Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือท่องเที่ยวตำบลพยุหะ

คู่มือท่องเที่ยวตำบลพยุหะ

Published by anu.k, 2021-12-07 04:12:22

Description: คู่มือท่องเที่ยวตำบลพยุหะ

Search

Read the Text Version

คำนำ โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ร า ย ตํ า บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร 1 ตําบล 1 มหาวิทยาลัย (มหาวิทยาลัยสู่ตําบล สร้างรากแก้วให้ ประเทศ) เพื่ อฟื้ นฟู เศรษฐกิจในชุมชน หลังจากการแพร่ระบาดของ ไวรัสโควิด-19 ทั้งการสร้างงาน การพั ฒนาอาชีพในชุมชน รวมทั้ง เ กิ ด ก า ร จั ด ก า ร ข้ อ มู ล ข น า ด ใ ห ญ่ ข อ ง ชุ ม ช น โดยมีการพั ฒนาการ ท่องเที่ยวชุมชนรวมถึงการส่งเสริม และสนับสนุนวิสาหกิจชุมชน ในตําบล ให้เกิดเป็นนวัตกรรม เพื่ อให้พึ่ งพาตนเองอย่างยั่งยืนและ แก้ปัญหาความยากจนได้ อย่างมีประสิทธิภาพอีกทั้งยังครอบคลุม ใ น ป ร ะ เ ด็ น ต่ า ง ๆ ต า ม ปั ญ ห า แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ชุ ม ช น อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง ดังนั้นเพื่ อให้เกิดการบูรณาการโครงการในพื้ นที่อย่างมี ร ะ บ บ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ร่วมกับ สภาองค์กร ผู้นำชุมชน ตำบลพยุหะ และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ดําเนินการบูรณางาน โครงการ “การส่งเสริมและพั ฒนาการท่องเที่ยวชุมชนในตําบล พยุหะ อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์” จัดทําข้อมูลขนาดใหญ่ ของชุมชน (Community Big Data) เกิดเป็นหนังสือคู่มือการ ท่ อ ง เ ที่ ย ว ตํ า บ ล พ ยุ ห ะ ซึ่ ง ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย เ ส้ น ท า ง ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว ข้อมูลบริบทชุมชนในด้านสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม สถาน ที่ท่องเที่ยวยอดนิยม วัฒนธรรมประเพณี การละเล่นท้องถิ่น อาหารท้องถิ่น และอีกมากมาย เพื่ อเป็นความรู้ และใช้ประกอบการ ส่งเสริมและพั ฒนาการท่องเที่ยวชุมชนตําบลพยุหะอย่างยั่งยืนให้แก่ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ผู้ ประกอบการ และประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจ

ส า ร บั ญ ป ร ะ วัติ ชุ ม ช น ตำ บ ล พ ยุ ห ะ 01 แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ที่ สำ คั ญ 03 วัด เ ข า แ ก้ ว วัด อิ น ท า ร า ม 05 แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิง นิ เ ว ศ 07 1 0 0ต ล า ด เ ก่ า ปี 09 ถ น น ส า ย วัต ถุม ง ค ล ช ม พุ ท ธ ศิ ล ป์ 10 แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว อื่ น ๆ 11 ภูมิปั ญ ญ า 13 แ ผ น ที่ ตำ บ ล พ ยุ ห ะ 15 ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ วัฒ น ธ ร ร ม 16 :พยุ หะเมืองต้ องแวะ 17 18 แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว สำ คั ญ ๆ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อ า ห า ร แ ล ะ ข อ ง ฝ า ก พ ยุ ห ะ เ มือ ง ต้ อ ง แ ว ะ 19 \"แวะไหว้พระ ขึ้นเขาชมโค้ งมังกร \"ล่ อ ง น้ำ เ จ้ า พ ร ะ ย า

1 ประวัติชุมชน ตำบลพยุหะ อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ตำบลพยุหะตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นเส้น คำว่า “หัวแด่น” สืบเนื่องมาจากนิยายปรัมปราเล่า ทางเดินของกองทัพโบราณ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยและ สืบกันมาแต่ครั้งโบราณว่าที่เชิงเขาแก้วอันเป็น กรุงศรีอยุธยา ที่จะต้องยกทัพผ่านเส้นทางนี้ บริเวณที่ตั้งวัดเขาแก้วในปัจจุบันมีถ้ำถ้ำหนึ่งที่ลึก เนื่องจากเป็นศูนย์กลางระหว่าง เมืองไชยนาทบุรี และยาวไปสุดปลายถ้ำที่ริมน้ำเจ้าพระยา จากคำ (จังหวัดชัยนาท) และเมืองพระบาง (จังหวัด บอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ว่า เมื่อสมัยครั้นตนยังเป็น นครสวรรค์) และเป็นทำเลที่มีเขาแก้วและแม่น้ำ เด็กถ้ำแห่งนี้ยังมีอยู่ แต่ปัจจุบันนี้ได้ถูกปิดไปเสีย เจ้าพระยาไหลเวียนผ่าน จึงนับว่าเป็นสถานที่ที่ใช้หยุด แล้ว เพราะมีเรื่องเล่าต่อกันมาว่า เมื่อครั้งกระโน้น พักเป็นอย่างดีในสมัยนั้น แต่เดิมนั้นพยุหะเป็นเพียง ถ้ำนี้เป็นถ้ำที่เก็บสมบัติของกษัตริย์โบราณ เช่น เมืองที่มีหน้าที่ในการเก็บเงินส่วยอากร ซึ่งผู้มีหน้าที่ จำพวกเพชรนิลจินดา แก้วแหวนเงินทอง แต่ก็ไม่ เก็บอากรในสมัยนั้น ชื่อ “หลวงภูมิ” และได้แต่งตั้ง ค่อยมีผู้ใดพบเห็นบ่อยนัก เพราะนับว่าเป็นของ บุตรชายของตนชื่อ “จันทร์” ขึ้นเป็นเจ้าเมือง เดิมตั้ง ศักดิ์สิทธิ์ เชื่อกันมาว่าผู้ที่มีบุญเท่านั้นจึงจะได้เห็น อยู่ข้างวัดพระปรางค์เหลือง ตำบลท่าน้ำอ้อย ต่อมาได้ แล้วหากต้องการจะหยิบฉวยเอาไปเป็นสมบัติส่วน ย้ายไปตั้งที่บ้านสระเศรษฐี ตำบลน้ำทรง ตั้งเป็น ตัวก็ไม่ได้ เพราะมีวัวใหญ่ตัวหนึ่งเฝ้าอยู่ ซึ่งวัวตัวนี้ ที่ทำการชั่วคราว โดยมีจวนเจ้าเมืองเป็นบ้านพักของ เล่ากันว่ามีรูปร่างใหญ่โตมีลักษณะสง่างามสีแดง ที่ ข้าราชการเรือนจำ (ล้อมด้วยไม้ไผ่) ครั้นต่อมามีโจร หน้าผากมีสีขาวด่าง ชาวบ้านจึงเรียกว่า วัวแด่น กลุ่มหนึ่งคุมสมัครพรรคพวกประมาณ 40 คน เข้า ต่อมาเรียกเพี้ยนเป็น “หัวแด่น” ด้วยเหตุนี้จึงได้ ทำการปล้นจวนเจ้าเมืองสถานที่ราชการจึงได้ย้ายตัว กลายเป็นชื่อหมู่บ้านที่ตั้งอยู่บริเวณเขานั้น เมืองมาตั้งที่ คลองมหาวงพิบูลย์ เมื่อสิ้นอายุเจ้าเมือง อิ่มแล้ว เจ้าเมืองคนต่อมาชื่อ “ปุ้ย” จึงได้ย้ายตัวเมือง มาตั้งที่บ้านท่าแร่ ตำบลพยุหะ จึงได้ชื่อว่าเมืองพยุห คีรี (ไม่มีสระ อะ) คำว่า “พยุหะ” จึงมีความหมายว่า “ขบวนกองทัพ” ส่วนคำว่า “คีรี” แปลได้ว่าคือ “ภูเขา” ส่วนตำบลนั้นก็มีชื่อว่า พยุหะแด่น (มีสระ อะ) ภายหลัง ต่อมาจึงได้ตัดคำว่า “แด่น” ออกเหลือเพียง ตำบล พยุหะ

พยุหะเมืองต้องแวะ 2 จุดชมวิวโค้งมังกร วัดอินทาราม วัดเขาแก้ว แม่น้ำเจ้าพระยา สามหลวงพ่อศั กดิ์สิ ทธิ์ จำนวนประชากร แหล่งผลิตยอดพระเครื่อง จำนตวำนบ4ล,พ26ยุ1หะค มนีประชากรรวมกันทั้งสิ้น ชาย 2,031 คน นามกระเดื่องช่างฝีมือ หญิง 2,230 คน เลื่องระบือเกษตรกรรม สภาพภูมิประเทศ การเมืองการปกครอง ตำบลพยุหะ ตั้งอยู่ด้า นทิศตะวันออกของ ตำบลพยุหะ ประกอบด้วยจำนวนหมู่บ้าน 9 แม่น้ำเจ้าพระยา มีลักษณะภูมิประเทศทั่วไป หมู่บ้าน ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึง และมีพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านหาดเหนือ บางส่วนเป็นที่ราบสูงล้อมด้วยภูเขา โดยมี หมู่ที่ 2 บ้านดงกะเปา แม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 1,2 และ หมู่ที่ 3 บ้านเนินฝอยทอง 7 มีลำคลองและหนองน้ำธรรมชาติหลายแห่ง หมู่ที่ 4 บ้านท่ากระบือ สภาพดินโดยทั่วไปเป็นดินดีเหมาะแกการ หมู่ที่ 5 บ้านท่าจันทร์ เพาะปลูก เช่น ทำนา ทำสวน และทำไร่ มี หมู่ที่ 6 บ้านคลองบางไทร เนื้อที่ประมาณ 22.50 ตารางกิโลเมตร หรือ หมู่ที่ 7 บ้านท่าแร่ ประมาณ 14,062.50 ไร่ หมู่ที่ 8 บ้านหนองใหญ่ หมู่ที่ 9 บ้านวงค์มหาพรหม

3 แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ที่ สำ คั ญ 1.วัดเขาแก้ว วัดเขาแก้ว สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยปลายอยุธยา อายุกว่า 400 ปี ภายในมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คนในชุมชนนับถือ ตั้ง อยู่ในวิหารพระบูรพาจารย์ เพื่อให้ประชาชนได้สักการะขอพร ภายในวัดมีวัตถุโบราณ และศาสนสถาน เช่น ซากโบสถ์เก่า ด้านเหนือของวัด ซากวิหารเก่าบนยอดเขา เจดีย์ยอดนพศูล พระปรางค์ 5 ยอดสมัยสุโขทัย โบสถ์เก่าหลังที่สอง สมัยพระ นารายณ์มหาราชรอยพระพุทธบาทจำลองบนมณฑป และสาม ห ล ว ง พ่ อ หิ น ห ย ก ที่ ใ ห ญ่ ที่ สุ ด ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ภาพที่ 1.1 ทางขึ้นมณฑปวัดเขาแก้ว ที่มา : พิรุฬห์ บุญเพ็ชร์ (พฤษภาคม 2558) บูรพาจารย์สามหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ โดยแต่ละองค์มีพุทธคุณและประวัติสำคัญดังนี้ 1.หลวงพ่อเทศ เจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว ในปี พ.ศ. 2393 - 2434 ชาวบ้านถือกันว่าเป็นพระที่ศักดิ์สิทธิ์มากในทางคาถาอาคม ท่าน ชำนาญทางกรรมฐาน ในสมัยก่อนขึ้นเทียน อุบาสกอุบาสิกาและ พระภิกษุไปขึ้นเทียนกับท่านในช่วงเย็นเป็นจำนวนมาก 2.หลวงพ่อเดิม ท่านได้เข้าอุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดเขาแก้ว หลวงพ่อเดิมท่านได้สร้างพระเครื่องรางของขลังมากมายเป็นที่ เลื่องชื่อ และมีประสบการณ์ความศักดิ์สิทธิ์ปรากฏอยู่มากมาย 3.หลวงพ่อกัน เป็นเจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว อดีตเจ้าคณะตำบล พยุหะและเป็น 1 ใน 3 พระเกจิที่มีชื่อเสียงของอำเภอพยุหะคีรี ร่วมกับหลวงพ่อเทศกับหลวงพ่อเดิม ท่านเด่นในด้านเมตตามหา นิยม และอยู่ยงคงกระพัน แคล้วคลาดปลอดภัย ภาพที่ 1.2 บูรพาจารย์สามหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (มิถุนายน 2564) ร อ ย พ ร ะ พุ ท ธ บ า ท จำ ล อ ง จากหลักฐานทางโบราณคดีสันนิษฐานว่ารอยพระพุทธบาทจำลอง สร้างในสมัยทวาราวดี (ประมาณปี พ.ศ. 1600 - 1700) สร้างจากหิน แกรนิตสีเขียว ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2429 ได้สร้างรอยพระพุทธบาท จำลองใหม่ครอบทับของเดิม อีกทั้งยังเป็นรอยพระพุทธบาท 5 รอย ที่เดียวในประเทศไทย ภาพที่ 1.3 รอยพระพุทธบาทจำลอง ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (มิถุนายน 2564)

4 แม่ปทุมทอง และกองเงิน แม่ปทุมทอง และกองเงิน ช้างแม่ลูกเชือกสุดท้าย ของหลวงพ่อเดิม ซึ่งแม่ปทุมทองล้มลงเพราะไปเหยียบ ตะปูจนเกิดบาดทะยัก เจ้าของด้วยความรักและอาลัยจึง ได้ให้ช่างมาปั้นรูปปทุมทองไว้และต่อมาได้นำกระดูกมา บรรจุไว้ หลังจากนั้นอีก 10 กว่าปี กองเงินก็ล้มลง ด้วย สาเหตุจากถูกงูแมวเซากัดที่ปลายงวง เจ้าของจึงได้ให้ ช่างมาปั้นเอาไว้คู่กันกับแม่ปทุมทอง โดยให้มีท่าทาง เหมือนตอนกองเงินเห็นรูปปั้นครั้งแรก บ่อน้ำ ภายในลานวิปัสสนามีมาแต่เดิมตั้งแต่สมัยโบราณ เคยขุดเจอของโบราณเป็นครกหิน พระพุทธรูปสามองค์ เมื่อสมัยก่อนผู้คนมักไม่กล้าเข้ามาที่นี่ เพราะมีต้นไม้ขึ้น เยอะ ภายหลังชาวบ้านได้สร้างบ่อบริเวณนี้ให้เป็นบ่อน้ำ เพราะ กลัวว่าจะมีคนเข้ามาขโมยของโบราณในบ่อ ซึ่ง ภายในบริเวณบ่อมีตาน้ำจึงทำให้มีน้ำตลอด โบสถ์เก่า โบสถ์เก่าสมัยอยุธยาตอนกลาง-ปลาย เป็นโบถส์ หลวง มีเสมาซ้อน กว้าง 5 เมตร ยาว 12 เมตร รูป ท ร ง แ บ บ เ รื อ สำ เ ภ า ภาพที่ 1.4 แม่ปทุมทอง และกองเงิน ภาพที่ 1.5 บ่อน้ำ ภาพที่ 1.6 โบสถ์เก่าหลังที่สอง ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (มิถุนายน2564)

5 2. วัดอินทาราม สันนิษฐานว่า วัดอินทาราม สร้างมาตั้งแต่ ประมาณปี พ.ศ. 2123 สมัยอยุธยาเป็นราชธานี โดยมีเรื่องเล่าว่า วัดนี้เป็นที่สร้างโดยชาวมอญใน สมัยที่ชาวมอญเรืองอำนาจ แต่จากการ สันนิษฐานของกรมศิลปากร อาจจะสร้างในสมัย ปลายกรุงศรีอยุธยาหรือกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ซึ่งสันนิษฐานจาก อุโบสถหลังเก่า (เดิม) ซึ่งตั้งอยู่ ทางทิศตะวันตก ภายในวัดมีพิพิธภัณฑ์ของ โบราณ โบสถ์โบราณ ภาพวาดฝาผนัง โบสถ์ มอญเก่า เจดีย์เก่า วิหารที่ประดิษฐานพระเกจิชื่อ ดัง ศาลาการเปรียญที่สร้างขึ้นเมื่อพุทธศักราช 2461 มีภาพปริศนาธรรมจิตกรรมบนเพดาน เรือ หัวโต มีอายุมากกว่า 100 ปี (สมัย ร.5) และ เรือ ภาพที่ 2.1 วัดอินทาราม พระนารายณ์สร้างด้วยไม้ตะเคียนทอง ที่มา : พรเพ็ญ สิงห์คำ (มิถุนายน 2564) ภาพที่ 2.2 เรือหัวโต ภาพที่ 2.3เรือนารายณ์ ที่มา : ผู้ใหญ่นิพนธ์ บำรุงศรี (กุมภาพันธ์ 2564)

6 โบสถ์มอญเก่า ตามหลักฐานสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัย อยุธยาตอนปลาย อายุประมาณ 500 กว่าปี โบสถ์ มอญจะหันไปทางทิศตะวันตกซึ่งต่างจากโบสถ์ใน ปัจจุบันที่จะหันไปทางทิศตะวันออก สาเหตุที่โบสถ์ มอญหันไปทางทิศตะวันตกก็เพราะบริเวณข้างหน้า โบสถ์เป็นแม่น้ำไหลผ่าน และมีเรือสันจรไปมาผู้คน ก็จะเห็นพระประธานที่อยู่ในโบสถ์ก็ยกมือไหว้ ถ้าหากจะสร้างให้พระประธานหันหลังให้ผู้คนก็จะไม่ เหมาะสม ภาพที่ 2.4 โบสถ์มอญเก่า ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (กุมภาพันธ์ 2564) เพดานศาลาการเปรียญ เพดานศาลาการเปรียญ มีภาพวาดจิตกรรม เป็นลักษณะคำ กลอนสอนใจ เช่น หัวล้านได้หวี ตาบอดได้แว่น สาวไส้ให้กา กิน หักด้ามพร้าด้วยหัวเข่า สีซอให้ควายฟังและมีรูปนางฟ้า ลักษณะต่างๆ ซึ่งคนวาด คือ หลวงพ่อหุ่น ซึ่งสีของภาพวาด ที่เห็นในปัจจุบันนั้นเป็นสีดั้งเดิมตั้งแต่เขียนครั้งแรก ซึ่งภาพ วาดนี้จึงอยู่มาประมาณร้อยกว่าปี เนื่องจากชาวบ้านกับทาง วัดช่วยกันดูแลรักษา ภาพที่ 2.5 เพดานศาลาการเปรียญ ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (กุมภาพันธ์ 2564) วิหารวัดอินทาราม วิหารนั้นเดิมไม่มีหลังคา มีแต่ฐานด้านล่างและที่ตั้งองค์ พระพุทธรูปเท่านั้น มาบูรณะทำหลังคาสมัยหลวงพ่อไข่เป็นเจ้า อาวาส มีลักษณะเป็นทรงไทยกลาง หลังคามุงสังกะสี ปัจจุบัน ได้มีการสร้างวิหารขึ้นใหม่ในปีพ.ศ.2527 ครอบวิหารองค์เดิม อยู่ภายใน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอุโบสถ ภายในเป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธศิลาศักดิ์สิทธิ์ ไม่ปรากฏว่าสร้างเมื่อใด สันนิษฐานว่าเป็นสมัยปลายอยุธยาและกรุงสุโขทัยกำลัง รุ่งเรืององค์พระพุทธปฏิมากรนั้นด้านในเป็นหินทรายแดงด้าน นอกก็ฉาบปูนปิดไว้ทุกองค์ พระพุทธศิลาศักดิ์สิทธิ์ในวิหารนั้น มีความศักดิ์สิทธิ์ เพราะเคยมีผู้มาทำการสาบานต่อหน้พระพุทธ รูปและเกิดเป็นจริงดังสาบาน พอถึงบ้านเกิดรากเลือดเห็นผล ทันตาจะด้วยเหตุบังเอิญหรือย่างไร ไม่ทราบ ภาพที่ 2.6 วิหารวัดอินทาราม ที่มา : ภรณ์ทิพย์ เอียดใส (กรกฎาคม 2564)

7 3 . แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง นิ เ ว ศ 3.1 เขาแก้ว ภาพที่ 3.1 เขาแก้ว ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (กรกฎาคม 2564) เขาแก้ว เป็นลักษณะพื้นที่ลาดเอียง เป็นจุดชมวิว โค้งมังกรที่สำคัญซึ่งบนเขาแก้วมีความหลากหลาย ทางชีวภาพ จะพบป่าไม้อยู่ทั่วไปและมีจุดขุดโป่งข่ามที่ยังทิ้งร่องรอยจนถึงปัจจุบัน 3.2 หนองปึก ภาพที่ 3.2 หนองปึก ที่มา : พรเพ็ญ สิงห์คำ (กรกฎาคม 2564) หนองปึก มีเนื้อที่อยู่ 100 ไร่ โดยประมาณ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านหาดเหนือ และหมู่ที่ 2 บ้านดงกระเปา ตั้งอยู่ใน ที่ดินสาธารณะ เป็นแหล่งรับน้ำเจ้าพระยาและเป็นแหล่งบ่อแก้มลิงเก่า อีกทั้งหนองปึกยังเป็นแหล่งน้ำที่สำคัญกับ ชาวบ้านเป็นแหล่งอุปโภคบริโภค แหล่งที่อยู่อาศัยในการทำมาหากิน แหล่งน้ำในการหาปลาและใช้น้ำในการทำการ เกษตร

8 3 . 3 บึ ง ก ร ะ ดิ่ ง บึงกระดิ่ง สร้างขึ้นสมัยโบราณ มีการขุดเจอของใช้และเครื่องประดับในสมัยทราวดี ปัจจุบันตั้งอยู่ หมู่ที่ 7 บ้านท่าแร่ ตำบลพยุหะ มีพื้นที่ 137 ไร่ 53 ตารางวา มีพื้นที่เป็นพื้นน้ำประมาณ 90 ไร่ ทางทิศ เหนือและทิศใต้รับน้ำจากพื้นที่การเกษตร ส่วนทางทิศตะวันตกรับน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยา บึงกระดิ่งได้ พัฒนามาเป็นสถานที่ออกกำลังกายและพักผ่อนของชาวพยุหะ อีกทั้งยังเป็นเขตอภัยทานห้ามจับปลา เพื่ออนุรักษ์พันธุ์ปลาให้อุดมสมบูรณ์ต่อไป ภาพที่ 3.3 บึงกระดิ่ง ที่มา : ผู้ใหญ่นิพนธ์ บำรุงศรี (กุมภาพันธ์ 2564) 3.4 โค้งมังกร ภาพที่ 3.4 โค้งมังกร ที่มา : ผู้ใหญ่นิพนธ์ บำรุงศรี (กุมภาพันธ์ 2564) สายแม่น้ำเจ้าพระยาที่มีความคดเคี้ยวรูปร่างลักษณะคล้ายมังกร เป็นจุดชมวิวที่สวย ที่สุดในจังหวัดนครสวรรค์และสวยที่สุดในประเทศไทย

กั น ย า ย น 2 5 6 3 ฉ บั บ ที่ 3 #พยุหะเมืองต้องแวะ 9แ น ว โ น้ ม บ น โ ล ก อ อ น ไ ล น์ 4. ตลาดเก่า 100 ปี ภาพที่ 4.1 ภาพที่ 4.2 ภาพที่ 4.3 ภาพที่ 4.1 ตลาดริมน้ำพยุหะ ภาพที่ 4.2 ร้านขายยารัตนโอสถ ภาพที่ 4.3 โรงแรมรัตนโกศล ภาพที่ 4.5 เครื่องบดยาในอดีต ภาพที่ 4.ุ6เครื่องบดยาในปัจจุบัน ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (กรกฎาคม 2564) ภาพที่ 4.4 ตลาดเก่า 100 ปี ที่มา : จุฑารัตน์ อินทะจักร (กรกฎาคม 2564) ภาพที่ 4.4 ตลาดเก่า 100 ปี เป็นตลาดที่อยู่ติดริมแม่น้ำเจ้าพระยาตอน ภาพที่ 4.5 ต้น ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2430 และถูกทิ้งร้างมาเป็นเวลานาน ทาง ภาพที่ 4.6 หน่วยงานของภาครัฐในส่วนภูมิภาคได้ร่วมมือกับประชาชนที่อยู่ ในแถบนั้นทำการเปิดอีกครั้งเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2556 มีการ ออกร้านขาย อาหาร ขนม ของเก่า เสื้อผ้า เครื่องจักรสาน ของ ตกแต่งต่างๆ โดยมีตลาดทุกวันแต่สำหรับวันเสาร์และวันอาทิตย์ จะคึกคักมากกว่าวันอื่นๆ ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ ปัจจัย จึงทำให้ตลาดยุบตัวลงแต่สิ่งที่ไม่หายไปนั่นคือบ้านเรือน ริมฝั่งแม่น้ำที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และความเป็นมิตรต่อกันใน แถบชุมชน สถานที่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองในแถบตลาดเก่า 100 ปี ได้แก่ ร้านขายยารัตนโอสถ และโรงแรมรัตนโกศล

5. ถนนสายวัตถุมงคล 10 ชมพุทธศิลป์ อีกทั้งมีร้านขายงาช้างที่ถูก แหล่งผลิตพระที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย กฎหมายในประเทศไทย 01 ร้านลุงธิ ร้านขายงาช้างที่ถูก กฎหมายในประเทศไทย 02 ร้านสมบูรณ์ พาณิชย์สวย ๒ 03 ร้านแหล่งพระ 04 ร้านธรรมจักร 05 ศูนย์รวมมีด มงคลช่าง ประธาน ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (มิถุนายน 2564)

11 6. แหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ 6.1 โรงพักเก่า สถานีตำรวจภูธรอำเภอพยุหะคีรี เดิมตั้งอยู่ เลขที่ 71 หมู่ 6 ตำบลพยุหะ เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2456 ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2543 ได้รับงบประมาณจากกรมตำรวจให้สร้างที่ทำการ หลังใหม่พร้อมครุภัณฑ์ จำนวน 1 หลัง เป็นอาคารสามชั้น ณ ศูนย์ราชการอำเภอพยุหะคีรี ตำบลสระทะเล อำเภอ พยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ และได้เปิดทำการตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน 2544 ปัจจุบันภายในโรงพักเก่ายังคงทิ้งร่องรอยสภาพข้าวของที่ ใช้ในสมัยนั้น เช่น ห้องขังแยกชาย - หญิง ตู้เก็บของกลาง ตู้ เก็บอาวุธ ห้องทำงาน เป็นต้น ภาพที่ 6.1 โรงพักเก่า ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (กุมภาพันธ์ 2564) 6.2 อำเภอเก่า สถานที่ราชการเก่าแก่ ตั้งอยู่ที่ เทศบาลหมู่ที่ 6 มีอายุมากกว่า 100 ปี ปัจจุบันได้ย้ายที่ทำการไปที่ ตำบลสระ ทะเล อำเภอ พยุหะคีรี จังหวัด นครสวรรค์ ภาพที่ 6.2 อำเภอเก่า ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (กุมภาพันธ์ 2564) ลิ ข สิ ท ธิ์ พ อ ร์ ทั ล เ ท ค 2 5 6 6

# พ ยุ ห ะ เ มื อ ง ต้ อ ง แ ว ะ 12 6.3 ศาลเจ้าพ่อศรีเมือง บ้านท่าแร่ ภาพที่ 6.3 ศาลเจ้าพ่อศรีเมือง ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (กุมภาพันธ์ 2564) นางประยูร ไทยวงศ์ (ป้าแจ๋ว) เล่าว่า ในสมัยก่อนพื้ นที่บริเวณนี้ชาวบ้านเรียกว่าทางควาย จะมีศาลาหลังเล็กๆ แล้วก็มีศาลตั้งอยู่ริมฝังแม่น้ำพื้ นที่บริเวณรอบๆ ก่อนที่จะก่อสร้างศาลจะมี บ้านของชาวบ้านอยู่เป็นจำนวนมาก แต่เกิดมีเหตุวาตภัยครั้งใหญ่ในพื้ นที่จึงทำให้บ้านของชาว บ้านเสียหายกันจนหมด หลวงพ่ อกันจึงได้กำหนดให้มีการทำบุญ ในเดือน 4 ขึ้น 9 ค่ำ ของทุกๆ ปี ที่เรียกกันว่า \"ส่งเสียทางเรือ\" แล้วจึงได้มาก่อตั้งเป็นศาลใหญ่ มีการสร้างด้วยเงินมาทำบุญ ของชาวบ้าน รวมถึงกำแพงที่ล้อมรอบก็จะมีชาวบ้านร่วมกันมาบริจาค โดย คุณพ่ อเสงี่ยม ทอง วิชิต เป็นผู้ริเริ่มและนำการก่อสร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2530 แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2538 โดยได้รับการ บริจาคเงินก่อสร้างจากชาวบ้านพยุหะ และประชาชนทั่วไป 6.4 ท่าข้าวกำนันทรง ท่าข้าวกำนันทรง ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 เป็นท่าข้าวในตำนานที่ครั้งหนึ่ง ราคาซื้อและราคาขายข้าวเปลือกของที่ท่าข้าว กำนันทรงเป็นราคาอ้างอิงของตลาด ซึ่งใน สมัยนั้นได้เปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง ภาพที่ 6.4 ท่าข้าวกำนันทรง ที่มา : ผู้ใหญ่ อติคุณ สังข์นาค (กุมภาพันธ์ 2564)

ภูมิปัญญา 13 อาหาร ขนมต้มยวนแม่นิด ขนมโบราณที่สืบทอดรุ่นสู่รุ่น เป็นกิจการส่วนตัว สมัย ก่อนจะพายเรือขายทั้งกับข้าวและขนมหวาน แต่ปัจจุบัน ขายเพียงขนมต้มยวนในตลาดสดพยุหะ ซึ่งขนมต้มยวน จะทำจากแป้ งข้าวเหนียวมีลักษณะคล้าย ขนมบัวลอย แต่ มีขนาดใหญ่กว่าและมีไส้ถั่วเหลืองอยู่ข้างใน ภาพที่ 6.5 ขนมต้มยวน ที่มา : แนนนี่ (กุมภาพันธ์ 2564) ขนมโบ๋ ขนมโบราณของพยุหะคีรี มีต้นกําเนิดจากจีน คล้าย ขนมถ้วยของไทยแต่จะเหนียวกว่า ใช้วัตถุดิบคล้ายกัน จะต่างกันที่เครื่องสำหรับโรยหน้ า จะมีรสชาติจืดๆ มันๆ และ หนึบๆ เวลาจะทาน มักจะโรยกระเทียมเจียวกรุบ กรอบ ราดด้วยนํ้าเชื่อมเข้มข้น เวลาทาน จะได้ทั้งกลิ่น หอมของกระเทียม รสชาติ หวาน มัน และ ความรู้สึก หนึบๆ ภาพที่ 6.6 ขนมโบ๋ ที่มา : กรณ์ คงหอม (มิถุนายน 2564) กลุ่มสัมมาชีพชุมชน 1. กลุ่มแปรรูปอาหาร ชาวบ้านชุมชนหาดเหนือ จะมีอาชีพเสริมนอกจากการเลี้ยงปลา ในกระชัง คือ การแปรรูปปลา หมู และเนื้อซึ่งวัตถุดิบที่นำมาแปรรูป นั้นส่วนมากจะนำมาจากกระชังปลาของชาวบ้าน และเลี้ยงเองบ้าง เป็นบางชนิดโดยมักจะนำไปขายสู่ตลาด ถ้าหากมีออเดอร์จัดส่งก็จะ แพ็ค ซีลปลาเพื่อให้ปลาสามารถอยู่ได้นาน และไม่ส่งกลิ่นรบกวน ขณะจัดส่ง ภาพที่ 6.7 ปลาแดดเดียว ที่มา : พุทธิดา บิณฑวิหค (มิถุนายน 2564)

14 2.กลุ่มงานแกะสลัก ในสมัยก่อนอาชีพ แกะสลัก ในตำบลพยุหะ มีความรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก ส่วนใหญ่เป็นงาน แกะสลักงาช้าง ซึ่งเป็นอาชีพที่สามารถสร้างราย ได้ให้กับคนพยุหะได้จากรุ่นสู่รุ่น ซึ่งเมื่อก่อนเกือบ ทุกบ้านจะมีแต่เสียงเครื่องจักร แต่ในปัจจุบันนั้น การแกะสลักงาช้างเป็นสิ่งที่หายาก เนื่องจากว่า ทางรัฐบาลได้ออกกฎหมายไซเตส หรือกฎหมาย คุ้มครองสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ การ ครอบครองงาช้างจึงถือว่าเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย ภาพที่ 6.8 แกะสลัก ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (มิถุนายน 2564) 3.กลุ่มงานตอกมีด งานตอกมีด เป็นธุรกิจที่สืบทอดกันมาจากรุ่น สู่รุ่น อดีตการทำมีดหมอได้เริ่มขึ้นในยุคหลวงพ่อ เดิมซึ่งจะมีการสร้างมีดขึ้นมาเป็น มีดหลวงพ่อ เดิม มีดหลวงพ่อกัน มีดหลวงพ่อจ้อย ฯลฯ แต่ ปัจจุบันช่างเก่าแก่ไม่ได้ทำเองแล้ว โดยจะมีช่าง รุ่นใหม่มาสืบทอดงานศิลปะด้านการตอกมีด ซึ่งปัจจุบันนี้การตอกมีดก็ยังเป็นที่แพร่หลาย และยังคงเป็นอาชีพที่ควรดำรงวงไว้ เช่น มีด หลวงพ่อพัฒน์ มีดหลวงพ่อกวย ฯลฯ ภาพที่ 6.9 ตอกมีด ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (มิถุนายน 2564)

15

ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม 16 1. ประเพณีร้องเพลงเรือหัวโต และเรือนารายณ์ ประเพณีร้องเพลงเรือ จัดขึ้นในเทศกาลออก พรรษา เพื่อความสัมพันธ์ของคนในชุมชน แล้ว มีการร้องเพลงเกี้ยวกันกับเรือพระนารายณ์เพื่อ ความสนุกสนานของคนในหมู่บ้าน ภาพที่ 6.10 ประเพณีร้องเพลงเรือหัวโตและเรือนารายณ์ ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (กุมภาพันธ์ 2564) 2. พิธีกรรมส่ งเสี ยทางเรือ เป็นพิธีกรรมขอขมา เจ้าที่ เจ้าทาง เจ้าป่า เจ้าเขา พระแม่คงคา พระแม่ธรณี และสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายปกป้องคุ้มครองชาวบ้าน ในหมู่บ้าน เมื่ อเสร็จพิธีแล้วจะแห่นำไปลอยใน แม่น้ำ ภาพที่ 6.11 พิธีกรรมส่งเสียทางเรือ ที่มา : ผู้ใหญ่อติคุณ สังข์นาค (กุมภาพันธ์ 2564) 3. พิธีแห่ธงแดงขึ้นเขา เ ป็ น ค ว า ม เ ชื่ อ ข อ ง ช า ว บ้ า น ห มู่ ที่ 9 โ ด ย พิ ธี ก ร ร ม นี้ ทำ เ พื่ อ ข อ พ ร จ า ก สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ ห้ ต น เ อ ง ค ร อ บ ค รัว แ ล ะ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ฤ ดู ก า ล ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ข อ ง พี่ น้ อ ง เ ก ษ ต ร ก ร ภาพที่ 6.12 แห่ธงแดงขึ้นเขา ที่มา : กรณ์ คงหอม (กุมภาพันธ์ 2564)

#พยุหะเมืองต้องแวะ 17 วัดเขาแก้ว วัดอินทาราม ตลาด100ปี ถนนวัตถุมงคล โรงพักเก่า ท่าข้าว หนองปึก กำนันทรง บึงกระดิ่ง วิถีภูมิปั ญญา ท้องถิ่น โค้งมังกร

ผลิตภัณฑ์อาหาร 18 และของฝาก ขนมโบ๋ ขนมต้มยวน ข้าวโปง อาหารปลาริมน้ำ น้ำพริก ข้าวหลาม ลอดช่อง โป่งข่าม+เรซิ่น แกะสลัก สร้อยกะลาไม้มงคล \"พยุหะเมืองต้องแวะ\"

แวะไหว้พระ 19 ขึ้นเขาชมโค้งมังกร ล่องน้ำเจ้าพระยา 3 หลวงพ่อศักดิ์สิ ทธิ์ ห ล ว ง พ่ อ เ ดิ ม ห ล ว ง พ่ อ เ ท ศ ห ล ว ง พ่ อ กั น วัดเขาแก้ว ก ร า บ สั ก ก า ร ะ 3 ห ล ว ง พ่ อ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เ ป็ น ศู น ย์ ร ว ม จิ ต ใ จ ขึ้ น ช ม ม ณ ฑ ป ร อ ย พ ร ะ พุ ท ธ บ า ท 5 ร อ ย วัดอินทาราม สั ก ก า ร ะ ห ล ว ง พ่ อ ดำ ศึ ก ษ า ป ร ะ วั ติ โ บ ส ถ์ ม อ ญ เ จ ดี ย์ ส มั ย รั ช ก า ล ที่ 5 ขึ้ น เ ข า ช ม โ ค้ ง มั ง ก ร จุ ด ช ม วิ ว โ ค้ ง มั ง ก ร แ ห่ ง ส า ย น้ำ เ จ้ า พ ร ะ ย า ที่ ส ว ย ที่ สุ ด ล่องน้ำเจ้าพระยา พั ก ผ่ อ น ริ ม น้ำ ช ม วิ ถี ชุ ม ช น แ ห่ ง แ ม่ น้ำ เ จ้ า พ ร ะ ย า ชิ ม อ า ห า ร อ ร่ อ ย ขึ้ น ชื่ อ ตำ บ ล พ ยุ ห ะ อำ เ ถ อ พ ยุ ห ะ คี รี จั ง ห วั ด น ค ร ส ว ร ร ค์

วัดเขาแก้ว 20 ทางขึ้นมณฑปวัดเขาแก้ว ที่มา : พิรุฬห์ บุญเพ็ชร์ (พฤษภาคม 2558) ศักวดิ์ัสิดทเธิข์ทีา่คแนก้ใวนชสุัมนชนินษนฐับานถืวอ่าตัส้งรอ้ายูง่ใขนึ้นวิมหาาตรั้งพแรตะ่สบูมรัยพปาลจาายรยอ์ยเุพธื่ยอาใหอ้ปารยุะกชว่าาช4น0ไ0ด้สปัีกกภาารยะในขอมีพสิ่งร ภายในวัดมีวัตถุโบราณและศาสนสถาน เช่น ซากโบสถ์เก่าตั้งอยู่ด้านหน้าของวัด ซากวิหารเก่าตั้ง อยู่บนยอดเขา เจดีย์ยอดนพศูล พระปรางค์ห้ายอดสมัยสุโขทัย โบสถ์เก่าหลังที่สอง รอย พระพุทธบาทจำลองบนมณฑป และสามหลวงพ่อหินหยกที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย บูรพาจารย์สามหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ บูรพาจารย์สามหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งแต่ละองค์มีพุทธคุณและ ประวัติสำคัญ ดังนี้ หลวงพ่อเทศ ชาวบ้านถือกันว่าเป็นพระที่ ศักดิ์สิทธิ์มากในทางคาถาอาคม ท่านชำนาญทางกรรมฐาน ใน สมัยก่อนขึ้นเทียน อุบาสกอุบาสิกาและพระภิกษุไปขึ้นเทียนกับ ท่านในช่วงเย็นเป็นจำนวนมาก หลวงพ่อเดิม ท่านได้สร้างพระเครื่องรางของขลังมากมายเป็นที่ เลื่องชื่อ และมีความศักดิ์สิทธิ์ปรากฎอยู่มากมาย หลวงพ่อกัน เด่นในด้านเมตตามหานิยมและอยู่ยงคงกระพัน แคล้วคลาด ปลอดภัย บูรพาจารย์สามหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (มิถุนายน 2564)

21 รอยพระพุทธบาทจำลอง จากหลักฐานทางโบราณคดี สันนิษฐานว่ารอยพระพุทธบาท จำลองสร้างในสมัยทวาราวดี (ประมาณปี พ.ศ. 1600 - 1700) สร้างจากหินแกรนิตสีเขียว ต่อมา ประมาณปี พ.ศ.2429 ได้สร้าง รอยพระพุทธบาทจำลองใหม่ ครอบทับของเดิม อีกทั้งยังเป็น รอยพระพุทธบาท 5 รอย ที่เดียว ในประเทศไทย รอยพระพุทธบาทจำลอง ที่มา : วิมลวรรณ แสงตะวัน (มิถุนายน 2564) ลานวิปัสสนา ลานวิปัสสนา มีมาตั้งแต่โบราณ ในสมัยก่อน ผู้คนมักไม่กล้าเข้ามาที่นี่ เพราะมีต้นไม้น้อย ใหญ่ขึ้นปกคลุมทั้งบริเวณ ต่อมาภายหลังชาว บ้านได้สร้างบ่อน้ำบริเวณนี้ให้ ปัจจุบันสถานที่ นี้เป็นสถานที่สำหรับนักปฏิบัติธรรมเข้ามานั่ง สมาธิ และยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอีกด้วย ที่มา : กรณ์ คงหอม (มิถุนายน 2564)

22

23 วัดอินทาราม วัดอินทาราม สร้างขี้นสมัยอยุธยาเป็นราชธานี มีเรื่องเล่าว่า วัดนี้สร้างโดยชาวมอญใน สมัยที่ชาวมอญเรืองอำนาจ แต่จากการสันนิษฐานของกรมศิลปากร วัดอินทารามอาจขึ้นสร้าง ในสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา หรือกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ซึ่งสันนิษฐานจาก อุโบสถหลังเก่า (เดิม) ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกซึ่งวัดอินทาราม เป็นแหล่งศิลปะชุมชนที่สวยงาม มีเจดีย์เก่าแก่ คือ เจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง ที่มีลายทรงเครื่องรูปใบไม้บริเวณขาสิงห์ และลายพรรณพฤษา ใน บริเวณท้องสิงห์ ภายในวัดมีโบสถ์เก่ามีภาพวาดจิตกรรมวาดโดยหลวงพ่อหุ่นในช่วงปี 2460-2461

24 เ รื อ หั ว โ ต แ ล ะ เ รื อ น า ร า ย ณ์ เรือหัวโต ตำนานแห่งสายน้ำ “หัวโต” เป็นเรือที่ขุดด้วยไม้ตะเคียนหินมีความยาว 16 เมตร ประวัติเก่าเล่าขานสืบต่อกันมาว่าเป็นตำนาน เมื่อครั้งหนึ่งเคยได้เป็นพระราชพาหนะเพื่อทรงพระ เกษมสำราญให้กับรัชกาลที่ 5 ในการเสด็จประภาสต้นหัวเมืองทางเหนือ ต่อมามีพระธุดงค์ผ่านมาได้ ลงอักขระภาษาขอมไว้ทั้งลำให้อยู่ยงคงกระพันธ์และได้ทราบนามพระรูปนี้ว่าชื่อ \"หลวงพ่อเทศ\" ใน การแข่งเรือนั้นเรือหัวโตจะเป็นเรือนักเลงชอบมีเรื่องตีกันถึงขนาดตีกันฝีพายยืนบนกาบเรือข้างเดียว เรือไม่ล่ม ไม่รู้ว่าด้วยปาฏิหาริย์อันใดจึงเป็นเช่นนั้น เรือพระนารายณ์“เรือคู่ปรับของเรือหัวโต” ประวัติเก่าเล่าขานในราวปี 2493 ตั้งชื่อ เรือตามวรรณคดี ตอนตั้งชื่อเรือนั้นมีหลวงพ่อเดิม หลวงพ่อกัน หลวงพ่อชี พระมหาวิฑูรย์ พระ ภิกษุ และกรรมการวัดร่วมพูดคุยกัน หลวงพ่อเดิมจึงพูดขึ้นว่า \"ชื่อเรือพระนารายณ์ จะได้ไว้ ปราบเรือหัวโต เพราะหนุมานเป็นทหารพระนารายณ์\" ทุกคนจึงเห็นดีด้วย พระนารายณ์เป็น เรือใช้ผู้หญิงพาย ถือว่าเป็นเรือที่มีท่าทางการพาย และแต่งกายสวยงามสวมเสื้อแขนยาวสีขาว ใส่งอบ เ รื อ หั ว โ ต ที่ ม า : วิ ม ล ว ร ร ณ แ ส ง ต ะ วั น ( กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 4 ) ป ร ะ เ พ ณี ร้ อ ง เ พ ล ง เ รื อ เ รื อ น า ร า ย ณ์ ที่ ม า : วิ ม ล ว ร ร ณ แ ส ง ต ะ วั น ( กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 4 ) ที่ ม า : วิ ม ล ว ร ร ณ แ ส ง ต ะ วั น ( กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 4 )

25

26 \"ขึ้ นเขาชมโค้งมังกร\" #พยุหะเมืองต้องแวะ ที่มา : ผู้ใหญ่นิ พนธ์ บำรุงศรี (กุมภาพันธ์ 2564) ขึ้ น เ ข า แ ค่ ไ ด้ ยิ น ชื่ อ ก็ รู้ สึ ก ตื่ น เ ต้ น อ ย า ก จ ะ เ ช ย ช ม แ ล้ ว แ ต่ เ ดี๋ ย ว ก่ อ น ก่ อ น ที่ จ ะ ไ ด้ เ ห็ น เ ร า ม า ดู เ ส้ น ท า ง กั น ก่ อ น ดี ว่ า เ ส้ น ท า ง ขึ้ น เ ข า นั้ น จ ะ เ ป็ น ท า ง ชั น ช่ ว ง แ ร ก ๆ ห ลั ง จ า ก นั้ น จ ะ เ ดิ น ส บ า ย ๆ ทำ กิ จ ก ร ร ม ปั่ น จั ก ร ย า น ห รื อ เ ดิ น ชิ ว ช ม พ ร ร ณ ไ ม้ ต่ า ง ๆ ร ว ม ทั้ ง บ น เ ข า จ ะ มี จุ ด ช ม วิ ว ต ล อ ด เ ส้ น ท า ง ส า ม า ร ถ ถ่ า ย รู ป ต า ม จุ ด ต่ า ง ๆ

27

#พยุหะเมืองต้องแวะ 28 ล่องเนจ้้าำพระยา ล่องแม่น้ำเจ้าพระยา สายน้ำแห่งนี้ทำหน้าที่หล่อเลี้ยงชาวตำบลพยุหะมา อย่างช้านาน ในสมัยโบราณแม่น้ำแห่งนี้มีความสำคัญเป็นอย่างมากโดย เฉพาะด้านเศรษฐกิจการเดินทาง ที่เป็นทางหลักทำให้การเดินทางสะดวก สบาย เกิดเป็นสายเศรษฐกิจอันรุ่งเรืองมาอย่างช้านาน อีกทั้งชาวบ้านยังมี อาชีพทางการเกษตร และการเลี้ยงสัตว์มาจนถึงปัจจุบัน ดังนั้นที่แห่งนี้จึง เป็นแหล่งรวมของดีต่างๆมากมาย และด้วยเหตุนี้เองจึงก่อให้เกิดเป็นสถาน ที่ท่องเที่ยวอันน่าตื่นตาตื่นใจ กิจกรรมนั่งชมวิถีชุมชนริมน้ำ อันมีมาตั้งแต่ สมัยโบราณอันรุ่งเรืองอีกทั้งยังมีของอร่อยขึ้นชื่ออีกมาย สิ่งที่โดดเด่นเป็น อย่างมาก คือ ปลา ซึ่งได้มีการจัดตั้งกลุ่มเลี้ยงปลาขึ้น ถือเป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นสถานที่พักผ่อนริมน้ำ และชมพระอาทิตย์ตกดิน

29

30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook