Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารสนเทศ

สารสนเทศ

Published by paisit01, 2018-11-14 04:06:49

Description: te

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ผศ.ดร. ภทั รสินี ภทั รโกศล ภาควชิ าคณิตศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์

หวั ขอ้ • ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ • ประเภทของเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีสาคญั • การรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลสารสนเทศ • ความหมายของการส่ือสาร • รูปแบบการสื่อสารท่ีใชเ้ ทคโนโลยใี นปัจจุบนั

หวั ขอ้ • ระบบเครือขา่ ยเพ่ือการส่ือสาร • การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือข่าย • ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเทคโนโลยสี ารสนเทศกบั เทคโนโลยกี ารส่ือสาร • ความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สื่อสารต่อการพฒั นาประเทศ • บทสรุป

ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ• พจนานุกรมคอมพิวเตอร์ [1] ไดใ้ หค้ าจากดั ความไวว้ า่ – “ข้อมลู สารสนเทศ หมายถงึ ข้อมูลทน่ี ามาประมวลผล แล้ว เสนอออกมาในรูปทผ่ี ้ใู ช้รู้หรือเข้าใจความหมาย”ขอ้ มูลท่ีเก็บได้ การประมวลผล ขอ้ มลู สารสนเทศจากแหล่งขอ้ มลู ข้นั ตอนในการผลิตเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ • แผนแม่บทเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 [2] ไดใ้ หค้ าจากดั ความไวว้ า่ • “เทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถงึ ความรู ในผลติ ภณั ฑ หรือใน กระบวนการดาเนินการใดๆ ทอ่ี าศัยเทคโนโลยที างด านคอมพวิ เตอร ซอฟต แวร (software) คอมพวิ เตอร ฮาร ดแวร (hardware) การตดิ ต อส่ือสาร การรวบรวมและการนาข อมูลมาใช อย างทัน การ เพอ่ื ก อให เกดิ ประสิทธิภาพท้ังทางด านการผลิต การบริการ การบริหาร และการดาเนินงาน รวมทงั้ เพอื่ การศึกษาและการเรียนรู้ซึ่ง จะส งผลต อความได เปรียบทางเศรษฐกจิ การค า และการ พฒั นาด านคณุ ภาพชีวิตและคณุ ภาพของประชาชนในสังคม”

ประเภทของเทคโนโลยสี ารสนเทศทีส่ าคญั • ขอ้ มูลสารสนเทศเพือ่ การประมวลผลรายวนั • ขอ้ มูลสารสนเทศเพอ่ื การจดั การระบบเอกสาร • ขอ้ มูลสารสนเทศเพือ่ การบริหารจดั การองคก์ ร • ขอ้ มูลสารสนเทศเพอ่ื การตดั สินใจ • ขอ้ มูลสารสนเทศภูมิศาสตร์

ขอ้ มูลสารสนเทศภมู ิศาสตร์• แสดงใหผ้ ใู้ ชง้ านเห็นความ เช่ือมตอ่ หรือความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งส่ิงต่างๆ ในระบบการ ทางานไดอ้ ยา่ งเด่นชดั เนื่องจากระดบั การนาเสนอจะ นาเสนอเป็นระดบั ของขอ้ มูล ที่เกิดข้ึน

การรักษาความปลอดภยั ของข้อมูลสารสนเทศ • การรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลสารสนเทศดว้ ยวธิ ีการ เชิงกายภาพ – การกาหนดสิทธิในการเขา้ ใชห้ อ้ งเกบ็ ขอ้ มูล – การติดต้งั ระบบรักษาความปลอดภยั ของหอ้ งเกบ็ ขอ้ มูล • การรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลสารสนเทศดว้ ยวิธีการ เชิงตรรกะ – การเขา้ รหสั ขอ้ มูล – การกาหนดใหผ้ ใู้ ชข้ อ้ มูลมีรหสั ผา่ นเพือ่ การเขา้ ถึงขอ้ มูลได้ – การกาหนดสิทธิในการเขา้ ใชข้ อ้ มูลสารสนเทศที่แตกต่างกนั

ความหมายของการส่ือสาร • พจนานุกรมศพั ทค์ อมพิวเตอร์ [1] ไดใ้ หน้ ิยามคาวา่ “การ ส่ือสาร” หรือ “การสื่อสารขอ้ มูล” (data communication) ไวด้ งั น้ี คือ • “การสื่อสารข้อมลู หมายถงึ การแลกเปลยี่ นข้อมูลระหว่าง คอมพวิ เตอร์เคร่ืองหน่ึง ไปยงั คอมพวิ เตอร์อีกเครื่องหน่ึง โดยผ่านทางโมเดม็ หรือข่ายงาน (network) เช่น การเรียก แฟ้มข้อมูลจากเครื่องคอมพวิ เตอร์เคร่ืองอ่ืนมาใช้ได้”

รูปแบบการสื่อสารทใ่ี ช้เทคโนโลยใี นปัจจจจบบนั • รูปแบบการส่ือสารซ่ึงมีการส่งขอ้ มูลระหวา่ งเครื่อง คอมพวิ เตอร์น้นั สามารถทาได้ 2 วธิ ี คือ – การเรียกขอ้ มูลผา่ นระบบโมเดม็ – การเรียกขอ้ มูลผา่ นข่ายงาน

การเรียกขอ้ มูลผา่ นระบบโมเดม็เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องโมเดม็ สายโทรศพั ท์ เครื่องโมเด็มเคร่ืองให้บริการ

การเรียกขอ้ มูลผา่ นขา่ ยงาน • การสื่อสารผา่ นระบบเครือขา่ ยน้นั นิยมที่จะเป็นการ เชื่อมต่อกนั ระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์ในองคก์ รเดียวกนั – การเชื่อมตอ่ อาจเป็นการเชื่อมตอ่ แบบใชส้ าย (wireline) – การเชื่อมต่อแบบไร้สาย (wireless)

การเชื่อมต่ออาจเป็นการเชื่อมต่อแบบใชส้ าย

การเชื่อมต่อแบบไร้สาย

ระบบเครือข่ายเพื่อการส่ือสาร • เทคโนโลยกี ารสื่อสารไดม้ ีการพฒั นาจากการเช่ือมต่อดว้ ย สายส่ือสารมาเป็ นการเชื่อมต่อแบบไร้สาย • มีความสามารถในการเชื่อมระยะทางไกลไดม้ ากกวา่ การ เช่ือมต่อแบบไร้สาย • การเชื่อมต่อสามารถติดต้งั ไดโ้ ดยง่าย

การเช่ือมต่อแบบใช้สาย • การเช่ือมต่อแบบใชส้ ายน้ีนิยมใชใ้ นการเชื่อมตอ่ ในอาคาร หรือ ระหวา่ งอาคารท่ีไม่มีระยะทางท่ีไกลมากๆ • สายสื่อสารท่ีนิยมใชจ้ ะแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภทตามประสิทธิภาพ ของการส่งขอ้ มูล – สายใยแกว้ – สายทองแดง – สายคู่ไขว้ ➢ สายโทรทศั น์ (Cable Modem) ➢ สายโทรศพั ท์ (DSL)

การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือข่าย • การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือขา่ ย หมายถึง – การรักษาความปลอดภยั ของการเขา้ ใชข้ อ้ มูลตา่ งๆ ที่มีอยบู่ น ระบบเครือข่ายน้นั ๆ – การรักษาไวซ้ ่ึงประสิทธิภาพการส่งขอ้ มูลใหม้ ีอตั ราส่งคงที่ รวดเร็วและมีความถูกตอ้ ง – การป้องกนั การแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ และส่ิง แปลกปลอมตา่ งๆ เช่น สแปมเมล์ (spam mail) โฆษณา เป็นตน้

การรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่าย • การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือข่าย มี 2 ประเภท – การรักษาความปลอดภยั เชิงกายภาพ – การรักษาความปลอดภยั เชิงตรรกะ

การรักษาความปลอดภยั เชิงกายภาพ • ตวั อยา่ ง – การใชเ้ คร่ืองมือตรวจวดั สภาพการสื่อสาร ณ อปุ กรณ์เชื่อมตอ่ ระบบเครือขา่ ยเพอ่ื บ่งบอกถึงสิทธิการเขา้ สู่ระบบเครือขา่ ยของ บุคลากรแตล่ ะคน • อุปกรณ์ – อุปกรณ์เราวเ์ ตอร์

การรักษาความปลอดภยั เชิงตรรกะ • ซอฟตแ์ วร์เพอ่ื การบริหารจดั การระบบเครือข่าย (Network Management Software) • ไฟลว์ อลล์ (firewall) • การกาหนดเลือกวา่ วธิ ีใดเป็นวธิ ีที่เหมาะสม จะตอ้ งคานึงถึง ปัจจยั – ระดบั ความวกิ ฤติหรือความเสียหายที่จะเกิดข้ึนหากมีการบุกรุก เครือข่าย – งบประมาณการดาเนินการจดั หา ติดต้งั และบารุงรักษา – ความพร้อมดา้ นบุคลากรในองคก์ ร

ความสัมพนั ธ์ระหว่างเทคโนโลยสี ารสนเทศกับเทคโนโลยกี ารส่ือสาร • เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication Technologies –ICT) เกิดจาก การทางาน ส่วนหน่ึงของเทคโนโลยสี ารสนเทศที่มีการใชเ้ ทคโนโลยี การสื่อสารเพื่อใหไ้ ดข้ อ้ มูลสารสนเทศท่ีสมบูรณ์ ถูกตอ้ ง รวดเร็ว ตามความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน

ความสัมพนั ธ์ระหว่างเทคโนโลยสี ารสนเทศกบัเทคโนโลยกี ารส่ือสาร • แผนแม่บทเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ไดก้ าหนดความหมายของ ICT ดงั น้ี • “เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร หมายถงึ เทคโนโลยที ่ี เกยี่ วข้องกบั ข่าวสาร ข อมลู และการสื่อสาร นับต้ังแต การสร าง การนามาวเิ คราะห หรือประมวลผลการรับและส งข อมูล การ จดั เกบ็ และการนาไปใช งานใหม เทคโนโลยเี หล าน้ี มักจะ หมายถงึ คอมพวิ เตอร ซ่ึงประกอบด วยส วนอปุ กรณ (hardware) ส วนคาสั่ง (software) และส วนข อมลู (data) และ ระบบการส่ือสารต างๆ ไม ว าจะเป นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข อมลู ดาวเทยี ม หรือเคร่ืองมือส่ือสารใดๆ ทงั้ มสี ายและไร สาย”

ความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารต่อการพฒั นาประเทศ • แผนแม่บทเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารของ ประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 [2] • นโยบายเทคโนโลยสี ารสนเทศ พ.ศ. 2544-2553 ได้ กาหนดประเด็นสาคญั ไว้ 3 ประเด็นคือ (1) ความท าทายในยคบ โลกาภิวฒั น (2) สังคมแห งภูมปิ ญญาและการเรียนรู (3) ประเทศไทยในทศวรรษแรกของคริสต ศตวรรษท่ี 21

ความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารต่อการพฒั นาประเทศ • จจบดเด่นของนโยบายเทคโนโลยสี ารสนเทศ พ.ศ. 2544-2553 – การบริหารงานของรัฐบาล (e-Government) – พาณิชยกรรม (e-Commerce) – อุตสาหกรรม (e-Industry) – การศึกษา (e-Education) – สังคม (e-Society)

การบริหารงานของรัฐบาล (e-Government) • เป้าหมายในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร มาพฒั นาและปรับปรุงระบบงานบริหารท่ีสาคญั ทุก ประเภทของส วนงานของรัฐให มีประสิทธิภาพสูงสุด ภายในพ.ศ. 2547 • พฒั นาบริการที่ให แก สาธารณชนให ได ครบทุก ข้นั ตอนในพ.ศ. 2553

การบริหารงานของรัฐบาล (e-Government) • ยทุ ธศาสตร ท่ีใช ในการพฒั นามุ งให เกิดความ กระทดั รัด ความประหยดั ประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยใช เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารควบคู กบั การปรับข้นั ตอนและกระบวนการทางาน – การปฏิรูปงานวางแผนและงบประมาณ – การจดั องค กร – การพฒั นาบุคลากรของรัฐ – การพฒั นาการบริหารและการให บริการโดยรวม

การบริหารงานของรัฐบาล (e-Government) • ตวั อยา่ ง – การจดั เกบ็ ภาษีรายไดข้ องรัฐ – การจดั ทาบตั รประชาชน – การรับคาร้องเรียนผา่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต – การใหข้ อ้ มูลการท่องเที่ยวผา่ นเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต – ฯลฯ

พาณิชยกรรม (e-Commerce) • มีเป าหมายในการมุ งสร างประโยชน โดยรวมใน กิจการพาณิชย ของประเทศ • ความสามารถในการแข งขนั ของคนไทย • การพาณิชย อิเลก็ ทรอนิกส สาหรับธุรกิจส งออก • การค าและบริการ • การบริโภคของประชาชน

พาณิชยกรรม (e-Commerce) • ยทุ ธศาสตร ที่ใช เป นการปฏิรูปการพาณิชย ของประเทศ ให มีโอกาสในตลาดต างประเทศดีข้ึน – การปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข องกบั การดาเนินธุรกรรมทาง อิเลก็ ทรอนิกส และงานเก่ียวเน่ือง – การจดั ให มีการชาระเงินผ านระบบอิเลก็ ทรอนิกส ท่ีมีความ ปลอดภยั สูง – การสร างระบบฐานขอ้ มูลและการจดั การข อมลู ที่ทนั สมยั เพื่อส งเสริมผู ประกอบการขนาดกลางและย อมให เป นกาลงั สาคญั ของระบบเศรษฐกิจใหม – การพฒั นาบุคลากรทุกประเภทและระดบั – การพฒั นาโครงสร างพ้นื ฐานท่ีเจริญเติบโตเป นธุรกิจเสรีรองรับการ พฒั นาการพาณิชย ให เจริญมนั่ คงต อไป

พาณิชยกรรม (e-Commerce) • ตวั อยา่ ง – การใหข้ อ้ มูลขา่ วสาร การสร้างเครือข่าย และการส่งั ซ้ือ ผลิตภณั ฑ์ OTOP (หน่ึงตาบลหน่ึงผลิตภณั ฑ)์ – การจองหอ้ งพกั ผา่ นระบบเครือขา่ ย – การจองตว๋ั เครื่องบินผา่ นระบบเครือข่าย

อุตสาหกรรม (e-Industry) • มีเป าหมายในการส งเสริมและพฒั นาการใช และ การผลิตอุปกรณ เทคโนโลยสี ารสนเทศของภาคเอกชน เพอ่ื ให เกิดอุตสาหกรรมการผลิตท่ีใช ความรู เป นทรัพยากรสาคญั ใน พ.ศ. 2553

อุตสาหกรรม (e-Industry) • ยทุ ธศาสตร ท่ีใช – นาเทคโนโลยสี ารสนเทศโดยเฉพาะระบบอินเทอร เน็ตมาใช ประโยชน ในการพฒั นาข อมูล ของศูนย การตลาด และตลาดกลางสินค าอุตสาหกรรม – สนบั สนุนการพฒั นาอุตสาหกรรมทวั่ ไป รวมถึงการ พฒั นาอุตสาหกรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่ือสาร โดยเฉพาะซอฟต แวร และอิเลก็ ทรอนิกส

อุตสาหกรรม (e-Industry) • ยทุ ธศาสตร ที่ใช – พฒั นาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย อม รวมถึงภาคเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร – สนบั สนุนให มีการสร างเสริมการประสานความรู ด านการวิจยั และพฒั นาในดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศใหเ้ กิดประโยชน ในภาคอุตสาหกรรม – การสร างสรรให บุคลากรในภาคอุตสาหกรรมมี ทกั ษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร เพิ่มข้ึนด วย

การศึกษา (e-Education) • มีเป าหมายในการสร้างความพร อมของทรัพยากร มนุษย ท้งั หมดของประเทศ เพ่อื ช วยกนั พฒั นาให เกิดสงั คมแห ง ภูมิป ญญาและการเรียนรู ท่ีมีคุณภาพ

การศึกษา (e-Education) • ยทุ ธศาสตร ที่ใช – เน นหนกั ในการจดั หา จดั สร าง ส งเสริม สนบั สนุน โครงสร างพ้ืนฐานสารสนเทศและอุป กรณ เก่ียวเนื่องกบั การศึกษาและการเรียนรู รวมถึง วชิ าการ ความรู สารสนเทศต างๆ และผู สอน • การจดั การ และการบริหารการศึกษาและการฝ กอบรม ท้งั วชิ าการและทกั ษะ เพือ่ พฒั นาและยกระดบั คุณภาพความ รู ของทรัพยากรมนุษย ของไทย

การศึกษา (e-Education) • ตวั อยา่ ง – การเปิ ดเครือขา่ ย school-net ใหแ้ ก่โรงเรียนตา่ งๆ ทวั่ ประเทศให้ มีโอกาสหาความรู้จากระบบอิเทอร์เน็ตไดเ้ ท่าเทียมกนั

สงั คม (e-Society) • เป าหมายท่ีจะลดความเหลื่อมล้าของสงั คมอนั เป็นผล เนื่องมาจากความเหลื่อมล้าในการเข าถึงสารสนเทศและ ความรู้ • ยทุ ธศาสตร – การพฒั นาองค ประกอบที่สาคญั และจาเป นที่จะสร างให สงั คมไทยในศตวรรษท่ี 21 เป นสังคมท่ีดีงาม มีความ สมบูรณ และเพียงพอ มีคุณธรรมอนั ดีงามของศาสนาแทรก ซึมอยู ในใจของประชากรทุกหมู คณะ – มุ งเน นการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลกั การและแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง

บทสรบป • การใชข้ อ้ มูลขา่ วสารเพ่ือการศึกษาและการดาเนินการต่างๆ ในองคก์ รมีความสาคญั มากต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ • เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารมีส่วนช่วยใหก้ าร ดาเนินชีวติ ของมนุษยใ์ นแต่ละวนั มีความสะดวกสบายมาก ยง่ิ ข้ึน • การไดร้ ับขอ้ มูลขา่ วสารยงั เป็นการเปิ ดโอกาสใหม้ นุษยไ์ ด้ พฒั นาความรู้ความสามารถของตนเอง เป็นการสร้างช่อง ทางเลือกในการดาเนินชีวิตของตนเองมากยง่ิ ข้ึน

บทสรบป • การแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสารซ่ึงกนั และกนั หรือการ กระจายขอ้ มูลขา่ วสารต่างๆ จะประสบผลสาเร็จได้ น้นั ข้ึนอยกู่ บั – ประเภทของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารที่มี อยู่ – วธิ ีการเลือกใชเ้ ทคโนโลยเี หล่าน้นั ใหเ้ กิดประโยชน์ สูงสุด

บทสรบป • วธิ ีการเลือกใชเ้ ทคโนโลยเี หล่าน้นั ใหเ้ กิดประโยชน์ สูงสุด – วตั ถุประสงค์ – ความจาเป็นในการใชง้ าน – ความพร้อมของบุคลากร – งบประมาณในการดาเนินการและการดูแลรักษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook