Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best-Practice-หัวนาโมเดล63

Best-Practice-หัวนาโมเดล63

Published by nattanithi2016, 2022-07-12 07:33:29

Description: Best-Practice-หัวนาโมเดล63

Search

Read the Text Version

Best Practice แหลง่ เรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งบ้านหัวนาโมเดล กศน.ตาบลโนนข่า ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอพล สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ขอนแก่น กระทรวงศกึ ษาธิการ

แหล่งเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งบ้านหัวนาโมเดล บา้ นหัวนา หมู่ที่ 2 ตาบลโนนข่า อาเภอพล จงั หวดั ขอนแกน่





นโยบายรัฐบาลทเ่ี กย่ี วขอ้ งดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง การจัดทาํ แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบบั ท่ี11 พ.ศ.2555–2559ได้ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และความสอดคลอ้ งกับรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2550 พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ ก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ฉบับปรับปรงุ (พ.ศ.2552–2559)รวมทงั้ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติ ฉบบั ท่สี บิ เอ็ด พ.ศ.2555 –2559 ท่ีมุ่งหวังจะพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกกลุ่มวัยใหม้ ีความ พรอ้ มทั้งกาย ใจ สติปญั ญา มจี ิตสาํ นกึ วฒั นธรรมท่ีดีงามและร้คู ุณค่าของความ เป็นไทย มีโอกาสและ สามารถเรยี นรู้ตลอดชวี ิต มภี มู คิ ุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง และเปน็ พลงั ทางสงั คมในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เชือ่ มโยงกับบทบาทและอาํ นาจหนา้ ท่ีของระทรวงศกึ ษาธิการมาเป็น กรอบแนวคิดในการดาํ เนินการโดยมีเปา้ หมายสาํ คญั คอื มุ่งใหค้ นไทยได้เรียนรูต้ ลอดชวี ิตอยา่ งมี คุณภาพ เป็นคนดี คนเก่ง มคี วามสุ ข มภี มู คิ ุ้มกัน รู้เท่าทนั ในเวทโี ลก กระทรวงศึกษาธกิ ารจึงได้จดั ทํา แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับที่11 พ.ศ.2555–2559 ขน้ึ โดยคํานงึ ถงึ ผลการ ดาํ เนนิ งานท่ผี ่านมา และบรบิ ทสภาพแวดล้อมทกุ ดา้ นท่มี ีผลกระทบตอ่ การศกึ ษา ประกอบกับทิศ ทางการพฒั นาประเทศและทิศทางการพฒั นาการศึกษาของประเทศ รวมทั้งการใหค้ วามสาํ คญั กบั บุคคล หน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งระดมความคดิ เหน็ จากทง้ั ภาครัฐ เอกชน ชุมชนและประชาชนทีส่ นใจ เพอ่ื ให้แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 11 พ.ศ.2555–2559 มีความสอดคล้อง กบั ความต้องการของพ้นื ที่และทอ้ งถ่นิ ส่งผลใหก้ ารดาํ เนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาในระดับ หน่วยงานมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสูงสดุ

ความเปน็ มาของปัญหา เนื่องจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจของประเทศไทยเมื่อประมาณ พ.ศ. 2540 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงเสนอแนะทางออกของปัญหา โดยพระราชทาน แนวทางในการแก้ไขวกิ ฤตของประเทศ ภายใต้ช่อื “เศรษฐกจิ พอเพียง” (sufficiency economy) ซ่ึงเป็นแนวทางในการดําเนินชีวิตและปฏิบัติตนในสายกลาง เพ่ือให้ ประชาชนชาวไทยรอดพน้ จากวิกฤตทางเศรษฐกจิ และสามารถดําเนินชีวิตได้อย่างม่ันคง และยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลง ผลจากการเน้นแนวทาง เก่ียวกับการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซ่ึงเป็นองค์กรหลักในการวางแผนพัฒนา ประเทศ จึงได้อัญเชิญพระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นปรัชญานําทางใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) และใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10(พ.ศ. 2550-2554) ที่มีเป้าหมาย เพ่ือให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างสมดุลและย่ังยืนไปพร้อมกับการพัฒนาคนให้ใช้ชีวิต ด้วยความพอประมาณ มีเหตุผลมีภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี ทําให้ประชาชน องค์กรมีความ เปน็ อยู่ทด่ี ขี ้นึ

บรบิ ทบา้ นหวั นา บ้านหวั นา หมู่ที่ 2 เป็นหนึ่งในจานวน 9 หม่บู ้านในตาํ บลโนนข่า ต้งั อยทู่ างทิศใตข้ องอาํ เภอพล ติดกับทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมติ รภาพ) ห่างจากอําเภอพล ประมาณ 3 กิโลเมตร ห่างจากจงั หวดั ขอนแก่น ระยะทางประมาณ 75 กโิ ลเมตร เนอ้ื ที่ มเี น้อื ที่ 2.76 ตารางกิโลเมตร หรือจํานวน 1,725.25 ไร่ โดยเปน็ พืน้ ท่อี ยู่อาศัย 247.25 ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือ ตดิ กบั บา้ นทา่ หลวง บ้านหญา้ คา ตาํ บลเมืองพล ทิศใต้ ติดกบั บ้านบ่อตะครอง ตําบลโนนข่า และบา้ นโคกกุง ตาํ บลหนองแวงโสกพระ ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กับ บ้านหนองแวงแอก ตําบลโนนข่า ทศิ ตะวนั ตก ติดกบั บ้านโนนข่า และบ้านบุอา้ ยตู้ ตาํ บลโนนข่า ลักษณะภมู ิประเทศ สภาพพื้นท่ขี องบา้ นหวั นา หมทู่ ่ี 2 ตั้งอยบู่ นทร่ี าบสงู เป็นเนนิ ลาดเอียงมาทางทศิ เหนือสลู่ าหว้ ย แอก และลาดเอียงไปทางทิศตะวนั ออกสูล่ าหว้ ยปอปิด หมบู่ ้านโนนข่ามีลกั ษณะทน่ี าล้อมรอบหมู่บา้ น 3 ดา้ น คือทางทศิ เหนอื ทิศตะวนั ออกและทศิ ตะวนั ตก ส่วนดา้ นทิศใตเ้ ปน็ เนินสูงตดิ กับป่า ลกั ษณะ เชน่ น้ีเรยี กว่า “โนน”

ความเปน็ มาหวั นาโมเดล โครงการชวี วถิ ีเพอื่ การพัฒนาอยา่ งย่ังยืนตามแนวพระราชดาํ ริเศรษฐกจิ พอเพยี งบ้านหัวนา (สวนเกษตรหัวนาโมเดล) ตําบลโนนข่า อําเภอพล จงั หวดั ขอนแกน่ เรม่ิ ดําเนินการกอ่ ตัง้ เม่ือเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2548 โดยไดร้ บั การสนับสนุนเบื้องต้นจากวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีจังหวัด ขอนแกน่ ตามโครงการ 108 อาชพี การดําเนนิ การโดยการปรกึ ษาหารือ โดยนายสุรศกั ด์ิ สทิ ธิ ชยั ผใู้ หญบ่ ้านบา้ นหวั นา และนายเช่ียวชาญ ชามะรตั น์ เป็นผรู้ ิเรม่ิ โครงการ โดยมกี ารลงมตผิ ่าน เวทีประชาคมชาวบ้านใหใ้ ช้พืน้ ทีส่ าธารณะประโยชน์บริเวณหนองปู่ตา จาํ นวน 15 ไร่ จัดสรรแบง่ พืน้ ที่ให้แกร่ าษฎรในหมู่บ้านท่ไี ด้ลงทะเบยี น สย.ในเรอื่ งไม่มีทดี่ นิ ทํากนิ และชาวบา้ นท่มี ีความตัง้ ใจท่ี จะปฏิบัติตามกิจกรรม จาํ นวน 80 ครวั เรือน จํานวน 75 แปลง ๆ ละ 100 ตารางเมตร (10x10) โดยในแตล่ ะแปลงจัดสรรได้ดังนีค้ ือ 1.เป็นบ่อเล้ยี งปลาดกุ ขนาด 2x4x1 เมตร เลี้ยงปลาดุก 400 ตัว 2. เปน็ บ่อเล้ียงกบ ขนาด 1x2x.50 เมตร เล้ยี งกบ 300 ตวั 3.จดั สรรพืน้ ทีว่ า่ งไวป้ ลูกผักสวนครัวปลอดสารพษิ

กิจกรรมตา่ ง ๆ ทส่ี มาชกิ สวนเกษตรหวั นาโมเดลจะต้องปฏิบตั ิอยา่ งสม่าเสมอ และเป็ นประจาคอื 1.การปลกู ผกั ปลอดภยั จากสารพิษ (ไมใ่ ช้ป๋ ยุ เคมี และสารเคมีสงั เคราะห์ใด ๆ) 2.การเลีย้ งปลาดกุ ในบอ่ พลาสติก 3.การเลีย้ งกบและเพาะพนั ธ์ลุ กู อ๊อด 4.การทาป๋ ยุ ชีวภาพ 5.เน้นการผลติ นา้ จลุ นิ ทรีย์ชวี ภาพ (EM) ไปใช้ในการเลีย้ งสตั ว์และบาบดั นา้ เสีย เพ่ือเป็ นการรักษาสิ่งแวดล้ อม 6.การทาป๋ ยุ หมกั ใช้เอง 7.การเพาะเหด็ ในถงุ พลาสตกิ 8.ปลกู ผกั ขนึ ้ ค้างเพ่ือคลมุ บอ่ ปลา



วเิ คราะห์ศักยภาพบา้ นหัวนา จดุ แขง็ (Strength) 1) การคมนาคมสะดวกสบาย 2) มีกล่มุ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลติ เป็นแหล่งทนุ ใหก้ ับกลุ่มอาชีพอน่ื ๆ ในชมุ ชนได้ 3) มกี ารจัดตงั้ กลมุ่ ฌาปนกิจสงเคราะห์ กทบ. ปัจจบุ ันมีสมาชิกรวม 180 4) มีกลุ่มปลกู ผักปลอดภัยจากสารพษิ และกล่มุ อาชพี อ่ืน ๆ สามารถเป็นที่ศกึ ษาดูงานได้ 5) มศี นู ย์เรยี นรชู้ มุ ชน ได้รับยอมรับจากอําเภอพลใหเ้ ปน็ ศูนย์เรยี นรชู้ มุ ชนตน้ แบบ 6) มีผนู้ ําท่ีเขม้ แขง็ มวี สิ ยั ทศั น์ในการคิดและกลา้ เปล่ียนแปลง 7) ราษฎรมคี วามรกั และสามคั คีกนั ตลอดท้งั มคี วามเชือ่ ม่นั และศรัทธาผ้นู ําสงู จดุ ออ่ น (Weakness) 1) หมู่บ้านยังขาดแหล่งน้ําในการเพาะปลูกและดินเคม็ ขาดความอุดมสมบรู ณ์ 2) กลมุ่ /องคก์ รตา่ งๆ ยังไม่มกี ารเชอ่ื มโยงและการจัดการแบบเกอ้ื กลู กันเท่าทค่ี วร 3) เยาวชนคนรุ่นใหม่ยงั ไม่เขา้ ร่วมดําเนนิ กจิ กรรมกบั ชุมชนเท่าท่คี วร 4) ชุมชนยังไม่นาํ แผนชุมชนมาปฏิบตั เิ ปน็ รปู ธรรม

วเิ คราะห์ศกั ยภาพบ้านหัวนา โอกาส (Opportunity) 1) นโยบายรัฐให้ความสําคญั ต่อการแกไ้ ขปัญหาความยากจน ดว้ ยการนําแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี งในการแกไ้ ขปัญหาของชมุ ชน 2) โครงการตา่ งๆ ของรัฐเนน้ ประชาชนเป็นศนู ย์กลาง อปุ สรรค (Threat) 1) ภาคเี ครอื ขา่ ยการพฒั นาทเ่ี ข้าไปในพนื้ ที่หมบู่ า้ น ไม่มกี ารเช่อื มประสานหรือบูรณาการการ ทาํ งานระหวา่ งหน่วยงาน 2) บริบทของหม่บู ้านเปลย่ี นแปลงไป ทาํ ให้ความคิดและวิถีชวี ิตเปลย่ี นแปลงไป

วิเคราะหศ์ ักยภาพศูนย์เรยี นรหู้ วั นาโมเดล จดุ แขง็ (Strength) 1) เป็นศนู ย์เรียนรชู้ มุ ชนต้นแบบของอําเภอ 2) มีการปฏิบตั ิงานเปน็ รปู ธรรมสามารถเป็น แหลง่ ศกึ ษาดูงานได้ 3) ชาวบา้ นเหน็ ความสาํ คญั ของศนู ย์เรยี นรู้ฯ และมีรายไดต้ อ่ คนวนั ละ 200 – 300 บาท 4) เกดิ ความสามัคคีของคนในชมุ ชน 5) เป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้/แลกเปลย่ี นเรยี นรูข้ องคนในชมุ ชน จุดอ่อน (Weakness) 1) สมาชกิ บางสว่ นไม่ให้ความรว่ มมอื ในการประชุมประจาํ เดือน 2) จดุ เรยี นรขู้ องศูนยฯ์ บางจุด สามารถให้ความรูไ้ ด้ตามฤดกู าล เช่นกลมุ่ เลีย้ งกบในบ่อพลาสติก กลมุ่ เพาะเห็ด 3) สมาชิกบางคนไมป่ ฏบิ ัติตามกฎ ระเบียบของศูนย์เรยี นรฯู้

วิเคราะห์ศักยภาพศนู ย์เรยี นร้หู วั นาโมเดล โอกาส (Opportunity) 1) รัฐมนี โยบายจัดตัง้ และสง่ เสริมศูนย์เรยี นรู้ชุมชนใหค้ รบทกุ ตาํ บล 2) หลายหน่วยงานทัง้ ภาครฐั และเอกชนใหก้ ารสนบั สนนุ การดาํ เนินงานของศูนยฯ์ 3) สามารถเป็นแหลง่ ศกึ ษาดงู านแก่ศนู ยเ์ รยี นรอู้ ืน่ ๆ ได้ อุปสรรค (Threat) 1) วิทยากรกระบวนการขาดทกั ษะในการจัดการองคค์ วามรู้ 2) กล่มุ เยาวชนยงั ไม่มสี ่วนร่วมในกิจกรรมนอกศูนยฯ์ เท่าทค่ี วร

นายสมบตั ิ ตรวี ฒั นส์ ุวรรณ ผูว้ ่าราชการจังหวัดขอนแกน่ มอบงบประมาณแกไ้ ขการขาด แคลนแหลง่ นา้ ให้กบั แหลง่ เรียนรูห้ ัวนาโมเดล

กศน.กับศูนยเ์ รียนรหู้ วั นาโมเดล กศน.อาํ เภอพล ไดจ้ ดั สรรงบประมาณพฒั นาอาชพี , ต่อยอดอาชพี และศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชนให้กับ กศน.ตาํ บลโนนข่า ขับเคลอื่ นด้านเศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ ให้ชุมชนพ่ึงตนเองไดอ้ ย่างย่งั ยนื โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเนน้ การทาํ บญั ชคี รวั เรอื น ในการจัดกิจกรรมทกุ คร้งั ตอ้ งเปน็ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย คณะครู กศน.ร่วมกับสมาชกิ จดั เวทปี ระชมุ กอ่ นสรปุ เสนอความ ตอ้ งการ การศึกษาพัฒนาคน พัฒนาชาติ กศน.ตําบลโนนข่า มอบให้ครูศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน นายสุพัฒน์ ศรีสุภะ ครู ศรช.บา้ นหวั นา รับสมัครนกั ศึกษาโดยเน้นสมาชิกศนู ยฯ์ ตอ้ งเปน็ นกั ศึกษา กศน.ทั้งสาย สามัญและสายอาชพี เพอ่ื พัฒนาใหม้ คี ุณภาพชวี ิตทด่ี ขี น้ึ ดา้ นการศกึ ษา, เศรษฐกจิ ,สงั คมและชมุ ชน

กศน.ตาบลโนนข่า สนบั สนุนกจิ กรรมเติมเตม็ การขับเคล่อื นหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ไดแ้ ก่ การทานา้ หมกั ชีวภาพ การเลีย้ งปลาดกุ ในบ่อพลาสติก การปลกู ผักปลอดสารพษิ ฯลฯ

ศูนย์เรยี นรหู้ ัวนาโมเดล รว่ มงาน amazing Open House 2014 ณ วทิ ยาลยั การอาชพี พล

ศูนย์เรยี นรหู้ วั นาโมเดล รว่ มงาน amazing Open House 2014 ณ วทิ ยาลยั การอาชพี พล

กศน.กบั ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน กระทรวงศึกษาธกิ าร มอบหมายให้ สํานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษาตามอธั ยาศัยและการศกึ ษานอก ระบบ (สาํ นักงาน กศน.) จดั ตั้ง\"ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน\" ในทุกตําบล ทกุ อาํ เภอ เพ่ือเปน็ การส่งเสริม และจัดการฝกึ อบรมอาชีพแกป่ ระชาชนดว้ ย เพือ่ การมีอาชพี มีรายได้ของประชาชนเปน็ หลักใหญ่





นายถาวร พลีดี สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแกน่ เยยี่ มชมกิจกรรมแหล่งเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงหวั นาโมเดล

ดร.สมชาติ สง่าภาคภูมิ ผอ.กศน.อ.หนองสองห้อง ประธานกลุ่มโซนละเลงิ หวาย และคณะ นเิ ทศติดตามประเมนิ การทางาน กศน.ตาบลโนนขา่

นางดวงจันทร์ วิรณุ พนั ธ์ ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแกน่ นเิ ทศก์ ตดิ ตามเยีย่ มชมกจิ กรรมแหลง่ เรยี นรู้หวั นาโมเดล

นายถาวร พลดี ี ผอ.สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น เย่ยี มชมกจิ กรรมศนู ย์การเรียนชุมชน บา้ นหัวนาและแหลง่ เรียนรหู้ วั นาโมเดล

โครงการเรียนรู้หมู่บ้านตามรอยพระยุคลบาท นายประสิทธ์ิ พรจนั ทึก ผอ.กศน.อาเภอพล ใหค้ วามรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการเรียนรู้หมู่บ้านตามรอยพระยุคลบาท นายพลอย ธวิชยั วทิ ยากรเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่

โครงการเรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้วยกระบวนการบัญชีครัวเรือน

โครงการเรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้วยกระบวนการบัญชีครัวเรือน

หนว่ ยงานตา่ งๆ ศึกษาดูงานศูนยเ์ รยี นรู้หัวนาโมเดล สานักงานสหกรณก์ ารเกษตร (สกก.)อาเภอโนนศลิ า จังหวัดขอนแกน่ นาคณะศึกษาดงู านศูนยเ์ รียนรู้ เช่ยี วชาญและศูนย์เรียนรหู้ วั นาโมเดล จานวน 97 คน

หน่วยงานตา่ งๆ กบั ศูนยเ์ รียนรูห้ ัวนาโมเดล นายภชุ งค์ ฉิมพาลี ผอ.กศน.อาเภอบางละมงุ จังหวดั ชลบุรี นาบคุ ลากรศกึ ษาดงู านศนู ย์การเรียนร้บู า้ น หัวนาโมเด็ล

หน่วยงานต่างๆ กับศูนย์เรยี นรู้หวั นาโมเดล นางณัฐนิธิ อกั ษรวิทย์ ครู กศน.ตาบลโนนขา่ ร่วมด้วย ครู ศรช.ต.เพ็กใหญ,่ ครู ศรช.ต.ลอมคอม, ครู ศรช.ต.หวั ทุ่งและคณะกรรมการศูนย์เรยี นรหู้ ัวนาโมเดล ให้การต้อนรบั คณะศกึ ษาดูงานจากเทศบาลนาวง อ.หว้ ยยอด จ.ตรัง จานวน 100 คน นาทีมโดยนายพทิ กั ษ์ สวุ คันธ์ นายกเทศมนตรีตาบลนาวง ทีมผบู้ รหิ าร และสมาชิก อสม.



หน่วยงานตา่ งๆ ศึกษาดูงานศนู ยเ์ รียนรู้หวั นาโมเดล ศูนยก์ ารเรียนรบู้ ้านหัวนา (กศน.ต.โนนขา่ ) ให้การตอ้ นรับคณะศกึ ษาดูงานนิคมสรา้ งตนเอง จ.อดุ รธานี โดยศูนยพ์ ฒั นาสงั คมหนว่ ยที่ 5 กระทรวงทรพั ยากรและความมน่ั คงของมนษุ ย์ จ.ขอนแก่น

หน่วยงานต่างๆ กับศนู ยเ์ รียนรหู้ ัวนาโมเดล กศน.ตาบลโนนขา่ , เกษตรอาเภอ ร่วมกับสานักงานเกษตรจงั หวัดขอนแก่น ถา่ ยทาสารคดีเร่อื ง การใช้ ตะไครห้ อมและไหลแดงควบคมุ ศตั รูพชื

หนว่ ยงานต่างๆ กบั ศนู ย์เรยี นร้หู วั นาโมเดล นายศิรวิ ัฒน์ พนิ ิจพานิชย์ นายอาเภอพล, เกษตรอาเภอ , กศน.ตาบลโนนขา่ และสวนพฤษศาสตร์ จงั หวัดขอนแก่น มอบพนั ธุป์ ลาดกุ และร่วมปลกู ป่าเฉลมิ พระเกยี รติฯ

หนว่ ยงานตา่ งๆ กับศนู ยเ์ รียนรู้หวั นาโมเดล นายประชลิ นลิ เขต กกต.จงั หวดั ขอนแก่นและคณะ เย่ียมชมศูนยเ์ รยี นรู้หวั นาโมเดล

ข้อเสนอแนะ 1.กจิ กรรมบางอยา่ งต้องข้ึนอย่กู บั ฤดกู าล สมาชิกขาดทักษะ ความรู้ ความเขา้ ใจในการเพาะและ ขยายพนั ธุพ์ ืช ตอ้ งการศกึ ษาหาดูให้เห็นเชงิ ประจกั ษ์ 2.ขาดความรดู้ า้ นการตลาด โดยเฉพาะการแปรรปู การออกแบบบรรจุภัณฑ์

สรุปผลลพั ธก์ ารดาเนินงานศูนยเ์ รยี นรู้หวั นาโมเดล ดา้ นเศรษฐกจิ 1. สมาชิกแตล่ ะคนมรี ายได้ต่อวัน 200-300 บาท รายไดต้ อ่ เดอื น 6,000 -9,000 บาทและรายไดต้ อ่ ปี 72,000 – 108,000 บาท 2. การออมทุกคนเปน็ สมาชกิ สจั จะวนั ละบาท มีการฝากเงินกับธนาคารออมสินและธนาคารเพ่ือ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) 3. ลดปญั หาการวา่ งงาน 4. ลดรายจา่ ยการซื้อสารเคมี ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม 1. สภาพทวั่ ไปปลอดสารเคมที าใหเ้ ปน็ ทอี่ ยอู่ าศัยของสตั ว์ เชน่ นก กระรอก แมลงต่างๆ เปน็ ตน้ 2. บรรยากาศร่มรืน่ เยน็ สบายและอากาศบริสุทธิ์ ด้านสังคมและชุมชน 1. เกิดความรกั ความสามคั คี การแบง่ ปันและการเสยี สละ 2. ชมุ ชนนา่ อยู่ พึ่งพาตนเองได้ 3. ผู้สูงอายมุ กี จิ กรรมในการปลูกผัก เลย้ี งกบและเล้ยี งปลา มรี ายไดไ้ ม่เป็นภาระกับลูกหลาน ดา้ นสุขภาพ 1. สมาชกิ ศูนยท์ ุกคนมีสุขภาพแขง็ แรงทัง้ ร่างกายและจติ ใจ ดา้ นการตลาด - พอ่ คา้ มาซ้ือถงึ ศนู ย์เรียนรดู้ ว้ ยตนเองและจาหน่ายภายในรา้ นคา้ ชุมชน

ทป่ี รกึ ษา คณะผู้จดั ทา 1. นายประสิทธิ์ พรจันทกึ 2. นายเช่ยี วชาญ ชามะรตั น์ ผอ.กศน.อาเภอพล 3. นายประเสรฐิ เลิกนอก ทปี่ รึกษาศูนย์ฯ 4. นางยพุ ิน อาษานอก คณะกรรมการสถานศึกษา 5. นายเกยี รติพงษ์ สุขเพีย ครูชานาญการ 6. นางสุกญั ญา คนลา่ ครูอาสาสมคั ร 7. นางนติ ยา วิชยั เนาว์ ครอู าสาสมัคร ครอู าสาสมัคร ผู้จดั ทา 1. นางณฐั นิธิ อักษรวทิ ย์ ครู กศน.ตาบลโนนข่า 2. นายสายยนต์ บัวศรีภูมิ ครู ศรช.บา้ นหว้ยโจด 3. นายสุพัฒน์ ศรสี ภุ ะ ครู ศรช.บ้านหัวนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook