Package ตน แบบการขบั เคลื่อนกลไกปองกันควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพ เครอื ขา ยพฒั นาคุณภาพชวี ติ ระดับอําเภอ สํานกั งานปองกนั ควบคมุ โรคที่ 8 จงั หวดั อุดรธานี กรมควบคุมโรค 1Package ตน้ แบบการขบั เคลสอ่ื นำนกลกไงกาปนอ้ ปงกอันงคกวนบคควมุ บโรคคุมแโลระคภทัย่ีส8ุขภจางพหวดอุดรธานี เครอื ขา่ ยพฒั นาคุณภาพชวี ติ ระดบั อำ�เภอ สำ�นักงานป้องกันควบคมุ โรคท่ี 8 จงั หวัดอดุ รธานี
(ปกรอง) คมู ือ Package ตน แบบการขบั เคลือ่ นกลไกปองกนั ควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพเครอื ขายพฒั นาคุณภาพ ชีวิตระดบั อําเภอ สาํ นักงานปองกนั ควบคมุ โรคท่ี 8 จังหวดั อดุ รธานี จัดทาํ โดย คณะกรรมการขับเคลื่อนกลไกปอ งกันควบคุมโรคและภยั สุขภาพ เครือขายพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับอําเภอและเขตเมอื ง สํานักงานปองกนั ควบคุมโรคท่ี 8 จงั หวัดอุดรธานี พิมพที่ บรษิ ัท ควิ คัมเบอร (ประเทศไทย) จาํ กัด จํานวน 5 เลม ปท่พี ิมพ 2562 2 Package ตน้ แบบการขับเคลอ่ื นกลไกป้องกนั ควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพ เครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพชวี ติ ระดับอ�ำ เภอ สำ�นักงานปอ้ งกนั ควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดอุดรธานี
คานา จากความร่วมมือของกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย พร้อมด้วยหน่วยงานต่างๆ ในการพัฒนา และขับเคลื่อนการดูแลชีวติ ความเป็นอยู่ และสุขภาพของประชาชนในอาเภอ โดยใช้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตระดับอาเภอเป็นผู้ขับเคล่ือน เป็นมิติใหม่ของการปฏิรูปสู่ Thailand 4.0 โดยหลักการของคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอท่ีสาคัญน้ัน เป็นการสร้างความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และ ประชาชนในอาเภอในการดูแล สุขภาวะ ทางกาย จิต และสังคมเพ่ือคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ทั้งนี้เช่ือว่า อาเภอเป็นพ้ืนที่ในระดับท่ีมีความเหมาะสมในการจัดการท่ีจะก่อให้เกิดการพัฒนา โดยมีนายอาเภอเป็นประธาน และมีสาธารณสุขอาเภอเป็นเลขานุการคณะกรรมการ อีกท้ังคณะกรรมการยังประกอบด้วยหลายภาคส่วน ท้ังภาครัฐ เอกชน และประชาชนเข้ามาร่วมกันบริหารจัดการ ภายใต้การดาเนินการอย่างมีส่วนร่วม มีระเบียบ สานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ พ.ศ. 2560 ซึ่งกาหนดให้ใช้กลไก การดาเนินงานรูปแบบคณะกรรมการเป็นเคร่ืองมือในการดาเนินการ จะทาให้เกิดการแก้ปัญหาและการพัฒนาที่ ตรงกับความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี ส่งผลให้ประชาชนได้รับการดูแลชีวิตความเป็ นอยู่ และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม นาไปสกู่ ารมีคณุ ภาพชวี ิตที่ดี สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดอุดรธานี ซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีมีบทบาทในการสนับสนุน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ ด้านวิชาการในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยดาเนินการผ่านกลไกคณะกรรมการขับเคลื่อนกลไกป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ ชีวิตระดับอาเภอและเขตเมือง สานักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 8 จังหวัดอุดรธานี จึงได้จัดทาคู่มือ Package ต้นแบบในการขับเคลื่อนกลไกป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเครือข่ายพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดอุดรธานี เพื่อเป็นแนวทางการดาเนินงานของเจ้าหน้าท่ีรวมถึง ประชาชนให้มี ความรู้ ทักษะ ในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ด้วยการมีส่วนร่วมใน การดาเนนิ งานทุกข้ันตอน จนนาไปสู่การปลอดภัยจากโรคและภัยสุขภาพในพน้ื ที่ คณะผูจ้ ัดทา กุมภาพันธ์ 2562 3Package ตน้ แบบการขบั เคลอ่ื นกลไกป้องกนั ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เครือข่ายพฒั นาคณุ ภาพชีวิตระดับอำ�เภอ สำ�นกั งานป้องกนั ควบคมุ โรคท่ี 8 จงั หวดั อดุ รธานี
สารบญั หนา้ 1 การปอ้ งกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน 17 โรคพษิ จากสารเคมีกาจดั ศัตรพู ืช 33 โรคพิษสนุ ขั บ้า 37 โรคที่เกดิ จากอาหารและนาเป็นสอื่ 43 การจดั การภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุขโดยใช้กลไกระบบบญั ชาการเหตุการณ์ และศูนย์ปฏิบตั ิการภาวะฉุกเฉิน 52 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางระบาดวทิ ยา สารบัญตาราง 2 3 ตารางที่ 1 อำเภอเสย่ี งสงู มำกและอำเภอเส่ียงสูงในเขตสุขภำพที่ 8 5 ตารางที่ 2 กำรวิเครำะห์ข้อมลู และสถำนกำรณก์ ำรบำดเจบ็ และเสยี ชวี ติ จำกอุบตั เิ หตทุ ำงถนนจังหวดั อดุ รธำนี 6 ตารางที่ 3 กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู และสถำนกำรณ์กำรบำดเจบ็ และเสยี ชีวิตจำกอบุ ัตเิ หตุทำงถนนจังหวัดหนองบวั ลำภู 7 ตารางท่ี 4 กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู และสถำนกำรณ์กำรบำดเจ็บและเสียชวี ติ จำกอุบัตเิ หตทุ ำงถนนจงั หวัดสกลนคร 8 ตารางท่ี 5 กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู และสถำนกำรณ์กำรบำดเจบ็ และเสียชีวติ จำกอุบตั เิ หตุทำงถนนจงั หวดั นครพนม 9 ตารางที่ 6 กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู และสถำนกำรณก์ ำรบำดเจบ็ และเสยี ชวี ิตจำกอบุ ัติเหตทุ ำงถนนจังหวดั เลย 10 ตารางที่ 7 กำรวิเครำะห์ข้อมลู และสถำนกำรณก์ ำรบำดเจ็บและเสียชีวิตจำกอบุ ัตเิ หตุทำงถนนจงั หวดั บงึ กำฬ 11 ตารางท่ี 8 กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู และสถำนกำรณก์ ำรบำดเจบ็ และเสยี ชีวิตจำกอบุ ัติเหตทุ ำงถนนจังหวัดหนองคำย 11 ตารางท่ี 9 ขอ้ มลู กำรบำดเจบ็ และเสียชีวติ เขตสขุ ภำพที่ 8 12 ตารางที่ 10 ข้อมูลสำเหตุกำรเกิดอุบตั ิเหตจุ ำกกำรดมื่ แอลกอฮอล์ของเขตสุขภำพท่ี 8 14 ตารางที่ 11 ขอ้ มลู ประเภทยำนพำหนะทเ่ี กดิ อบุ ตั เิ หตขุ องเขตสขุ ภำพท่ี 8 15 ตารางที่ 12 คูม่ ือและองค์ควำมรทู้ สี่ นับสนุนงำน 20 ตารางที่ 13 หน่วยงำนทีเ่ ก่ยี วข้อง 27 ตารางที่ 14 ข้อมูลอัตรำป่วยจำกพิษสำรกำจดั ศัตรูพืช ปี พ.ศ.2559-2561 รำยอำเภอ พน้ื ท่เี ขตสขุ ภำพท่ี 8 28 ตารางที่ 15 คมู่ อื และองค์ควำมรสู้ ำหรบั เจ้ำหนำ้ ที่ 34 ตารางท่ี 16 องคค์ วำมรสู้ ำหรับเกษตรกร/ประชำชน 35 ตารางที่ 17 เครือ่ งมอื และวัสดุอปุ กรณ์ 43 ตารางที่ 18 รปู แบบกำรดำเนินงำนมำตรกำรด้ำนคน : เปำ้ หมำยคือไม่มผี ู้เสยี ชวี ิตด้วยโรคพษิ สุนขั บำ้ 53 ตารางท่ี 19 รปู แบบกำรดำเนนิ งำนมำตรกำรดำ้ นสตั ว์ : เป้ำหมำยคอื ควำมครอบคลมุ วัคซีนในสตั ว์ 53 ตารางท่ี 20 ระดับควำมรนุ ของสำธำรณภัย และผบู้ ัญชำกำรเหตุกำรณ์ 53 ตารางท่ี 21 จำนวนและร้อยละผปู้ ว่ ยโรคคอตีบแยกกลมุ่ อำยุ ตารางที่ 22 จำนวนและร้อยละผู้ปว่ ยโรคคอตีบแยกตำมกลุม่ อำยุและเพศ 4 Package ต้นแบบการขบั เคลอ่ื นกลไกปอ้ งกันควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ เครือขา่ ยพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ระดับอ�ำ เภอ ส�ำ นกั งานป้องกันควบคุมโรคท่ี 8 จังหวดั อดุ รธานี
สำรบญั ภำพ 12 14 ภาพที่ 1 ข้อมลู ชว่ งเวลำเกิดอุบัติเหตุของเขตสุขภำพที่ 8 19 ภาพท่ี 2 กระบวนกำรแกไ้ ขปัญหำบำดเจ็บจำกกำรจรำจรทำงถนน 19 ภาพที่ 3 ขอ้ มูลอัตรำป่วยจำกพษิ สำรกำจดั ศตั รพู ืช ปี พ.ศ.2558-2560 รำยเขตสุขภำพเทียบกบั ประเทศ 19 ภาพท่ี 4 ข้อมูลอัตรำปว่ ยจำกพิษสำรกำจดั ศตั รูพชื ปี พ.ศ.2558-2560 เขตสขุ ภำพที่ 8 เทยี บกบั ประเทศ 20 ภาพท่ี 5 ข้อมลู อตั รำปว่ ยจำกพษิ สำรกำจดั ศัตรูพชื ปี พ.ศ.2558-2560 รำยจงั หวดั ในพื้นท่ีเขตสุขภำพที่ 8 20 ภาพที่ 6 แสดงข้อมลู อัตรำป่วยจำกพษิ สำรกำจดั ศัตรพู ืช ปี พ.ศ.2560 เขตสุขภำพที่ 8 จำแนกตำมกลุ่มอำยุ 26 30 ภาพที่ 7 ข้อมูลจำนวนผปู้ ว่ ยจำกพษิ สำรกำจดั ศัตรพู ืชจำแนกรำยเดอื น ประเทศไทย ปี ค.ศ.2005-2009 31 37 ภาพที่ 8 แผนผังกระบวนกำรแกไ้ ขปญั หำโรคพิษสำรเคมกี ำจดั ศตั รูพชื ผ่ำนกลไก พชอ. 37 ภาพท่ี 9 ตวั อย่ำงในกำรจดั ทำขอ้ มลู 38 ภาพท่ี 10 แผนผังกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูลโรคพษิ จำกสำรกำจัดศตั รูพืช 38 ภาพท่ี 11 อตั รำปว่ ยโรคอุจจำระรว่ งยอ้ นหลงั 5 ปเี ปรยี บเทยี บระหวำ่ งประเทศกบั เขตสขุ ภำพที่ 8 38 ภาพท่ี 12 อตั รำปว่ ยโรคอำหำรเปน็ พษิ ย้อนหลัง 5 ปีเปรียบเทยี บระหว่ำงประเทศกบั เขตสขุ ภำพที่ 8 38 ภาพที่ 13 อตั รำป่วยโรคอจุ จำระร่วงย้อนหลัง 5 ปีเปรียบเทยี บรำยจังหวดั เขตสุขภำพท่ี 8 38 ภาพท่ี 14 อตั รำป่วยโรคอำหำรเป็นพษิ ย้อนหลงั 5 ปี เปรียบเทียบรำยจังหวัดเขตสุขภำพท่ี 8 38 ภาพท่ี 15 อตั รำปว่ ยโรคอจุ จำระร่วงอำเภอธำตุพนม ปี 2556-2561 39 ภาพท่ี 16 จำนวนผ้ปู ว่ ยแยกตำมกลมุ่ อำยปุ ี 2561 39 ภาพที่ 17 จำนวนป่วยโรคอจุ จำระร่วงอำเภอธำตุพนม แยกตำมกลมุ่ อำชีพปี 2561 39 ภาพที่ 18 จำนวนป่วยโรคอุจจำระรว่ งอำเภอธำตุพนม แยกรำยเดอื นปี 2561 39 ภาพท่ี 19 อตั รำป่วยโรคอำหำรเป็นพษิ อำเภอธำตุพนมปี 2556-2561 44 ภาพท่ี 20 จำนวนปว่ ยโรคอำหำรเป็นพิษอำเภอธำตพุ นม แยกตำมกลุ่มอำยุปี 2561 45 ภาพที่ 21 จำนวนปว่ ยโรคอำหำรเปน็ พษิ อำเภอธำตุพนม แยกตำมกลุ่มอำชีพ ปี 2561 46 ภาพท่ี 22 จำนวนปว่ ยโรคอำหำรเปน็ พษิ อำเภอธำตพุ นม แยกรำยเดือนปี 2561 47 ภาพท่ี 23 สถำนกำรณ์ทส่ี ำมำรถนำระบบบญั ชำกำรเหตกุ ำรณ์มำใชไ้ ด้ 49 ภาพท่ี 24 ตวั อยำ่ งโครงสร้ำงระบบบัญชำกำรเหตุกำรณ์ ภาพท่ี 25 กำรดำเนินงำนจัดตง้ั ศนู ย์ปฏิบตั กิ ำรภำวะฉุกเฉิน 3 องค์ประกอบ (3S) 50 ภาพที่ 26 แผนผังขัน้ ตอน กำรเปดิ ศนู ยป์ ฏิบตั ิกำรภำวะฉกุ เฉนิ 51 ภาพที่ 27 ตวั อย่ำงกลมุ่ ภำรกิจในศนู ย์ปฏิบัติกำรภำวะฉกุ เฉิน ตำมโครงสรำ้ งระบบบญั ชำกำรเหตุกำรณ์ 54 54 พรอ้ มบทบำทหนำ้ ท่ี 55 ภาพท่ี 28 ควำมเชอ่ื มโยงระหว่ำง EOC จงั หวดั (เขตเมอื ง) และ EOC พนื้ ที่ ภาพท่ี 29 เอกสำรคมู่ ือกำรดำเนนิ งำนท่ีเกย่ี วขอ้ ง ภาพที่ 30 จำนวนผ้ปู ่วยโรคไข้หวดั ใหญแ่ ยกตำมกลมุ่ อำยุ จงั หวัดหนองคำย พ.ศ.2561 ภาพที่ 31 รอ้ ยละของผู้ป่วยโรคไข้หวดั ใหญแ่ ยกตำมกลมุ่ อำยุและเพศ จงั หวัดหนองคำย พ.ศ.2561 ภาพท่ี 32 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยโรคไข้หวดั ใหญแ่ ยกตำมอำชพี จงั หวัดหนองคำย พ.ศ.2561 5Package ต้นแบบการขบั เคลื่อนกลไกปอ้ งกนั ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพชีวิตระดบั อ�ำ เภอ สำ�นักงานปอ้ งกนั ควบคุมโรคท่ี 8 จงั หวัดอดุ รธานี
ภาพท่ี 33 แผนทีแ่ สดงที่อยู่ของผูป้ ว่ ยโรคไขเ้ ลอื ดออก แยกตำบล อำเภออำกำศอำนวย จงั หวดั สกลนคร 57 พ.ศ.2558 57 ภาพที่ 34 แผนทแี่ สดงอัตรำปว่ ยโรคไข้เลอื ดออกต่อประชำกรแสนคน แยกรำยอำเภอ เขตสขุ ภำพท่ี 8 พ.ศ.2561 59 59 ภาพที่ 35 จำนวนผปู้ ่วยโรคไขห้ วดั ใหญ่ แยกตำมสปั ดำหเ์ ริม่ ป่วย จงั หวดั หนองคำย พ.ศ.2561 ภาพท่ี 36 จำนวนผู้ป่วยโรคไขเ้ ลอื ดออก แยกตำมเดอื นที่เรมิ่ ปว่ ย อำเภอบ้ำนดุง จังหวดั อดุ รธำนี 59 พ.ศ.2550 – 2561 60 ภาพท่ี 37 อตั รำปว่ ยโรคไขเ้ ลอื ดออก เปรียบเทียบกบั อตั รำป่วยตำย แยกตำมปีพ.ศ.2549 – 2558 เขตสุขภำพที่ 1 ภาพที่ 38 จำนวนผปู้ ่วยโรคไขเ้ ดงกี่ (DF) เปรียบเทยี บกับโรคไข้เลอื ดออก (DHF) และไขเ้ ลือดออกช็อก (DSS) แยกตำมปี พ.ศ.2549 – 2558 เขตสุขภำพท่ี 1 6 Package ตน้ แบบการขับเคล่อื นกลไกป้องกนั ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เครือข่ายพัฒนาคุณภาพชวี ิตระดับอำ�เภอ สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 8 จังหวัดอดุ รธานี
การปอ้ งกนั การบาดเจบ็ จากการจราจรทางถนน ข้อมูลสถานการณแ์ ละสภาพปญั หา ปญั หาการบาดเจบ็ และเสียชีวิตจากอุบตั ิเหตุทางถนน(Road Traffic Injury) เป็นปัญหาสาคญั ทน่ี านา ประเทศให้ความสาคัญ โดยได้มีการบรรจุเป็นหนึ่งในเป้าหมายในการพัฒนาท่ีย่ังยืน(Sustainable Development) โดยพ.ศ.2558 ในการประชมุ สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้ให้การรับรองวาระการพัฒนา ที่ยั่งยืน พ.ศ. 2573 (2030 Agenda for Sustainable Development) โดยเป้าหมายความปลอดภัยทาง ถนนเป็นเป้าหมายสาคัญในข้อ 3.6 คือ ลดอัตราการเสียชีวิตและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนให้ได้คร่ึงหนึ่ง ภายในปี พ.ศ.2563 ซ่ึงกาหนดเป็นนโยบายทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 2554-2563(Decade of Action for Road Safety 2011-2020) โดยให้ประเทศต่างๆ ดาเนินมาตรการท่ีได้รับการยอมรับระดับสากล เพื่อเพิ่มความปลอดภัยทางถนนและคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ.2573 จะมีจานวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ทั่วโลก จานวน 1,853,581 ราย หรือคดิ เป็นอตั ราเสียชีวิต 22 ต่อประชากรแสนคน(United Nations,2018) สถานการณ์ในประเทศไทยพบว่าการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน เป็นปัญหาสาธารณสุขมา สาคัญมาโดยตลอด โดยมีจานวนผ้บู าดเจ็บ ผู้เสียชีวิตและผู้พกิ ารมแี นวโนม้ เพ่ิมมากข้ึนทกุ ปีขอ้ มูลจาก Global Status Report on Road Safety 2015 ขององค์การอนามัยโลก จัดให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีอัตรา การเสียชีวิตจากการจราจรทางถนน เป็นอันดับ 2 ของโลก โดยองค์การอนามัยโลก คาดการณ์ว่ามีจานวน เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ทั้งสิ้น 24,237 ราย คิดเป็นอัตราตาย 36.2 ต่อประชากรแสนคน โดยเมื่อ พจิ ารณาประเภทการขับข่ียานพาหนะทีเ่ กดิ อุบัติเหตุพบว่าประเทศไทยมอี ัตราการเสยี ชีวติ จากรถจักรยานยนต์ สงู สุดเป็นอันดับ 1 ของโลก หรือคิดเป็นอัตราตาย 26.3 ตอ่ ประชากรแสนคน รองลงมาคือรถยนต์ คนเดนิ เท้า และจักรยานคิดเป็นร้อยละ 4.7, 2.9 และ 0.8 ตามลาดับ(WHO,2015) จากข้อมูลการศึกษาการสูญเสียปี สุขภาวะของประชากรไทย พ.ศ.2556 (Disability Adjusted Life Years,DALYs) พบวา่ อุบัตเิ หตุทางถนนเป็น สาเหตุของการสูญเสียปีสขุ ภาวะอันดับ 2 ในเพศชายและอันดับ 8 ในเพศหญิง โดยเพศชายสูญเสียปีสุขภาวะ กว่าเพศหญิงถึงกว่า 4 เท่าและเมื่อพิจารณาเฉพาะในกลุ่มอายุ 15-19 ปีพบว่า อุบัติเหตุทางถนนเป็นสาเหตุ ของการสูญเสียปีสุขภาวะเป็นอันดับ 1 ทั้งเพศชาติและเพศหญิง(สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่าง ประเทศ,2558) สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดอุดรธานี ได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลการบาดเจ็บและ เสียชีวติ จากอุบัติเหตุทางถนนระดับจงั หวดั ภายในเขตสุขภาพท่ี 8 โดยมีวัตถปุ ระสงคใ์ นการชเี้ ป้าอาเภอเส่ียงใน การดาเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน(D-RTI) ในปีงบประมาณ 2562 ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูล การเสียชีวิตจากมรณบัตร ปีพ.ศ. 2557-2559 และข้อมูลการบาดเจ็บจากระบบรายงานแฟ้มสุขภาพ (43 แฟ้ม) ปีพ.ศ. 2558-2560 ผลการวิเคราะห์สถานการณ์บาดเจ็บและเสียชีวิตในเขตสุขภาพท่ี 8 พบว่า ค่ามัธยฐาน(Median)ระหว่างปี 2558-2560 เท่ากับ 88,481 คน โดยปี 2560 มีผู้บาดเจ็บ 94,887 คน ซ่ึงมี แนวโน้มของผู้ได้รับบาดเจ็บเพิ่มสูงข้ึนกว่าปี 2558 – 2559 คือ 81,303 และ 89,369 คนตามลาดับ และ ข้อมูลการเสยี ชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน พบวา่ มีค่ามัธยฐาน(Median)ระหว่างปี 2557-2559 เท่ากับ 854 คน โดยปี 2559 มีผู้เสียชีวิต 847 คน ซ่ึงมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยจากปี 2557 – 2558 คือ 1,091 และ 813 คน ตามลาดบั Package ต้นแบบการขบั เคล่อื นกลไกป้องกนั ควบคุมโรคและภยั สุขภาพ 1 เครอื ขา่ ยพฒั นาคุณภาพชวี ิตระดับอ�ำ เภอ สำ�นกั งานป้องกนั ควบคุมโรคที่ 8 จังหวดั อดุ รธานี ผลวิเคราะห์สถานการณ์บาดเจ็บและเสียชีวิตภายในเขตสุขภาพท่ี 8 สามารถชี้เป้าหมายอาเภอเสี่ยงเป็น
แนวโน้มของผู้ได้รับบาดเจ็บเพ่ิมสูงขึ้นกว่าปี 2558 – 2559 คือ 81,303 และ 89,369 คนตามลาดับ และ ขอ้ มูลการเสียชีวิตจากอุบัติเหตทุ างถนน พบวา่ มีค่ามัธยฐาน(Median)ระหว่างปี 2557-2559 เท่ากับ 854 คน โดยปี 2559 มีผู้เสียชีวิต 847 คน ซ่ึงมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยจากปี 2557 – 2558 คือ 1,091 และ 813 คน ตามลาดับ ผลวิเคราะห์สถานการณ์บาดเจ็บและเสียชีวิตภายในเขตสุขภาพที่ 8 สามารถช้ีเป้าหมายอาเภอเส่ียงเป็น 2 กลุ่ม คือ 1.อาเภอเสี่ยงสูงมาก(สีแดง) หมายถึง กลุ่มอาเภอที่มีจานวนผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บอยู่ในกลุ่ม ร้อยละ 25 อันดับแรกของอาเภอท้ังหมด 2.อาเภอเสี่ยงสูง (สีส้ม) หมายถึง กลุ่มอาเภอท่ีมีจานวนผู้เสียชีวิต หรือผู้บาดเจ็บ อย่างใดอย่างหนึ่งอยู่ในกลุ่มร้อยละ 25 อันดับแรกของอาเภอท้ังหมด โดยอาเภอเส่ียงภายใน เขตสุขภาพท่ี 8 ประกอบด้วยอาเภอเส่ียงสูงมาก(สีแดง)จานวน 8 อาเภอและอาเภอเส่ียงสูง(สีส้ม) จานวน 12 อาเภอ ดังรายละเอียดในตารางท่ี 1 และจานวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนระดับจังหวัด ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 2-8 ตารางท่ี 1 อาเภอเส่ียงสงู มากและอาเภอเส่ยี งสงู ในเขตสขุ ภาพที่ 8 จงั หวดั อาเภอ อาเภอเส่ยี ง นครพนม เมืองนครพนม อาเภอเส่ยี งสงู บึงกาฬ เมอื งบึงกาฬ อาเภอเสี่ยงสงู มาก เลย เมอื งเลย อาเภอเสีย่ งสงู มาก สกลนคร วงั สะพุง อาเภอเสย่ี งสูงมาก เมืองสกลนคร อาเภอเสย่ี งสูงมาก หนองคาย วานรนวิ าส อาเภอเสี่ยงสูง หนองบัวลาภู สว่างแดนดนิ อาเภอเสี่ยงสูง อากาศอานวย อาเภอเสี่ยงสูง อุดรธานี ทา่ บ่อ อาเภอเสี่ยงสงู เมอื งหนองคาย อาเภอเสย่ี งสงู มาก จงั หวดั นากลาง อาเภอเส่ียงสูง เมอื งหนองบวั ลาภู อาเภอเสี่ยงสูงมาก ศรบี ุญเรือง อาเภอเส่ยี งสงู กมุ ภวาปี อาเภอเสี่ยงสงู มาก บ้านดงุ อาเภอเสี่ยงสูง บา้ นผือ อาเภอเสี่ยง เพ็ญ อาเภอ อาเภอเสี่ยงอาเภอเสย่ี ง เมืองอดุ รธานี อาเภอเสย่ี งสงู มาก วงั สามหมอ อาเภอเสย่ี งสงู หนองหาน อาเภอเสย่ี งสูง 2 Package ตน้ แบบการขับเคลอื่ นกลไกป้องกนั ควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพ เครอื ขา่ ยพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ระดับอำ�เภอ สำ�นกั งานปอ้ งกนั ควบคุมโรคท่ี 8 จังหวดั อดุ รธานี
ตารางท่ี 2 การวิเคราะห์ขอ้ มลู และสถานการณ์การบาดเจบ็ และเสยี ชวี ิตจากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนจังหวดั อดุ รธ ขอ้ มลู การบาดเจ็บ 58-59 เขต จงั หวัด อาเภอ IPD+OPD IPD+OPD IPD+OPD Median สุขภาพ 58 59 60 OPD+IPD กุมภวาปี Package ตน้ แบบการขบั เคล่ือนกลไกป้องกันควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ 8 อดุ รธานี เมืองอุดรธานี 1356 2337 2278 58-60 บ 8 อุดรธานี 1592 1973 2000 2278 ส 3เครอื ขา่ ยพฒั นาคุณภาพชีวิตระดับอ�ำ เภอ ส�ำ นกั งานป้องกันควบคุมโรคท่ี 8 จงั หวดั อุดรธานี 8 อุดรธานี หนองหาน 2397 2403 2735 1973 8 อดุ รธานี เพ็ญ 1922 2334 2385 2403 8 อดุ รธานี 2260 2190 2638 2334 8 อุดรธานี บา้ นดงุ 2008 2110 2100 2260 8 อดุ รธานี บา้ นผือ 1030 1033 2100 8 อดุ รธานี วงั สามหมอ 968 1263 1317 1030 หนองววั ซอ 1290 1290 8 อุดรธานี นา้ โสม 1167 1246 1352 1246 8 อดุ รธานี 8 อุดรธานี กดุ จบั 900 1191 1164 1164 8 อดุ รธานี ไชยวาน 811 888 942 888 8 อุดรธานี โนนสะอาด 852 ศรีธาตุ 852 936 800 745 692 745 794
ธานี ข้อมูลการเสียชวี ติ 57-59 ผลการ วเิ คราะห์ แบ่งสี Dead Dead Dead Median แบง่ สี บ.กลาง อาเภอเส่ยี ง จานวน 2557 2558 2559 Dead 57- จานวน บาดเจบ็ เสียชวี ิต 529 อาเภอสแี ดง 24 16 22 59 2611 อาเภอสีแดง สีแดง 237 41 67 22 สแี ดง อาเภอสสี ม้ สีแดง 67 สแี ดง 289 อาเภอสสี ้ม สแี ดง 11 5 5 5 สีเหลือง 293 อาเภอสสี ้ม สแี ดง 12 12 20 12 สีสม้ 444 อาเภอสสี ม้ สีแดง 16 8 สีสม้ 325 อาเภอสสี ้ม สีแดง 6 8 10 สีสม้ 162 สสี ้ม 9 12 10 16 สีแดง 130 อาเภอสี สีสม้ 20 12 16 9 สีสม้ เหลือง 9 6 10 110 อาเภอสี สสี ม้ สีสม้ เหลือง 7 86 7 318 อาเภอสเี ขยี ว สสี ้ม สีเหลือง 85 อาเภอสเี ขยี ว สีส้ม 1 5 3 3 สเี หลอื ง อาเภอสีเขยี ว สสี ม้ 5 4 5 5 สเี ขียว 92 อาเภอสีเขยี ว สีเหลือง 2 สีเขยี ว 132 7 2 1 2 9 1 2
Package ต้นแบบการขบั เคลอ่ื นกลไกป้องกนั ควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพ ตารางท่ี 2 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถานการณก์ ารบาดเจ็บและเสยี ชวี ติ จากอุบัติเหตุทางถนนจงั หวัดอ 4 เครอื ขา่ ยพัฒนาคุณภาพชีวิตระดบั อำ�เภอ สำ�นักงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคที่ 8 จงั หวัดอุดรธานี ข้อมูลการบาดเจ็บ 58-59 เขต จังหวดั อาเภอ IPD+OPD IPD+OPD IPD+OPD Median สุขภาพ 58 59 60 OPD+IPD 58-60 8 อดุ รธานี หนองแสง 641 704 677 677 8 อุดรธานี นายงู 612 613 616 613 8 อดุ รธานี ทุง่ ฝน 509 638 584 584 8 อุดรธานี ก่แู กว้ 318 557 568 557 8 อดุ รธานี พิบูลยร์ กั ษ์ 518 530 506 518 8 อุดรธานี สรา้ งคอม 284 394 406 394 8 อดุ รธานี ประจักษ์ศลิ ปา 120 204 603 204 คม ตารางท่ี 3 การวเิ คราะห์ข้อมูลและสถานการณ์การบาดเจ็บและเสยี ชวี ิตจากอุบัติเหตทุ างถ ตารางที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถานการณก์ ารบาดเจ็บและเสียชวี ิตจากอบุ ัติเหตทุ างถ ข้อมูลการบาดเจบ็ 58-59 เขต จงั หวดั อาเภอ IPD+OPD ข้อมลู การบาดเจ็บ 58M-5e9dian สขุ เขภตาพ จงั หวัด อาเภอ IPD5+8OPD IPD+OPD IPD+OPD OMPeDd+iIaPnD สุขภาพ IPD5+9OPD IPD6+0OPD O5P8D-+6I0PD เมอื ง 58 5381-8690 หนอเงมบือวั งลาภู 59 60 หศนรอีบงุญบเัวรลือางภู 2741 13416829 8 หนองบัวลาภู 12579441 3189 3433 88 หหนนอองงบบัววั ลลาาภภู ู ศนรบีากุญลเารงอื ง 11158914 13416829 13349343 88 หหนนอองงบบัววั ลลาาภภู ู สวุ นรารกณลคาหู ง า 11210801 88 หหนนอองงบบวั ัวลลาาภภู ู สวุ โรนรนณสคงั ูหา 1825020 11446602 11539914 11446602 88 หหนนอองงบบัวัวลลาาภภู ู 384522 88 หหนนอองงบบัววั ลลาาภภู ู โนนานวสงั ัง 11145630 11353911 11240600 8 หนองบัวลาภู นาวัง 342 11012523 11131381 11022020 1309262 1511148 1309262 396 514 396
อุดรธานี (ตอ่ ) ข้อมูลการเสียชวี ิต 57-59 ผลการ วิเคราะห์ แบง่ สี Dead Dead Dead Median แบง่ สี บ.กลาง อาเภอเสีย่ ง จานวน 2557 2558 2559 Dead 57- จานวน บาดเจบ็ เสยี ชีวิต 85 อาเภอสเี ขยี ว สีเหลือง 4 5 0 59 สเี หลอื ง 151 อาเภอสีเขยี ว 2 3 3 4 สเี หลือง 119 อาเภอสีเขยี ว สีเหลอื ง 3 3 2 สเี หลอื ง 64 อาเภอสเี ขยี ว สเี หลือง 1 1 1 3 สเี ขียว 82 อาเภอสเี ขยี ว 0 0 0 3 สีเขยี ว 63 อาเภอสีเขยี ว สีเหลือง 3 0 0 สีเขยี ว 104 อาเภอสีเขยี ว สีเหลอื ง 2 2 4 1 สีเขียว สีเขียว 0 สีเขียว 0 แบง่ สี 2 จแาบนง่ วสนี เจสาียนชวีวนิต ถนนจังหวดั หนองบัวลาภู เสสยี แี ชดีวงิต ถนนจงั หวดั หนองบัวลาภู สสีแสี ด้มง ขอ้ มูลการเสียชวี ติ 57-59 สสสี สี ม้ ้ม ผลการ สีเสหสี ลม้ ือง วผเิ คลรกาาะรห์ แบง่ สี Dead DD225e15e1859a59a8d8dข้อมูลDD22ก5e25e28า56a56aร9d9dเสยี ชDวีDMMิตeeeaea55252dd8dd79696ii-a5a55n7n79-- สสเี ีเหหลลอื อื งง บ.กลาง อวาเิ ภคอราเสะ่ียหง์ จแาบนง่ วสนี D25e5a7d สสีเเี หหลลอื ืองง บ.กลาง อาเภอเสีย่ ง บจาาดนเวจน็บ 2557 181 58 181 สีเหลือง บสาแี ดดเจงบ็ 453 อาเภอสแี ดง 33 181 25 151 249543 ออาาเเภภออสสแี สี ด้มง สสแี แี ดดงง 383 126984 ออาาเเภภออสสสี สี ม้ ม้ สสีแีแดดงง 183 58 52 55 111618 ออาเาภเภออสสเี ขสี ยี ้มว สสแี ีสด้มง 153 17141 ออาาเเภภออสสเี ีเขขยี ยี วว สสีสีส้มม้ 55 75 35 35 7754 ออาาเเภภออสสีเเี ขขยี ยี วว สสีเขสี ีย้มว 05 อาเภอสีเขยี ว สเี ขยี ว 0 73 3 75
ตารางที่ 4 การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถานการณก์ ารบาดเจบ็ และเสียชีวิตจากอบุ ตั ิเหตุทางถนนจงั หวดั ส ข้อมลู การบาดเจบ็ 58-59 เขต จังหวดั อาเภอ IPD+OPD IPD+OPD IPD+OPD Median สุขภาพ 58 59 60 OPD+IPD สกลนคร เมืองสกลนคร 8 สกลนคร สว่างแดนดนิ 4935 5453 4822 58-60 8 สกลนคร 2605 2733 2895 4935 8 สกลนคร วานรนวิ าส 1302 1435 1693 8 อากาศอานวย 1008 1191 1184 2733 1435 1184 8 สกลนคร พงั โคน 1202 1265 1401 1265 8 สกลนคร บา้ นมว่ ง 1076 1154 1190 1154 8 สกลนคร พรรณานคิ ม 872 758 664 758 Package ตน้ แบบการขบั เคล่ือนกลไกป้องกันควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ ตาร8างท่ี 4 กสากรลวเินคครราะห์ข้อมลู วแาลระชิ สภถูมาิ นการณก์ า7รบ89าดเจบ็ และ7เส1ีย2ชีวติ จากอบุ72ตั 4ิเหตทุ างถนน72จ4งั หวดั ส 8 สกลนคร เจรญิ ศิลป์ 688 699 718 699 5เครอื ขา่ ยพฒั นาคุณภาพชีวิตระดับอ�ำ เภอ ส�ำ นกั งานป้องกันควบคุมโรคท่ี 8 จงั หวดั อุดรธานี 8 สกลนคร คาตากลา้ 660 640 695 660 8 สกลนคร โคกศรสี ุพรรณ 540 583ข้อมลู การ5บ4า7ดเจ็บ 58-55947 สุขเขภ88ตาพ สจกงั ลหนวคัดร IPD444+55688O275PD 8 สกลนคร สอ่อางเดภาอว IPD544+58569O539PD IPD444+69890O220PD Me4d90ian สกลนคร กุดบาก OP4D8+7IPD ภูพาน 5488-620 8 สกลนคร กุสุมาลย์ 401 447 457 447 8 สกลนคร เตา่ งอย 306 392 406 392 8 สกลนคร โพนนาแก้ว 330 380 360 360 8 สกลนคร นคิ มน้าอนู 197 181 203 197
สกลนคร ข้อมลู การเสยี ชีวติ 57-59 ผลการ วิเคราะห์ แบ่งสี Dead Dead Dead Median แบ่งสี บ.กลาง อาเภอเส่ียง จานวน 2557 2558 2559 Dead 57- จานวน บาดเจบ็ เสยี ชีวติ 916 อาเภอสแี ดง 145 165 162 59 464 อาเภอสสี ม้ สแี ดง 21 12 12 162 สแี ดง 237 อาเภอสสี ้ม 11 12 13 สสี ม้ 177 อาเภอสสี ้ม สีแดง 14 17 18 12 สสี ม้ สแี ดง 12 สีแดง 210 อาเภอสี 186 เหลือง สสี ้ม 17 สีส้ม 193 อาเภอสเี ขยี ว 155 อาเภอสเี ขยี ว สสี ้ม 6 10 7 7 สเี หลือง 115 อาเภอสเี ขยี ว สีสม้ 171 อาเภอสเี ขยี ว สสี ้ม 13 46 6 86 อาเภอสีเขยี ว สีเหลือง บ.ก5ล8าง อาเผภลอกสาีเรขยี ว สเี หลอื ง 9 6 10 9 สเี หลอื ง 63 อาวเเิ ภคอรสาเีะขหยี ์ ว สีเหลอื ง 83 ออาาเเภภออสเีเสข่ยี ยี งว สกลนสีเคหรลือง 6 92 6 สีเหลอื ง 111 อาเภอสีเขยี ว สแเี หบลง่ ือสงี 96 อาเภอสีเขยี ว สีเหลอื ง(ตอ่ ) 5 16 5 สจเี าหนลวอื นง 69 อาเภอสเี ขยี ว เสสียเขชียวี วิต 45 อาเภอสเี ขยี ว สีเหลือง 8 66 6 สเี ขยี ว อาเภอสีเขยี ว 1 ขอ้ มูลกา6รเสียชวี ติ 567-59 สเี หลอื ง สีเหลือง 6 สเี หลอื ง สเี ขียว สแีเหบล่งือสงี D25e1425a7d D25e5235a8d D25e3115a9d Med3 ian สจีเาหนลวอื นง Dead4 57- บสาเี ดขเียจวบ็ 529 สีเขียว 3 12 2 สีเขียว 4 43 4 สเี ขยี ว 1 33 3 สเี ขียว 2 42 2
Package ต้นแบบการขบั เคลอ่ื นกลไกป้องกนั ควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพ ตารางที่ 5 การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถานการณก์ ารบาดเจบ็ และเสยี ชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนจงั หวดั น 6 เครอื ขา่ ยพัฒนาคุณภาพชีวิตระดบั อำ�เภอ สำ�นักงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคที่ 8 จงั หวัดอุดรธานี ขอ้ มลู การบาดเจ็บ 58-59 เขต จงั หวดั อาเภอ IPD+OPD IPD+OPD IPD+OPD Median สุขภาพ 58 59 60 OPD+IPD เมอื งนครพนม 8 นครพนม 894 1031 1005 58-60 ธาตพุ นม 8 นครพนม 1039 1005 นาแก 1095 8 นครพนม ศรีสงคราม 953 1274 1003 1039 8 นครพนม 661 1062 1132 8 นครพนม เรณนู คร 608 1068 1173 1095 8 นครพนม โพนสวรรค์ 647 637 671 1068 8 นครพนม 611 668 658 661 8 นครพนม ทา่ อเุ ทน 396 621 609 658 8 นครพนม นาหวา้ 479 635 601 621 8 นครพนม ปลาปาก 355 528 501 611 8 นครพนม บ้านแพง 501 615 501 8 นครพนม นาทม 37 378 375 501 วงั ยาง 148 230 375 148
นครพนม ขอ้ มูลการเสยี ชีวิต 57-59 ผลการ วิเคราะห์ แบ่งสี Dead Dead Dead Median แบง่ สี บ.กลาง อาเภอเส่ยี ง จานวน 2557 2558 2559 Dead 57- จานวน บาดเจบ็ เสยี ชีวติ 543 อาเภอสสี ม้ 44 47 41 59 อาเภอสี สีส้ม สีแดง 151 เหลือง 10 44 146 สสี ม้ 6 สสี ม้ 103 อาเภอสเี ขยี ว 3 9 18 10 136 อาเภอสีเขยี ว สสี ้ม 2 12 6 สเี หลอื ง 142 อาเภอสเี ขยี ว สีสม้ 5 44 6 สีเหลอื ง 148 อาเภอสเี ขยี ว สเี หลือง 10 31 4 สีเขยี ว 87 อาเภอสีเขยี ว สเี หลือง 7 42 2 สเี หลอื ง 67 อาเภอสีเขยี ว สีเหลือง 2 87 4 46 อาเภอสีเขยี ว สีเหลอื ง 12 34 8 สีสม้ 74 อาเภอสีเขยี ว สเี หลอื ง 0 32 4 สีเหลอื ง 33 อาเภอสีเขยี ว สีเหลือง 1 64 2 สเี ขียว อาเภอสเี ขยี ว สีเขียว 32 6 สเี หลอื ง สเี ขียว 10 2 สเี ขียว 1 สเี ขียว
ตารางที่ 6 การวิเคราะหข์ อ้ มลู และสถานการณก์ ารบาดเจ็บและเสียชวี ิตจากอุบัติเหตุทางถนนจงั หวัดเล ข้อมูลการบาดเจบ็ 58-59 Package ตน้ แบบการขบั เคล่ือนกลไกป้องกันควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ เขต จงั หวัด อาเภอ IPD+OPD IPD+OPD IPD+OPD Median สขุ ภาพ 58 59 60 OPD+IPD 7เครอื ขา่ ยพฒั นาคุณภาพชีวิตระดับอ�ำ เภอ ส�ำ นกั งานป้องกันควบคุมโรคท่ี 8 จงั หวดั อุดรธานี เลย เมอื งเลย 8 เลย วงั สะพงุ 4687 4667 4910 58-60 8 เลย เชยี งคาน 1454 1520 1812 4687 8 เลย ดา่ นซ้าย 1231 1212 1206 1520 8 เลย ปากชม 710 771 811 1212 8 เลย ผาขาว 723 774 766 771 8 เลย เอราวณั 526 605 680 766 8 เลย นาด้วง 517 548 740 605 8 เลย ภูกระดงึ 490 468 565 548 8 เลย 453 484 504 490 8 เลย ท่าลี่ 464 469 612 484 8 เลย หนองหนิ 465 472 459 469 8 เลย 322 434 494 465 8 เลย ภเู รือ 337 411 474 434 8 ภหู ลวง 198 240 183 411 นาแหว้ 198
ลย ขอ้ มูลการเสยี ชวี ติ 57-59 ผลการ วิเคราะห์ แบง่ สี Dead Dead Dead Median แบ่งสี บ.กลาง อาเภอเส่ียง จานวน 2557 2558 2559 Dead 57- จานวน บาดเจ็บ เสียชีวิต 589 อาเภอสแี ดง 52 62 83 59 380 อาเภอสแี ดง สแี ดง 21 26 27 62 สแี ดง 164 อาเภอสีเขยี ว สแี ดง 8 3 1 26 สีแดง 145 อาเภอสีเขยี ว สีสม้ 5 4 3 3 สเี หลือง 103 อาเภอสีเขยี ว สีเหลอื ง 4 2 4 4 สเี หลอื ง 115 อาเภอสเี ขยี ว สีเหลอื ง 8 3 5 4 สเี หลอื ง 78 อาเภอสเี ขยี ว สเี หลอื ง 4 2 1 5 สเี หลือง 55 อาเภอสเี ขยี ว สเี หลือง 3 0 3 2 สีเขยี ว 46 อาเภอสีเขยี ว สเี หลอื ง 6 7 3 3 สีเหลอื ง 68 อาเภอสเี ขยี ว สีเขียว 1 0 3 6 สเี หลือง 86 อาเภอสเี ขยี ว สีเขียว 0 8 2 1 สีเขยี ว 74 อาเภอสีเขยี ว สีเขยี ว 7 8 3 2 สีเขยี ว 85 อาเภอสีเขยี ว สเี ขียว 1 0 1 7 สีสม้ 36 อาเภอสีเขยี ว สเี ขียว 1 0 1 1 สเี ขียว สีเขียว 1 สเี ขียว
Package ต้นแบบการขบั เคลอ่ื นกลไกป้องกนั ควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพ ตารางท่ี 7 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถานการณ์การบาดเจบ็ และเสยี ชวี ิตจากอบุ ตั เิ หตุทางถนนจังหวดั บงึ 8 เครอื ขา่ ยพัฒนาคุณภาพชีวิตระดบั อำ�เภอ สำ�นักงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคที่ 8 จงั หวัดอุดรธานี ขอ้ มูลการบาดเจบ็ 58-59 เขต จังหวัด อาเภอ IPD+OPD IPD+OPD IPD+OPD Median สขุ ภาพ 58 59 60 OPD+IPD บึงกาฬ เมอื งบงึ กาฬ 8 2009 2057 2350 58-60 บึงกาฬ ปากคาด 8 1058 2057 บงึ กาฬ พรเจรญิ 938 8 บงึ กาฬ เซกา 835 1081 1162 1081 8 บึงกาฬ 664 945 1173 8 บงึ กาฬ โซ่พสิ ยั 610 911 1186 945 8 บึงกาฬ ศรวี ไิ ล 503 887 979 911 8 บึงกาฬ บึงโขงหลง 241 754 851 887 8 บงุ่ คล้า 565 602 754 246 318 565 246
งกาฬ ขอ้ มูลการเสยี ชวี ิต 57-59 ผลการ วเิ คราะห์ แบ่งสี Dead Dead Dead Median แบ่งสี บ.กลาง อาเภอเส่ียง จานวน 2557 2558 2559 Dead 57- จานวน บาดเจบ็ เสียชวี ติ 287 อาเภอสีแดง 21 7 14 59 อาเภอสี สแี ดง สแี ดง 45 เหลือง สสี ม้ 4 14 94 สสี ม้ 8 สสี ้ม 174 อาเภอสเี ขยี ว สีสม้ 6 11 7 7 140 อาเภอสีเขยี ว สสี ้ม 4 35 สเี หลอื ง 151 อาเภอสีเขยี ว สเี หลอื ง 15 5 10 5 สเี หลือง 96 อาเภอสีเขยี ว สีเหลอื ง 7 6 11 6 สีเหลอื ง 42 อาเภอสีเขยี ว สีเขียว 1 76 6 อาเภอสีเขยี ว 00 7 สีสม้ 11 0 สีเขยี ว 1 สเี ขยี ว
ตารางที่ 8 การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถานการณ์การบาดเจ็บและเสยี ชีวติ จากอบุ ตั ิเหตทุ างถนนจังหวดั หน ขอ้ มลู การบาดเจบ็ 58-59 เขต จงั หวัด อาเภอ IPD+OPD IPD+OPD IPD+OPD Median สุขภาพ 58 59 60 OPD+IPD เมืองหนองคาย 8 หนองคาย ทา่ บ่อ 2378 3110 3982 58-60 8 หนองคาย 1342 1184 1313 โพนพิสัย 3110 8 หนองคาย 930 ศรเี ชยี งใหม่ 542 1313 8 หนองคาย สังคม 452 Package ตน้ แบบการขบั เคล่ือนกลไกป้องกันควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ 8 หนองคาย 408 1341 1249 1249 8 หนองคาย สระใคร 378 600 556 9เครอื ขา่ ยพฒั นาคุณภาพชีวิตระดับอ�ำ เภอ ส�ำ นกั งานป้องกันควบคุมโรคท่ี 8 จงั หวดั อุดรธานี 8 หนองคาย รตั นวาปี 95 412 467 556 8 หนองคาย 126 354 460 452 8 หนองคาย เฝ้าไร่ 329 363 408 โพธิต์ าก 297 629 363 170 156 297 156
นองคาย ข้อมลู การเสียชีวติ 57-59 ผลการ วิเคราะห์ แบง่ สี Dead Dead Dead Median แบง่ สี บ.กลาง อาเภอเสยี่ ง จานวน 2557 2558 2559 Dead 57- จานวน บาดเจบ็ เสียชีวิต 669 อาเภอสีแดง 48 49 35 59 155 อาเภอสสี ้ม สแี ดง 17 14 8 สแี ดง สสี ้ม 48 สีแดง 246 อาเภอสี 17 87 เหลอื ง สสี ้ม 0 14 สสี ้ม 38 อาเภอสีเขยี ว 9 54 อาเภอสีเขยี ว สีเหลอื ง 1 99 9 สีเขยี ว 48 อาเภอสเี ขยี ว สเี ขยี ว 0 25 สีเหลือง 79 อาเภอสเี ขยี ว สเี ขยี ว 2 25 2 สเี ขียว 20 อาเภอสีเขยี ว สีเขยี ว 1 01 5 สเี ขยี ว อาเภอสเี ขยี ว สเี ขยี ว 02 1 สเี ขยี ว สีเขียว 20 0 สเี ขยี ว 00 2 0
การวิเคราะหส์ ถานการณเ์ พอื่ จัดทาข้อมูล สถานการณ์การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในเขตสุขภาพที่ 8 ในปี 2560 ระหว่าง วันที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม โดยวิเคราะห์จากฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการผูบาดเจ็บและ เสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุ โดยสานักสาธารณสุขฉุกเฉิน กระทรวงสาธารณสุข มดี ังน้ี ข้อมูลการบาดเจ็บและเสียชีวิตในปีพ.ศ.2560 พบว่าเขตสุขภาพที่ 8 มีจานวนผู้เสียชีวิตท้ังส้ิน 1,005 ราย และมีผู้บาดเจ็บ 55,223 ราย โดยจังหวัดมีการจานวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตมากท่ีสุดได้แก่ จงั หวดั อดุ รธานี เสยี ชีวิต 491 ราย และบาดเจ็บ 21,360 ราย รายละเอียดดงั ตารางที่91 ตารางท่ี 9 ขอ้ มูลการบาดเจบ็ และเสียชวี ิตเขตสุขภาพที่ 8 จังหวดั บาดเจ็บ เสียชวี ิต รวม นครพนม 6,432 119 6,551 สกลนคร 9,254 128 9,382 เลย 3,680 66 3,746 หนองบวั ลาภู 5,648 75 5,723 อดุ รธานี 21,360 491 21,851 บึงกาฬ 2,070 37 2,107 หนองคาย 6,779 89 6,868 เขต 8 55,223 1,005 56,228 ขอ้ มลู การประสบอุบัตเิ หตุโดยมีสาเหตุจากการดื่มแอลกอฮอล์ในปีพ.ศ.2560 พบวา่ เขตสุขภาพที่ 8 มี การด่ืมแอลกอฮอล์จานวน 12,344 ราย ไม่ด่ืมจานวน 41,830 ราย ไม่ทราบข้อมูล จานวน 2,054 ราย โดย จังหวดั ทม่ี ีการดื่มแอลกอฮอลม์ ากท่สี ุดคอื จังหวดั อดุ รธานี จานวน 4,481 ราย ราย รายละเอียดดงั ตารางที่120 ตารางท่ี 10 ขอ้ มูลสาเหตกุ ารเกิดอบุ ตั ิเหตุจากการดม่ื แอลกอฮอล์ของเขตสุขภาพท่ี 8 จงั หวัด ไมใ่ ช้ ใช้ ไมท่ ราบ รวม นครพนม 4,546 1,583 422 6,551 สกลนคร 6,841 2,344 197 9,382 เลย 2,705 777 264 3,746 หนองบวั ลาภู 4,293 1,289 141 5,723 อดุ รธานี 16,796 4,481 574 21,851 บึงกาฬ 1,663 406 38 2,107 หนองคาย 4,986 1,464 418 6,868 เขต 8 41,830 12,344 2,054 56,228 10 Package ต้นแบบการขบั เคล่ือนกลไกป้องกันควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพ เครือขา่ ยพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ระดับอำ�เภอ สำ�นกั งานปอ้ งกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวดั อดุ รธานี
ข้อมูลประเภทยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุในปีพ.ศ.2560 พบว่าเขตสุขภาพที่ 8 มียานพาหนะที่เกิด อุบัติเหตุสูงสุด คือ รถจักรยานยนต์ จานวน 40,953 คร้ัง รองลงมาเป็นรถปิคอัพ/รถตู้, รถจักรยาน, ไม่มี/ ลม้ เอง จานวน 2,874, 2,750 และ 1,477 คร้ังตามลาดบั รายละเอียดดงั ตารางท1่ี 31 ตารางท่ี 11 ข้อมูลประเภทยานพาหนะที่เกดิ อบุ ัตเิ หตขุ องเขตสุขภาพที่ 8 ประเภทยานพาหนะ นครพนม สกลนคร เลย หนองบวั ลาภู อุดรธานี บงึ กาฬ หนองคาย เขต 8 ไม่ม/ี ล้มเอง 132 193 190 143 629 49 141 1477 รถจกั รยาน 894 97 438 2750 จกั รยานยนต์ 426 525 150 220 18,100 1,741 5,680 40953 สามลอ้ เครื่อง 452 29 120 881 รถเกง๋ /เท็กซี่ 4 7,672 2,956 4,800 381 33 136 1001 ปิคอัพ/รถตู้ 1,020 135 268 2874 รถโดยสาร 64 129 21 66 88 2 9 162 รถบรรทุก 79 4 15 192 รถบสั /รถทัวร์/รถไฟ 126 161 78 86 44 5 81 อน่ื ๆ 157 17 49 466 ไม่ทราบ 331 554 272 294 7 6 22 รวม 21,851 2,107 6,868 56228 4 14 5 40 19 33 20 22 5 27 62 71 58 52 5 31 6,551 9,382 3,746 5,723 ข้อมูลช่วงเวลาเกิดอุบัติเหตุในปีพ.ศ.2560 พบว่าเขตสุขภาพท่ี 8 มีช่วงเวลาการเกิดอุบัติเหตุสูงสุดอยู่ในช่วง ระหว่างเวลา 17.00 – 20.00 น. ซึ่งค่อนขา้ งสอดคลอ้ งกับช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงที่เลิกเรียนหรือเลิกทางาน เพือ่ เดนิ ทางกลบั บ้าน ทาให้เกดิ ความเสีย่ งต่อการเกิดอุบัติเหตทุ างถนนมากทส่ี ดุ รายละเอียดดงั แผนภาพที่14 2000 นครพนม 1800 สกล 1600 เลย 1400 หนองบวั ลำภู 1200 อดุ รธำนี 1000 บงึ กำฬ หนองคำย 800 เขต 600 400 200 0 00:00 - 00:59 01:00 - 01:59 02:00 - 02:59 03:00 - 03:59 04:00 - 04:59 05:00 - 05:59 06:00 - 06:59 07:00 - 07:59 08:00 - 08:59 09:00 - 09:59 10:00 - 10:59 11:00 - 11:59 12:00 - 12:59 13:00 - 13:59 14:00 - 14:59 15:00 - 15:59 16:00 - 16:59 17:00 - 17:59 18:00 - 18:59 19:00 - 19:59 20:00 - 20:59 21:00 - 21:59 22:00 - 22:59 23:00 - 23:59 ภาพท่ี 1 ข้อมูลช่วงเวลาเกิดอุบัตเิ หตุของเขตสุขภาพท่ี 8 ปจั จัยกาหนดโรค (Determinants) 11 ปัจจยั ท่ที าให้เกิดอุบตั ิเหตทุ างถนนทีส่ าคัญในพนื้ ทเ่ี ขตสขุ ภาเพครทอื ข่ี่า8ยพฒัจนาากคณุ กPภaาาcพรkชaววีgิตeิเรคตะดน้รบัแาอบะ�ำบเกภหาอรข์ ขสับ�ำ้อนเคมักลงูอื่ลานนปกล้อไงกกปัน้อคงวกบนั คคมุ วโบรคคทมุ ่ีโ8รคจแังลหะวภดั ยั อสดุ ขุ รภธาาพนี สถานการณป์ ัญหาในข้างตน้ พบว่า
00: 01: 02: 03: 04: 05: 06: 07: 08: 09: 10: 11: 12: 13: 14: 15: 16: 17: 18: 19: 20: 21: 22: 23: ภาพท่ี 1 ข้อมลู ช่วงเวลาเกดิ อุบตั เิ หตุของเขตสุขภาพท่ี 8 ปัจจัยกาหนดโรค (Determinants) ปจั จัยท่ที าให้เกิดอบุ ัติเหตทุ างถนนที่สาคัญในพื้นทเี่ ขตสขุ ภาพท่ี 8 จากการวิเคราะหข์ ้อมูล สถานการณป์ ัญหาในขา้ งต้น พบวา่ -Host ไดแ้ ก่ บุคคลทีม่ ีความเส่ยี งสูงสุดตอ่ การเกิดอบุ ตั ิเหตุ คือ วัยรุ่นเพศชาย อายุ 15-19 ปี และมี พฤติกรรมเสย่ี ง ได้แก่ ขับรถเรว็ ดม่ื สรุ า ไมค่ าดเขม็ ขดั นิรภัยหรอื ไม่สวมหมวกกนั น๊อก -Agent ไดแ้ ก่ รถจักรยานยนต์เน่ืองจากเปน็ พาหนะที่มคี วามนยิ มอย่างแพรห่ ลายในประเทศไทย และไม่มกี ารบังคบั ใช้กฎหมายอย่างจรงิ จัง เช่น การออกใบอนุญาตขบั ข่ี การสวมหมวกกันนอ๊ ก เป็นตน้ -Environment ได้แก่ สภาพถนนท่ีไม่ปลอดภยั เช่น มีหลุมบนถนน ออกแบบโคง้ ไม่รับการความเร็ว ของรถ ทศั นวสิ ัยการขบั ขี่ไมด่ ี ฯลฯ นอกจากนย้ี ังไม่สภาพแวดลอ้ มหรือสภาพสังคมที่เอื้อตอ่ การเกดิ อุบัติเหตุ เชน่ การขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โปรโมช่นั การขายรถ เป็นตน้ กระบวนการแกไ้ ขปัญหา การป้องกันการบาดเจบ็ จากการจราจรทางถนนในเขตเมือง เป็นการดาเนนิ งานโดยมวี ัตถุประสงค์ใน การปอ้ งกันการบาดเจบ็ และเสียชวี ิตจากการจราจรทางถนนทเี่ หมาะสมกบั บริบทของพื้นท่ีเขตชมุ ชนเมือง เช่น เทศบาลเมือง เทศบาลนคร โดยมุ่งให้ท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทและเป็นผู้นาด้านการจัดการปัญหาการบาดเจ็บ จากการจราจรในพ้ืนที่ ซ่ึงจาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานทุกระดับเพ่ือให้เกิดการบูรณาการ จากทีมสหสาขาและการมีส่วนร่วมของหน่วยงานท้องถ่ินและชุมชนร่วมกันสร้างมาตรการแก้ไขปัญหาอย่าง จรงิ จัง และการใช้เทคโนโลยมี าชว่ ยในการจัดการปัญหาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ไดแ้ ก่ 1. การจดั การขอ้ มลู อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2. การสอบสวนการบาดเจบ็ เพอ่ื แก้ไขความเสี่ยง 3. การสร้างมาตรการแก้ไขปญั หาทีต่ รงจุดและมีส่วนระหว่างภาครัฐและชุมชน 4. การกาหนดเปา้ หมายและพืน้ ทค่ี วามคมุ พเิ ศษ (Traffic Safety Zones) 5. ประเมนิ ผลอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ศปถ.อปท เทคโนโลยี CCTV รวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูลอุบตั เิ หตุในพืน้ ท่ี ขอ้ มลู การบาดเจ็บและ เสียชีวิต กาหนดประเด็นปญั หาและกจิ กรรมแก้ไข 12 Package ต้นแบบการขับเคลื่อนกลไกปอ้ งกนั ควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ การสอบสวนเหต/ุ Collision Diagram เครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพชวี ติ ระดับอ�ำ เภอ สำ�นักงานปอ้ งกนั ควบคุมโรคที่ 8 จังหวดั อุดรธานี แก้ไขจุดเสี่ยง/จุดอันตราย
4. การกาหนดเป้าหมายและพ้ืนท่ีความคมุ พิเศษ (Traffic Safety Zones) 5. ประเมนิ ผลอย่างต่อเนอ่ื ง ศปถ.อปท เทคโนโลยี CCTV รวบรวมและวเิ คราะหข์ ้อมลู อุบตั เิ หตใุ นพ้นื ที่ กาหนดประเด็นปญั หาและกิจกรรมแก้ไข ขอ้ มูลการบาดเจ็บและ เสียชีวิต การสอบสวนเหตุ/ Collision Diagram แก้ไขจุดเส่ยี ง/จดุ อันตราย สร้างพ้ืนท่ี Traffic Safety Zones การติดตามประเมินผลอยา่ งต่อเนอื่ ง ภาพที่ 2 กระบวนการแกไ้ ขปญั หาบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน เคร่อื งมือทเี่ ปน็ ประโยชนใ์ นการสนบั สนุนงาน แหล่งคู่มือ/องค์ความรู้ ตารางท่ี 12 คมู่ ือและองคค์ วามรทู้ ส่ี นบั สนุนงาน http://www.thaincd.com/2016/media- detail.php?id=12681&tid=34&gid=1- ท่ี คู่มอื /องค์ความรู้ 015-001 1 การป้องกนั การบาดเจบ็ จากการจราจรในเมืองใหญ่ http://www.thaincd.com/2016/media- City RTI detail.php?id=12985&tid=34&gid=1- 015-005 2 แนวทางการดาเนนิ งานและการประเมนิ การป้องกัน การบาดเจ็บจากอบุ ัติเหตุทางถนนระดบั อาเภอ D-RTI : District Road Traffic Injury ตารางที่ 13 หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ทอี่ ยตู่ ดิ ต่อ 13 ท่อี ยู่ เลขท่ี 88/21 อาคาร 10 ช้นั 5 ตึกPackage ตน้ แบบการขับเคล่ือนกลไกปอ้ งกนั ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ท่ี หนว่ ยงาน เครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตระดบั อำ�เภอ ส�ำ นกั งานป้องกนั ควบคุมโรคที่ 8 จงั หวัดอดุ รธานี 1 สานักโรคไม่ติดตอ่ กรมควบคุมโรค กรมควบคุมโรค ถนนติวานนท์ อ.เมือง จ.
2 แนวทางการดาเนินงานและการประเมินการป้องกัน http://www.thaincd.com/2016/media- การบาดเจบ็ จากอุบัตเิ หตุทางถนนระดับอาเภอ D-RTI detail.php?id=12985&tid=34&gid=1- : District Road Traffic Injury 015-005 ตารางท่ี 13 หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วข้อง ทอี่ ยูต่ ดิ ต่อ ที่ หนว่ ยงาน ทีอ่ ยู่ เลขที่ 88/21 อาคาร 10 ช้ัน 5 ตึก 1 สานกั โรคไม่ติดตอ่ กรมควบคุมโรค กรมควบคุมโรค ถนนตวิ านนท์ อ.เมือง จ. นนทบรุ ี 11000 2 ศูนยว์ ิชาการเพ่ือความปลอดภยั ทางถนน มลู นิธิ โทร : 0 2590 3867 นโยบายถนนปลอดภัย โทรสาร : 0 2590 3893 Website : http://www.thaincd.com/ 3 สานกั อานวยความปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท ทอี่ ยู่ เลขท่ี 1 ห้อง 407-408 ชนั้ 4 อาคาร พรอ้ มพันธุ์ 2 ซอยลาดพรา้ ว 3 ถนน ลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร: 0 2938 8490 โทรสาร: 0 2938 8827 Website : http://www.roadsafetythai.org อเี มล : [email protected] ทีอ่ ยู่ ชนั้ 7 อาคาร 4 เลขที่ 9 ถนน พหลโยธนิ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทร : 0 2551 5300 โทรสาร: 0 2551 5301 Website : http://trafficsafety.drr.go.th 14 Package ตน้ แบบการขบั เคลือ่ นกลไกป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เครอื ข่ายพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ระดับอำ�เภอ ส�ำ นักงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคท่ี 8 จงั หวัดอุดรธานี
แหลง่ ทรพั ยากรที่ช่วยสนับสนุนงาน แหล่งข้อมูล ได้จากการรวบรวมข้อมูลของหน่วยงานอ่ืนๆ เช่น กระทรวงสาธารณสุข บริษัทกลางคุ้มครอง ผู้ประสบภัยจากรถ ฯลฯ ซึ่งในแตล่ ะฐานข้อมลู จะมจี ุดเดน่ และข้อจากดั ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดงั นี้ 1. โปรแกรม PHER Accident มีการบันทึกข้อมูลการเข้ารับการรักษาจากอุบัติเหตุทางถนนใน สถานพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุขท่ัวประเทศทั้งในช่วงปกติและช่วงเทศกาลปีใหม่ สงกรานต์ (http://ict-pher.moph.go.th) 2. โปรแกรม IS Online เป็นการบันทึกข้อมูลการบาดเจ็บและเสียชีวิตท่ีเข้ารับรักษาตัวจาก การบาดเจ็บในโรงพยาบาล ซ่ึงสามารถนามาวิเคราะห์ความรุนแรงของอุบัติเหตุทางถนนท่ีเกิด ขนึ้ ได้ เช่น การบาดเจ็บศรี ษะ (Head Injury) (http://ae.moph.go.th) 3. ข้อมลู 3 ฐาน เป็นการรวบรวมและวิเคราะหจ์ านวนสรุปการเสยี ชีวิตในพ้ืนที่ โดยใช้ข้อมูลจาก กระทรวงสาธารณสขุ (การเสียชวี ติ ในโรงพยาบาล) บริษัทกลางฯ(การเครมประกัน)และตารวจ (การดาเนนิ คด)ี (http://rti.ddc.moph.go.th/RTDDI/modules/Report/Report11.aspx) 4. ข้อมูลอื่นๆ เช่น ศนู ย์ข้อมูลอุบัตเิ หตุ (www.thairsc.com) ระบบรายงานอุบตั ิเหตุทางถนนโดย หน่วยกชู้ พี กู้ภยั (http://geo-items.niems.go.th) เป็นต้น แหล่งงบประมาณในการสนบั สนนุ การดาเนนิ งาน 1. สานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) 2. กองทุนสขุ ภาพท้องถ่นิ (เทศบาล/อบต.) สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ กลมุ่ โรคไม่ตดิ ต่อ สานักงานป้องกันควบคมุ โรคที่ 8 จงั หวดั อดุ รธานี @Contact us 042 – 295 717 กลมุ่ โรคไม่ตดิ ตอ่ สคร.8 อดุ รธานี 15Package ต้นแบบการขับเคล่อื นกลไกปอ้ งกนั ควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพ เครอื ขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ระดบั อำ�เภอ สำ�นกั งานปอ้ งกันควบคมุ โรคท่ี 8 จังหวัดอดุ รธานี
โรคพิษจากสารเคมีกาจดั ศตั รูพืช ขอ้ มูลสถานการณแ์ ละสภาพปัญหา โรคพิษสารกาจัดศัตรูพืช คือ โรคท่ีเกิดจากการได้รับสัมผัสสารป้องกันกาจัดศัตรูพืช เข้าสู่ร่างกาย ท้ังทางปาก ผิวหนงั และการหายใจ ส่วนใหญ่เกดิ ในกลุ่มเกษตรกรทีม่ กี ารใช้สารเคมกี าจัดศัตรูพชื การรบั สมั ผสั และผลกระทบตอ่ สุขภาพทีเ่ กิดจากสารเคมีกาจดั ศตั รพู ืช สารเคมีกาจัดศตั รูพืช เข้าสรู่ ่างกายได้ 3 ทาง คือ 1) ทางผิวหนัง สารเคมีกาจัดศัตรูพืชจะเขาสูรางกายผานทางผิวหนังโดยตรง เชน ก่อนฉีดพ่นสัมผัส ได้จากการผสมสารโดยไม่ใช้ถุงมือขณะฉีดพ่นสัมผัสจากการถูกละอองสารและเสื้อผ าที่เปยกชุมดวยสารเคมี กาจัดศัตรูพืช หลังฉีดพ่นสามารถสัมผัสสารเคมีกาจัดศัตรูพืชได้จากการเก็บเก่ียวผลผลิตที่มีสารปนเป้ือนอยู่ โดยไม่ใส่ถุงมอื เปน็ ต้น 2) ทางการหายใจ เกษตรกรทฉ่ี ีดพนสารเคมีกาจัดศัตรูพชื หรือผูคนท่ีอยูใกลกับพนื้ ท่ีฉีดพนจะไดรับ สารเคมีกาจัดศตั รพู ชื ผานทางการหายใจได 3) ทางปาก เกิดข้นึ ได้โดยบงั เอิญ เช่น การใช้มือท่ีปนเป้ือนสารเคมหี ยบิ จบั อาหารหรอื ด่ืมเครื่องด่มื ทป่ี นเปื้อนสารเคมีกาจัดศัตรูพชื เข้าไป เป็นต้น หรือ การกิน ด่มื โดยเจตนา ผลกระทบต่อสุขภาพจากการสมั ผัสสารเคมีกาจดั ศตั รพู ืช แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน คอื 1) พิษเฉียบพลัน ผู้ป่วยจะมีอาการแสดงในทันทีหลังจากที่มีการสัมผัสสารเคมีกาจัดศัตรูพืช เช่น คลนื่ ไส้ อาเจียน ปวดหวั ปวดกลา้ มเนอื้ กลา้ มเน้ือเกรง็ กระตกุ ทอ้ งรว่ ง หายใจตดิ ขดั ตาพรา่ แสบตา เปน็ ตน้ 2) พิษเรือรัง เกิดจากการสัมผัสสารเคมกี าจัดศัตรูพืชเปน็ เวลานานและเกิดพิษสะสมจนก่อให้เกิดโรค หรอื ปัญหาต่อสุขภาพ เช่น มะเร็ง เบาหวาน อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคผิวหนังต่างๆ การเป็นหมัน การพิการของ ทารกแรกเกดิ การสญู เสียการได้ยิน การเสือ่ มสมรรถภาพทางเพศ เป็นต้น สถานการณ์โรคพษิ จากสารเคมีกาจัดศัตรพู ืชสว่ นใหญเ่ กดิ ในกลมุ่ วยั แรงงาน โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกร ซ่ึงเปน็ แรงงานนอกระบบ จากข้อมูลสานกั งานสถิตแิ ห่งชาติ ในปี 2560 ประเทศไทยมีประชากรท่ีมงี านทา 37.7 ล้านคน โดยเป็นแรงงานนอกระบบ ซ่งึ เปน็ กล่มุ แรงงานท่ีไมม่ นี ายจ้าง ไม่อยใู่ นระบบประกันสงั คม มากถึง 20.8 ลา้ นคน คดิ เป็นร้อยละ 55.2 ของผมู้ ีงานทา เป็นแรงงานนอกระบบในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มากทสี่ ดุ ร้อยละ 75.8 แรงงานนอกระบบส่วนใหญ่ ทางานอยใู่ นภาคเกษตรกรรมร้อยละ 55.5 รองลงมา ทางานอยู่ใน ภาคการคา้ และการบริการร้อยละ 33.4 และภาคการผลิต รอ้ ยละ 11.1 ตามลาดบั โดยกล่มุ อายุ ต้ังแต่ 45 ปขี นึ้ ไป เปน็ แรงงานนอกระบบมากกวา่ ในระบบ (รอ้ ยละ 56.9 และ 29.1 ตามลาดบั ) นอกจากปัญหาค่าตอบแทน การทางานหนัก งานไม่ต่อเน่ือง ของแรงงานนอกระบบประกันสังคม ปัญหาสุขภาพและการไม่สามารถเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพถือ เป็นปัญหาสาคัญ ได้แก่ ปัญหาจากความไม่ปลอดภัยในการทางาน พบว่าแรงงานนอกระบบส่วนใหญ่ได้รับ สารเคมีเป็นพิษมากท่ีสุดร้อยละ 62.4 รองลงมาเป็น เคร่ืองจักร เครื่องมือที่เป็นอันตรายร้อยละ 17.3 ได้รับ 16 Package ตน้ แบบการขับเคลือ่ นกลไกป้องกันควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ เครือข่ายพัฒนาคณุ ภาพชีวิตระดับอ�ำ เภอ สำ�นกั งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคที่ 8 จงั หวัดอุดรธานี
อนั ตรายตอ่ ระบบหู/ระบบตา รอ้ ยละ 4.5 ตามลาดับ ด้านสภาพแวดล้อมในการทางานนน้ั แรงงานนอกระบบ มีปัญหาในเรื่องอิริยาบถในการทางาน คือ ไม่ค่อยได้เปล่ียนลักษณะท่า/อิริยาบถในการทางานมากที่สุด คือ ร้อยละ 46.8 รองลงมาเป็น การทางานมีฝุ่น ควัน กลน่ิ ร้อยละ 23.8 และมแี สงสว่างไมเ่ พยี งพอ รอ้ ยละ 13.9 เมื่อพิจารณาปัญหาโรคและภัยสุขภาพของเกษตรกรซึ่งเป็นแรงงานนอกระบบกลุ่มใหญ่ของประเทศ พบว่ามีปัญหาท่ีสาคัญคือการเจ็บป่วยจากสารกาจัดศัตรูพืช ซึ่งจากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ปี พ.ศ. 2558 พบว่าประเทศไทย มีการนาเข้าสารเคมีกาจัดศัตรูพืช มากถึง 149,546 ตัน โดยเป็นสารกาจัดวัชพืช (Herbicide) มากท่ีสุดถึง 119,971 ตัน รองลงมาเป็นสารกาจัดแมลง (Insecticide) 12,927 ตัน สารป้องกนั และกาจัดโรคพืช (Fungicide) 11,088 และสารอน่ื อาทิ สารควบคมุ การเจริญเติบโต ของพืช สารรมควันพิษ สารกาจดั หอยและหอยทาก สารกาจัดไร ไสเ้ ดือนฝอย สารกาจดั หนูจานวน 5,560 ตัน ตามลาดับ โดยแนวโน้มการนาเข้าเพิ่มข้ึนในแต่ละปี ซึ่งจากการคานวณหาค่าเฉลี่ย พบว่า คนไทย 65 ล้านคน มีความเสี่ยงต่อการได้รับสารเคมีกาจัดศัตรูพืชประมาณ 2.3 กิโลกรัมต่อคนต่อปี การใช้สารเคมี กาจัดศัตรูพืชท่ีไม่ปลอดภัยหรือเกินความจาเป็นนอกจากจะส่งผลกระทบต่อผู้ใช้ซ่ึงก็คือเกษตรกร ยังส่งผลต่อ สุขภาพของประชาชนท่ัวไปซ่ึงเป็นผู้บริโภคผัก ผลไม้ จากการเกษตร และนอกจากน้ียังมีผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อมอกี ด้วย จากข้อมูลในระบบ HDC (31 มกราคม 2561) พบว่า ในปี พ.ศ.2558-2560 เขตสุขภาพท่ี 8 มีอัตรา ป่วยจากพิษสารกาจัดศัตรูพืช (ICD-10 รหัส T60.0-T60.9) สูงท่ีสุดในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 44.94, 33.15 และ 27.52 ต่อแสนประชากร ขณะท่ีค่าเฉล่ียของประเทศปี 2558-2560 มีอัตราป่วยเท่ากับ 21.47, 19.08 และ21.82 ต่อแสนประชากร ตามลาดับ เห็นได้ว่าเขตสุขภาพท่ี 8 มีอัตราป่วยสูงกว่าค่าเฉล่ียของ ประเทศทุกปี จากข้อมูลในระบบ HDC สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข (31 มกราคม 2561) พบว่า ในปี พ.ศ.2558-2560 เขตสุขภาพท่ี 8 มีอัตราป่วยจากพิษสารกาจัดศัตรูพืช (ICD-10 รหัส T60. 0-T60.9) สูงท่ีสุดในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อัตราป่วย 44.94, 33.15 และ 27.52 ตอ่ แสนประชากร ซึ่ง ลดลงตามลาดับ แต่ยังมากกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศทุกปี (อัตราป่วยจากพิษสารกาจัดศัตรูพืชของประเทศ ปี 2558-2560 เท่ากบั 21.47, 19.08 และ21.82 ต่อแสนประชากร ตามลาดับ) โดยจังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงสุด ของเขตปี 2560 คือ จังหวัดเลย รองลงมาเป็น จังหวัดสกลนคร และจังหวัดนครพนม (47.81, 43.46 และ 27.94 ตอ่ แสนประชากร ตามลาดบั ) (HDC,2561) 17Package ตน้ แบบการขบั เคล่อื นกลไกปอ้ งกันควบคมุ โรคและภัยสุขภาพ เครอื ข่ายพฒั นาคณุ ภาพชีวิตระดับอ�ำ เภอ ส�ำ นกั งานป้องกนั ควบคมุ โรคท่ี 8 จังหวดั อุดรธานี
ัอตรา/แสน ปชก. อตั ราปว่ ยจากพิษสารกาจดั ศัตรพู ืช ปี พ.ศ. 2558-2560 ป5ี 8 ป5ี 9 60 40 ป6ี 0 20 0 เขต1 เขต2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 ประเทศ ภาพที่ 3 ขอ้ มลู อตั ราป่วยจากพิษสารกาจดั ศัตรพู ชื ปี พ.ศ.2558-2560 รายเขตสขุ ภาพเทยี บกบั ประเทศ อัตราปว่ ยจากพิษสารกาจดั ศตั รูพชื ปี 2558-2560 ภาพประเทศ และเขตสขุ ภาพที่ 8 50 44.94 40 อัตรา/แสน ปชก. 30 33.15 27.05 ประเทศ 21.32 เขตสขุ ภาพท่ี 8 20 2.1 21.47 ประ19ก.0อ8บดว้ ย 10 ค่มู อื ปฏบิ ตั งิ านสาหรับเจ้าหนา้ ที่ 0 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2558 ภาพท่ี 4 ข้อมลู อตั ราป่วยจากพษิ สารกาจดั ศตั รพู ชื ปี พ.ศ.2558-2560 เขตสขุ ภาพที่ 8 เทยี บกับประเทศ อตั ราป่วยจากพษิ สารกาจัดศัตรูพืช เขตสขุ ภาพที่ 8 ปี 2558-2560 160 เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม เขตสุขภาพที่ 8 140 120 100 80 60 40 20 0 บงึ กาฬ หนองบัวลาภู อุดรธานี ป5ี 8 ป5ี 9 ปี60 ภาพท่ี 5 ข้อมลู อตั ราป่วยจากพษิ สารกาจดั ศตั รูพืช ปี พ.ศ.2558-2560 รายจังหวัดในพื้นท่เี ขตสขุ ภาพท่ี 8 18 Package ต้นแบบการขบั เคลอื่ นกลไกปอ้ งกันควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพ เครือข่ายพัฒนาคุณภาพชวี ิตระดับอ�ำ เภอ ส�ำ นกั งานป้องกนั ควบคมุ โรคท่ี 8 จงั หวัดอุดรธานี
ปี พ.ศ.2560 พบผปู้ ่วยโรคจากพิษสารกาจัดศตั รูพืชในกลมุ่ อายุ 60 ปี ขึ้นไป มากทส่ี ดุ 47.67 ต่อแสน ประชากร รองลงมาเป็นกลุ่มอายุ 15-59 ปี อัตราป่วย 29.88 ต่อแสนประชากร (HDC,2561) และจากข้อมูล รายงานการเฝ้าระวังระบาดวิทยาประจาสปั ดาห์ เร่ือง โรคพิษจากสารกาจัดศัตรูพืช ปี พ.ศ. 2552 ในรายงาน มีการศึกษาข้อมูลตั้งแต่ปี 2548-2552 พบว่ามีผู้ป่วยตลอดปี แต่มีรายงานผู้ป่วยสูงขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคม- สิงหาคม ของทุกปี และสูงสุดในช่วงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝน เกษตรกรเร่ิมมีการเพาะปลูก และมกี ารใชส้ ารปอ้ งกนั กาจดั ศัตรูพชื รว่ มดว้ ย (ปณติ า คมุ้ ผล,2554) ภาพที่ 6 แสดงข้อมลู อัตราปว่ ยจากพษิ สารกาจดั ศัตรูพชื ปี พ.ศ.2560 เขต ภาพท่ี 7 ข้อมูลจานวนผปู้ ่วยจากพษิ สารกาจดั ศัตรพู ชื สุขภาพที่ 8 จาแนกตามกลุ่มอายุ จาแนกรายเดอื น ประเทศไทย ปี ค.ศ.2005-2009 ตารางที่ 14 ขอ้ มูลอัตราป่วยจากพิษสารกาจดั ศัตรพู ืช ปี พ.ศ.2559-2561 รายอาเภอ พ้ืนทีเ่ ขตสขุ ภาพที่ 8 จงั หวดั / อาเภอ อตั ราป่วยจากพษิ สารกาจดั ศัตรพู ืช ตอ่ แสนประชากร ประเทศ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 เขตบรกิ ารสุขภาพ ที่ 8 18.91 21.52 12.95 จงั หวัดอดุ รธานี เมอื งอุดรธานี 32.69 28.71 15.94 กุดจับ หนองวัวซอ 17.89 21.19 15.03 5.56 25.68 2.83 9.44 11.28 0 8.86 5.18 3.6 19Package ตน้ แบบการขับเคล่ือนกลไกป้องกันควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพ เครอื ขา่ ยพัฒนาคุณภาพชวี ิตระดับอ�ำ เภอ สำ�นักงานปอ้ งกันควบคมุ โรคท่ี 8 จังหวัดอุดรธานี
จงั หวดั / อาเภอ อตั ราป่วยจากพษิ สารกาจัดศัตรพู ชื ตอ่ แสนประชากร กุมภวาปี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 โนนสะอาด หนองหาน 17.09 6.98 5.06 ทุ่งฝน ไชยวาน 14.02 13.71 7.14 ศรีธาตุ วงั สามหมอ 7.89 3.33 5.65 บ้านดุง บา้ นผือ 4.42 12.45 0 นา้ โสม เพ็ญ 0 5.92 2.98 สร้างคอม หนองแสง 5.02 4.97 5.15 นายงู พบิ ลู ย์รักษ์ 15.06 5.64 7.58 กแู่ กว้ ประจักษ์ศิลปาคม 5.85 3.31 2.51 จังหวัดหนองบวั ลาภู 97.11 136.57 146.75 เมอื งหนองบัวลาภู นากลาง 38.83 38.4 12.15 โนนสงั ศรีบญุ เรือง 17.66 0.93 4.69 สุวรรณคหู า นาวงั 7.7 0 7.66 จังหวัดเลย 22.22 9.46 4.42 เมืองเลย นาดว้ ง 18.91 23.59 19.53 เชียงคาน ปากชม 10.11 0 0 ด่านซ้าย 0 0 11.97 0 5.09 10.73 45.91 18.95 11.23 3.48 3.4 4.31 7.2 9.47 4.8 13.92 3.98 1.99 79.69 45.77 28.07 190.57 30.16 20.09 19.35 30.52 3.77 95.55 48.08 23.56 59.77 24.93 24.49 19.02 23.36 4.62 45.76 38.26 11.12 26.8 62.19 32.74 239.14 188.28 64.79 20 Package ต้นแบบการขับเคล่ือนกลไกปอ้ งกันควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ เครอื ขา่ ยพัฒนาคุณภาพชวี ิตระดบั อำ�เภอ ส�ำ นักงานปอ้ งกันควบคุมโรคท่ี 8 จังหวดั อุดรธานี
จงั หวดั / อาเภอ อัตราป่วยจากพษิ สารกาจัดศัตรูพืช ตอ่ แสนประชากร นาแหว้ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 ภเู รอื ทา่ ล่ี 154.27 42.81 44.31 วงั สะพงุ ภูกระดงึ 45.43 19.75 39.28 ภหู ลวง ผาขาว 50.68 31.75 36.3 เอราวัณ หนองหนิ 30.14 59.65 14.23 จังหวัดหนองคาย 39.61 39.34 16.61 เมืองหนองคาย ท่าบอ่ 19.47 19.08 28.61 โพนพสิ ัย ศรีเชยี งใหม่ 72.29 16.77 11.05 สงั คม สระใคร 28.07 19.84 13.51 เฝา้ ไร่ รตั นวาปี 973.85 14.51 14.61 โพธต์ิ าก 9.83 9.24 5.64 จงั หวัดบึงกาฬ อาเภอเมืองบึงกาฬ 7.25 3.22 4.13 อาเภอพรเจรญิ อาเภอโซ่พสิ ยั 9.74 24.91 1.73 อาเภอเซกา อาเภอปากคาด 7.4 6.52 2.62 อาเภอบึงโขงหลง อาเภอศรวี ิไล 21.01 15.84 10.81 อาเภอบงุ่ คลา้ 36.51 9.12 13.55 จงั หวดั นครพนม อาเภอเมืองนครพนม 16.81 11.17 0 2.89 2.94 8.97 2.9 11.62 3.17 16.24 8.17 45.14 6.29 6.58 6.03 2.56 1.27 3.84 9.79 12.83 9.21 8.44 3.43 8.64 4.5 7.57 9.34 8.27 8.15 0 9.14 3.04 0 9.45 15.64 9.34 0 19.18 0 2.7 73.46 26.75 0 3.46 5.17 21Package ต้นแบบการขบั เคล่อื นกลไกปอ้ งกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เครอื ขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตระดับอ�ำ เภอ ส�ำ นกั งานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จงั หวัดอดุ รธานี
จังหวัด / อาเภอ อัตราปว่ ยจากพิษสารกาจดั ศตั รูพืช ตอ่ แสนประชากร อาเภอนาหวา้ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 อาเภอท่าอเุ ทน อาเภอบ้านแพง 0 4.4 4.37 อาเภอปลาปาก อาเภอธาตุพนม 11.57 18..41 27.67 อาเภอเรณูนคร อาเภอนาแก 3.92 11.67 3.84 อาเภอศรสี งคราม อาเภอวังยาง 7.13 95.26 209.44 อาเภอนาทม อาเภอโพนสวรค์ 2.68 5.33 0 จังหวัดสกลนคร 3.66 234.68 1.79 เมอื ง กุสมุ าลย์ 1.86 3.69 14.7 กดุ บาก พรรณานคิ ม 2.44 4.83 2.39 พงั โคน วารชิ ภมู ิ 0 1.9 3.73 นคิ มน้าอูน วานรนวิ าส 0 11.26 0 คาตากล้า บ้านม่วง 00 0 อากาศอานวย สว่างแดนดนิ 48.29 43.46 16.2 ส่องดาว เตา่ งอย 5.72 3.42 3.44 โคกศรีสุพรรณ เจริญศิลป์ 0 0 2.83 โพนนาแก้ว ภพู าน 96.65 11.15 52.1 3.41 1.7 0 2.49 159.02 0 2.09 11.07 11.43 9.52 18.89 37.37 11.09 1.97 20.26 14.77 8.12 2.68 7.33 237.8 0 72.55 5.1 17.28 54.53 46.52 19.67 383.51 177.63 46.3 10.86 0 5.69 194.59 341.97 7.66 339.65 2.77 128.42 6.97 0 0 18.65 6.38 9.6 22 Package ต้นแบบการขบั เคลื่อนกลไกป้องกนั ควบคุมโรคและภยั สุขภาพ เครือข่ายพฒั นาคณุ ภาพชีวิตระดบั อำ�เภอ ส�ำ นักงานปอ้ งกนั ควบคุมโรคที่ 8 จังหวดั อุดรธานี
ผลการคัดกรองความเส่ยี งจากพิษสารเคมกี าจดั ศัตรพู ืช เขตสุขภาพท่ี 8 ผลการตรวจคัดกรองความเส่ียงจากการสัมผัสสารเคมีกาจัดศัตรูพืช โดยใช้กระดาษทดสอบโคลีน เอสเตอเรส ของเขตสุขภาพท่ี 8 ในปี 2559 มีค่าร้อยละ 29.2 ถึงแม้ว่าภาพรวมของเขตจะมีค่าน้อยกว่าเฉล่ีย ของระดับประเทศ (ร้อยละ 36.76) แต่เม่ือพิจารณารายจังหวัด ในปี 2560 พบว่า จังหวัดเลย มีร้อยละ ความเส่ียง มากท่ีสุดของเขตสขุ ภาพที่ 8 ถึงร้อยละ 65.8 รองลงมาคือ จังหวัดหนองคาย (ร้อยละ 54.65) และ จงั หวัดหนองบวั ลาภู (รอ้ ยละ 54.36) ตามลาดบั (ข้อมลู จากสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ในเขตสุขภาพที่ 8) การนาเขา้ สารเคมีกาจดั ศตั รพู ชื ในพนื ท่ีเขต 8 จาก ข้อ มู ล มู ล ค่ าก ารซ้ื อส ารเค มี กาจัด ศั ต รูพื ช ข องเก ษ ต รก ร ผ่ าน บั ต รสิ น เชื่อ ธก ส . เขตสุขภาพท่ี 8 ปี 2556-2558 จาแนกรายจังหวัด พบว่าทุกจังหวัดในเขต 8 มีแนวโน้มการซ้ือสารเคมีสูงข้ึน โดยจงั หวัดที่มีมูลค่าการซ้ือสูงสุดคือ เลย อุดรธานี หนองบัวลาภู และสกลนคร โดยจงั หวดั เลยมีสัดสว่ นมูลค่า การซื้อในปี 2558 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 38.7 อุดรธานี หนองบัวลาภู สกลนคร ร้อยละ 20.4 19.5 12.5 ตามลาดับ ของมูลค่าการซ้ือท้ังหมด ทั้งนี้สารกาจัดศัตรูพืชที่ซื้อสูงสุดคือ สารกาจัดวัชพืช รองลงมาคือ สารกาจดั แมลง (ร้อยละ 51.7 และ 17.3 ของมูลค่าการซอ้ื ทั้งหมด) การปนเป้ือนของสารเคมกี าจดั ศตั รใู นสิ่งแวดล้อม/อาหาร จากแหลง่ ขอ้ มูลต่างๆ จากรายงานการศึกษาของ PAN ASIA PACIFIC For a just and pesticide-free future ใน 6 ประเทศในทวีปเอเชีย ระหว่างปี ค.ศ. 2016 ถึง ค.ศ. 2017 พบว่ามีการปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมของ สารเคมีที่มีอันตรายสูงได้แก่ Paraquat Glyphosate Chlorpyrifos Malathion Diazinon Fipronil Lambda-cyhalothrin Carbofuran และ Cypermethrin (ขอ้ มูลจาก นพ.อรรถพล ชีพสตั ยากร,2561) ข้อมูลจากเครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกาจัดศัตรูพืช หรือ Thai-PAN ผลการเฝ้าระวังสารพิษกาจัด ศตั รูพืชปี 2560 พบมากกว่าครึ่งหน่ึงของผักผลไม้ มีสารกาจัดวชั พืชตกค้างเกินค่ามาตรฐาน โดยส่วนใหญ่เป็น พาราควอต ซึง่ กระทรวงสาธารณสขุ เสนอแบน และไมใ่ ห้มีการต่อทะเบียน การวเิ คราะห์สถานการณเ์ พือ่ จัดทาข้อมูลโรคสารเคมกี าจดั ศตั รูพชื จากข้อมูลสถานการณ์ปัญหาดังกล่าวจะเห็นว่าปัจจุบัน แรงงานนอกระบบเป็นแรงงานกลุ่มใหญ่ของ ประเทศ โดยเฉพาะในภาคเกษตรกรรม ซ่ึงปัญหาของแรงงานนอกระบบ ส่วนใหญ่เป็นปัญหาการได้รับสารเคมี เป็นพิษมากที่สุดร้อยละ และข้อมูลอัตราป่วยจากพิษสารกาจัดศัตรูพืช เขตสุขภาพที่ 8 ปี 2560 สูงกว่าค่าเฉลี่ย ประเทศ และสงู กว่าคา่ เปา้ หมายลดโรคของประเทศ (ปี 2564) 6.7 เท่า วิเคราะห์ปัจจัยก่อโรค 1) ส่งิ ที่ทาให้เกดิ โรค (Agent) การนาเขา้ สารเคมกี าจัดศตั รพู ชื ในพนื ทเ่ี ขต 8 จากข้อมูลมูลค่าการซ้ือสารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกร ผ่านบัตรสินเช่ือ ธกส.เขตสุขภาพ ที่ 8 ปี 2556-2558 จาแนกรายจังหวัด พบวา่ ทุกจังหวัดในเขต 8 มีแนวโน้มการซ้ือสารเคมสี ูงขึ้น โดยจังหวัด 23Package ต้นแบบการขบั เคลื่อนกลไกป้องกันควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพ เครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตระดบั อำ�เภอ ส�ำ นกั งานป้องกันควบคมุ โรคท่ี 8 จังหวัดอุดรธานี
ทม่ี มี ูลค่าการซอ้ื สงู สุดคือ เลย อุดรธานี หนองบัวลาภู และสกลนคร โดยจังหวัดเลยมีสดั ส่วนมลู ค่าการซ้ือในปี 2558 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 38.7 อุดรธานี หนองบัวลาภู สกลนคร ร้อยละ 20.4 19.5 12.5 ตามลาดับ ของมูลค่าการซ้ือท้ังหมด ทั้งน้ีสารกาจัดศัตรูพืชท่ีซ้ือสูงสุดคือ สารกาจัดวัชพืช รองลงมาคือสารกาจัดแมลง (รอ้ ยละ 51.7 และ 17.3 ของมลู ค่าการซ้อื ทงั้ หมด) การปนเปอื้ นของสารเคมีกาจัดศัตรูในสิ่งแวดล้อม/อาหาร จากแหลง่ ขอ้ มูลตา่ งๆ - จากรายงานการศึกษาของ PAN ASIA PACIFIC For a just and pesticide-free future ใน 6 ประเทศในทวีปเอเชีย ระหว่างปี ค.ศ. 2016 ถึง ค.ศ. 2017 พบว่ามีการปนเป้ือนในส่ิงแวดล้อมของ สารเคมีท่ีมีอันตรายสูงได้แก่ Paraquat Glyphosate Chlorpyrifos Malathion Diazinon Fipronil Lambda-cyhalothrin Carbofuran และ Cypermethrin (ขอ้ มูลจาก นพ.อรรถพล ชีพสัตยากร,2561) -ข้อมูลจากเครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกาจัดศัตรูพืช หรือไทยแพน ผลการเฝ้าระวังสารพิษกาจัด ศตั รูพืชปี 2560 พบมากกว่าคร่ึงหนึ่งของผักผลไม้ มีสารกาจัดวัชพืชตกค้างเกินค่ามาตรฐาน โดยส่วนใหญ่เป็น พาราควอต ซึง่ กระทรวงสาธารณสุขเสนอแบน และไมใ่ ห้มีการต่อทะเบียน มนุษย์ (Host) - พฤตกิ รรมการใช้สารเคมี/การใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกนั อันตรายสว่ นบุคคล (PPE) - สุขวทิ ยาสว่ นบคุ คลในการบรโิ ภคผกั /ผลไม้/ผลิตภัณฑ์ทางเกษตร - การศึกษา และอายขุ องเกษตรกร ส่ิงแวดลอ้ ม (Environment) - การนาเข้า จาหน่าย การโฆษณา (ลด แลก แจก แถม) สารเคมี - มาตรการทางสังคม (ห้ามใช้/แบน) - กฎหมายและนโยบายภาครัฐ - ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ กรณีห้ามนาเข้าสารเคมีบางชนิด - เครือข่ายเกษตรอินทรีย/์ เกษตรปลอดสาร วเิ คราะหช์ อ่ งวา่ งของมาตรการ - ยังขาดมาตรการเพ่ือลด Supply side เช่น มาตรการห้ามใช้ หรือยกเลิกการนาเข้าสารเคมีกาจัด ศัตรูพืชท่ีเป็นอันตรายบางชนิด ทั้งน่ีในส่วนของการลด Supply หน่วยงานสาธารณสุขไม่สามารถ ดาเนินการเองได้ฝ่ายเดียว ต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานอ่ืน ซ่ึงเป็นหน่วยงานหลักใน การรบั ผดิ ชอบเรื่องการนาเข้าสารเคมี - increase host resistant (demand side) ที่ดาเนินการอยู่คือให้ความรู้ในการป้องกันตนเอง และการใช้ สารเคมีที่ถูกต้อง แต่ก็ยังพบว่าเกษตรกรยังมีพฤติกรรมเสี่ยงสูง อาจต้องปรับเปล่ียนวิธีการให้ความรู้รูปแบบใหม่ ท่ี สาคัญคือมาตรการลดใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกร เปลี่ยนมาใช้สารอินทรีย์ หรือทาเกษตรอินทรีย์ ปลอด สารเพม่ิ ขึ้น - change environment ควรเน้นการเปล่ียนบริบทสงั คม ให้เปน็ สงั คมปลอดสารเคมีกาจดั ศตั รูพชื 24 Package ต้นแบบการขบั เคล่ือนกลไกป้องกนั ควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพ เครือข่ายพัฒนาคุณภาพชวี ติ ระดับอำ�เภอ ส�ำ นักงานป้องกนั ควบคมุ โรคที่ 8 จังหวดั อดุ รธานี
- ยังขาดงานวิจัย เพ่ือให้มีข้อมูลสนบั สนุนที่ชัดเจนวา่ สารเคมีแต่ละชนิดก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพต่างๆได้ อย่างไร เชน่ การใชส้ ารเคมีกาจดั ศัตรูพืชสมั พันธ์กบั การเกดิ โรคมะเรง็ อยา่ งไร เปน็ ต้น รวบรวมขอ้ มูลจากแหลง่ ข้อมูล วเิ คราะหข์ ้อมูล มกี ารแกไ้ ข จัดทาข้อมลู นาเสนอในท่ีประชมุ /ปรับปรงุ นาเสนอข้อมลู ในท่ีประชุม พชอ. การพิจารณาของ พชอ. คัดเลอื กเปน็ ประเด็นการ ดาเนินการตามมาตรกดาารเนโดินยงกาานรฯมี สว่ นร่วมจากทกุ ภาคส่วน การติดตามและประเมินผล ภาพที่ 8 แผนผังกระบวนการแกไ้ ขปญั หาโรคพิษสารเคมกี าจดั ศตั รูพชื ผา่ นกลไก พชอ. 1. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยการสืบค้นจากแหล่งข้อมูล เช่น เวปไซต์หน่วยงาน เอกสารทางวิชาการ รายงานประจาปีของหน่วยงาน ตลอดจนการประสานขอสนับสนุนข้อมลู จากหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งในพื้นที่ 2. วิเคราะหข์ อ้ มูล เพ่อื หาความสมั พันธ์ของข้อมูลหรือสาเหตุของปญั หา ได้แก่ - สิ่งที่ทาให้เกิดโรค มนุษย์ ส่ิงแวดล้อม เช่น ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างอัตราป่วย ผลการคัดกรองความเส่ียง กบั การใช้สารเคมี กับชนดิ ของพืชท่ีปลูก - บุคคล เวลา สถานที่ เช่น การเปรียบเทียบชว่ งเวลาของการเกิดโรค เปรียบเทยี บพืน้ ท่ี ท่ีมอี ัตราป่วย/มีการใช้ สารเคมี/การปลูกพืช 25Package ตน้ แบบการขบั เคลอ่ื นกลไกปอ้ งกนั ควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพ เครอื ขา่ ยพัฒนาคณุ ภาพชีวิตระดบั อ�ำ เภอ สำ�นักงานป้องกนั ควบคุมโรคท่ี 8 จงั หวัดอุดรธานี
3. จัดทาข้อมูลนาเสนอในที่ประชุม พชอ. โดยการนาข้อมูลจากการวิเคราะห์มานาเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น คาบรรยาย กราฟ แผนภูมิเปรียบเทียบ ข้อมูลเชิงแผนท่ี (mapping) ภาพประกอบ เป็นต้น โดยข้อมูลควรมีความ ครอบคลมุ ในประเดน็ ดังนี้ - ขอ้ มูลทัว่ ไปของพน้ื ที่ - สถานการณ/์ สภาพปญั หา/ผลกระทบของปญั หาของพน้ื ที่ - แนวทางในการแก้ไขปัญหา/มาตรการ - บทบาทการมีสว่ นร่วมการสนับสนุนของหน่วยงานและภาคส่วนต่างๆ (ข้ันตอนของการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สามารถขอรับการสนับสนุนแนวทางการจัดทาข้อมูลจาก สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั นั้นๆ และสานักงานปอ้ งกนั ควบคุมโรคท่ี 8 จงั หวัดอุดรธานี) 4. การนาเสนอข้อมูลในท่ีประชุม พชอ. โดยต้องมีการประสานเลขานุการ พชอ. (สาธารณสุขอาเภอ) เพื่อนา ข้อมลู เข้าเปน็ วาระเพ่ือพจิ ารณาคัดเลือกเป็นประเด็นการดาเนินการของพน้ื ที่ 5. เมื่อปัญหาฯ ได้รับการคัดเลือก และกาหนดให้เป็นประเด็นการดาเนินงานของพื้นที่ โดยมาตรการอาจเกิด จากมาตรการที่ได้นาเสนอในท่ีประชุม และอาจมีมาตรการเพิ่มเติมจากหน่วยงานภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง หรือหากข้อมูลยัง ไมช่ ดั เจนครบถ้วน คณะกรรมการอาจพิจารณาให้ปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติมข้อมูล ซ่ึงต้องมีการรวบรวมจัดเก็บข้อมูล เพิ่มเติม และเสนอขอ้ มลู ในการประชุมฯ ในคร้ังต่อไป 6. หากปัญหาสารเคมีกาจัดศัตรูพืช ไม่ได้ถูกกาหนดให้เป็นประเด็นการดาเนินงานของพื้นที่ เนื่องจากอาจมี ปัญหาอ่ืนของพน้ื ที่ที่มคี วามเร่งด่วนมากกว่า ประเด็นโรคพิษสารกาจัดศัตรูพืชยังมีความจาเป็นที่ต้องมีการจัดเก็บ และ วิเคราะห์ เพ่ือการเฝ้าระวังโรค และนาเสนอข้อมูลใหก้ บั พืน้ ท่ไี ด้รับทราบและพจิ ารณาข้อมูลอยา่ งตอ่ เนื่องต่อไป 7. การติดตามประเมินผล โดยต้องมีการตดิ ตาม ประเมินผลดาเนินงานตามมาตรการทไ่ี ด้จากการมสี ่วนรว่ มของ ทกุ ภาคส่วน โดยใชก้ ลไก พชอ. และนาเสนอผลการประเมินผลให้กับคณะกรรมการรับทราบและพิจารณา ตลอดการปรับ มาตรการใหม้ ีประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป เคร่อื งมอื ท่เี ป็นประโยชนใ์ นการสนับสนุนงาน แหลง่ คูม่ ือ/องคค์ วามรู้ สานักงานปอ้ งกนั ควบคุมโรคท่ี 8 อดุ รธานี ตารางที่ 15 ค่มู ือและองค์ความรสู้ าหรับเจา้ หน้าที่ สานักงานป้องกนั ควบคมุ โรคที่ 8 อดุ รธานี ที่ คูม่ อื /องคค์ วามรู้ สานกั โรคจากการประกอบอาชีพและ สง่ิ แวดลอ้ ม 1 หลกั สูตรการอบรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อาชวี (http://envocc.ddc.moph.go.th) อนามยั (อสอช.) สานกั งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคท่ี 8 อดุ รธานี 2 แนวทางการเขยี นของบกองทุนสขุ ภาพตาบล 3 คมู่ อื การบรหิ ารจดั การกองทุนหลักประกนั สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพน้ื ที่สาหรบั การดแู ลสุขภาพ แรงงานนอกระบบ 26 Package ต้นแบบการขับเคลอ่ื นกลไกป้องกันควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพ เครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพชวี ติ ระดับอำ�เภอ ส�ำ นกั งานปอ้ งกันควบคมุ โรคที่ 8 จังหวัดอดุ รธานี
มาตรการใหม้ ปี ระสิทธภิ าพตอ่ ไป เคร่อื งมือทเี่ ปน็ ประโยชนใ์ นการสนับสนนุ งาน แหล่งคูม่ ือ/องคค์ วามรู้ สานักงโราคนจปาอ้ กงกกานั รคปวรบะคกุมอโบรอคาทชี่ ีพ8แอลุดะรธานี ตารางที่ 15 คูม่ อื และองค์ความรสู้ าหรับเจ้าหนา้ ที่ สิ่งแวดลอ้ ม (สhาtนtpกั :ง/า/นeปnvอ้ oงกccนั .คdวdบcค.mุมoโรpคhท.g่ี 8o.อthดุ )รธานี ที่ คู่มือ/องค์ความรู้ สานกั โรคจากการประกอบอาชพี และ 41 คหูม่ลือักกสาตู รจกัดาบรอรบกิ ารรมออาาชสีวาอสนมาัคมรยัสสาาธหารณับเสจุข้าอหานช้าีวที่ สง่ิ แวดล้อม (http://envocc.ddc.moph.go.th) อสานธาามรัยณ(สอขุส:อคชล.นิ) ิกสุขภาพเกษตรกร สานกั งานป้องกันควบคมุ โรคท่ี 8 อดุ รธานี 2 แนวทางการเขียนของบกองทุนสุขภาพตาบล 35 คองู่มคอื ์คกวาารมบรรู้เหิกา่ยี รวจกดั บั กกาารรกคอัดงกทรุนอหงลคกัวาปมรเะสกย่ี ันงสจุขากภกาาพร แหลง่ คูม่ ือ/องค์ความรู้ สานกั โรคจากการประกอบอาชพี และ สในัมรผะัสดสบั าทรเ้อคงมถีกิ่นาหจรัดอื ศพตั ้นื รทพู ส่ีืชาโหดรยับกกราะรดดาแู ษลทสดขุ สภอาบพ ส่ิงแวดล้อม แโครลงงนี าเนอนสเอตกอรเะรบสบ (http://envocc.ddc.moph.go.th) สานักงานปอ้ งกันควบคุมโรคท่ี 8 อุดรธานี ตารางท่ี 16 องค์ความรู้สาหรบั เกษตรกร/ประชาชน สานกั โรคจากการประกอบอาชีพและ ที่ คมู่ ือ/องคค์ วามรู้ สิ่งแวดลอ้ ม 1 - แผ่นพับใหค้ วามรู้สาหรับประชาชน ชดุ แรงงาน (http://envocc.ddc.moph.go.th) สานกั งานป้องกันควบคมุ โรคท่ี 8 อดุ รธานี นอกระบบ ปลอดภัย ใสใ่ จสขุ ภาพ (กลุ่มอาชพี เกษตรกร) สานกั งานเกษตรจังหวดั /อาเภอ - คู่มอื แรงงานนอกระบบ ปลอดภัย ใสใ่ จสขุ ภาพ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั /อาเภอ (กลมุ่ อาชพี เกษตรกร) - ภาพพลิก เกษตรกร ปลอดโรค ปลอดภยั กายใจ เป็นสขุ 2 - แนวทางการเขียนของบประมาณจากกองทนุ สุขภาพตาบล (สาหรบั ภาคประชาชน) - ตวั อย่างโครงการของบประมาณจากกองทุน สุขภาพตาบลเพื่อใชใ้ นการแก้ไขปัญหาสารเคมี กาจัดศตั รูพืช 3 ส่อื เกยี่ วกับความปลอดภัยจาการใช้สารเคมีกาจัด ศตั รพู ชื ตารางที่ 17 เครอื่ งมอื และวสั ดอุ ปุ กรณ์ ท่ี คู่มือ/องค์ความรู้ แหลง่ คมู่ ือ/องคค์ วามรู้ 1 กระดาษทดสอบโคลนี เอสเตอเรส (Cholinesterase สานกั งานป้องกันควบคมุ โรคที่ 8 อุดรธานี reactive paper) สาหรบั ตรวจ คดั กรองความเสย่ี ง สานักงานสาธารณสุขจังหวัด จาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ผา่ นงบกองทุน การสมั ผัสสารเคมีกาจดั ศตั รูพืช พร้อมอปุ กรณ์ สุขภาพพนื้ ท่ี/ตาบล) 2 ชุดสาธิตอุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายส่วนบุคคล ในการ สานักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 8 อุดรธานี ปอ้ งกัน/ลดการสัมผสั สารเคมีกาจัดศัตรูพืช สานักงานสาธารณสุขจงั หวัด 27Package ตน้ แบบการขับเคลือ่ นกลไกป้องกันควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพ เครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพชีวิตระดบั อ�ำ เภอ ส�ำ นกั งานป้องกนั ควบคมุ โรคที่ 8 จังหวดั อุดรธานี
แหล่งทรพั ยากรท่ีช่วยสนับสนุนงาน แหล่งข้อมูลท่ีจาเป็นในการวเิ คราะห์สถานการณแ์ ละการดาเนนิ งาน 1. ข้อมูลอัตราปว่ ยดว้ ยโรคพิษสารเคมีกาจัดศตั รูพชื แหลง่ สืบคน้ ขอ้ มูลหรือหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ได้แก่ รายงาน 43 แฟ้ม/HDC (https://hdcservice.moph.go.th) 2. ข้อมูลอัตราตายจากการสัมผัสสารเคมีกาจดั ศัตรูพืช (ไมร่ วมฆา่ ตัวตาย) แหล่งสบื ค้นขอ้ มูลหรือ หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง ไดแ้ ก่ รายงาน 43 แฟ้ม/HDC (https://hdcservice.moph.go.th) 3. ผลการตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกาจัดศัตรพู ืช โดยใชก้ ระดาษทดสอบโคลนี เอสเตอเรส แหล่งสบื ค้นขอ้ มูลหรือหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง ไดแ้ ก่ รายงาน 43 แฟม้ /HDC (https://hdcservice.moph.go.th) หรือหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุข 4. ขอ้ มูลพฤติกรรมการใชส้ ารเคมขี องเกษตรกรในพืน้ ท่ี แหล่งสืบค้นข้อมลู หรือหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง ไดแ้ ก่ หนว่ ยบริการสาธารณสุขในพ้นื ท่ี (แบบคดั กรอง นบก.1-56)/งานวิจยั /ผลสารวจ 5. ข้อมูลเกษตรกรแยกรายประเภทการเพาะปลกู แหลง่ สบื ค้นขอ้ มลู หรือหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ได้แก่ สานักงานเกษตรจังหวดั /อาเภอ 6. ข้อมลู ประเภท/ชนิดของสารเคมีทใี่ ช้ แหล่งสบื คน้ ขอ้ มูลหรอื หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ได้แก่ สานักงาน เกษตรจังหวัด/อาเภอ/ธกส. 7. ข้อมูลปริมาณการใช้สารเคมีกาจดั ศัตรพู ชื ของเกษตรกรจาแนกรายเดือน แหล่งสืบค้นข้อมูลหรือ หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้อง ไดแ้ ก่ สานักงานเกษตรจงั หวดั /อาเภอ/ธกส. หรอื งานวจิ ยั /ผลสารวจ 8. ขอ้ มลู จานวนร้านค้าจาหน่ายสารเคมีกาจัดศัตรูพชื ในพื้นท่ี แหลง่ สบื คน้ ข้อมูลหรอื หนว่ ยงานท่ี เกยี่ วขอ้ ง ได้แก่ สานกั งานเกษตรจังหวัด/อาเภอ/ธกส. หรืองานวจิ ัย/ผลสารวจ 9. ขอ้ มูลการตกค้างของสารเคมีกาจดั ศตั รูพชื ในสิง่ แวดล้อมและหว่ งโซ่อาหาร แหลง่ สืบคน้ ขอ้ มูลหรือ หน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง ไดแ้ ก่ สสจ./ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมจงั หวดั /งานวจิ ัย/Thai-PAN 10. ข้อมูลกล่มุ เกษตรอนิ ทรีย/์ เกษตรปลอดสาร ในพน้ื ท่ี แหลง่ สบื คน้ ข้อมูลหรอื หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง ไดแ้ ก่ สานักงานเกษตรจงั หวัด/อาเภอ/ผ้นู าชุมชน 11. ขอ้ มูลมาตรการทางสงั คม/ธรรมนญู สุขภาพดา้ นการลดใชส้ ารเคมใี นชุมชนแหลง่ สืบคน้ ข้อมลู หรือ หน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง ได้แก่ ผู้นาชุมชนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ 12. ทาเนยี บผเู้ ชย่ี วชาญด้านสารเคมี แหลง่ สบื ค้นข้อมูลหรือหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง ได้แก่ สานักโรคจาก การประกอบอาชีพและสง่ิ แวดล้อม 13. ทาเนียบเครือข่าย พชอ._Env-Occ ระดบั จังหวัด แหล่งสบื ค้นข้อมูลหรือหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้อง ได้แก่ สานักงานป้องกันควบคมุ โรคท่ี 8 อดุ รธานี แหลง่ งบประมาณในการสนับสนุนการดาเนินงาน 1. สานกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ (สป.สช.) 2. สานกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) 3. กองทุนสขุ ภาพท้องถิ่น (เทศบาล/อบต.) 28 Package ตน้ แบบการขบั เคลือ่ นกลไกปอ้ งกันควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพ เครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพชีวิตระดบั อ�ำ เภอ ส�ำ นักงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคท่ี 8 จังหวัดอุดรธานี
ภาพที่ 9 ตัวอย่างในการจดั ทาข้อมลู 29Package ตน้ แบบการขับเคล่อื นกลไกปอ้ งกนั ควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพชีวิตระดบั อ�ำ เภอ สำ�นักงานป้องกนั ควบคุมโรคท่ี 8 จงั หวัดอุดรธานี
ภาพท่ี 10 แผนผงั การวิเคราะห์ขอ้ มูลโรคพษิ จากสารกาจัดศัตรูพืช สอบถามข้อมลู เพิ่มเติมได้ท่ี @Contact us กลมุ่ โรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดลอ้ ม สานกั งานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดอุดรธานี 042 – 295 717 กลุม่ โรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม สคร.8 อดุ รธานี 30 Package ตน้ แบบการขับเคลือ่ นกลไกปอ้ งกนั ควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพ เครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตระดบั อ�ำ เภอ สำ�นกั งานปอ้ งกนั ควบคุมโรคท่ี 8 จังหวัดอุดรธานี
โรคพษิ สนุ ัขบา้ ขอ้ มูลสถานการณ์และสภาพปญั หา โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคติดต่อระหวา่ งสตั ว์และคนที่ยงั เปน็ ปัญหาทางสาธารณสุขสาคัญของประเทศไทย ผูท้ ่ตี ิดเชอื้ โรคพิษสุนัขบา้ เมอื่ แสดงอาการแลว้ จะเสียชวี ติ ทุกราย จากข้อมลู สานกั ระบาดวทิ ยา ปี 2559-2561 พบผูเ้ สยี ชวี ิตด้วยโรคพิษสนุ ขั บ้าทัง้ ส้ิน 14, 11 และ 18 ราย ตามลาดับ โดยส่วนใหญ่ไมไ่ ด้ไปรบั การฉีดวัคซีน หลังสัมผสั โรค อกี ท้ังสถานการณโ์ รคในสัตว์ยังมคี วามรนุ แรงมากขนึ้ ซง่ึ จากข้อมลู ระบบสารสนเทศเพ่ือการเฝ้า ระวังโรคพิษสนุ ัขบา้ ปี 2559-2561 พบตัวอย่างใหผ้ ลบวกต่อโรคพิษสุนขั บา้ 617 ตวั 848 ตัว และ 1,304 ตัว คดิ เปน็ ร้อยละ 6.93, 9.86 และ 15.20 ของตัวอย่างท้ังหมด (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2561) ตามลาดบั ปญั หาสาคญั ท่ีพบคือ ประชาชนยงั ขาดความรู้ความตระหนักถึงโรคพิษสนุ ขั บ้า (เกอื บร้อยละ 50) ความ ครอบคลุมของการฉดี วัคซีนป้องกันโรคในสตั วย์ งั ต่ากวา่ ร้อยละ 80 และยงั พบสนุ ขั จรจดั เปน็ จานวนมาก สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้าในเขตสุขภาพท่ี 8 ไม่พบผู้เสียชีวิตมาต้ังแต่ปี 2552 และมาพบผู้เสียชีวิต จานวน 1 ราย ในปี 2561 ท่ีจังหวัดหนองคาย ส่วนโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์พบมาโดยตลอดหลายพ้ืนท่ี และใน ปี 2561 พบโรคในพน้ื ทจี่ งั หวดั หนองคาย นครพนมและเลย การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และประเดน็ ปัญหา สถานการณ/์ ประเดน็ ปญั หาท่ียงั คงพบโรคโดยเฉพาะในสัตว์อยา่ งต่อเน่ือง ได้แก่ 1) ความครอบคลมุ วคั ซนี ในสตั วย์ งั ตา่ เน่อื งจากระยะเวลา 2-3 ปีทีผ่ ่านมามปี ัญหาเรอ่ื งการจัดซื้อ วัคซนี ทาใหภ้ มู ิคุ้มในสัตวล์ ดต่าลง 2) ข้อจากดั เร่อื งการบรหิ ารจัดการเกย่ี วกบั สนุ ัข แมว เช่น การสารวจและขึ้นทะเบยี น การควบคุม ประชากร รวมทงั้ สุนขั แมวจรจัดมจี านวนมาก เปน็ ตน้ 3) ประชาชนยงั ขาดความรู้ความตระหนักที่ถูกต้อง 4) การแก้ไขปัญหาจะต้องอาศัยความรว่ มมือจากหลายภาคส่วน รปู แบบการศกึ ษา จดั ประชุมเพื่อสรา้ งการมีส่วนรว่ มจากภาคีเครือขา่ ยในพน้ื ที่การป้องกันควบคมุ โรคพิษสุนัขบ้าดว้ ย การทบทวนบทบาทหน้าที่ แนวทางการดาเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งานทผ่ี ่านมาและแผนท่จี ะดาเนินการต่อไป ไดแ้ ก่ภาคส่วนสาธารณสขุ ปศุสตั ว์ องค์ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินและตวั แทนชมุ ชน เทคนคิ แนวทางการติดตามความก้าวหน้า การตดิ ตามประเมินผล 1) ผลการดาเนนิ งานป้องกันควบคมุ โรคด้านสตั ว์ได้แก่ การสารวจสัตว์ การจดั หาวัคซีน ความ ครอบคลุมการใหว้ คั ซนี เปน็ ต้น 2) ผลการดาเนนิ งานป้องกันโรคดา้ นคนได้แก่ การค้นหาผู้สัมผัสโรค การไดร้ ับวคั ซีนที่ถูกต้อง ครบถว้ น 31Package ต้นแบบการขบั เคล่ือนกลไกป้องกนั ควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ เครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพชวี ติ ระดับอำ�เภอ ส�ำ นกั งานปอ้ งกันควบคมุ โรคท่ี 8 จังหวดั อุดรธานี
3) การรบั รู้และการปฏบิ ัติทถ่ี ูกต้องของประชาชนในพ้ืนทเี่ สย่ี ง เครอ่ื งมอื ทเ่ี ปน็ ประโยชนใ์ นการสนบั สนนุ งาน • สอื่ เอกสาร คู่มือและแนวทางการดาเนนิ งาน • สนบั สนนุ การจัดประชมุ การมีสว่ นรว่ มของเครือขา่ ยในพนื้ ที่เสี่ยง ประเด็นทใ่ี ชก้ ารประชุมเพอื่ ขบั เคลอ่ื นและตดิ ตามการดาเนนิ งาน ตารางที่ 17 รูปแบบการดาเนินงานมาตรการด้านคน : เปา้ หมายคอื ไม่มผี ้เู สยี ชีวิตด้วยโรคพษิ สนุ ขั บ้า มาตรการ ระยะเวลาดาเนนิ การ ผู้รบั ผิดชอบ 1. ค้นหาผสู้ ัมผัสโรค (ถูกกดั /ข่วน/เลียแผล) ใน ภายใน .................. อสม./รพ./รพ.สต. รอบ 6 เดือนที่ผา่ นมา ใหม้ ารับวคั ซีน 2. สง่ สรุปการคน้ หาผสู้ มั ผัสโรค วนั ท่ี ............. รพ.สต. (จากข้อ 1) ให้ สสอ. 3. การปอ้ งกันและดูแลรกั ษาผู้สัมผสั โรค ตลอดปี รพ. 3.1 รพ.สารองวัคซีนและอมิ มโู นโกบลุ นิ ให้ เพียงพอในการให้บริการ 3.2 จัดระบบติดตามผูส้ ัมผัสโรคให้มีประสิทธิภาพ ตลอดปี รพ./รพ.สต. (ผู้สัมผัสโรคทกุ คนไดร้ ับวคั ซนี ครบชุด) 3.3 ฉีดวคั ซนี ปอ้ งกนั โรคล่วงหน้าใหบ้ ุคลากรกลุม่ วนั ที่ ............. รพ. เส่ยี ง ใหเ้ สร็จ 4. การสอื่ สารความเสี่ยง ตลอดปี รพ./รพ.สต./ผญบ./กานัน/ 4.1 แจ้งการพบหัวสนุ ขั บวก ทกุ หมบู่ ้านทุก ครู/อปท. โรงเรยี น 4.2 การปฏิบัตติ น เพ่ือลดความเสี่ยงในการถูกกัด ตลอดปี รพ./รพ.สต./ผญบ./กานัน/ โดยใชค้ าถา 5 ย คร/ู อปท. 4.3 การปฏบิ ัตติ น เม่ือถกู สตั ว์กดั /ข่วน/เลีย ตลอดปี รพ./รพ.สต./ผญบ./กานัน/ แผล โดยใชค้ าถา “ลา้ งแผล ใส่ยา กักหมา หาหมอ คร/ู อปท. และฉดี วัคซนี ให้ครบชุด” 32 Package ตน้ แบบการขับเคล่ือนกลไกป้องกันควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ เครอื ขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตระดบั อำ�เภอ สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 8 จังหวัดอุดรธานี
ตารางท่ี 18 รูปแบบการดาเนินงานมาตรการด้านสตั ว์ : เปา้ หมายคอื ความครอบคลุมวัคซนี ในสตั ว์ มาตรการ ระยะเวลาดาเนินการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ 1. สารวจสุนัข แมวและขนึ้ ทะเบยี น ภายใน... อปท. 2. จัดซอื้ จดั หาวัคซีนในสัตว์ ภายใน... อปท. 3. ฉดี วคั ซีนในสัตว์ ภายใน... อปท./ปศอ. 4. การควบคมุ สัตว์ไมม่ ีเจา้ ของ ภายใน... อปท./ปศอ. การตดิ ตามประเมนิ ผล กาหนดการประชุมตดิ ตามและสรุปผลการดาเนนิ งานทง้ั หมด สอบถามข้อมลู เพิ่มเตมิ ไดท้ ่ี กลุ่มโรคติดต่อสานกั งานป้องกนั ควบคุมโรคท่ี 8 จงั หวดั อุดรธานี 042 – 295 717 @Contact us กลมุ่ โรคตดิ ต่อ สคร.8 อดุ รธานี 33Package ตน้ แบบการขับเคล่ือนกลไกป้องกันควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพ เครอื ข่ายพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตระดบั อำ�เภอ ส�ำ นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวดั อดุ รธานี
34 Package ตน้ แบบการขบั เคล่อื นกลไกป้องกันควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพ เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพชีวติ ระดับอ�ำ เภอ สำ�นกั งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคที่ 8 จงั หวดั อดุ รธานี
โรคท่เี กิดจากอาหารและนาเป็นสื่อ โรคที่เกดิ จากอาหารและนาเป็นส่อื ขข้ออ้ มมูลูลสสถถาาโนนรกคกาอารรจุ ณณจา์แแ์ รลละะะรสสว่ ภงภแาาลพพะปปโัญรัญคหหอาาาหโราครเทปเ่ี น็กพิดษิจา(กFอoาoหdาpรแoลisะoนnาinเปg)น็ เสกือ่ ดิ จากการรบั ประทานอาหารหรอื นา้ ที่ ส2โปรสขโโปร2ป2รลลล่า5ขุ่่าา55นขุ้อนนหงหหงง6ภ66ภมเกเเกกะ1ปะะา11ปปาูลาหาา)หหพื้))อพื้้ืออยสยยนสนนทสสนทภนนถภภกัจถัักกจจถถ่ี เ่ีาาเเาา8าชา8าาชชาาโโยนเยยเเกนรร้ือหกกนน้ื้ืออหหแหแหหกคครกโรร็ดกกโโส็ด็ดลสาลลรออารราาาพาาดพพรังดคยัังงุจจุคคยยรรรจิษณงจจิษษิงจจงณงงณณดาด(าา((าาาาาแ์แปแแังก์โปปงักก์์นโโรรนนลบภรบบภรรรละะรรลลรครระัคคาบคาัับบารรคคาาะะะสพอปพออ่่ววปทปปปปททบบบุภจทงงุุจจักทีรกักัเีีรรเเบแแจบบราจจเี่ดรระเเดี่ะะปลลียพปปาเีียยาาทเเังททังฝฝฝระะ้านรร้า้าปนาาา้ไาะ้้ไไโโาาะะี้นวเี้ญันนรรววเเรรรรมรรมมรคคอรระ่วออะะ่่ววลหัลลสััออสสางวาาววงงด็ าด็็ดหหแาาัหหงหหแแัังงตตตหหขลอารขขลลาารร้นตั้นน้รื้าาออะรรืื้้ออออะะรโทรรโโททโพมาโโพพมมพพพเเรรรี่ปปี่่ีปปูปปลยููลลยยธค่ ธธคควนนน็น็นา์ิศยาาอ์ศิศ์ิ ออรรรเธโพพเเธธรารรรปาางปปงงิ)ีิิค))หีีษษิิ .หหสื้อ..สส้้ืืออ5อ55สสสาาาานจุ าานน0((00ารจาารรรFFรรเ6เเร66เาหรรชเเหหooชชปรปปพพพื้อนะื้ื้ขooออนนขข็น็็นนิรษิิโษษู โโddอูู่วออพรตพพรรตตงทททงคงงคคะิษppะะิิษษ(ส่ีเสส่ีี่ตเเเกเเชกกooภชชขาภภอขข่าาว่ั ื้วัว่่ัอiiื้ื้แน้าออานน้้ssาาาาสไสพooเไไสสัพพกเเัักกปนปปปปปรnnรรรรรรปรรห็น้าหห็น็น้้วiiาาะววระะnnงตระมงงตตรรบมมบบggขชือขขน้ืืออน้้นข))ขขาา้ึาานส้ึ้ึนนสสกอดออเเดดาใรกกาาใใงงงว)นรววนนรริดิดปปปิทพิิททอพพออจจรรรยิษายยิิษษาาาาะะะาหกกาาหหจเจจเเยทยยททกกาาาาาา้อกศ้้ราาออกกศศรรรรสนสสสนนสสแรรแแา่ิงหาา่ิ่ิงงหหบบััยอรยยออรรลลลกปปพ่ืนกกพพื่ื่นนังัังงรรริรรๆษิิๆๆษษาะะาา555ทททยททเยยเเชี่ชชเปจี่่ีเเปปจจาาช่ชชน่่นนังนนีัังงีี ื้อ้ืื้ออห(หห((ออปพปปโพพโโวววาารีรรพืชีีพพืืชชัดหหััดดคคคพ.พพใ..าาใใศสศศสสนินนษรริิษษ.ร..รรพหหพพ้า2้้าาส22สส้ืรรน้้ืืงนนงง5ัต55อือืััตตขทขขทท5ว55นนววึ้น้้ึึ่ีนนเ่่ีีเเ์พ7์์พพ77ข้า้าขขใใใิททษตนิิษษตตนน–––่ีี่ สขุ ภาพท20ี่ 800แสดง1ด70ัง8.ภ75าพทด่ี งั น้ี 1685.6อ2ตั ราป่ วยโรคอจุ จา1ร8ะ3ร8่ว.4ง1 (ตอ่ แสนประช1า5ก71ร.)83 12500000 1685.62 1838.41 1805.51 1708.75 1805.51 11050000 1735.16 1571.83 21500000000 11810051.5.11 15500000 1735.16 1388.3อ8ตั ราป่ วยโรคอจุ จาระร่วง (ตอ่ แสนประชากร) 1101.1 1708.75 1211873.984.41 1685.62 95175.741.83 2561 1735.16 1388.38 1217.94 1101.1 957.4 2561 10000 2557 1388.328558 2559 2560 500 2557 2558 1217.94 ประเทศ 2559เขตสขุ ภาพท่ี 8957.4 2560 ภาพท่ี 11 อตั 0ราปว่ ยโรค2อ5ุจ5จ7าระรว่ งย้อนหล2งั 5558ปีเปรยีปรบะเเททศยี บร2ะ5ห5ว9เา่ ขงตปสขุ รภะาพเทท่ี 8ศกับเ2ข5ต6ส0ขุ ภาพที่ 8 2561 ภาพที่ 11 อตั ราปว่ ยโรคอุจอจตัารราะปร่ วว่ ยงโยรอ้คนอาหหลางั รเ5ป็นปพเี ิษปร(ตปยี รอ่บะแเเทสทศนยี ปบรระะชหากวเร่าข)ตงสปขุ ภราะพเทท่ี 8ศกบั เขตสุขภาพท่ี 8 ภาพที่ 16100อตั ราป่วยโร4ค05อ.8ุจ6จอาตั รระาปร่่ววงยยโรอ้ คนอหาหลางั รเ5ป็นปพเี ปิษร(ียตบอ่ แเทสนยี ปบรระะชหาวก่าร)งประเทศกบั เขตสุขภาพท่ี 8 460000 297.67 240000 211.83 2600000 207.52405.86อตั ราป่ วย1โร9ค9อ.02า96ห7า.6ร7เป็นพิษ 167.11 178.38 4000 (ตอ่ แ1ส7น42.ป715ร1ะ.8ช3ากร) 12156.772.11 1218.7678.38 200 207.5245055.786 199.026558 174.725559 125.722560 12285.6671 2557 297.67 ประเทศ 21215.8539เขตสขุ ภาพที่ 8 1672.15160 127586.138 2558 ภาพที่ 12 0อตั รา2ป07่ว.ย5โ2รคอาหารเปน็ พ1ษิ 99ย.อ้ 0น6หลงั 5 ปีเปประรเียท1ศบ74เท.75ียบระเขหตวสขาุ่ ภงาปพทรี่ะ8เ1ท25ศ.7ก2ับเขตสขุ ภาพท่ี 8128.67 ภาพท่ี 12 อตั ราป่วยโ2ร5ค5อ7าหารเป็นพษิ ยอ้ 2น5ห58ลงั 5 ปเีปประรเทยี ศบเท2ีย5บ5ร9ะเขหตสวขุา่ ภงาปพทร่ี 8ะเทศ2ก5ับ6เ0ขตสุขภาพที่ 8 2561 ภาพท่ี 12 อตั ราป่วยโรคอาหารเปน็ พิษยอ้ นหลงั 5 ปีเปรยี บเทยี บระหวา่ งประเทศกับเขตสุขภาพที่ 8 35Package ตน้ แบบการขบั เคล่อื นกลไกปอ้ งกนั ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพชีวติ ระดับอำ�เภอ สำ�นักงานปอ้ งกันควบคมุ โรคท่ี 8 จังหวัดอุดรธานี
2500 อตั ราป่วยโรคอจุ จาระร่วง(ตอ่ แสนประชากร) อตั ราป่ วยโรคอจุ จาระร่วง(ตอ่ แสนประชากร) 20020500 15020000 10010500 5010000 0500 0 2557 2558 2559 2560 2561 2557 2558 2559 2560 2561 ภาภพาทพ่ี 1ท3่ี 1อ3ัตรอาตั ปร่วายปโว่ รยคโอรจุคจอาุจรจะารร่วะงรย่วอ้ งนยหอ้ ลนงั ห5ลังปีเ5ปปรยีีเปบรเทยี ยีบบเทรยีายบจรังาหยวจัดังเหขวตดั สเขุขภตาสพขุ ทภี่า8พที่ 8 อตั ราอปตั ่ วรายปโร่ วคยอโารหคาอราเหปา็นรพเปษิ ็น(ตพอ่ ษิ แ(สตนอ่ ปแรสะนชปารกะรช) ากร) 800800 600600 400400 200200 00 25527557 25582558 25592559 25602560 25612561 ภาภพาทพ่ี 1ท4่ี 1อ4ัตรอาตั ปร่วายปโ่วรยคโอราคหอาารหเปาร็นเพปษิ็นยพ้อิษนยหอ้ ลนงั ห5ลังปี5เปปรี ียเปบรเทยี ยีบบเทรายี ยบจรังาหยวจดั งั เหขวตดั สเุขขภตาสพุขทภ่ีา8พท่ี 8 อัตอรัตาปราว่ ปย่ว/แยส/แนสปนรปะชราะกชรากร 3000 2712 2712 30020500 2204 25020000 1757 1546 15461546175717572204 20010500 1757 1546 15010000 1000500 500 0 2556 2557 2558 2559 2560 2561 0 ภาพท2่ี 51556อตั ร2า5ป5ว่ 7ยโรค2อ5ุจ5จ8าระร2่ว5ง5อ9าเภอ2ธ5า6ต0พุ นม2561 ภาพที่ 16 จานวนผูป้ ว่ ยแยกตามกลุ่มอายุปี 2561 ภาพท่ี 15 อัตราป่วยโรคอุจจาปรีะ2ร5่ว5ง6อ-า2เภ56อ1ธาตพุ นม ภาพท่ี 16 จานวนผู้ปว่ ยแยกตามกลุ่มอายุปี 2561 ปี 2556-2561 ภาพท่ี 17 จานวนปว่ ยโรคอุจจาระรว่ งอาเภอธาตพุ นม ภาพที่ 18 จานวนปว่ ยโรคอุจจาระรว่ งอาเภอธาตุพนม ภาพท่ี 17 จานวนแปยว่กยตโารมคกอลจุ มุ่จอาราะชรพี ว่ ปงอี 2า5เภ6อ1ธาตุพนม ภาพที่ 18 จานวนปว่ แยยโรกครอาุจยจเดารือะนรปว่ ีง2อ5า6เภ1อธาตพุ นม แยกตามกลุ่มอาชพี ปี 2561 แยกรายเดอื นปี 2561 36 Package ต้นแบบการขับเคล่อื นกลไกป้องกันควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพ เครอื ขา่ ยพัฒนาคุณภาพชีวติ ระดบั อำ�เภอ ส�ำ นักงานป้องกนั ควบคมุ โรคท่ี 8 จงั หวัดอุดรธานี
สถานการณ์โรคอุจจาระร่วงในอาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาพรวมมีแนวโน้มสูงข้ึนส่วนใหญ่ เกิดในกลุ่มเด็กเล็กและผู้สูงอายุ อาชีพเกษตรกรและนักเรียน ในปี 2561 เกิดมากระหว่างเดือนมกราคม- มีนาคม อตั ราปว่ ย/แสนประชากร 600 518 500 400 215 287 300 247 231 200 100 73 0 2556 2557 2558 2559 2560 2561 ภาพท่ี 19 อัตราปว่ ยโรคอาหารเปน็ พษิ อาเภอธาตพุ นมปี 2556- ภาพท่ี 20 จานวนปว่ ยโรคอาหารเป็นพษิ อาเภอธาตพุ นม 2561 แยกตามกลุ่มอายปุ ี 2561 ภาพท่ี 21 จานวนปว่ ยโรคอาหารเปน็ พษิ อาเภอธาตุพนม ภาพท่ี 22 จานวนปว่ ยโรคอาหารเปน็ พษิ อาเภอธาตพุ นม แยกตามกลุ่มอาชพี ปี 2561 แยกรายเดอื นปี 2561 สถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษในอาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาพรวมมีแนวโน้มลดลงส่วนใหญ่ เกิดในกล่มุ อายุ 15-24 และ 10-14 ปี อาชีพนักเรยี นและเกษตรกร ในปี 2561 เกิดมากระหว่างเดอื นมีนาคม การวิเคราะห์ข้อมลู และประเด็นปญั หา สถานการณ์/ประเดน็ ปัญหาท่ีเป็นทนี่ ่าสนใจของพ้ืนที่อาเภอธาตพุ นม จงั หวัดนครพนม ท่อี าจเปน็ ปัจจยั ตอ่ การเกิดการระบาดของโรคตดิ ต่อทางอาหารและน้า ได้แก่ 1) มแี รงงานตา่ งดา้ วจานวนมากทเี่ คลือ่ นยา้ ยเขา้ -ออกเปน็ ประจาทุกวนั ซึง่ ไมส่ ามารถควบคุมกากบั ได้ โดยมกี ารนาสนิ ค้า วัตถดุ ิบจาก สสป.ลาวเขา้ มาขายโดยไมผ่ า่ นการตรวจ 2) ผูป้ ระกอบการที่มีลูกจ้างแรงงงานตา่ งดา้ วไม่เปิดเผยข้อมลู ที่แทจ้ ริงแก่เจ้าหน้าท่ใี ห้ทราบ 3) เม่อื เกิดการเจบ็ ปว่ ยสว่ นใหญ่จะมีการซอ้ื ยากนิ เอง นอกจากมีอาการรนุ แรงถงึ จะไปรักษาท่ี สถานพยาบาล 4) เปน็ สถานท่องเที่ยวซ่ึงจะมีการเคลอ่ื นย้ายของประชากรจากตา่ งถน่ิ จานวนมาก 37Package ต้นแบบการขับเคล่อื นกลไกปอ้ งกนั ควบคมุ โรคและภัยสุขภาพ เครอื ขา่ ยพฒั นาคุณภาพชีวิตระดับอ�ำ เภอ ส�ำ นักงานปอ้ งกันควบคมุ โรคท่ี 8 จงั หวดั อดุ รธานี
Search