Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ออนไลน์ ครั้งที่ 1 มค65 วันขึ้นปีใหม่

ออนไลน์ ครั้งที่ 1 มค65 วันขึ้นปีใหม่

Description: ออนไลน์ ครั้งที่ 1 มค65 วันขึ้นปีใหม่

Search

Read the Text Version

ความสาคัญของปี ใหม่ เวลาการนับ 1 ปี คือเวลาที่ข้วั โลก โคจรรอบดวงอาทิตยค์ รบ 1 รอบ (365 วนั ) นบั ไดเ้ ป็ น 12 เดือนตามปฏิทินสุริยคติ จึงทาให้ปี ใหม่คือช่วงเวลาของการข้ึนรอบใหม่หลงั จากครบ 365 วนั หรือ 12 เดือนนนั่ เอง ความเป็ นมา วนั ปี ใหม่ มีประวตั ิความเป็ นมาซ่ึงเปล่ียนแปลงไปตามยคุ สมยั และความเหมาะสม ต้งั แต่ ในสมยั เริ่มแรกเมื่อชาวบาบิโลเนียเริ่มคิดคน้ การใชป้ ฏิทิน โดยอาศยั ระยะต่าง ๆ ของดวง จนั ทร์เป็ นหลกั ในการนบั เม่ือครบ 12 เดือนก็กาหนดว่าเป็ น 1 ปี และเพ่ือให้เกิดความ พอดีระหวา่ งการนับปี ตามปฏิทินกบั ปี ตามฤดูกาล จึงไดเ้ พิ่มเดือนเขา้ ไปอีก 1 เดือน เป็ น 13 เดือนในทุก 4 ปี

ต่อมาชาวอียิปต์ กรีก และชาวเซมิติค ได้นาปฏิทินของชาวบาบิโลเนียมาดดั แปลงแก้ไข อีกหลายคราว เพอ่ื ใหต้ รงกบั ฤดูกาลมากยง่ิ ข้นึ จนถงึ สมยั ของกษตั ริยจ์ ูเลยี ต ซีซาร์ ไดน้ าความคิดของนักดาราศาสตร์ชาวอียปิ ตช์ ่ือ โยซิ เยนิส มาปรับปรุง ให้ปี หน่ึงมี 365 วนั ในทุก ๆ 4 ปี ให้เติมเดือนที่มี 28 วัน เพ่ิมข้ึนอีก 1 วนั เป็ น 29 วนั คือเดือน กุมภาพนั ธ์ เรียกวา่ อธิกสุรทนิ เมอื่ เพ่ิมในเดอื นกุมภาพนั ธม์ ี 29 วนั ในทกุ ๆ 4 ปี แต่วนั ในปฏิทินก็ยงั ไม่ค่อยตรงกบั ฤดูกาลนกั คือเวลาใน ปฏิทนิ ยาวกว่าปี ตามฤดูกาล เป็นเหตใุ หฤ้ ดูกาลมาถงึ กอ่ นวนั ในปฏทิ ิน และในวนั ท่ี 21 มนี าคมตามปี ปฏทิ ินของทุก ๆ ปี จะเป็นชว่ งท่ีมเี วลากลางวนั และกลางคนื เทา่ กนั คอื เป็นวนั ที่ดวงอาทิตย์ จะข้นึ ตรงทศิ ตะวนั ออก และลบั ลงตรงทิศตะวนั ตกเป๋ ง วนั น้ีทว่ั โลกจึงมีช่วงเวลาเท่ากบั 12 ชว่ั โมง เท่ากนั เรียกว่า วนั ทิวาราตรีเสมอภาคมีนาคม (Equinox in March) แต่ในปี พ.ศ. 2125 วนั Equinox in March กลบั ไปเกดิ ข้ึนในวนั ที่ 11 มีนาคม แทนท่ีจะเป็ นวนั ที่ 21 มีนาคม ดงั น้นั พระสนั ตะปาปาเกรกอร่ีที่ 13 จึงทาการปรับปรุงแกไ้ ขหกั วนั ออกไป 10 วนั จากปี ปฏิทนิ และใหว้ นั หลงั จากวนั ท่ี 4 ตุลาคม พ.ศ. 2125 แทนทจ่ี ะเป็นวนั ท่ี 5 ตลุ าคม กใ็ หเ้ ปล่ียนเป็นวนั ท่ี 15 ตุลาคมแทน (เฉพาะในปี 2125 น้ี) ปฏิทินแบบ ใหม่น้ีจึงเรียกวา่ ปฏทิ นิ เกรกอเร่ียน จากน้นั ไดป้ รับปรุงประกาศใชว้ นั ท่ี 1 มกราคม เป็นวนั เริ่มตน้ ของปี เป็นตน้ มา

ความเป็ นมาของ วนั ขนึ้ ปี ใหม่ไทย ในอดีต วนั ข้ึนปี ใหม่ของไทยไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงมาแลว้ 4 คร้ังคือ คร้ังแรกถือเอาวนั แรม 1 ค่า เดือนอา้ ย เป็นวนั ข้นึ ปี ใหมซ่ ่ึง ตรงกบั เดอื นมกราคม คร้ังที่ 2 กาหนดใหว้ นั ข้ึนปี ใหม่ตรงกบั วนั ข้ึน 1 ค่า เดือน 5 ตามคติพราหมณ์ ซ่ึงตรงกบั เดือนเมษายน การกาหนดวนั ข้ึนปี ใหม่ใน 2 คร้ังน้ี ถือเอาทางจันทรคติเป็ นหลกั ต่อมาไดถ้ ือเอาทางสุริยคติ แทน โดยกาหนดให้วนั ท่ี 1 เมษายน เป็ นวนั ข้ึนปี ใหม่ ต้งั แต่ พ.ศ.2432 เป็ นตน้ มา อย่างไรก็ตาม ประชาชนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะตามชนบทยงั คงยดึ ถือเอาวนั สงกรานตเ์ ป็น วนั ข้ึนปี ใหม่อยู่ ต่อมาเมื่อมีการเปล่ียนแปลงการปกครองมาเป็ น ระบอบประชาธิปไตย ทางราชการเห็นว่าวนั ข้ึนปี ใหม่วนั ที่ 1 เมษายน ไมส่ ูจ้ ะมกี ารร่ืนเริงอะไรมากนกั สมควรท่จี ะฟ้ื นฟู ข้ึนมาใหม่ จึงไดป้ ระกาศใหม้ ีงานร่ืนเริงวนั ข้ึนปี ใหม่ในวนั ที่ 1 เมษายน 2477 ข้นึ ใน กรุงเทพฯเป็นคร้ังแรก การจดั งานวนั ข้ึนปี ใหม่ท่ีไดเ้ ร่ิมเม่ือวนั ท่ี 1 เมษายน ไดแ้ พร่หลายออกไปต่างจงั หวดั ในปี ต่อๆมา และในปี พ.ศ.2479 ก็ได้ มกี าร จดั งานร่ืนเริงปี ใหมท่ ว่ั ทุกจงั หวดั วนั ข้ึนปี ใหม่วนั ที่ 1 เมษายน ในสมยั น้นั ทางราชการเรียกวา่ วนั ตรุษสงกรานต์ ตอ่ มาไดม้ กี ารพจิ ารณาเปล่ยี นวนั ข้ึนปี ใหม่อีกคร้ังหน่ึง โดยคณะรัฐมนตรีไดแ้ ต่งต้งั คณะกรรมการข้ึน ซ่ึงมีหลวงวิจิตร วาทการ เป็นประธานกรรมการ ทีป่ ระชมุ มมี ติเป็ นเอกฉันทใ์ หเ้ ปลี่ยนวนั ข้ึนปี ใหม่เป็ นวนั ท่ี 1 มกราคม โดยกาหนดให้ วนั ท่ี 1 มกราคม 2484 เป็น วนั ข้ึนปี ใหมเ่ ป็นตน้ ไป

เหตุผลทที่ างราชการได้เปล่ยี นวันขึน้ ปี ใหม่จากวนั ที่ 1 เมษายนมาเป็ นวนั ที่ 1 มกราคม กค็ ือ 1.ไม่ขดั กบั พทุ ธศาสนาในดา้ นการนบั วนั เดือน และการร่วมฉลองปี ใหม่ดว้ ยการทาบุญ 2.เป็นการเลิกวธิ ีนาเอาลทั ธิพราหมณ์มาคร่อมพระพทุ ธศาสนา 3.ทาให้เขา้ สู่ระดบั สากลทใ่ี ชอ้ ยใู่ นประเทศทว่ั โลก 4.เป็นการฟ้ื นฟูวฒั นธรรม คตินิยม และจารีตประเพณีของชาติไทย กจิ กรรมท่ีชาวไทยส่วนใหญ่มกั จะยึดถือปฏิบัติในวนั ขนึ้ ปี ใหม่ได้แก่ 1.การทาบุญตกั บาตร โดยอาจตกั บาตรท่บี า้ น หรือไปท่ีวดั หรือตามสถานท่ีตา่ งๆที่ทางราชการ เชิญชวนไปร่วมทาบญุ 2.การกราบขอพรจากผใู้ หญ่ และอวยพรเพ่ือนฝงู การมอบของขวญั การมอบช่อดอกไม้ หรือการ ส่งบตั รอวยพร 3.การจดั งานร่ืนเริง การจดั เล้ียงในหมู่เพื่อนฝงู ญาติพี่นอ้ งหรือตามหน่วยงานตา่ งๆ

กิจกรรมใน วันขน้ึ ปี ใหม่ วนั ที่ 1 มกราคม ของทกุ ปี จะมกี ารทาบญุ ตกั บาตรและอทุ ิศส่วนกศุ ลผทู้ ล่ี ่วงลบั ไปแลว้ ฟังเทศน์ ปลอ่ ยปลา ปล่อยนก อวยพรซ่ึงกนั และกนั หรืออาจจะส่งการ์ดบตั รอวยพร ของขวั ญไหวผ้ ใู้ หญเ่ พ่ือรับพร และ สรงน้าพระพทุ ธรูป ประดบั ธงชาติ และจะเตรียมทาความสะอาดบา้ น และทีพ่ กั อาศยั เพลงวันปี ใหม่ (เพลงพรปี ใหม่ เพลงพระราชนิพนธใ์ นหลวง) ทานอง: พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช คาร้อง: พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ จกั รพนั ธ์เพญ็ ศิริ สวสั ดีวนั ปี ใหมพ่ า ใหบ้ รรดาเราทา่ นรื่นรมย์ ฤกษย์ ามดีเปรมปรีด์ชิ น่ื ชม ต่างสุขสมนิยมยนิ ดี ขา้ วงิ วอนขอพรจากฟ้า ใหบ้ รรดาปวงท่านสุขศรี โปรดประทานพรโดยปรานี ใหช้ าวไทยลว้ นมโี ชคชยั ใหบ้ รรดาปวงทา่ นสุขสันต์ ทกุ วนั ทกุ คืนช่นื ชมใหส้ มฤทยั ใหร้ ุ่งเรืองในวนั ปี ใหม่ ผองชาวไทยจงสวสั ดี ตลอดปี จงมีสุขใจ ตลอดไปนบั แตบ่ ดั น้ี ใหส้ ิ้นทุกขส์ ุขเกษมเปรมปรีด์ิ สวสั ดวี นั ปี ใหมเ่ ทอญ

เกีย่ วกับ เพลงพรปี ใหม่ เพลงพระราชนิพนธ์ พรปี ใหม่ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลาดบั ที่ 13 ทรงพระราชนิพนธ์ข้ึนในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2494 เม่ือเสด็จนิวัตพระนคร และประทับ ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวงั ดุสิต มีพระราชประสงคท์ ี่จะพระราชทานพรปี ใหม่ แก่บรรดาพสกนิกรไทยดว้ ยเพลง จึง ทรงพระราชนิพนธเ์ พลง \"พรปี ใหม่\" และทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองค์ เจา้ จกั รพนั ธ์เพญ็ ศิริ นิพนธ์คาร้องเป็นคาอานวยพรปี ใหม่ แลว้ พระราชทานแก่วงดนตรี 2 วง คือ วง ดนตรีนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั นาออกบรรเลง ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั และวงดนตรีสุนท ราภรณ์ นาออกบรรเลง ณ ศาลาเฉลิมไทย ในวนั ปี ใหม่ วนั องั คารท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2495