Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่4 การประเมินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

บทที่4 การประเมินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

Published by Wilawan S, 2021-12-30 16:30:15

Description: คู่มือการอนุรักษ์พลังงาน V.2022
กลุ่มวิจัย EnConLab
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Keywords: e-book, enconlab, energy, saving

Search

Read the Text Version

บทท่ี 4 การประเมนิ การลด การปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก คูม่ อื การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน 4-1 V.2022

เครื่องมอื วดั ดา้ นพลงั บงทาทน่ี 2 เครอ่ื งมือวัดเป็นอุปกรณ์สาคัญในงานตรวจวัดด้านพลังงาน ซึ่งจะมีผลต่อความถูกต้องของการ วิเคราะห์ เคร่ืองมือที่นามาใช้ในงานตรวจวัดจะต้องมีท้ังความถูกต้อง(Accuracy) และความเท่ียงตรง (Precision) โดยเมอ่ื นาไปใช้งานในการวดั ขนาดหรือค่าทีต่ ้องการ ค่าที่แสดงออกมาเป็นตัวเลขบนเครื่องมือ วัดเหล่านี้ต้องมีความเช่ือถือได้ ในบทที่จะกล่าวถึงการใช้งานของเครื่องวัดที่สาคัญในด้านพลังงาน ดังต่อไปนี้ 4-2 กล่มุ วจิ ยั EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี

การประเมินการลดการปล่อยก๊าซเรอื นกรบทะจทกี่ 4 การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) เป็นปัญหาส่ิงแวดล้อมโลก (global problem) ที่ทุกประเทศได้รับผลกระทบ หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ได้แสดงให้เห็นถึงผลกระทบที่สาคัญท่ี เกดิ ขึ้น คอื ปญั หาภาวะโลกร้อน (global warming) เม่อื ยอ้ นดูเหตุการณ์สภาพอากาศรุนแรงท่ีเกิดขึ้นใน ประเทศไทย จะเห็นได้ว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกาลังส่งผลกระทบต่อประเทศไทยเรา ต้ังแต่สึนา มิปี 2547 ภัยแล้งปี 2553 และน้าท่วมปี 2554 และ 2560 เป็นตัวบ่งชี้ว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เปน็ ปัญหาท่มี คี วามท้าทายตอ่ การใช้ชีวิตและการดาเนินธุรกิจกลุ่มผู้ประกอบการ มีหลายหน่วยงานเล็งเห็น ความจาเป็นและให้ความสาคัญในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกร่วมกัน จึงหาแนวทางมาตรการ/ โครงการมาเพื่อช่วยลดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งในการดาเนินการดังกล่าว ส่วนสาคัญอีกส่วนหน่ึง คือ การ คานวณปริมาณก๊าซเรือนกระจก เพื่อให้ทราบว่ามาตรการที่ดาเนินการสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจกก่ตี นั คาร์บอนไดออกไซดเ์ ทียบเทา่ ตอ่ ปี ค่มู ือการอนรุ ักษพ์ ลังงาน 4-1 V.2022

4.1 แนวทางการประเมนิ การปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก แนวทางการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่นิยมใช้ส่วนใหญ่/มีการพัฒนามาจากคู่มือของ IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories หรือ ISO 14064 ซึ่งประเทศไทยมี แนวทางการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเช่นเดียวกัน โดย องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. ได้พัฒนาเกณฑ์ข้ึนมาจากการปรับปรุงเกณฑ์ข้างต้นเพื่อให้เข้ากับบริบทของ ไทยและเพอ่ื ใหเ้ กิดความสะดวกและเรียบงา่ ยในการใช้งาน รูปแบบการประเมนิ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก แบง่ ออกเป็น 2 รูปแบบ คือ 1). รูปแบบ Top-down เป็นการคานวณในเชิงภาพรวมหรือข้อมูลที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อนไม่ สามารถแยกย่อยในการคานวณได้ 2). รูปแบบ Bottom-Up เป็นวธิ กี ารคานวณแยกยอ่ ยและแต่ละข้ันตอน เหมาะกับขอบเขตงานที่ ไม่ใหญ่มากนัก การเลอื กรูปแบบการประเมินขนึ้ อยู่กับความพร้อมของข้อมูลท่มี ี วิธีการหาคา่ ปรมิ าณก๊าซเรือนกระจก ประกอบด้วยหลายวิธี ได้แก่ การวัดโดยตรงด้วยเคร่ืองมือ การคานวณสมดุลและการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ แต่วิธีท่ีได้รับความนิยมมากที่สุด คือ การคานวณด้วย ข้อมูลปริมาณกิจกรรม (Activity data) คูณกับค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยหรือดูดก๊าซเรือนกระจก (Emission Factor) จากมาตรฐานแตล่ ะองค์กร (แสดงดงั สมการท่ี 1) GHG emissions = Activity data x Emission factor (1) ข้อมูลกจิ กรรม (Activity data) คอื ค่าท่ีใช้ในการคานวณ ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของการเกิดก๊าซ เรอื นกระจกประเภทตา่ งๆ ค่าสัมประสิทธ์ิการปล่อยหรือดูดก๊าซเรือนกระจก (Emission Factor) คือ ค่าท่ีแสดงปริมาณ การปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกต่อหน่วย โดยจะขึ้นอยู่กบั ขอ้ มลู กจิ กรรมตามแหล่งปล่อยก๊าซเรอื นกระจก 4-2 กล่มุ วิจยั EnConLab มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี

4.2 การคานวณปริมาณการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกจากการดาเนินมาตรการ/โครงการ การคานวณปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจกจากการทาโครงการด้านพลังงานแบบเบื้องต้นน้ัน อ้างอิงจากโครงการสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก (Low Emission Support Scheme) หรือ เรียกว่า โครงการ LESS ซ่ึง อบก. จัดทาข้ึน วิธีการคานวณปริมาณก๊าซเรือนกระจกจะคิดจากส่วนต่าง ของการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกในกรณีฐาน (Baseline emission: BE) กับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจาก การดาเนินโครงการ (Project emission: PE) โดยปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลด/ดูดกลับได้ มีหน่วยเป็น คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า การประเมินการลดการปล่อยปริมาณก๊าซเรือนกระจกสาหรับโครงการด้าน พลงั งานไดแ้ บ่งออกเป็น 6 กลมุ่ โครงการ มวี ิธีการคานวณดงั นี้ 4.2.1 การลดการใชไ้ ฟฟ้า สตู รการคานวณ ปรมิ าณการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (kgCO2eq) = (ปรมิ าณไฟฟา้ ท่ีใช้สาหรบั กรณีฐาน x EF elec) - (ปรมิ าณไฟฟา้ ทีใ่ ช้สาหรับดาเนนิ กิจกรรม x EF elec) ค่าตัวแปร : ปรมิ าณไฟฟา้ ที่ใช้สาหรบั กรณฐี าน (kWh) ปรมิ าณไฟฟา้ ท่ใี ช้สาหรบั ดาเนินกิจกรรม (kWh) EF elec ค่าการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกจากการผลติ ไฟฟ้า (kgCo2eq/kWh) = 0.4872 (ใช้ไฟฟ้าจากระบบสายส่ง) = 0.3190 (ใชไ้ ฟฟา้ จากผผู้ ลติ อน่ื หรอื โรงไฟฟา้ Captive ทไี่ มผ่ า่ นระบบสายสง่ ) หมายเหตุ : กรณเี ปน็ การเปล่ียนอุปกรณ์หรือเคร่ืองจักรที่มีประสิทธิภาพสูงคานวณพลังงานที่ใช้ กอ่ นและหลงั จากชวั่ โมงการทางานทีเ่ ท่ากัน 4.2.2 การลดการใช้เชื้อเพลงิ สูตรการคานวณ ปรมิ าณการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก (kgCO2eq) = (ปรมิ าณเชอื้ เพลงิ ทใ่ี ชส้ าหรบั กรณฐี าน x NCV x EF fuel) - (ปรมิ าณเชอ้ื เพลงิ ทใี่ ชส้ าหรบั ดาเนนิ กจิ กรรม x NCV x EF fuel) ค่าตวั แปร : ปรมิ าณเชือ้ เพลงิ ที่ใช้สาหรับกรณฐี าน (MJ/หน่วย) ปรมิ าณเชือ้ เพลิงท่ใี ชส้ าหรบั ดาเนินกิจกรรม (MJ/หน่วย) EF fuel = คา่ การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก (kgCo2eq/MJ) NCV = ค่าความร้อนสทุ ธิ (Net Calorific Value) หมายเหตุ: ต้องคานวณปริมาณการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลก่อนและหลัง จากชั่วโมงการใช้งาน/การ คูม่ ือการอนรุ ักษ์พลงั งาน ผลติ /ภาระงานท่ีเท่ากัน V.2022 4-3

4.2.3 การผลิตพลงั งานไฟฟา้ จากพลงั งานหมุนเวียนเพ่อื ใช้เอง สตู รการคานวณ ปรมิ าณการลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก (kgCO2eq) = (ปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานหมุนเวียน x EF elec) – (ปริมาณไฟฟ้าท่ีใช้สาหรับระบบผลิตไฟฟ้า หรือดาเนนิ การ x EF elec) กรณีผลิตไฟฟา้ จากเซลล์แสงอาทติ ย์ สูตรคานวณ ปรมิ าณการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก (kgCO2eq) = [(กาลงั การผลติ ของแผงเซลลแ์ สงอาทติ ย/์ 1,000) x จานวนแผง x จานวนวนั ทผ่ี ลติ ไฟฟา้ x ชว่ งเวลาทม่ี คี วาม เขม้ ของแสงแดด x EF elec] – (ปรมิ าณไฟฟา้ ทใ่ี ชส้ าหรบั ระบบผลติ ไฟฟา้ หรอื ดาเนนิ การ x EF elec) กรณีทดแทนการผลิตพลงั งานไฟฟ้าจากเชือ้ เพลงิ เพื่อใช้เอง สตู รคานวณ ปรมิ าณการลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก (kgCO2eq) = [ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานหมุนเวียน x (3.6/0.3) x EF fuel] – (ปริมาณไฟฟ้าท่ีใช้ สาหรับระบบผลติ ไฟฟา้ หรือดาเนินการ x EF elec) คา่ ตวั แปร : ปรมิ าณไฟฟ้าทผ่ี ลติ /ใชจ้ ากพลงั งานหมนุ เวียน (kWh) ปรมิ าณพลังงานไฟฟา้ ทใี่ ช้ในระบบผลติ ไฟฟา้ หรือดาเนินการ (kWh) EF elec = คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกจากการผลิตไฟฟ้า (kgCo2eq/kWh) = 0.4872 (ใชไ้ ฟฟา้ จากระบบสายส่ง) = 0.3190 (ใชไ้ ฟฟา้ จากผผู้ ลติ อนื่ หรอื โรงไฟฟา้ Captive ทไี่ มผ่ า่ นระบบสายสง่ ) EF fuel = คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกจากเชอื้ เพลงิ (kgCo2eq/MJ) หมายเหตุ: - ระยะเวลาท่ีมีความเข้มของแสงแดดสูงสุดในการผลิตพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยใน 1 วัน ในกรณีที่บางองค์กรไม่มีค่าสามารถอ้างอิงได้ ใช้ค่าอ้างอิงกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน มคี า่ เท่ากับ 4 ชว่ั โมงต่อวัน - EF grid อา้ งอิงจาก รายงานผลการศึกษาค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ฉบับล่าสุด โดย อบก. มีค่าเท่ากบั 0.5290 kgCO2eq/kWh - 1,000 คือ ค่าแปลงจาก วตั ตเ์ ปน็ กโิ ลวัตต์ 4-4 กลมุ่ วิจัย EnConLab มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี

4.2.4 การตดิ ตัง้ เคร่ืองปรับอากาศประสิทธิภาพสงู เพ่ือแทนทีเ่ คร่อื งปรบั อากาศเดมิ กรณีติดตง้ั เครอ่ื งปรบั อากาศประสิทธิภาพสูงแบบอินเวอรเ์ ตอร์ (Inverter) สูตรการคานวณ ปริมาณการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก (kgCO2eq) = [(BTUnew/EERold) x N air x h x EF elec /1000] - [(BTUnew/EERnew) x N air x h x EF elec/1000] กรณตี ดิ ต้ังเครื่องปรับอากาศประสทิ ธภิ าพสงู แบบธรรมดา (Non-Inverter) สูตรการคานวณ ปริมาณการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก (kgCO2eq) = {[(BTUnew/EERold) x (Comp/100) x N air x h x EF elec]/1000} - {[(BTUnew/EERnew) x(Comp/100) x N air x h x EF elec]/1000} คา่ ตวั แปร : BTUnew = ขนาดของเครื่องปรบั อากาศท่ีตดิ ตัง้ ใหม่ (BTU) EER old = คา่ ประสทิ ธิภาพการใช้พลังงานของเครื่องปรับอากาศเดิม (BTU/hr.) EER new = ค่าประสทิ ธิภาพการใช้พลังงานของเครือ่ งปรับอากาศใหม่ (BTU/hr.) Comp = อตั ราสว่ นการทางานของคอมเพรสเซอร์ (หากไมท่ ราบใช้ค่าเทา่ กับ 75) Nair = จานวนเคร่อื งปรบั อากาศทีเ่ ปลี่ยนทดแทนของเดมิ (ชดุ ) h = จานวนชัว่ โมงการใช้งานของเครือ่ งปรับอากาศใหม่ ตลอดช่วงระยะเวลาที่ขอ การรับรอง (ช่ัวโมง) EF elec = คา่ การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกจากการผลติ ไฟฟา้ (kgCo2eq/kWh) = 0.4872 (ใช้ไฟฟ้าจากระบบสายส่ง) = 0.3190 (ใชไ้ ฟฟา้ จากผผู้ ลติ อน่ื หรอื โรงไฟฟา้ Captive ทไ่ี มผ่ า่ นระบบสายสง่ ) 1000 = คา่ แปลงหนว่ ยจาก Watt เปน็ kW คูม่ อื การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน 4-5 V.2022

4.2.5 การผลติ พลังงานไฟฟา้ จากพลังงานหมุนเวียน เพ่อื จาหนา่ ยเข้าสรู่ ะบบสายส่ง สูตรการคานวณ ปรมิ าณการลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก (kgCO2eq) = (ปรมิ าณไฟฟ้าท่ผี ลติ ได้จากพลังงานหมุนเวียน x EF grid) – [(ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้สาหรับระบบผลิตไฟฟ้า หรือดาเนินการ x EF elec) + (ปรมิ าณเชื้อเพลงิ ฟอสซิลทใี่ ชส้ าหรับดาเนนิ กิจกรรม x NCV x EF fuel)] กรณผี ลิตไฟฟา้ จากเซลลแ์ สงอาทติ ย์ สตู รคานวณ ปริมาณการลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก (kgCO2eq) = [(กาลังการผลิตของแผงเซลล์แสงอาทิตย์/1,000) x จานวนแผง x จานวนวันที่ผลิตไฟฟ้า x ช่วงเวลาท่ีมี ความเข้มของแสงแดด x EF grid] – [(ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้สาหรับระบบผลิตไฟฟ้าหรือดาเนินการ x EF elec)+ (ปรมิ าณเชื้อเพลงิ ฟอสซลิ ท่ใี ช้สาหรับดาเนนิ กจิ กรรม x NCV x EF fuel)] คา่ ตัวแปร : ปริมาณไฟฟา้ ทีผ่ ลิตไดจ้ ากพลงั งานหมุนเวียน (kWh) ปริมาณพลงั งานไฟฟา้ ทีใ่ ชใ้ นระบบผลติ ไฟฟ้าหรือดาเนินการ (kWh) EF grid = ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตพลังงานไฟฟ้า สาหรับ ผู้ผลิตไฟฟา้ (kgCO2eq/kWh) EF elec = ค่าการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกจากการผลิตไฟฟ้า (kgCo2eq/kWh) = 0.4872 (ใชไ้ ฟฟา้ จากระบบสายสง่ ) NCV = ค่าความรอ้ นสทุ ธิ (Net Calorific Value) EF fuel = คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกจากเชอ้ื เพลิง (kgCo2eq/MJ) หมายเหตุ: - ระยะเวลาที่มีความเข้มของแสงแดดสูงสุดในการผลิตพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยใน 1 วัน ในกรณีท่ีบางองค์กรไม่มีค่าสามารถอ้างอิงได้ ใช้ค่าอ้างอิงกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน มคี า่ เท่ากับ 4 ชั่วโมงต่อวัน - EF grid อา้ งองิ จาก รายงานผลการศึกษาค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ฉบับล่าสุด โดย อบก. มคี ่าเท่ากับ 0.5290 kgCO2eq/kWh - 1,000 คอื คา่ แปลงจาก วัตตเ์ ป็นกิโลวัตต์ 4-6 กลุ่มวจิ ยั EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี

4.2.6 การเปล่ียนอปุ กรณไ์ ฟฟา้ แสงสว่างเพื่อเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ สูตรการคานวณ ปริมาณการลดการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก (kgCO2eq) = (PBL x NBL x h x EF elec/1000) - (PPJ x NPJ x h x EF elec/1000) ค่าตวั แปร : PBL = กาลังไฟฟา้ ของหลอดเดิม รวมกาลังไฟฟา้ ของบลั ลาสต์ (Watt) NBL = จานวนหลอดไฟฟ้าทใี่ ชเ้ ดมิ ก่อนดาเนินการเปลี่ยน (ชุด) PPJ = กาลังไฟฟ้าของหลอดใหม่ รวมกาลังไฟฟ้าของบลั ลาสต์ (Watt) NPJ = จานวนหลอดไฟฟา้ ใหม่ทเ่ี ปล่ยี นทดแทนหลอดเดมิ (ชดุ ) h = จานวนช่ัวโมงการใช้งานของอปุ กรณ์ส่องสวา่ งใหม่ ตลอดชว่ งระยะเวลาที่ขอ การรบั รอง (ชั่วโมง) EF elec = ค่าการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกจากการผลติ ไฟฟ้า (kgCo2eq/kWh) = 0.4872 (ใชไ้ ฟฟา้ จากระบบสายส่ง) = 0.3190 (ใชไ้ ฟฟา้ จากผผู้ ลติ อน่ื หรอื โรงไฟฟา้ Captive ทไ่ี มผ่ า่ นระบบสายสง่ ) 1000 = คา่ แปลงหนว่ ยจาก Watt เปน็ kW แหลง่ อา้ งอิง 1. องค์กรบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน), โครงการสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซ เรือนกระจก (Low Emission Support Scheme: LESS), ค้นเม่ือ 26 สิงหาคม 2564, จากเว็บไซต์: http://ghgreduction.tgo.or.th/th/calculation/less-calculate-document/less-energy.html คมู่ ือการอนุรักษพ์ ลังงาน 4-7 V.2022


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook