Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาพฤติกรรมจากบุคลิกภาพของคนNN

การศึกษาพฤติกรรมจากบุคลิกภาพของคนNN

Published by NATSAWAT JIWBANPERK, 2019-01-28 00:28:40

Description: การศึกษาพฤติกรรมจากบุคลิกภาพของคนNN

Search

Read the Text Version

การศกึ ษาพฤติกรรมจาก บุคลิกภาพของคน จดั ทาํ โดย นาย ณัฐศวัส จิ๋วบา นเผอื ก 591106129

การพฒั นาบุคลิกภาพ (Personality) 1. ความหมายและความสาํ คญั ของบคุ ลิกภาพ คําวา \"บคุ ลิกภาพ\" หมายถงึ คณุ ลกั ษณะทางกาย ทางจติ ใจ และความรสู กึ นึกคดิ ที่สะทอ นออกมาใหผูอ่ืนเห็นและเกิดความประทบั ใจมากนอ ย เพียงใด มคี วามสําคญั คือ บคุ ลิกภาพนับเปนสว นประกอบทส่ี ําคญั ทม่ี อี ิทธพิ ลตอ ความรูสกึ และอารมณข องผูท่พี บเหน็ เปน อยา งยงิ่ จงึ สงผลตอ การยอมรับนบั ถอื การใหค วามรวมมอื การสนับสนุน และความไววางใจจากผอู ่ืน 2. ประเภทของบคุ ลิกภาพ 2.1 บคุ ลกิ ภาพภายนอก คือ สง่ิ ท่ีเห็นไดชัดเจนจากภายนอกของแตละคน สามารถทจี่ ะปรบั ปรุงแกไ ขไดงาย ใชเวลาไมน าน แบงไดเปน 4 หมวด คอื 1. รปู รางหนา ตา 2. การแตงกาย 3. กริ ิยาทาทาง 4. การพดู 2.2 บุคลกิ ภาพภายใน คือ สิ่งทอ่ี ยภู ายในจติ ใจ หรอื อปุ นสิ ยั ใจคอทมี่ องไมเห็น สมั ผัสไมไ ด แกไ ขไดยาก เชน 1. ความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง 2. ความซอ่ื สัตยสจุ ริต 3. ความคดิ รเิ ริ่มสรา งสรรค 4. ความรับผิดชอบ

3. หลักและวธิ ีเสริมสรา งบุคลิกภาพ การยนื เดนิ นง่ั เปน สว นสําคญั ทีบ่ อกถึงบคุ ลกิ ภาพของแตล ะบุคคล งามอิริยาบถ คอื การเดนิ ยืน นง่ั เปด-ปด ประตู ข้ึนลงรถ อยา งถกู ตองสวยงาม การรจู ักทําตัวใหเขา กับบคุ คล สถานท่ี และเวลา อยา งถกู ตอ งถือวา มีมารยาททางสังคมที่ดี เชน การรูจักกราบไหวทีถ่ ูกวิธี และถูกกาลเทศะ การ รจู กั ธรรมเนียมของชาวตา งชาติ การปฏิบัตติ นในงานเลย้ี งตา ง ๆ การไปเยี่ยมคนปว ย การมอบดอกไมแสดงความยนิ ดีหรอื ใหผูอ าวุโส เปนตน บางครัง้ เราอาจจะตองอยใู นสถานการณทไี่ มทนั ไดเตรียมตัวเตรียมใจ และอาจเกิดอะไรขึน้ กับเราไดทุกวินาทีนัน้ เราตอ งพรอมเสมอทีจ่ ะเผชิญกับ เหตกุ ารณใ นลกั ษณะที่พรอ ม คือ ไมตกใจ ดใี จ เสยี ใจ กลวั เกนิ กวาเหตุ สามารถควบคุมทาทางของตนเองไดเ ปนอยา งดี

4. แนวทางในการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ 4.1 การรักษาสขุ ภาพอนามยั - ออกกาํ ลงั กายสมํ่าเสมอ - รบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชน - ควบคุมน้ําหนักไมใหเ พ่มิ หรือลดผิดปกติ - ละเวนการสบู บุหร่ีหรือยาเสพติดใหโทษทกุ ชนดิ - ไมด่ืมสงิ่ ของท่มี แี อลกอฮอลหรอื คาเฟอนี - พักผอ นนอนหลบั ใหเ พยี งพอ วนั ละ 7-8 ชม. - รกั ษาอารมณใ หสดชืน่ แจมใสอยูเสมอ

4.2 การดูแลรางกาย - รกั ษาความสะอาดในชอ งปากและฟน - ดแู ลรักษาเสนผมและทรงผมใหเ รียบรอยท้ังดานความสะอาดและรูปทรง - โกนหนวดเคราใหเ กลยี้ งเกลา ตัดและขรบิ ใหเรียบรอ ย - รักษาผิวพรรณใหสะอาดสดช่ืนอยูเสมอ อยาใหผวิ แหง กรา น - รกั ษากลิน่ ตัว - รจู ักการแตงหนาแตพ องาม - ดแู ลเลบ็ มือ เลบ็ เทา ใหส ะอาดอยเู สมอ - ปรับเปลี่ยนเส้ือผา และชุดช้นั ในทส่ี วมใสทุกวนั - ควรมกี ารเชค็ รา งกายเปนประจาํ ทุกป - เมือ่ รางกายมีอาการผิดปกติรีบไปปรกึ ษาแพทย

4.3 การแตง กาย - สวมใสเส้ือผา ที่สะอาด ซักรีดใหเรยี บ - สีสนั ไมฉ ูดฉาด ควรเลือกสใี หเหมาะสมกับรปู รา งและผวิ พรรณของตนเอง - กระเปา ถือและรองเทา ควรใชห นงั ท่มี คี ุณภาพดี สเี รียบ สาํ รวจสนรองเทาจัดการซอมแซมใหเรยี บรอ ย - แตงหนา ใหแนบเนียน ไมแตงเขม ผิดธรรมชาติ เลือกใชเ ครื่องสําอางคท มี่ ีคุณภาพดี - เล็บและการทาเล็บ ไมควรไวเล็บยาวจนเกินไป ควรเลอื กสีกลาง ๆ อยาปลอ ยใหส ถี ลอกจะไมนาดู - ผม หมน่ั สระใหส ะอาด อยางนอ ยสัปดาหละ 1-2 ครงั้ แปรงหวีใหเรียบรอ ย เลือกทรงผมที่รับกับใบหนา - เครอื่ งประดบั ควรใชเ พื่อเสรมิ การแตง กายใหดดู ีข้นึ แตไมควรใชเ ครื่องประดับมากจนเกนิ ไปจนดูสะดดุ ตารกรงุ รงั ไปหมด - ควรแตง กายใหเหมาะสมกบั สภาพภูมศิ าสตรและวฒั นธรรม - ควรแตง กายใหเหมาะสมกบั กาลเทศะ

4.4 อารมณ รจู กั ควบคมุ อารมณ ไมปลอ ยอารมณไ ปตามใจตนเอง คนที่ควบคมุ อารมณต นเองไดจะไดเ ปรียบและจะเอาชนะเหตกุ ารณต าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ได ในการ ปฏิบตั ิงานเปนเร่อื งธรรมดาที่จะตอ งมเี หตกุ ารณมากระทบกระเทือนอารมณก ันอยูเ สมอ ฉะนนั้ บุคคลใดทต่ี อ งการจะพฒั นาบคุ ลกิ ภาพของตนใหด ขี ึ้น จะตอ งเปน คนรจู กั อดทนใจเย็นเม่อื มเี หตุการณท่ไี มถกู ใจเกิดขึ้น 4.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง - ยอมรับในความสามารถของตนเอง - อยาเล็งผลเลิศในการทาํ งานจนเกินไป - อยา ถอื คตวิ าการทาํ งานสง่ิ ใดเม่อื ทําแลว ตอ งดที สี่ ุด - อยา นําความเกงของผูอื่นมาทับถมตนเอง - หมั่นฝกจิตใจตนเองใหช นะความกลวั ใหได

5. การพฒั นาบคุ ลิกภาพดา นความรสู ึกนึกคดิ ความรสู กึ นกึ คิดของแตละคนยอ มไมเหมอื นกัน ถา มีความรูสึกนกึ คดิ ในดานดี ไมมองคนในแงรา ย จติ ใจกเ็ ปน สุข ไมมีความกังวล ดังนน้ั เลขานุการจึง ควรพัฒนาบุคลกิ ภาพดานความรูสึกนึกคิดดงั น้ี 1. มคี วามเชือ่ มั่นในตนเองในการกระทาํ ในสิง่ ตา ง ๆ 2. มคี วามซอื่ สตั ย กระทาํ ตนใหผอู ื่นเชอ่ื ถือเรา แลว ความไวว างใจจะตามมา มีเรอื่ งสาํ คญั เขากจ็ ะใหเ ราทาํ 3. มคี วามสามารถที่จะทาํ สิ่งเหลา นนั้ ใหเหมาะสมกับผทู ่มี อบหมายไวว างใจใหเราทาํ 4. มีความกระตือรือรน ที่อยากจะทาํ เตรยี มตวั ใหพรอ มอยเู สมอ 5. มีความคดิ ริเร่มิ สรางสรรค รจู กั ปรับปรุงงานอยเู สมอ 6. มีความรบั ผิดชอบ ไมว าจะทําอะไรก็ตามตองมีความหว งใยจะตองทําใหเ สร็จทนั ตามกําหนดเวลา 7. มคี วามรอบรู 8. หวงตัวเอง เติมชีวิตใหกบั ตัวเอง 9. มีความจําแมน 10. วางตัวเหมาะสมกับกาลเทศะ

6. การพฒั นาบคุ ลิกภาพดา นกายบริหารทรวดทรง องคประกอบของทรวดทรง ข้ึนอยกู บั กลไกของการเคลือ่ นไหวของรา งกายและโครงสรา งของรางกายไมวาหญงิ หรือชายกช็ อบที่จะมีรปู รางงามท้งั น้นั ผูช ายก็ตอ งการมีรูปรางสมารท ผหู ญิงกต็ องการมเี อวบาง รางนอย มีสุขภาพดี การมีรปู รางงาม สุขภาพดี เกดิ จากการพฒั นาตัวเราเอง เราเปนผูวางแผนใน ชวี ิตของเราเอง ทรวดทรงอาจไมใชท ุกสิ่งทุกอยา งในชีวิต แตสว นสดั และทา ทาง ทาํ ใหคนทุกคนดูแตกตา งกันไป บุคลิกทไ่ี มด ีแสดงวา เจา ของเรอื นรางขาดความเชื่อ มนั่ ในตัวเอง ถา ไดเรยี นรวู ิธีเสริมสรางเสนห ใหกับบุคลิกภาพของตนเองแลว จะไมเ พยี งทาํ ใหมีรูปรางสงา งามเทา น้นั ยังสามารถทาํ ใหการปฏิบัติงานเกดิ ความ เช่อื มั่น งานกม็ ปี ระสทิ ธิภาพอกี ดวย ดงั นน้ั เลขานุการจึงควรใชเ วลาในการบรหิ ารทรวดทรงของตนเองเปน ประจาํ สม่าํ เสมอ เพราะสุขภาพท่ีดี และทรวดทรงที่ งดงามอีกดวย

อางองิ https://sites.google.com/site/kridsada patho/kar-phathna-bukhlikphaph


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook