Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน Best Practice ศูนย์เรียนรู้หัวนาโมเดล

รายงาน Best Practice ศูนย์เรียนรู้หัวนาโมเดล

Published by nattanithi2016, 2022-07-19 07:05:11

Description: รายงาน Best Practice ศูนย์เรียนรู้หัวนาโมเดล กศน.ตำบลโนนข่า เด่นด้านหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

แบบรายงาน Best Practice ๑. ชอ่ื โครงการ/ กิจกรรม ศูนยก์ ารเรยี นรู้หัวนาโมเดล ๒. ความสอดคล้องกับนโยบาย จดุ เน้นการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑. นอ้ นนาพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาสู่การปฏิบตั ิ ๑.๑ สืบสานศาสตรพ์ ระราชา โดยการสรา้ งและพัฒนาศูนยส์ าธิตและการเรยี นรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือเปน็ แนวทางในการจัดการบรหิ ารทรัพยากรรปู แบบต่าง ๆ ทัง้ ดนิ น้า ลม แดด รวมถงึ พชื พนั ธ์ตุ า่ ง ๆ และส่งเสรมิ การ ใช้พลงั งานทดแทนอย่างมปี ระสิทธิภาพ ๓.ความเปน็ มาของโครงการ/กจิ กรรม ประวตั ิความเป็นมา โครงการชีววถิ เี พ่อื การพัฒนาอยา่ งยั่งยนื ตามแนวพระราชด้ารเิ ศรษฐกิจพอเพียงบ้านหัวนา (สวนเกษตรหัวนา โมเดล) ต้าบลโนนขา่ อา้ เภอพล จงั หวัดขอนแกน่ เรมิ่ ด้าเนินการก่อต้งั เมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๘ โดยไดร้ ับ การสนับสนนุ เบื้องตน้ จากวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีจังหวัดขอนแก่น ตามโครงการ ๑๐๘ อาชีพ การด้าเนนิ การ โดยการปรึกษาหารือ โดยนายสรุ ศักด์ิ สทิ ธชิ ัย ผู้ใหญบ่ า้ นบา้ นหัวนา และนายเชยี่ วชาญ ชามะรตั น์ เปน็ ผรู้ ิเริ่ม โครงการ โดยมกี ารลงมตผิ ่านเวทีประชาคมชาวบ้านใหใ้ ช้พื้นท่ีสาธารณะประโยชนบ์ รเิ วณหนองปู่ตา จ้านวน ๑๕ ไร่ จัดสรรแบ่งพน้ื ท่ีใหแ้ กร่ าษฎรในหมูบ่ ้านท่ีได้ลงทะเบยี น สย.ในเรื่องไม่มีทด่ี ินท้ากนิ และชาวบ้านทม่ี ีความตัง้ ใจทจ่ี ะ ปฏิบัตติ ามกจิ กรรม จา้ นวน ๘๐ ครวั เรอื น จา้ นวน ๘๐ แปลง ๆ ละ ๑๐๐ ตารางเมตร (๑๐X๑๐) โดยในแต่ละ แปลงจัดสรรไดด้ ังนี้คอื ๑. จัดทา้ เป็นบอ่ เลีย้ งปลาดุก ขนาด ๒x๔x๑ เมตร เลย้ี งปลาดุก ๔๐๐ ตวั ๒. จดั ท้าเปน็ บอ่ เลย้ี งกบ ขนาด ๑x๒x๕๐ เมตร เล้ียงกบ ๓๐๐ ตวั ๓. จดั สรรพื้นท่วี ่างไว้ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ วัตถปุ ระสงคก์ ารจดั ตัง้ ๑. เพอ่ื เป็นแหลง่ เรียนรู้ดา้ นการเกษตรแบบพอเพยี ง โดยเน้นด้านการผลติ ตามโครงการชวี วถิ ีเพือ่ การพัฒนา อย่างยงั่ ยนื ๒. เพอ่ื เป็นแหล่งแลกเปล่ียนเรียนรดู้ า้ นอาชพี ต่างทม่ี ีในชุมชน ๓. เพอ่ื เปน็ แหลง่ รวบรวมข้อมลู ข่าวสาร ความรู้ของชมุ ชน เพื่อน้าไปส่งเสรมิ การเรยี นร้ขู องประชาชน ๔. เพอ่ื สรา้ งความผกู พันและสามัคคีระหวา่ งคนในชมุ ชน กจิ กรรมภายในสวนเกษตรหวั นาโมเดล กิจกรรมตา่ ง ๆ ทส่ี มาชกิ สวนเกษตรหัวนาโมเดลจะต้องปฏิบตั อิ ย่างสมา้่ เสมอและเปน็ ประจา้ คือ ๑. การปลกู ผักปลอดภยั จากสารพษิ (ไมใ่ ชป้ ยุ๋ เคมี และสารเคมสี ังเคราะห์ใด ๆ) ๒. การเลยี้ งปลาดกุ ในบ่อพลาสติก ๓. การเล้ียงกบและเพาะพนั ธ์ุลกู อ๊อด ๔. การท้าปุ๋ยชีวภาพ ๕. เนน้ การผลิตนา้ จุลนิ ทรียช์ วี ภาพ (EM) ไปใช้ในการเลย้ี งสัตวแ์ ละบ้าบัดนา้ เสยี เพ่ือเป็นการรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม ๖. การทา้ ปยุ๋ หมักใช้เอง ๗. การเพาะเห็ดในถงุ พลาสตกิ

๘. ปลูกผกั ขน้ึ ค้างเพ่ือคลุมบอ่ ปลา ๙. การปลกู แกว้ มังกร ๔. ขั้นตอนการดาเนินงาน ๑. มีการบรหิ ารจัดการในรูปแบบคณะกรรมการและกฎระเบียบของสมาชิกฯ ๒. มีการประชมุ คณะกรรมการและสมาชิกทุกเดือน ๓. มีการน้าเสนอปัญหา อปุ สรรค และแสดงความคิดเหน็ ในการแก้ไขปัญหาตา่ งๆ ๔. มกี ารแบง่ พนื้ ท่ีปลกู ผัก และเล้ียงปลา โดยพชื ผักที่ปลูกตามฤดูกาลและความต้องการของตลาด ๕. การเปดิ –ปิด เปน็ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๒.๐๐ น เกบ็ คา่ นา้ กบั สมาชิกวันละ ๑ บาทตอ่ เดือน เพ่ือไปจ่ายค่าไฟฟา้ ๕. ความสาเรจ็ ท่ีเปน็ จดุ โดดเดน่ ของโครงการ/หรอื กจิ กรรม ๑. เปน็ ศูนย์เรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียงระดับอา้ เภอ ๒. เปน็ ศูนยเ์ รียนรดู้ า้ นเกษตรธรรมชาติรองอันดบั ๑ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓. เป็นศนู ย์เรียนรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลายหนว่ ยงานภาครัฐ / ภาคเอชน และกลุ่มอาชีพ มา ศกึ ษาดงู าน ๔. เป็นศนู ย์ฝกึ อบรมกลุ่มสมาชิกธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณ์ ในการสรา้ งอาชีพ สรา้ งรายได้และลด รายจา่ ย ๕. สมาชกิ ของศูนยเ์ รียนรหู้ ัวนาโมเดล มีความรัก ความสามัคคี ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบและข้อบงั คบั ตามอยา่ งเคร่ง คัด ๖.รางวลั แห่งความของโครงการ / กิจกรรม ๑. ศนู ย์เรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี งระดบั อ้าเภอพล ๒. ศูนยเ์ รียนร้ดู ้านเกษตรธรรมชาติ รองอนั ดับ ๑ ระดับภาคตะวันเฉยี งเหนือ ๓. ชมุ ชนคุณธรรมบ้านหวั นา ๔. เป็นสว่ นหน่งึ ของการประเมนิ ศศร.กศน.อ้าเภอพล ๗.ขอ้ คิดควรคานงึ ในการนาไปขยายผลหรือนาโครงการ ๑. ตามรอยเท้าพ่อโดยน้อมนา้ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. หมบู่ า้ น / ชมุ ชน พ่ึงพาตนเองได้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. หมบู่ ้าน / ชมุ ชน เขม้ แข็ง ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔. หมู่บา้ น / ชมุ ชน ได้บริโภคพชื ผกั ปลอดสารพษิ และเปน็ ครัวของตนเอง ๕. เปน็ ศนู ยเ์ รียนรู้ต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อใหค้ ณะศกึ ษาดูงานน้าไปปฎบิ ัตแิ ละประยุกตใ์ นพน้ื ทตี่ นเอง ๘. ข้อมูล / หลักฐาน อา้ งอิง https://www.gotoknow.org/dashboard/posts/690018 ครนู อกระบบ <เลา่ สกู่ นั ฟัง> กศน.อาเภอพล รบั การประเมนิ ศนู ยก์ ารเรยี นรตู ้ าหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดา้ นการศกึ ษา https://www.gotoknow.org/dashboard/posts/690022 ครูนอกระบบ <เลา่ สกู่ นั ฟัง> คณะกรรการการประเมนิ ศนู ยก์ ารเรยี นรตู ้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดา้ นการศกึ ษาฯ ลงพน้ื ทศี่ นู ยเ์ รยี นรหู ้ ัวนาโมเดล https://www.gotoknow.org/dashboard/posts/689248 ครูนอกระบบ <เลา่ สกู่ นั ฟัง>แหลง่ เรยี นรตู ้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งหวั นาโมเดล ต.โนนขา่

https://www.gotoknow.org/dashboard/posts/611558 ครนู อกระบบ <เลา่ สกู่ นั ฟัง>กศน.อาเภอพล จัดโครงการหมบู่ า้ นตามรอยพระยคุ ลบาทและการทาบัญชี ครวั เรอื น ณ ศนู ยเ์ รยี นรหู ้ ัวนาโมเดล https://www.gotoknow.org/dashboard/posts/584498 ครูนอกระบบ <เลา่ สกู่ นั ฟัง>กศน.ต.โนนขา่ รว่ มตอ้ นรับคณะศกึ ษาดงู าน ณ ศนู ยเ์ รยี นรบู ้ า้ นหวั นาโมเดล นายพลอย ธวิชัย วิทยากร หลกั สตู รน้าหมักชีวภาพ นายเชีย่ วชาญ ชามะรัตน์ วทิ ยากร ออนไลนโ์ ครงการอบรมการจดั กระบนการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมขับเคลื่อนศาสตร์พระราชา นายสมพงษ์ ศรปี ระมาณ ผอ.โรงเรียนบา้ นหวั นาหนองแวง ประธานและนายเชยี่ วชาญ ชามะรัตน์ วิทยากร

นางณัฐนิธิ อกั ษรวิทย์ ครู กศน.ตาบลโนนข่า นาเสนอ Best Practice ศูนย์เรยี นรหู้ ัวนาโมเดลต่อคณะกรรมการประเมิน ศศร. นางณฐั นิธิ อักษรวทิ ย์ ครู กศน.ตาบลโนนข่า นายสายยนต์ บัวศรีภมู ิ ครู ศรช.บ้านห้วยโจดและนักศึกษา กศน.ต.โนนขา่ นาเสนอ การถอดบทเรียนศูนยเ์ รยี นรูห้ วั นาโมเดลต่อคณะกรรมการประเมนิ ศศร. ๙.ผเู้ ขยี น ๑. นางณัฐนิธิ อักษรวิทย์ ครู กศน.ต.โนนข่า ๒. นายสายยนต์ บัวศรีภมู ิ ครู ศรช.บ้านห้วยโจด ม. ๑ ๓. นายสุพัฒน์ ศรสี ุภะ ครู ศรช.บ้านหวั นา ม.๒ บรรณาธิการ ๑. นายเชยี่ วชาญ ชามะรตั น์ ท่ีปรึกษาศนู ย์ ฯ และวิทยากร ๒. นายประเสริฐ เลิกนอก ประธานศนู ย์เรียนรู้หวั นาโมเดล ๓. นายประสิทธ์ิ พรจนั ทึก ผอ.กศน.อาเภอพล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook