็นครู (เชน่ การอบรมจริยธรรม) ครูตอ้ งสัง่ สอนสง่ิ ท่ีควรกระทำ ส่งิ ท่ีควรปฏบิ ัตใิ หก้ อ่ น ครตู ้องปฏิบตั ิให้ดู ให้เข้าใจวธิ กี ารกระทำสิ่ง ตา่ งๆ ท่ีถูกท่คี วรแลว้ ใหศ้ ิษยไ์ ดป้ ฏิบตั ไิ ด้ฝกึ ฝนจนไดร้ ับรู้ผลจากการปฏบิ ตั ดิ ตี ามน้นั ใหม้ ี ประสบการณ์ตรงวา่ การประพฤติดีนนั้ ทำใหม้ ีความสุขไดอ้ ย่างไร ๒.๓.๓ หนทางความกา้ วหน้าในวชิ าชพี ครู (เช่น เปิดโอกาสสนับสนุนในการอบรมทำ วทิ ยฐานะ) การปฏิรปู การศึกษามี ๒ เรอ่ื ง คอื เรอ่ื งคณุ ภาพ และโอกาส ... โอกาสจงึ เป็นเรือ่ งที่มคี วามสำคญั อยา่ งย่ิงเร่ืองหนึ่ง ต้องทำควบคูก่ ันกับคณุ ภาพ ... ทจ่ี ะเปดิ โอกาสใหเ้ ด็กยากจนหรือผู้ดอ้ ยโอกาส ได้ใช้ สิทธิ์ในการก้เู รยี นมากขน้ึ ... และจัดหลักสตู รการพัฒนาครู รวมทัง้ อาจจะเป็นผู้จดั การอบรมพัฒนา เองหรือไม่ ก็จะต้องเปน็ ประเด็นที่พจิ ารณาตอ่ ไป ซึง่ ปจั จบุ ัน

ความคิดเหน็ ตอ่ การพฒั นาวิชาชีพครู มีแผนการพฒั นาตนเองและดำเนนิ การตามแผนอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่ือง สอดคล้องกับสภาพการ ปฏบิ ตั งิ าน ความต้องการจำเป็น องคค์ วามรู้ใหม่ ๆ หรือตามนโยบาย หรือแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน การศกึ ษาหรอื ส่วนราชการต้นสงั กดั โดยนำความรู้ ความสามารถ ทักษะ รู้จากคดิ วิเคราะห์ ท่ไี ด้ จาก การฝกึ ประสบการณ์เพื่อให้เราไดม้ ีการพัฒนาตนเองมาพัฒนานวตั กรรมการจัดการเรียนร้ทู ี่ส่งผล ตอ่ คุณภาพผเู้ รียน

บทที่ ๓ การศึกษาพฤตกิ รรมผู้เรยี น ๓.๑ การศึกษาพฤติกรรมผู้เรียนโดยรวม ๓.๑.๑ พฤติกรรมผเู้ รียน นกั เรยี นในสถานศกึ ษาทีน่ ักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหวา่ งเรยี น เปน็ นักเรยี นระดบั ใด เช่น ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา และพฤติกรรมโดยทัว่ ไป - เป็นนักเรียนระดับ ... - ชน้ั ป๖ - อายุ อายุ ๑๒ ปี - พฤติกรรมโดยทั่วไปของนักเรยี น • เปน็ ผูม้ ีความประพฤติดมี คี ุณธรรม จริยธรรม มีวินัยในตนเอง ขยนั หมน่ั เพียร อดทน ซื่อสัตย์ เสยี สละ • เป็นผู้มคี วามรับผิดชอบต่อหน้าท่ีของตนในสถานภาพที่เป็นนักเรียน เปน็ สมาชกิ ในครองครัว เป็นพลเมืองดีของประเทศ และเป็นพลโลก • เปน็ ผู้รจู้ ักการใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์

- ใหน้ ักเรยี นเลอื กประเด็นทส่ี ังเกต โดยใชห้ ลักจติ วิทยา เชน่ พฤติกรรมตาม ช่วงวัย หรือแนวคิด ทฤษฎีที่เก่ียวข้อง ดา้ นจติ วิทยา เด็กอายุ 6-10 ปจี ะมกี ารคิดอยา่ งใชเ้ หตผุ ลเชิงรปู ธรรม (concrete operation) ตามทฤษฎี พฒั นาการดา้ นนสติปัญญาของ Piaget 5 เช่น ความเขา้ ใจเรือ่ งความคงอยู่ (conservation) ของ น้ำหนกั ปริมาตร และมวลสาร ไมว่ า่ จะเปล่ยี นแปลงรูปร่างอยา่ งไร ความเขา้ ใจเรอ่ื งเวลา การจัด หมวดหมู่ สามารถคดิ เลขในใจได้ วาดรูปสามมิตงิ า่ ยๆ ได้ มคี วามกระตือรือร้นทจี่ ะเรียนรสู้ งิ่ ใหมๆ่ จาก ประสบการณ์ท่ไี ด้สัมผสั จรงิ โดยใช้การสงั เกต ทดลอง เด็กวัยน้สี ามารถเล่นและทำกจิ กรรมแบบกล่มุ ร่วมมอื กบั เพ่ือนในโรงเรียนได้โดยเขา้ ใจบทบาทของแตล่ ะคน ร้จู กั การอดทนรอคอย ประนีประนอม และการต่อรอง มีทักษะ การบรหิ ารจัดการ (Executive function: EF) ที่พัฒนากมากขึ้น ทำให้ ควบคมุ ตนเอง ยดื หยนุ่ ทาง ความคดิ และวางแผนจดั การต่างๆไดด้ ีข้นึ 6 ส่วนพฒั นาการดา้ นภาษา เด็กในวัยนี้จะพดู ไดช้ ดั เขา้ ใจความหมายของความและเลือกใช้คำอย่างถูกต้องมากข้นึ เข้าใจประโยค ทซี่ ับซอ้ นรวมทัง้ ความหมายของโคลงกลอน สามารถอา่ นจับใจความ อ่าน ในใจได้และสามารถ วเิ คราะห์เร่ืองราวได้อ่านได้และสามารถเลา่ ฟังได้ พร้อมทงั้ อธิบายเหตุผล แสดงความคิดเห็นได้ ชัดเจน เชื่อมโยงเหตุผลได้ดีสามารถพูดคุยสื่อสารได้เหมือนผใู้ หญ่ได้ หมายเหตุ สถาณการณใ์ นชว่ ง ปกติ ของ โรงเรยี น กจิ กรรมนอกเวลาเรียน - เวลาเขา้ เรยี น ๐๗.๓๐ นาฬกิ า เวลาเลกิ เรยี น ๑๖.๓๐ นาฬกิ า - กิจกรรมก่อนเขา้ เรยี นในตอนเช้า ทำความสะอาดตามเขตภายในโรงเรียน เขา้ แถว เคารพธงชาตแิ ละฟงั คำแนะนำจากบุคลากรในโรงเรยี นก่อนเข้าหอ้ งเรยี น - กิจกรรมที่ทำในตอนพักกลางวัน รับประทานอาหารกลางวนั เลน่ กฬี า อา่ นหนังสอื ในห้องสมดุ - กจิ กรรมที่ทำหลังเลิกเรียน รวมตวั ทกุ ระดับชนั้ เรยี นเข้าแถวทโี่ ดมแล้วฟังคำแนะนำจากบุคลากรในโรงเรียนก่อนเลิกเรยี น

วธิ กี ารพัฒนาผู้เรียนของครู ๑. วิธีการพัฒนาหรือส่งเสริมพฤตกิ รรมทีพ่ ึงประสงคข์ องผเู้ รยี น จติ อาสา/มารยาท/ กล้าแสดงออก ดา้ น วินยั โรงเรยี นควรมกี ารกำหนดรายละเอียดกฎเกณฑ์และคำชแ้ี จงทชี่ ดั เจน เขา้ ใจง่าย มกี าร ประชาสมั พันธ์ใหน้ ักเรียน และผ้ปู กครองทราบอยูเ่ สมอ และร่วมมือกบั ผูป้ กครองในการกวดขันและ ปลกู ฝังเมอื่ นักเรียนอยู่กับผู้ปกครองทบ่ี ้าน ๔. ด้านใฝ่เรียนรู้ โรงเรยี นควรสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นไดม้ ี โอกาสศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ เปิดโอกาสให้ นกั เรยี นได้แสวงหาความรแู้ ละ ประสบการณภ์ ายนอก ๕. ด้านอยู่อย่างพอเพยี ง โรงเรยี นควรจดั กจิ กรรมหรอื โครงการท่ีเหมาะสม การเด็ก ๒. วธิ กี ารจดั การพฤติกรรมทเี่ ป็นอุปสรรคตอ่ การเรยี นรู้ของผเู้ รียน เชน่ การเล่นมอื ถอื .......เรียนแบบออนไลนเ์ ปน็ วิธีการถ่ายทอดเน้ือหา รูปภาพ วิดีโอ การใช้สอ่ื หลายๆประเภท ... (Outcomes) ของผเู้ รยี นให้เปน็ ไปตามวัตถุประสงคข์ องการเรยี นรู้ต่อไป ... ผ้เู รยี นอยา่ ง ตอ่ เนือ่ ง เชน่ ความถี่ของการเข้าเรียน จำนวนช่วั โมงการเรยี น ปญั หาอุปสรรค ความต้องการใน ... หลักสตู รการเรยี นรใู้ หก้ บั ผูเ้ รียน ซงึ่ กระบวนการจดั การเรียนร้ทู ี่มี ๓. ความรว่ มมือระหว่างครู โรงเรยี น ผู้ปกครอง ในการสง่ เสรมิ หรือแกไ้ ขปัญหาพฤตกิ รรม ของผเู้ รียน ส่งเสริม เลี้ยงดู พฒั นาเดก็ รอบด้าน ... เทคนคิ การส่งเสริมพฒั นาการและการเรยี นรใู้ นเด็กวยั เรียน ... เด็กวยั เรยี นช่วงอายุ ๖-+๑ ปี ถือเปน็ ทรัพยากรที่สำคญั เป็นช่วง ... การกำหนดกฎเกณฑก์ ติกาจงึ สำคญั เช่น กติกาของการเลน่ กตกิ าของการใช้ชวี ติ อยู่รว่ มกนั .. กรณที ใี่ ชโ้ ทรศัพท.์ ใหใ้ ชไ้ ด้ใน การคน้ คว้าหาความรู้เทา่ นัน้ ถ้าเอามาเลน่ เชน่ เล่นเกมส์ ฟังเพลง เล่นแอปตา่ งๆ ที่ทางโรงเรียนไมใ่ ห้ใช้ เห็นกโ็ ดนครผู ู้สอนยึดแล้ว เลิกเรยี นถงึ ได้คืน

๓.๒ การศกึ ษาผูเ้ รยี นเป็นรายกรณี การศึกษาผเู้ รยี นเปน็ รายกรณี (Case Study) แนวปฏบิ ตั ิ ๑. นักศกึ ษาเลอื กนักเรียนเป้าหมายท่ีมีพฤติกรรมโดดเด่นซึ่งอาจเป็นพฤติกรรมด้านบวกหรือลบ ๒. ขออนญุ าตอาจารยป์ ระจำวิชาเพอ่ื ศึกษาสังเกตพฤตกิ รรม ๓. สงั เกตและจดบนั ทึกพฤติกรรมตามแบบสังเกตที่กำหนดให้ ๔. หาขอ้ มลู เพิ่มเติมจากการสอบถามพูดคุย กับตัวนักเรยี นหรือผ้เู กีย่ วข้อง ๕. ส่งแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนเพื่อให้ครผู สู้ อนรับทราบและใหข้ ้อเสนอแนะ แบบศึกษาผเู้ รียนเป็นรายกรณี (Case Study) ข้อมูลของนักเรียน อาชพี ผปู้ กครอง รายไดค้ รอบครวั /เดือน ฐานะทางเศรษฐกจิ และสังคม  สงู  ปานกลาง  ตำ่ สถานะครอบครวั (อยดู่ ว้ ยกัน หยา่ รา้ ง หรืออ่นื ๆ) นักเรียนอาศัยอยกู่ ับ นกั เรยี นเดนิ ทางมาสถานศกึ ษาโดย ความสนใจ ความสามารถพิเศษ วิชาทีน่ กั เรียนชอบเรยี น เหตผุ ลเพราะ วิชาทน่ี ักเรียนไมช่ อบเรียน เหตุผลเพราะ

การสงั เกตพฤติกรรม ๑. เหตผุ ลทเ่ี ลือกสงั เกตพฤติกรรมนกั เรียน -เฝา้ ดูพฤติกรรมตา่ งๆที่นกั เรียนแสดงออกเพื่อนำมาประกอบการวิเคราะห์ให้เด็กในการทำ ความเขา้ ใจในตัวเดก็ ใหด้ ีขนึ้ ช่วยให้เขาได้รจู้ ักชตวั ของเขาเองเป็นประโยชนใ์ นการปรับปรุง ตนเองให้พฒั นาไปทางที่ดขี ้นึ ๒. ลกั ษณะพฤตกิ รรมทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกต มปี ระพฤตดิ ีมีคุณธรรม จริยธรรม มรี ะเบียบวนิ ัยในตวั เอง ขยันอดทน ซ่ือสัตย์ เสียสละ มี ความรับผดิ ชอบในหนา้ ทีข่ องตนเองในสถาณภาพที่เป็นนักเรียน เรยี นเกง่ ๓. การศึกษาขอ้ มลู บริบทของพฤตกิ รรมเพิ่มเติม จากครปู ระจำชน้ั /ครูประจำวิชา/ผู้ปกครอง/เพ่อื น/ตวั เด็ก ปรับกิจวัตประจำวันใหส้ อดคลอ้ งกับการเรียนในโรงเรียน ผู้ปกครองส่งเสริมการปรบั ตวั ของ เด็กในชว่ งรอยเช่ือมต่อโรงเรียนการพฒั นาทักษะในการรับมือความเปลย่ี นแปลงในตวั เด็ก ๔. การวิเคราะห์สาเหตุของลักษณะพฤติกรรม โดยระบุหลักแนวคิด/ทฤษฎีด้าน จติ วิทยาทเี่ ก่ยี วขอ้ ง นักเรียนปฏิบัติตนที่ดีและสนับสนุนให้นักเรียนได้ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีอย่าง สมำ่ เสมอ ๕. แนวทางการส่งเสริม/แก้ไขพฤติกรรมโดยอ้างและระบุหลักแนวคิด/ทฤษฎีด้าน จติ วิทยาทีเ่ ก่ียวข้อง สง่ เสรมิ ด้านความสามารถพิเศษตามความถนัดของผูเ้ รียน

๖. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผสู้ งั เกต มีความประพฤตกิ รรมทีด่ เี รียนดี ตง้ั ใจมุง่ ม่นั ในการเรยี นสนใจใส่ใจในการเรียน แต่งกาย เรยี บรอ้ ยตามกฎระเบียบของโรงเรยี น มารยาทดี เรียนเก่งมีความรบั ผิดชอบ ๗. ความคิดเหน็ เพ่มิ เติมของครูผสู้ อน นักเรียนมคี วามตงั้ ใจสนใจในการเรยี น มีความรับผดิ ชอบ ทำงานเรียบร้อย ขยัน อดทน ในการ ทำงาน มีจิตอาสาชว่ ยเหลืองานโรงเรียน ลงชอ่ื ................................................... (..................................................) ครผู สู้ อนทอ่ี นุญาตใหส้ งั เกตผเู้ รยี น

บทที่ ๔ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ ปญั หาอปุ สรรค และความคิดเหน็ ต่อการฝึกประสบการณ์ วชิ าชพี ระหว่างเรียน ๑ ๔.๑ ผลลัพธ์การเรยี นรทู้ เ่ี กดิ จากการฝึกปฏบิ ตั ิวิชาชีพระหว่างเรียนมดี งั น้ี ๔.๑.๑ ความรู้ (Knowledge) ๑. พฤติกรรมการสอนของครูและพฤติกรรมการเรยี นของนกั เรยี น ๒. การจัดการในชน้ั เรยี น เทคนคิ วิธีที่ครสู ร้างบรรยากาศเพ่ือให้การเรยี นรู้ของนกั เรยี นดีข้ึน ๓. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลในชัน้ เรยี น ระหวา่ งครูกบั นักเรยี นและนักเรยี นกับนักเรยี น ๔. การมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมการสอนของนักเรยี น การถามและตอบคำถาม การพดู คุยสนทนา การทำงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย ๕. ความแตกตา่ งในด้านสถานที่ สภาพแวดล้อมและฐานะทางเศรษฐกจิ ของนักเรียน ๖. ความแตกต่างของบทบาทของผทู้ เ่ี กี่ยวข้องทัง้ แบบถาวรและแบบชัว่ คราว ๗. ความแตกต่างดา้ นปฏิสมั พันธ์ของบคุ คล เวลา สถานที่ ๔.๑.๒ ด้านทักษะปฏิบตั ิ (Process/Skill) การศกึ ษาการพฒั นาทกั ษะปฏิบตั ิของนักศกึ ษาโดยใชว้ ิธีสอนที่เนน้ ทักษะปฏบิ ตั สิ ำหรบั คร.ู วชิ าอาชพี ... ๑.๑.๓ ดา้ นทกั ษะทางปัญญา (Cognitive Skills) หมายถงึ ความสามารถในการ ... ความคงทน ผล ของพฤติกรรมหรือการกระทาสามารถสงั เกตไดจ้ ากความรวดเรว็ . ความเข้าใจ. ๔.๑.๓ ด้านเจตคตแิ ละคุณลกั ษณะ (Attitude/Attribute) มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาคณุ ลักษณะความเป็นครทู ี่ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี .ในโรงเรยี น... ในระดับมาก ทกุ ดา้ น ท้งั ด้านเจตคติและพฤตกิ รรมด้านบุคลิกภาพความเป็นนักเรยี นทด่ี แี ละพฤติกรรมที่ดขี อง ครู และพฤติกรรมต่อหน้าท่ี ... ต่อการประกอบวิชาชพี ครู ในสว่ นของการสอน ที่สังเกตและฝึก ปฏิบตั ิงาน

๔.๒ ปัญหา/อุปสรรคของนกั ศึกษาฝกึ ปฏิบตั วิ ิชาชพี ระหวา่ งเรยี น เน่อื งจากสถาณ์การ โควดิ ทำให้การจัดการเรยี นการสอนไปได้ล่าช้าและไมส่ ามารถสงั เกตมุ ากได้เท่าไหรใ่ นการสงั เกตุครง้ั น้ี ๔.๓ แนวทางการแก้ไข/ขอ้ เสนอแนะ เรียนศึกษากับครูพเ่ี ลี้ยงวา่ เด็กทม่ี ารบั งานจากครูมีความเข้าใจมากน้อยแคใ่ หนในการทำงานมาสง่ สงั เกตุและสอบถามปรึกษาว่ายากแค่ไหนทำไดไ้ หม จะไดก้ ลบั มาแก้ไขเท่าทีเ่ ด็กจะทำได้ เพอื่ เอาเวลา น้ีเพื่อไมใ่ ห้เดก็ เล่นเกม ๔.๔ ประสบการณท์ ่ีนกั ศกึ ษาไดร้ ับจากการฝึกปฏบิ ตั วิ ชิ าชีพระหวา่ งเรียน ๑ ไดศ้ ึกษาผลงานและหน้าที่ของบคุ ลาการในสถานศึกษาวา่ ปฏิบตั ิตนอยา่ งไรและมหี น้าทำอะไรบ้าง งานทค่ี รตู ้องทำ และได้เรยี นรู้เกยี่ วกับการทำงานสอนแบบออนไลน์ บทบาทหนา้ ที่ของแตล่ ะบุคล วธิ กี ารสอน ความรับผดิ ชอบต่อหน้าทีภ่ าระงาน ความตรงต่อเวลา และการแต่งกายทเี่ หมาสมในการ มา ร.ร มารยาทในการเคารพ ๔.๕ สิ่งท่ีนกั ศึกษาประทบั ใจจากการฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชพี ระหวา่ งเรียน ๑ ไดศ้ ึกษาผลงานครูทุกคน ความเป็นอยูใ่ นสถานศึกษา มี ผ.อ และคณะครูทีน่ ่ารักทกุ คนท่ีดูแลคอยให้คำปรกึ ษาคำแนะนำเปน็ อย่างดเี ป็นเกยี ติอยา่ งมากทไ่ี ด้เรียนรู้ งานครู และท่ีได้รับหมอบหมายงานตา่ งๆ ในโรงเรยี นเป็นประสบการณ์ที่ดใี นการออกสงั เกตุคร้ังนี้ครบั ผม ผมจะเอาความรู้ท่ีไดจ้ ากการสงั เกตประสบการณจ์ ะพฒั นาตนเองและอนาคตให้ดียิ่งขึ้นและจะ พฒั นาตนเองเป็นครูทีด่ ี

ประมวลภาพกิจกรรมและคำอธิบายภาพ การฝึกประสบการณ์วิชาชพี ระหวา่ งเรยี น ๑ (๖ รูป/หน้า) บอกวนั /เดือน/ปี งานอะไร



ภาพ ๑ รายงานตัวกบั คณะครู สัมมนา ๒๔/๐๕/๖๔ ภาพ ๒ ทางานเอกสารกับคนะครูและพีๆ่ ทฝ่ี ึ กประสบการณว์ ชิ าชพี ครู ๒๖/๐๕/๖๔ ภาพ ๓ ทาจิตอาสารทาสวี าดรูปหน้าสัตวเ์ ป็ นรูปการต์ ูน ๒๗/๐๕/๖๔ ภาพ ๔ จดั บอรด์ ห้องเรียนกบั ครูพเี่ ลยี้ ง ๓๐/๐๕/๖๔ ภาพ ๕ ต้องรับนักเรียนมารับงานเอางานกลบั ไปทาทบี่ ้านเนืองจากการจดั การเรยี น การสอนแบบออนไลน์ ๑/๐๖/๖๔ ภาพ ๖ โรงเรียนบา้ นหนองนกกะเรยี น สพฟ.ราชบรุ ีเขต ๑ คดั ต้านการศึกษาแห่งชาติ คณะครูและ ผอ ๓/๐๖/๖ ภาพที่ ๗ ถา่ ยรูปหม่คู ณะวนั สุท้าย ๑๑/๐๖/๖๔ l


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook