Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book MEA Energy Saving Building 2015

E-Book MEA Energy Saving Building 2015

Published by Wilawan S, 2021-10-01 03:47:00

Description: สรุปผลการดำเนินโครงการปี 2015
โครงการส่งเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคาร

Keywords: mea,energy,saving,building,meaaward,meabook,2015

Search

Read the Text Version

สารจากผู้วา่ การ การไฟฟ้านครหลวง นายสมชาย โรจนร์ ุ่งวศินกลุ การไฟฟ้ านครหลวง (กฟน.) เป็นองค์กรที่มงุ่ มน่ั ในการ ซงึ่ การไฟฟ้ านครหลวงจะผลกั ดนั ให้เป็นเกณฑ์มาตรฐาน สร้างประโยชน์และความก้าวหน้าให้กบั ประเทศไทย ตามคา่ นยิ ม สำ� หรบั อาคารประหยดั พลงั งานของประเทศตอ่ ไป ในปัจจบุ นั มผี ้ไู ด้รบั ระบบไฟฟ้ ามนั่ คง บริการมนั่ ใจ หว่ งใยสงั คม ด้วยการพฒั นาองคก์ ร ตราสญั ลกั ษณแ์ ล้วทงั้ สนิ ้ จำ� นวน ๑๔๗ แหง่ หลงั จากทอ่ี าคารตา่ งๆ ให้เป็ นองค์กรสมรรถนะสงู อย่างยง่ั ยืน ม่งุ ส่คู วามเป็ นผ้นู �ำด้าน ได้รับตราสัญลักษณ์อาคารมาตรฐานแล้ว ก็จะให้อาคารนัน้ ธรุ กจิ พลงั งานไฟฟ้ าในระดบั สากล ดำ� เนนิ ธรุ กจิ ไฟฟ้ าทมี่ คี ณุ ภาพ เข้าประกวด เพ่ือค้นหาสุดยอดอาคารประหยัดพลงั งานดีเด่น ให้บริการเชิงรุกโดยมงุ่ เน้นลกู ค้า พฒั นาขีดความสามารถในการ ในระดบั ต่อไป มีอาคารท่ีได้รับรางวลั อาคารประหยดั พลงั งาน แขง่ ขนั พฒั นาการบริหารจดั การองคก์ รอยา่ งยง่ั ยนื และรบั ผดิ ชอบ ในระดบั ดเี ลศิ แล้ว ๒ อาคาร ซงึ่ อาคารทงั้ ๒ แหง่ นี ้ยงั ได้ไปประกวด ตอ่ สงั คมและสง่ิ แวดล้อม อาคารประหยัดพลงั งานในระดบั ประเทศ และในระดบั สากล นอกจากการพฒั นาธรุ กิจไฟฟ้ าให้มีคณุ ภาพเพื่อสง่ ผา่ น สร้างชื่อเสยี งให้กบั ประเทศของเราเป็นอยา่ งมาก ไปให้ลกู ค้าแล้ว การไฟฟ้ านครหลวงยงั ได้ตระหนกั ถงึ ความค้มุ คา่ ส�ำหรับในปี นีเ้ ป็ นการด�ำเนินการในปี ที่ ๓ ประเภท ของการใช้พลงั งานในภาคผ้ใู ช้วา่ มกี ารบริหารจดั การพลงั งานอยา่ ง มหาวิทยาลยั และศนู ย์การค้ามีอาคารเข้าร่วม ๓๔ แห่ง ได้รับ ถูกต้องหรือไม่ การใช้พลงั งานท่ีขาดประสิทธิภาพนอกจากจะ รางวลั อาคารประหยดั พลงั งานดเี ดน่ ๖ อาคาร ดเี ดน่ พเิ ศษ ๓ อาคาร เป็นการสนิ ้ เปลอื ง เสยี คา่ ใช้จา่ ยทไี่ มจ่ ำ� เป็นแล้วยงั มผี ลกระทบตอ่ และรางวลั อาคารประหยดั พลงั งานดีเลิศ ๑ อาคาร มีผลการ สิ่งแวดล้อมอีกด้วย การไฟฟ้ านครหลวงจึงได้จดั ท�ำ “โครงการ ประหยดั พลงั งานจากการเข้าร่วมกิจการของอาคารทงั้ ๒ กล่มุ ส่งเสริมการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพการใช้พลงั งานในอาคาร” ถงึ ๖.๒๔ ล้านหนว่ ย คดิ เป็นมลู คา่ ๒๗.๒๑ ล้านบาท และชว่ ยลด เป็นโครงการตอ่ เน่ืองระยะเวลา ๕ ปี ตงั้ แตป่ ี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงได้ถงึ ๓,๖๒๗ ตนั โดยจดั ให้มีเกณฑ์มาตรฐานในการตรวจประเมินประสิทธิภาพ สดุ ท้ายนี ้ ผมหวงั เป็ นอย่างย่ิงว่า โครงการส่งเสริมการ การใช้พลงั งานของอาคารประเภทต่างๆ และมีผ้ทู รงคณุ วฒุ ิให้ ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคารของการไฟฟ้ า ค�ำแนะน�ำในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลงั งานให้ดีขึน้ นครหลวง จะมสี ว่ นชว่ ยให้อาคารตา่ งๆ ได้มกี ารประหยดั พลงั งาน มีกระบวนการจดั การพลงั งานที่ถกู ต้อง กระต้นุ ให้เกิดนวตั กรรม สร้างมาตรฐานของอาคารประหยดั พลงั งาน ลดปัญหาภาวะโลกร้อน ด้านการประหยดั พลงั งานและมงุ่ เน้นให้มกี ารปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม ชว่ ยรักษาสงิ่ แวดล้อม และยงั สามารถพฒั นาบคุ ลากรของอาคาร การใช้พลงั งานด้วย เมอ่ื อาคารได้ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน กจ็ ะได้รับ ให้มีพฤติกรรมของการประหยดั พลงั งาน สร้างศกั ยภาพในการ ตราสญั ลกั ษณ์ “กฟน. อาคารประหยัดพลังงาน” แขง่ ขนั ของประเทศในล�ำดบั ตอ่ ไปด้วย

MEA Energy Saving Building โครงการสง่ เสรมิ การปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพ การใชพ้ ลังงานในอาคาร ในช่วงหลายปี ท่ีผ่านมาเราได้เผชิญกับวิกฤตพลงั งานท่ีเกิดขึน้ ทงั้ ใน ประเทศไทยและภมู ิภาคตา่ งๆ ทวั่ โลกเนื่องมาจากการเตบิ โตทางด้านเศรษฐกิจ และสงั คมเทคโนโลยีต่างๆ ได้พฒั นาก้าวหน้าเพิ่มมากขึน้ จากอดีตส่ปู ัจจุบนั อยา่ งรวดเร็วซง่ึ ท�ำให้การใช้พลงั งานไฟฟ้ ามีเพิ่มมากขนึ ้ ตามล�ำดบั และยงั สง่ ผล กระทบให้เกิดปัญหาสภาวะโลกร้อน เกิดสถานการณ์ขาดแคลนพลงั งานและ ตามมาด้วยราคาต้นทุนทางด้านพลงั งานที่เพิ่มสูงขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน สงั คมเมืองซงึ่ เป็นภาคสงั คมผ้บู ริโภคพลงั งานรายใหญ่มีการใช้พลงั งานไฟฟ้ าสงู เป็นลำ� ดบั ต้นๆ เมื่อเทียบกบั ปริมาณการใช้ไฟฟ้ าภายในประเทศ เพราะมีผ้คู น อย่อู าศยั จ�ำนวนมาก มีอาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ มีการใช้พลงั งานแบบสงั คม เมืองท่ีมีความต้องการใช้พลงั งานทัง้ ในภาคอุตสาหกรรมและภาคครัวเรือน ทกุ คนจึงควรให้ความส�ำคญั กบั การใช้พลงั งานอย่างรู้คณุ ค่า และใช้พลงั งาน อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ตลอดจนการสร้างวนิ ยั ตนเองในชีวติ ประจ�ำวนั เพอ่ื ลดการ ใช้พลงั งานในสว่ นท่ีไมจ่ �ำเป็นและใช้พลงั งานอยา่ งประหยดั ผลส�ำเร็จจากการมีสว่ นร่วมจากทกุ ภาคสว่ นท่ีเกิดขนึ ้ นบั จากก้าวแรก ของการริเริ่มด�ำเนิน โครงการส่งเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ พลังงานในอาคาร โดยการไฟฟ้ านครหลวง (กฟน.) ได้จดั ท�ำโครงการขนึ ้ เป็น ครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2555 สำ� หรับอาคารประเภทโรงพยาบาลและไฮเปอร์มาร์เกต็

โครงการได้รับความสนใจจากอาคารที่มีช่ือเสียงเข้าร่วมประกวดจ�ำนวนมาก ผลกั ดนั ให้เดินหน้าส่ปู ี ท่ี 2 จดั ประกวดอาคารประเภทโรงแรมและส�ำนกั งาน เป็ นกลมุ่ อาคารท่ีมีประชาชนเข้าใช้บริการในอาคารเป็ นจ�ำนวนมาก ซงึ่ อาคาร ทงั้ 2 ประเภทนีไ้ ด้ม่งุ มนั่ เดินหน้าอนรุ ักษ์พลงั งานต่อเนื่องจนเป็ นท่ียอมรับใน การประกวดรางวลั ทางด้านพลงั งานในระดบั สากล การประกวด MEA Energy Saving Building 2015 สำ� หรับประเภท มหาวทิ ยาลยั และศนู ย์การค้า/ห้างสรรพสนิ ค้า เป็นโครงการในปีที่ 3 ทไี่ ด้เผยแพร่ ความรู้และส่งเสริมให้เจ้าของอาคาร บคุ ลากร เจ้าหน้าที่ของอาคารที่เข้าร่วม โครงการได้ตระหนักถึงการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และกระตุ้นให้ ประชาชนมีสว่ นร่วมในการสนบั สนนุ อาคารท�ำดีเพื่อเป็ นอาคารต้นแบบที่มีการ ใช้พลงั งานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยผลจากด�ำเนินการโครงการ 3 ปี มีอาคาร ได้รบั ตราสญั ลกั ษณ์ กฟน. อาคารประหยดั พลงั งานของ กฟน. รวม 22 แหง่ ตราสัญลักษณ์ กฟน. อาคารประหยัดพลังงาน เป็ นเคร่ืองหมาย แสดงประสิทธิภาพการใช้พลงั งานที่ กฟน.พิจารณามอบให้กบั อาคารที่ผ่าน เกณฑ์ MEA Index ซง่ึ เป็นอาคารที่มีดชั นีการใช้พลงั งานท่ีเหมาะสมของอาคาร ตนเอง เมื่อเทียบการใช้พลงั งานในอาคารประเภทเดียวกนั นอกจาก MEA Index จะชว่ ยในการกำ� หนดมาตรฐานประสทิ ธภิ าพการใช้ พลงั งานในอาคารทเี่ ข้าร่วมโครงการแล้ว ยงั สามารถพฒั นาให้เป็นเกณฑม์ าตรฐาน ของประเทศในอนาคตได้ด้วย อาคารจะได้รับการขึน้ ทะเบียนเป็ นเครือข่าย อาคารประหยดั พลงั งานของ กฟน. เป็นอาคารต้นแบบเพื่อสร้างแรงบนั ดาลใจ ในการอนรุ ักษ์พลงั งานให้กบั อาคารอ่ืนๆ และพร้อมท่ีจะก้าวสกู่ ารแขง่ ขนั ระดบั ประเทศและพฒั นาไปสกู่ ารแขง่ ขนั ในระดบั สากลตอ่ ไป

82 สรุปผลการด�ำเนนิ โครงการ 62 54 มหาวิทยาลยั หวั เฉยี วเฉลมิ พระเกยี รติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

74 8 รูจ้ กั กบั โครงการ 20 นานาทรรศนะจากกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ศนู ยก์ ารคา้ แฟชัน่ ไอสแ์ ลนด์ 40 แนะนำ� อาคารประหยัดพลังงาน 78 42 มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ วทิ ยาเขตกล้วยน�ำ้ ไท 46 มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตบางเขน ศูนย์การคา้ เดอะมอลล์ สาขาบางแค 50 มหาวิทยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม 54 มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา 58 มหาวทิ ยาลัยหอการค้าไทย 62 มหาวิทยาลยั หวั เฉยี วเฉลมิ พระเกยี รติ 66 มหาวิทยาลัยอสั สัมชัญ วทิ ยาเขตสวุ รรณภูมิ 70 ศูนยก์ ารค้าเซ็นทรลั พลาซา รัตนาธเิ บศร์ 74 ศูนย์การคา้ แฟชั่นไอสแ์ ลนด์ 78 ศนู ยก์ ารคา้ เดอะมอลล์ สาขาบางแค 82 112สรปุ ผลการด�ำเนินงาน หลอดไฟประหยดั พลังงานแบบ LED MEA Energy Saving Building 2015 88 เจาะลึกอาคารที่ได้รับรางวลั 116 147 อาคารทไี่ ดร้ บั ตราสญั ลกั ษณ์ 88 มหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ “กฟน. อาคารประหยัดพลังงาน” 94 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนันทา 100 ศูนยก์ ารคา้ แฟชน่ั ไอส์แลนด์ 106 ศนู ยก์ ารคา้ เดอะมอลล์ สาขาบางแค

รู้จักกบั โครงการ MEA Energy Saving Building 8

การไฟฟ้ านครหลวง หรือ กฟน. (Metropolitan Electricity Authority : MEA) ในฐานะหนว่ ยงานรัฐวิสาหกิจ ที่ด�ำเนินกิจการด้านพลงั ไฟฟ้ าได้จดั ท�ำ “โครงการส่งเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคาร” ขนึ้ ภายใต้ช่ือ “การประกวดอาคาร MEA Energy Saving Building” เป็นโครงการตอ่ เน่ือง 5 ปี (2555-2559) เพ่ือสนบั สนนุ และส่งเสริมให้อาคารได้มีการอนรุ ักษ์พลงั งานอย่างเป็ นรูปธรรม และใช้พลงั งานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาคารที่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานตามที่ กฟน. ก�ำหนด จะได้รับ “ตราสัญลักษณ์ กฟน. อาคารประหยัดพลังงาน” เพ่ือยกยอ่ งเชิดชอู าคารท่ีด�ำเนินการอนรุ ักษ์พลงั งานมาอยา่ งตอ่ เนื่อง มีความมงุ่ มนั่ และมีผลประหยดั ชดั เจนในระดบั สงู ให้เป็นตวั อยา่ งท่ีดีในด้านการด�ำเนินการเพ่ือการอนรุ ักษ์พลงั งานท่ีพงึ ยดึ เป็นแบบอยา่ ง โดยสง่ เสริมและกระต้นุ ให้ เจ้าของอาคารเกิดแรงจงู ใจในการอนรุ ักษ์พลงั งาน รณรงค์สร้างจิตส�ำนกึ ให้ ผ้ซู ือ้ /ผ้เู ช่า/เจ้าของอาคาร ได้ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของการอนรุ ักษ์พลงั งาน ร่วมเผยแพร่ความรู้และให้ค�ำแนะน�ำด้านการอนรุ ักษ์พลงั งาน และใช้พลงั งานอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าใช้บริการจากอาคารทไี่ ด้รบั “ตราสญั ลกั ษณ์ กฟน. อาคารประหยดั พลงั งาน” โครงการ MEA Energy Saving Building ได้จดั ท�ำเกณฑ์มาตรฐานประสทิ ธิภาพการใช้พลงั งานในอาคาร โดยใช้ International Energy Code และงานวจิ ยั ที่ผา่ นมาของ กฟน. เป็นเกณฑ์อ้างอิงเรียกวา่ ดชั นีการใช้พลังงาน หรือ MEA Index (Management of Energy Achievement Index) เพ่ือใช้เป็นคา่ เกณฑ์มาตรฐานในการพิจารณา มอบตราสัญลักษณ์ กฟน. อาคารประหยดั พลังงาน ให้แก่อาคาร ทงั้ นีอ้ าคารท่ีสนใจสามารถขอรับการประเมิน MEA Index เพอ่ื ขอรับตราสญั ลกั ษณ์ฯ กบั ทางโครงการฯ ได้ในรอบปีถดั ไป โครงการจะน�ำข้อมลู ของอาคารไปประเมนิ หาดชั นีการใช้พลงั งานส�ำหรับอาคารประหยดั พลงั งานของ กฟน. อาคารสามารถเปรียบเทียบกบั คา่ การใช้พลงั งานท่ี เหมาะสมของตนเอง ท�ำให้ทราบวา่ อาคารของตนเองมีการใช้พลงั งานจริงแตกตา่ งจากคา่ การใช้พลงั งานท่ีเหมาะสม เพียงใด ส�ำหรับอาคารเป้ าหมายท่ีให้การสง่ เสริมในเขตพืน้ ที่ให้บริการของ กฟน. 3 จงั หวดั ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ โครงการได้ด�ำเนินการจดั ประกวดอาคารถงึ ปัจจบุ นั ประกอบด้วย โครงการปี ท่ี 1 (2555-2556) ด�ำเนินการในกลมุ่ อาคารโรงพยาบาลและไฮเปอร์มาร์เก็ต โครงการปี ท่ี 2 (2556-2557) ด�ำเนินการในกลมุ่ อาคารโรงแรมและสำ� นกั งาน โครงการปี ที่ 3 (2557-2558) ด�ำเนินการในกลมุ่ อาคารมหาวทิ ยาลยั และศนู ย์การค้า/ห้างสรรพสนิ ค้า 9

ขั้นตอนการประกวดอาคาร อาคารท่มี ีคุณสมบัตคิ รบถ้วนตามที่โครงการ กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิพิจารณาตดั สินอาคารที่จะได้รับ กำ� หนดกลมุ่ เป้ าหมายในการจดั การประกวดอาคาร กรอกใบ ตราสญั ลกั ษณ์ “กฟน.อาคารประหยัดพลังงาน” และ สมคั รเพ่ือแสดงเจตจ�ำนงเข้าร่วมโครงการ หลงั จากนนั้ จดั งานพธิ ีมอบตราสญั ลกั ษณ์ฯ ซง่ึ ถอื เป็นตราสญั ลกั ษณ์ ทางโครงการจะทำ� การตรวจสอบความถกู ต้องและครบถ้วน ระดบั ท่ี 1 ของใบสมคั ร สำ� หรับอาคารที่ผา่ นเกณฑ์ในระดบั ท่ี 1 มาแล้ว ทัง้ นีข้ ้อมูลส�ำคัญของการประกวดอาคารใน และอาคารต้องการเข้าร่วมแข่งขนั ต่อในระดบั ท่ี 2 เพื่อ โครงการนคี ้ อื การคำ� นวณค่า MEA Index โดยโครงการ ขอรับตราสญั ลกั ษณ์ “กฟน.อาคารประหยัดพลังงาน จะน�ำข้อมลู การใช้พลงั งานของอาคารที่ได้จากใบสมคั ร ระดบั ดเี ด่น” และเงินรางวลั ในแตล่ ะประเภทอาคาร ซง่ึ มาค�ำนวณ MEA Index ก่อนเข้าตรวจวดั จากนัน้ จึง ทางอาคารจะต้องจดั ท�ำรายงานข้อตกลงวิธีการตรวจวดั เข้าตรวจวดั คา่ ตามเกณฑ์คณุ ภาพการใช้พลงั งาน พร้อม และพิสูจน์ ผลการใช้ พลังงานส่งกลับมาให้ โครงการ ท�ำการทวนสอบข้อมลู ระหว่างใบสมคั รเพ่ือให้ได้ข้อมลู พิจารณาอนมุ ตั ิ ตรงตามความเป็นจริง แล้วน�ำข้อมลู ทไี่ ด้จากการตรวจวดั โดยโครงการจะอธิบายขนั้ ตอนทำ� ความเข้าใจถงึ และทวนสอบข้อมลู มาค�ำนวณ MEA Index อีกครัง้ และ วิธีการตรวจวดั และพิสูจน์ผลประหยัดท่ียอมรับได้และ สรุปข้อมลู จากการตรวจวดั ของอาคาร น�ำเสนอตอ่ คณะ 10

เป็ นตามหลกั วิศวกรรมร่วมกบั ทางอาคารเพื่อให้มีความ เม่ือครบก�ำหนดระยะเวลาตามท่ีก�ำหนด ทาง เข้าใจตรงกนั กอ่ นจะลงมอื ดำ� เนนิ การปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพ โครงการจะนดั หมายอาคารเพ่ือให้คณะกรรมการผ้ทู รง การใช้พลงั งานในมาตรการตา่ งๆ ตามที่อาคารน�ำเสนอ คุณวุฒิเข้าประเมินให้คะแนน ณ อาคารทุกอาคารที่ มาให้พิจารณา เข้าร่วมประกวด แล้วน�ำผลคะแนนมาสรุปและน�ำเสนอ เม่ือวิธีการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดฯ คณะกรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิประชมุ เพื่อตดั สนิ อาคารท่ีจะ ได้รับการอนุมตั ิจากโครงการแล้ว ทางอาคารจึงจะเริ่ม ได้รบั ตราสญั ลกั ษณ์ “กฟน. อาคารประหยดั พลงั งานดเี ดน่ ” ด�ำเนินการปรับปรุ งประสิทธิ ภาพการใช้ พลังงานตาม และอาคารท่ีมีความดีเด่นที่สุดและดีเด่นเป็ นอันดับ 2 มาตรการท่ีเสนอในข้อตกลง ทงั้ นีอ้ าคารต้องแจ้งให้ทาง จะได้รับตราสญั ลกั ษณ์และเงินรางวลั พิเศษตามจ�ำนวน โครงการเข้าร่วมสงั เกตการตรวจวดั การใช้พลงั งาน ทงั้ กอ่ น รางวลั ที่ กฟน.ก�ำหนดในแตล่ ะปี และหลงั ปรับปรุง 11

และเกณตรฑาก์ สาัญรพลักิจาษรณณฯ์ าตดั สิน ในการประกวดอาคารประหยดั พลงั งาน MEA Energy Saving Building ได้แบ่งระดบั การพิจารณามอบ ตราสญั ลกั ษณ์แสดงประสทิ ธิภาพการใช้พลงั งานในอาคารที่เหมาะสมให้อาคารที่เข้าร่วมโครงการฯ ออกเป็น 2 ระดบั กลา่ วคอื ระดบั ที่ 1 ตราสญั ลกั ษณ์ “กฟน.อาคารประหยดั พลงั งาน” และ ระดบั ท่ี 2 ตราสญั ลกั ษณ์ “กฟน.อาคารประหยดั พลงั งานดเี ดน่ ” โดยมรี ายละเอยี ดของตราสญั ลกั ษณ์ฯ และเกณฑ์การพจิ ารณาตดั สนิ เงนิ รางวลั ในการจดั ประกวดอาคาร ในปี ที่ 3 ดงั นี ้ ระดบั ท่ี 1 ตราสัญลกั ษณ์ “กฟน.อาคารประหยดั พลงั งาน” กฟน.จะมอบให้อาคารในแตล่ ะประเภทที่สมคั รเข้าร่วมโครงการเพ่ือเชิดชเู กียรตใิ ห้อาคารที่ด�ำเนินการอนรุ ักษ์ พลงั งานอยา่ งตอ่ เนื่อง โดยอาคารต้องผา่ นการประเมินเกณฑ์มาตรฐานตามท่ี กฟน. ก�ำหนดประกอบด้วย เง่อื นไข ด้านการใช้พลังงาน (MEA Index) และ เง่อื นไขด้านคุณภาพการใช้พลังงาน จงึ จะได้รับพิจารณาตราสญั ลกั ษณ์ ระดบั ที่ 1 “กฟน.อาคารประหยดั พลงั งาน” เกณฑ์การพิจารณาตดั สนิ เงอื่ นไขด้านการใช้พลังงานไฟฟ้า พจิ ารณาจากคา่ MEA Index ไมเ่ กนิ คา่ เกณฑ์ท่ี กฟน. กำ� หนด โดยประเมนิ จากข้อมลู การใช้พลงั งานของแตล่ ะ อาคารตามประเภทอาคารที่อาคารขอรับการประเมิน และน�ำข้อมลู มาวเิ คราะห์ทางสถิตเิ พ่ือหากราฟการแจกแจงของ อาคารประเภทนนั้ ๆ เทียบกบั อาคารอ่ืนในกลมุ่ เดียวกนั 12

เงื่อนไขดา้ นคณุ ภาพการใชพ้ ลงั งาน เม่ืออาคารมีค่า MEA Index ผ่านเกณฑ์ที่ กฟน. ก�ำหนดแล้วควรต้องมีการใช้พลงั งานท่ีมีคณุ ภาพที่ดีต่อ ผ้ใู ช้งานภายในอาคารด้วย เกณฑ์คณุ ภาพได้แก่ ต้องมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอาคารไมเ่ กินคา่ มาตรฐาน อาคารต้องมคี า่ ความสอ่ งสวา่ งในแตล่ ะพนื ้ ทหี่ รือกิจกรรมเพยี งพอตอ่ การใช้งาน มอี ณุ หภมู แิ ละความชืน้ ทอี่ ยใู่ นสภาวะ สบายโดยโครงการจะตรวจวดั คา่ เกณฑ์ด้านคณุ ภาพการใช้พลงั งาน ณ อาคารจริง เพ่ือน�ำมาประกอบการตดั สนิ ดงั นี ้ 1. ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอาคาร ไม่เกนิ 3. ค่าความส่องสว่าง (อ้างองิ สมาคมไฟฟ้ าแสงสวา่ งฯ) 1,000 ppm (อ้างอิง ASHRAE 62) ประเภทของกจิ กรรมและพน้ื ที่ ความส่องสวา่ ง (Lux) 2. อุณหภมู แิ ละความชืน้ (อ้างอิง ASHRAE 55-2010) ภายในอาคารท่ัวไป 100 โถงทางเข้าอาคาร/ทางเดิน 200 Measurement type Winter (OC) Summer(OC) โถงนง่ั พกั 200 Dry bulb at 30% RH 20.5 – 25.5 24.5 – 28.0 ห้องอาหารท่ัวไปภายในอาคาร 200 Dry bulb at 50% RH 20.3 – 23.6 22.8 – 26.1 พน้ื ทท่ี างเดนิ ภายในอาคาร 150 Dry bulb at 60% RH 20.0 – 24.0 23.0 – 25.5 บันได บันไดเลอื่ น ทางเล่ือน 150 พน้ื ทีข่ นสง่ สนิ ค้าภายในอาคาร 200 หมายเหตุ : คา่ อณุ หภมู ิและความชืน้ พิจารณาประกอบเป็นแนวทาง ศนู ยก์ ารค้า 200 ตามความเหมาะสมของประเทศไทย หอ้ งนำ�้ หอ้ งสุขา* พนื้ ทที่ ว่ั ไปในอาคาร 500-1,000 แสงสว่างทั่วไปในร้านค้า 1,500-3,000 สอ่ งเน้นในร้านค้า 1,000-2,000 แสงสว่างทวั่ ไปในตู้กระจก 5,000-10,000 ส่องเน้นในตกู้ ระจก สถานศกึ ษา หอ้ งน�้ำ หอ้ งสุขา* 100 ชอ่ งทางเดินภายใน 200 ห้องสมุด หอ้ งเรียน* 300 หอ้ งประชุม* 300 หมายเหตุ : * อ้างอิงตามพระราชบญั ญตั คิ วบคมุ อาคารฯ 13

ระดบั ที่ 2 ตราสญั ลกั ษณ์ “กฟน.อาคารประหยดั พลงั งานดเี ดน่ ” การแขง่ ขนั อาคารประหยดั พลงั งานของ กฟน. ในระดบั ที่ 2 เพ่ือขอรับตราสญั ลกั ษณ์ “กฟน. อาคารประหยดั พลงั งานดเี ดน่ ” ต้องเป็นอาคารทผ่ี า่ นเกณฑ์การประเมนิ และได้รับตราสญั ลกั ษณ์ในระดบั ที่ 1 แล้วเทา่ นนั้ จงึ มสี ทิ ธ์ิในการ เข้าแข่งขนั ต่อในระดบั ท่ี 2 ได้ โดยคณะกรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิของโครงการจะเข้าเย่ียมพบเพื่อให้ค�ำแนะน�ำในการ พฒั นาศกั ยภาพและการปรับปรุงประสทิ ธิภาพการใช้พลงั งานในอาคารให้ดยี งิ่ ขนึ ้ แล้วนำ� ผลคะแนนมาพจิ ารณาตดั สนิ เพ่ือมอบตราสญั ลกั ษณ์ระดบั ท่ี 2 “กฟน. อาคารประหยดั พลงั งานดีเดน่ ” และเงินรางวลั ในแตล่ ะประเภทดงั นี ้ ตราสญั ลักษณ์ “กฟน.อาคารประหยัดพลังงานดเี ดน่ ” มอบให้อาคารท่ีด�ำเนินการปรับปรุงการใช้พลังงานไฟฟ้ าให้เกิดผล ประหยดั ขนึ ้ จริงในชว่ งระยะเวลาท่ีเข้าแขง่ ขนั โดยพิจารณาจาก 1) ผลประหยดั พลงั งานไฟฟ้ า 2) ความนา่ สนใจของมาตรการทป่ี รบั ปรุง 3) กจิ กรรมการมสี ว่ นร่วม ของบคุ ลากรในองค์กร และ 4) ความตงั้ ใจของคณะท�ำงานและฝ่ ายบริหารหากมี คะแนนผา่ นเกณฑ์จะเป็นอาคารประหยดั พลงั งานของ กฟน. ระดบั ดีเดน่ ตราสญั ลกั ษณ์ “กฟน.อาคารประหยดั พลังงานดีเดน่ พเิ ศษ” มอบให้อาคารท่ีมีผลงานชดั เจนและ มีคะแนนรวมดีเด่นทงั้ 4 ปัจจยั โดยอาคารมีผลงานชดั เจนและมีคะแนนรวมเป็ นอนั ดบั ท่ี 2 ของแต่ละประเภท อาคารจะได้รับตราสัญลักษณ์ “กฟน.อาคารประหยัดพลังงานดีเด่นพิเศษ” พร้อมเงินรางวลั 500,000 บาท ตราสญั ลกั ษณ์ “กฟน.อาคารประหยัดพลงั งานดีเลิศ” มอบให้อาคารท่ีมีผลงานชัดเจนและ มีคะแนนรวมดีเด่นทงั้ 4 ปัจจัย โดยอาคารมผี ลงานชดั เจนและมคี ะแนนรวมสงู สดุ ของแตล่ ะประเภทอาคารทจ่ี ดั ประกวดจะได้รับตราสญั ลกั ษณ์ กฟน.อาคารประหยัดพลงั งานดีเลิศ” พร้ อม เงินรางวลั สงู สดุ มลู คา่ 2,000,000 บาท 14

เกณฑก์ ารพิจารณาตดั สนิ 1. ต้องเป็นอาคารที่ได้รับตราสญั ลกั ษณ์ “กฟน.อาคารประหยดั พลงั งาน” ระดบั ที่ 1 มาแล้วเทา่ นนั้ 2. อาคารต้องด�ำเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลงั งานให้เกิดผลประหยดั จริงและสามารถตรวจวดั ได้เสร็จสิน้ ภายในระยะเวลาท่ีโครงการก�ำหนด 3. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของโครงการจะเป็ นผู้เข้าประเมิน ณ อาคารจริง เพ่ือให้คะแนนและตดั สินผลการ ด�ำเนินของอาคาร โดยพิจารณาจาก 4 ปัจจยั ดงั นี ้ ตารางประเมนิ การให้คะแนนเพือ่ มอบตราสัญลกั ษณ์อาคารประหยัดพลังงาน ระดบั ดเี ดน่ ปัจจยั ทพี่ ิจารณา คะแนน ประเดน็ ยอ่ ยท่ีพิจารณา 1) ผลการปรบั ปรงุ 30% 1.1 พจิ ารณาจาก ผลประหยดั รวมทุกมาตรการ (kWh/ป)ี x 100% 2) ความนา่ สนใจของมาตรการทดี่ ำ� เนนิ การ ปริมาณการใชพ้ ลังงานไฟฟ้าของทัง้ อาคาร 20% 2.1 เปน็ นวตั กรรมใหม่หรือเทคโนโลยใี หม่ 2.2 เปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม/ส่วนรวม 3) การมสี ่วนร่วมของบคุ ลากรในองค์กร 2.3 สามารถน�ำไปประยกุ ต์ใชก้ บั อาคารประเภทเดยี วกันได้ 2.4 สามารถดำ� เนนิ การไดจ้ รงิ ในทางปฏบิ ตั ิ 25% 3.1 การรบั ทราบของบคุ ลากรเกย่ี วกบั การเขา้ รว่ มโครงการ MEA ทว่ั ถงึ หรอื ไม่ 4) ความต้ังใจของคณะท�ำงานและฝา่ ย 25% 3.2 มีกิจกรรมสง่ เสรมิ และฝึกอบรมใหแ้ ก่พนักงานในองค์กร บริหาร 3.3 มกี ารเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์โครงการเพอ่ื ใหเ้ กดิ การตน่ื ตวั ภายในองคก์ ร 3.4 การให้ความรว่ มมอื ของบุคลากรในองคก์ ร 3.5 พนักงานนำ� ความร้ทู ไี่ ดไ้ ปใช้ในการปฎบิ ัติจรงิ 4.1 ความใสใ่ จและการให้ความส�ำคัญตอ่ โครงการของฝา่ ยบริหาร 4.2 การจดั สรรงบประมาณในการด�ำเนนิ มาตรการอนรุ กั ษ์พลังงาน 4.3 การสนับสนนุ ให้พนักงานเสนอมาตรการ 4.4 ความกระตอื รอื รน้ /ความสมำ่� เสมอของคณะทำ� งานในการดำ� เนนิ มาตรการ 4.5 ระดับพนกั งานท่ีส่งเขา้ ประชมุ กบั โครงการ 15

กาครณุเขส้ารม่วบมัตโคิแลรงะเกงา่อื รนปไีทข่ี 3 อาคารประเภทมหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั หมายความว่า สถาบนั อดุ มศกึ ษาที่มีวตั ถปุ ระสงค์ให้การศกึ ษาในด้านวิชาการ และวิชาชีพชนั้ สงู หลายสาขาวชิ า หรือหลายกลมุ่ สาขาวชิ า เพอ่ื ให้ประกาศนยี บตั ร อนปุ ริญญา ปริญญา และประกาศนยี บตั รบณั ฑติ แก่ ผ้สู ำ� เร็จการศกึ ษา รวมทงั้ ดำ� เนนิ การวจิ ยั และให้บริการทางวชิ าการแกส่ งั คม และทะนบุ ำ� รุงศลิ ปะและวฒั นธรรมของชาติ ต้องเป็นมหาวทิ ยาลยั ทอ่ี ยใู่ นพนื ้ ทใ่ี ห้บริการของการไฟฟ้ านครหลวง คอื กรุงเทพมหานคร นนทบรุ ี และสมทุ รปราการ มหาวิทยาลยั ที่สมคั รเข้าร่วมโครงการต้องสง่ อาคารหรือพืน้ ท่ีตวั แทนเพ่ือเข้าประกวดอย่างน้อย 3 ประเภท จาก 4 ประเภท ได้แก่ 1) ห้องเรียน 2) สำ� นกั งาน 3) ศนู ย์คอมพิวเตอร์ 4) ห้องสมดุ อาคารที่เข้าร่วมประกวด อาจเป็ นอาคารเดียว หรือหลายอาคารก็ได้ ในแต่ละอาคารหรือพืน้ ท่ีตวั แทนต้องมีการ ใช้สอยพืน้ ท่ีเพื่อกิจกรรมในข้อ 3 ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 พืน้ ท่ีใช้สอยรวมของอาคาร หรือพืน้ ท่ีตวั แทนท่ีสง่ เข้าประกวด ต้องมีพืน้ ท่ีรวมกนั ไมน่ ้อยกวา่ 10,000 ตารางเมตร อาคารที่เข้าร่วมประกวดต้องอยภู่ ายใต้บ้านเลขที่เดียวกนั ต้องสามารถระบกุ ารใช้พลงั งานไฟฟ้ าของอาคารหรือพืน้ ที่อาคารที่เข้าร่วมโครงการ โดยข้อมลู นนั้ ต้องเช่ือถือได้ ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการฯ ถือวา่ เป็นท่ีสนิ ้ สดุ 16

อาคารประเภทศนู ย์การค้า/หา้ งสรรพสินคา้ ศนู ย์การค้า/ห้างสรรพสนิ ค้า หมายถงึ แหลง่ รวมสนิ ค้าเพ่ือจ�ำหนา่ ย มีร้านขายสนิ ค้านานาชนิด มีสงิ่ อ�ำนวยความ สะดวกตา่ งๆ ให้แก่ผ้มู าซือ้ สนิ ค้า เชน่ ท่ีจอดรถ ร้านอาหาร (ไมร่ วมถงึ Community Mall, Hypermarket) ต้องเป็ นศนู ย์การค้า/ห้างสรรพสินค้าท่ีอย่ใู นพืน้ ที่ให้บริการของการไฟฟ้ านครหลวง คือ กรุงเทพมหานคร นนทบรุ ี และสมทุ รปราการ ศนู ย์การค้า/ห้างสรรพสินค้าที่สมคั รเข้าร่วมโครงการต้องส่งอาคารเข้าประกวดทงั้ อาคาร ทงั้ พืน้ ท่ีส่วนกลาง และ พืน้ ที่ผ้เู ชา่ ต้องมีคา่ ไฟฟ้ ารวมกนั ไมน่ ้อยกวา่ 12 ล้านบาท ในปี 2556 ผ้สู ง่ อาคารเข้าประกวด ต้องเป็นเจ้าของอาคารหรือเป็นผ้ทู ่ีได้รับความยินยอมจากเจ้าของอาคาร ตราสญั ลกั ษณ์ของโครงการมอบให้กบั อาคารท่ีส่งเข้าประกวด ส่วนเงินรางวลั มอบให้กบั องค์กรหรือบริษัทท่ีส่ง อาคารเข้าประกวด ทงั้ นีห้ ากผ้ทู ่ีสง่ อาคารเข้าประกวดมิใชเ่ จ้าของอาคาร จะต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของอาคาร ให้สง่ อาคารเข้าประกวดได้ ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการฯ ถือวา่ เป็นที่สนิ ้ สดุ ประโยชน์ทีอ่ าคารได้รบั โครงการจะน�ำข้อมูลของอาคารไปประเมินหาดัชนีการใช้พลังงานส�ำหรับอาคารประหยัดพลังงาน ของ กฟน. อาคารสามารถเปรียบเทียบกับค่าการใช้พลังงานท่ีเหมาะสมของตนเองท�ำให้ทราบว่าอาคารของ ตนเองมีการใช้พลังงานจริงแตกต่างจากค่าการใช้พลังงานที่เหมาะสมเพียงใดนอกจากได้รับการประดับตรา สัญลักษณ์ของโครงการเป็นการเชิดชูเกียรติแล้วส�ำหรับอาคารท่ีมีผลการปรับปรุงการใช้พลังงานดีเด่น อนั ดบั ท่ี 1 และอนั ดบั ที่ 2 ของแตล่ ะประเภทอาคารจะไดร้ ับเงินรางวลั ตามจำ� นวนที่ กฟน. ก�ำหนด พรอ้ มทงั้ ไดร้ บั การประชาสมั พนั ธ์ในสอื่ ตา่ งๆ ของโครงการ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนทราบถงึ ความสำ� เรจ็ ในการอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน และส่งเสริมให้ประชาชนใช้บริการจากอาคารท่ีได้รับเครื่องหมายแสดงประสิทธิภาพการใช้พลังงานนี้อย่าง กวา้ งขวางเพื่อเป็นตน้ แบบอาคารประหยดั พลังงานสำ� หรบั อาคารท่สี นใจไดเ้ ป็นแบบอย่างที่ดีต่อไป

ดัชปนรีกะาหรยใชดั M้พพEลลAงั ังงงIาาnนนdสขe�ำอxหงรกับฟอานค.าร พลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานหลกั ที่ถกู น�ำไปใช้ในอาคาร โดยถกู น�ำไปใช้ในระบบตา่ งๆ เชน่ ระบบท�ำความเยน็ ระบบแสงสวา่ ง รวมถงึ อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าตา่ งๆ โดยปัจจยั ทส่ี ำ� คญั ทม่ี ผี ลตอ่ การใช้พลงั งานไฟฟ้ าของอาคารได้แก่ ประสทิ ธภิ าพ ของอปุ กรณ์ตา่ งๆ ภายในอาคาร กรอบอาคาร รวมถงึ พฤตกิ รรมการใช้ เป็นต้น ในปัจจบุ นั ยงั ไมม่ ีการจดั ท�ำเกณฑ์เพื่อวดั ประสทิ ธิภาพการใช้พลงั งานของอาคาร ดงั นนั้ เพื่อให้เจ้าของอาคาร หรือผู้ใช้อาคารได้ทราบถึงประสิทธิภาพการใช้พลงั งานของอาคาร ทาง กฟน. จึงได้จดั ท�ำดชั นีการใช้พลงั งานของ อาคารขนึ ้ เรียกวา่ MEA Index (Management of Energy Achievement Index) ซง่ึ หมายถงึ คา่ ดชั นีการใช้พลงั งาน ส�ำหรับอาคารประหยดั พลงั งานของ กฟน. ซงึ่ คา่ MEA Index นีไ้ ด้ถกู น�ำมาใช้ประกอบในเกณฑ์การพิจารณามอบ ตราสญั ลกั ษณ์ กฟน. อาคารประหยดั พลงั งาน ส�ำหรับอาคารที่ขอรับการประเมิน MEA Index และอาคารท่ีสมคั ร เข้าร่วมโครงการสง่ เสริมการปรับปรุงประสทิ ธิภาพการใช้พลงั งานในอาคารซงึ่ จดั โดยการไฟฟ้ านครหลวง ดชั นีการใช้พลังงานสำ� หรับอาคารประหยัดพลังงานของ กฟน. สามารถประเมินได้ดงั นี ้ MEA Index = EEabuctdugaelt โดย Eactual คอื พลงั งานไฟฟ้ าที่อาคารใช้จริงตอ่ ปี ได้มาจากใบเสร็จคา่ ไฟฟ้ า หนว่ ยเป็น กิโลวตั ต์-ชวั่ โมง/ปี Ebudget คือ พลงั งานไฟฟ้ าที่เหมาะสมของอาคารนนั้ ๆ หนว่ ยเป็น กิโลวตั ต์-ชว่ั โมง/ปี โดยพลงั งานไฟฟ้ าท่ีเหมาะสมของอาคาร Ebudget ค�ำนวณจากสมการพลงั งานพืน้ ฐาน ดงั นี ้ 18

Ebudget = ภาระในการทำ� ความเย็นของระบบปรับอากาศเน่ืองจากปัจจัยภายนอกอาคาร+ภาระ ในการทำ� ความเย็นของระบบปรับอากาศเน่ืองจากปัจจัยภายในอาคาร+พลังงานท่ใี ช้ โดยตรงในระบบแสงสว่างและอุปกรณ์ไฟฟ้ า หรอื จดั ใหอ้ ย่ใู นรูปท่ีเขา้ ใจงา่ ย คือ Ebudget = ผลรวมของ [ พนื้ ท่สี ำ� หรับแต่ละกจิ กรรม (ตารางเมตร) x ช่วั โมงใช้งานต่อปี ของพนื้ ท่ี (hr./ปี ) x ค่าการใช้พลังงานมาตรฐาน (W/m2) ] โดย พนื ้ ทสี่ ำ� หรับแตล่ ะกจิ กรรม = จะจำ� แนกพนื ้ ทใ่ี ช้งานตามการใช้พลงั งานทแี่ ตกตา่ งกนั ของแตล่ ะประเภท คอื มหาวทิ ยาลยั พิจารณาแยกคดิ พืน้ ที่เป็น 4 ประเภท ทงั้ สว่ นที่ปรับอากาศและไมป่ รับอากาศ คือ พืน้ ที่ห้องเรียน พืน้ ท่ีสำ� นกั งาน พืน้ ที่ศนู ย์คอมพิวเตอร์/data center พืน้ ที่ห้องสมดุ ศูนยก์ ารค้า/ห้างสรรพสินคา้ พิจารณาแยกคดิ พืน้ ที่ทงั้ พืน้ ที่ปรับอากาศและพืน้ ที่ที่ไมป่ รับอากาศ เชน่ พืน้ ที่ร้านค้า ร้านอาคาร โรงหนงั / โบว์ลง่ิ สำ� นกั งาน พืน้ ที่สว่ นกลาง และพืน้ ท่ีอ่ืนๆ ชว่ั โมงการใช้งานตอ่ ปี = ชว่ั โมงการใช้งานของแตล่ ะพืน้ ท่ีตอ่ ปี คา่ การใช้พลงั งานมาตรฐาน = คา่ การใช้พลงั งานตอ่ พืน้ ที่ จะขนึ ้ กบั ประเภทของพืน้ ท่ี ประโยชนข์ องอาคาร เม่ือทราบคา่ ดชั นีการใช้พลงั งาน หรือ MEA Index สำ� หรับอาคารของตนเองแล้ว ประโยชน์ท่อี าคารได้รับ อย่างชดั เจน คอื ชว่ ยให้เจ้าของอาคารทราบวา่ อาคารของตนเองมกี ารใช้พลงั งานเป็นอยา่ งไร มปี ระสทิ ธิภาพดมี ากน้อย เพยี งใด เมอื่ เทยี บกบั การใช้พลงั งานในกลมุ่ อาคารประเภทเดยี วกนั เพอ่ื นำ� ไปวเิ คราะห์ และค้นหาแนวทางในการปรบั ปรุง การใช้พลงั งานของอาคารตนเองให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขนึ ้ และสามารถพฒั นาศกั ยภาพในการใช้พลงั งานของอาคาร ในด้านตา่ งๆ ได้ตอ่ ไป หมายเหตุ : สามารถตรวจสอบ MEA Index ส�ำหรับอาคารของตนเองได้ท่ี www.meaenergysavingbuilding.net 19

จนาานกากทรรรรศมนกะารผู้ทรงคุณวฒุ ิ 20

คณะกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ขิ องโครงการ 1. นายพงษ์ศักด์ิ ละมูนกจิ ประธานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รองผ้วู า่ การธรุ กิจและบริการ การไฟฟ้ านครหลวง 2. นายสารนิต อังศุสิงห์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 3. นายสันติ น�ำสนิ วเิ ชษฐชัย ผ้ชู ว่ ยผ้วู า่ การกิจการองค์กรและสงั คม การไฟฟ้ านครหลวง 4. นายวลิ าศ เฉลยสัตย์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ผ้อู �ำนวยการฝ่ ายบริการระบบไฟฟ้ า การไฟฟ้ านครหลวง 5. นายเกชา ธีระโกเมน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 6. นายพงษ์จรูญ ศรีโสวรรณา ผ้ชู ว่ ยผ้อู �ำนวยการฝ่ ายบริการระบบไฟฟ้ า การไฟฟ้ านครหลวง 7. นายวญิ ญู วานิชศริ ิโรจน์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ผ้เู ชี่ยวชาญด้านระบบปรับอากาศ 8. ศ.ดร.สุรพงษ์ จริ ะรัตนานนท์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการมลู นิธิอนรุ ักษ์พลงั งานแหง่ ประเทศไทย 9. รศ.ดร.อภชิ ติ เทอดโยธิน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เลขานกุ ารและกรรมการสถาบนั อาคารเขียวไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ บณั ฑิตวิทยาลยั ร่วมด้านพลงั งานและสงิ่ แวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒแิ ละเลขานุการ 21 คณบดีคณะพลงั งานสงิ่ แวดล้อมและวสั ด ุ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี

การประหยัด พลงั งานไฟฟ้า หมายถงึ การใชไ้ ฟฟา้ อย่างรคู้ ณุ ค่าและ ใชอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ เปน็ หนา้ ที่ ของพวกเราทกุ คน ไมใ่ ชข่ องคนใดคนหนง่ึ นายพงษศ์ ักด์ิ ละมูนกจิ 22 รองผู้ว่าการธุรกจิ และบรกิ าร การไฟฟ้านครหลวง

ผปคทู้ รณระงธคะกาณุ นรวรุฒมิ การ ภาพรวมของโครงการ MEA Energy Saving Building มีวตั ถปุ ระสงค์ในการสง่ เสริม ให้เกิดการลดใช้พลงั งานในอาคารอย่างเป็ นรูปธรรม ด้วยเล็งเห็นว่าประเทศไทยของเรานนั้ มี ต้นทนุ ทางด้านพลงั งานคอ่ นข้างสงู ไมว่ า่ จะเป็นไฟฟ้ า นำ� ้ มนั หรือก๊าซธรรมชาติ ซงึ่ เรามอี ยอู่ ยา่ ง จำ� กดั และยงั ต้องนำ� เข้าจากตา่ งประเทศเพอื่ ให้มใี ช้อยา่ งเพยี งพอ หากเราไมร่ ู้จกั การใช้พลงั งาน อย่างรู้คณุ คา่ และมีประสิทธิภาพ สิ่งที่ตามมาจะสง่ ผลให้เกิดวิกฤติพลงั ไฟฟ้ ากบั ประเทศไทย ดงั ท่ีเคยเกิดขนึ ้ มาแล้วในอดีตที่ผา่ นมา นอกจากโครงการตา่ งๆ ทก่ี ารไฟฟ้ านครหลวงได้ให้การสง่ เสริมและรณรงคใ์ ห้ประชาชน ได้มีส่วนร่วมในการประหยดั พลงั งานแล้ว กฟน. ยงั ได้ด�ำเนินโครงการส่งเสริมการปรับปรุง ประสทิ ธิภาพการใช้พลงั งานในอาคาร ซง่ึ เป็นการจดั ประกวดอาคารประหยดั พลงั งานตอ่ เน่ือง มาเป็นปีท่ี 3 แล้ว และ กฟน. ได้ดำ� เนนิ การประชาสมั พนั ธ์ สง่ เสริมให้อาคารทไ่ี ด้รับรางวลั ได้เป็น ต้นแบบอาคารประหยดั พลงั งานโดยมเี ป้ าหมายทจี่ ะให้ผ้ใู ช้ไฟฟ้ า และประชาชนทวั่ ไปได้ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ในการใช้พลงั งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ โครงการทจี่ ดั ขนึ ้ มานจี ้ ะตงั้ อยบู่ นพนื ้ ฐาน ในการสร้างคณุ ภาพชวี ติ ให้ดขี นึ ้ และไมไ่ ปกระทบกบั ชวี ติ ความเป็นอยปู่ ระจำ� วนั แตแ่ สดงให้เหน็ ว่าการประหยดั พลงั งานไฟฟ้ าหมายถึงการใช้ไฟฟ้ าอย่างรู้คณุ ค่าและใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ซงึ่ เป็ นหน้าที่ของพวกเราทกุ คน ไม่ใช่ของคนใดคนหน่ึง ด้วยเหตดุ งั ที่กลา่ วมาข้างต้นว่า แหลง่ พลงั งานภายในประเทศไทยของเรานนั้ มีน้อย เราจงึ ต้องน�ำเข้าพลงั งาน ท�ำให้เรามีต้นทนุ ด้าน พลงั งานสงู หากเราไมต่ ระหนกั และยงั ใช้อยา่ งฟ่ มุ เฟือย ตอ่ ไปในภายหน้าเราจะต้องใช้ในราคา ทแ่ี พงขนึ ้ ซงึ่ ประโยชน์ของการประหยดั พลงั งานไฟฟ้ า นอกจากจะประหยดั คา่ ใช้จา่ ยของตวั เรา แล้วยงั เป็ นการประหยดั ให้กบั ประเทศชาติ และยงั ช่วยลดการปลอ่ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เข้าไปในอากาศ ชว่ ยลดโลกร้อน สง่ ผลให้โลกนีน้ า่ อยมู่ ากย่ิงขนึ ้ และจากความสำ� เร็จของโครงการฯ ตลอดระยะเวลา 3 ปีทผ่ี า่ นมา พบวา่ ชว่ ยลดการใช้ ไฟฟ้ ารวมได้ถึง 18.8 ล้านหน่วย หรือเป็ นเงินเท่ากบั 76.35 ล้านบาท และลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ได้ถงึ 11,620 ตนั เหน็ ได้วา่ เราสามารถลดการใช้พลงั งานลงได้อยา่ งแท้จริง และมีแนวโน้มท่ีจะดีขนึ ้ เร่ือยๆ ตอ่ ไปในอนาคตเพราะอาคารท่ีเข้าร่วมประกวดยงั คงเห็นความ สำ� คญั และยงั ด�ำเนินการตอ่ อีกทงั้ ยงั มีผ้สู นใจเข้าร่วมโครงการของเราเพ่ิมมากขนึ ้ 23

อยากจะใหก้ ารอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน อยใู่ น DNA และ สายเลอื ดของคนไทย ตอนนเ้ี ราค่อนขา้ งจะใช้พลงั งาน อยา่ งไม่ค่อยมปี ระสิทธภิ าพมากนัก ไมเ่ พยี งแตก่ ารใช้พลังงานไฟฟ้า เท่านน้ั ยงั หมายรวมถงึ การ ใชพ้ ลงั งานอนื่ ๆ ดว้ ย ใหค้ ำ� นงึ วา่ เราตอ้ งประหยดั ไวก้ ่อน ซึ่งนน่ั จะสง่ ผลดตี อ่ ตัวเรา แต่ทด่ี ีย่งิ กวา่ นั่นคือ ประเทศชาตไิ ด้ประหยัด เรอ่ื งคา่ ใชจ้ า่ ยทนี่ ำ� เขา้ พลงั งาน จากต่างประเทศ และช่วย ลดภาวะเรอื นกระจก ให้กบั โลกของเรา นายสารนิต อังศุสงิ ห์ 24 ผชู้ ่วยผวู้ ่าการกิจการองคก์ รและสงั คม การไฟฟา้ นครหลวง

กรรมการ ผทู้ รงคณุ วุฒิ กฟน. เป็นรัฐวิสาหกิจท่ีท�ำธรุ กิจเกี่ยวกบั พลงั งาน มีจดุ มงุ่ หมายให้ประชาชน มกี ารใช้พลงั งานอยา่ งเพยี งพอ แตก่ ารใช้นนั้ ต้องคำ� นงึ ถงึ ประสทิ ธิภาพเป็นหลกั กลา่ วคอื เมอ่ื ใช้พลงั งานแล้วต้องเกดิ ผล ออกมาเป็นผลผลติ ตลอดจนสง่ เสริมให้คณุ ภาพชวี ติ ดขี นึ ้ หากมีการใช้อย่างฟ่ มุ เฟื อย นอกจากจะเป็ นการสญู เสียทรัพยากรและเศรษฐกิจของ ประเทศชาตแิ ล้ว ยงั ก่อให้เกิดมลภาวะ สง่ ผลให้โลกร้อน เกิดภาวะเรือนกระจก ฉะนนั้ เราจงึ ต้องชว่ ยกนั รณรงค์ และให้ความสำ� คญั เพราะในขณะนถี ้ อื เป็นเรื่องสำ� คญั ทท่ี วั่ โลก ก�ำลงั รณรงค์ เน่ืองจากในปัจจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงทางสภาพอากาศไปในทิศทาง ที่ไมด่ ีมากนกั อยากจะให้การอนรุ ักษ์พลงั งานอยใู่ น DNA และสายเลือดของคนไทย ตอนนีเ้ ราค่อนข้างจะใช้พลงั งานอย่างไม่ค่อยมีประสิทธิภาพมากนกั ไม่เพียงแต่การ ใช้พลงั งานไฟฟ้ าเทา่ นนั้ ยงั หมายรวมถงึ การใช้พลงั งานอื่นๆ ด้วย ให้ค�ำนงึ วา่ เราต้อง ประหยดั ไว้กอ่ น ซง่ึ นนั่ จะสง่ ผลดตี อ่ ตวั เรา แตท่ ด่ี ยี ง่ิ กวา่ นนั่ คอื ประเทศชาตไิ ด้ประหยดั เรื่องค่าใช้จ่ายท่ีน�ำเข้าพลงั งานจากต่างประเทศ และช่วยลดภาวะเรือนกระจกให้กบั โลกของเรา ดงั นนั้ ในการเป็นอาคารประหยดั พลงั งานของผ้ปู ระกอบการตา่ งๆ นอกจากจะดไู ด้ จากผลการประหยดั แล้ว ยงั ดใู นส่วนของกิจกรรมและโครงการเด่นๆ ท่ีทางผู้บริหาร มคี วามมงุ่ มน่ั ตงั้ ใจทจี่ ะทำ� การอนรุ ักษ์พลงั งาน มกี ารผลกั ดนั รณรงค์ จดั สรรงบประมาณ ใสใ่ จ และดแู ล ประกอบกบั ได้รับความร่วมมอื จากพนกั งานทรี่ ่วมกนั รณรงค์ และเหน็ ถงึ ความส�ำคญั ในการประหยดั พลงั งาน ซงึ่ จะส่งผลให้เกิดเป็ นความส�ำเร็จสงู สดุ ในการ ประหยดั พลงั งานอยา่ งแท้จริง 25

กรรมการ ผทู้ รงคณุ วุฒิ ความส�ำคญั ของการประหยดั พลงั งานต้องเร่ิมต้นจากการเอาคณุ ภาพชีวิต ของคนท่ีจะอย่รู ่วมในอาคารนนั้ ๆ เป็ นพืน้ ฐานด้วยเหตเุ พราะพลงั งานนนั้ เราได้สร้าง ขนึ ้ มาเพอ่ื อำ� นวยความสะดวกให้กบั คน เพราะฉะนนั้ สง่ิ ทเ่ี ราต้องดำ� เนนิ การเพอ่ื เป็นการ ประหยดั พลงั งาน นอกจากเราจะต้องลดการใช้พลงั งาน และใช้อย่างประหยดั แล้ว จดุ ส�ำคญั ท่ีต้องสร้างขนึ ้ อีกประการหนง่ึ นนั่ คือ การสร้างความร่วมมือ หากเราลดการ ใช้พลงั งานลงเกนิ กวา่ ระดบั ทคี่ นจะรบั ได้ คณุ ภาพชวี ติ กจ็ ะลดลง ทำ� ให้ไมเ่ กดิ ความร่วมมอื เพราะฉะนนั้ จึงต้องลดลงในระดบั ที่คณุ ภาพชีวิตด�ำรงอย่ไู ด้ สามารถท�ำงานได้อย่าง สะดวก เราอาจจะวดั ได้จากผลติ ผลท่ีเกิดจากในองค์กรนนั้ ๆ กลา่ วคือ ถ้ามีการลดการ ใช้พลังงานลงแล้ว ผลผลิตขององค์กรนัน้ จะต้องไม่ลดลง แต่จะต้องส่งผลดีขึน้ ใน ทกุ ๆ ด้าน ในขณะนีก้ ระแสของการประหยดั พลงั งาน ถือได้ว่าเป็ นกระแสของโลกเลย ทเี ดยี ว ไมไ่ ด้เกดิ ขนึ ้ เฉพาะในบ้านเรา หรือของโครงการเทา่ นนั้ เนอ่ื งจากพลงั งานทกุ อยา่ ง ล้วนมอี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั ถงึ แม้วา่ เราจะไปเปลย่ี นเป็นการใช้พลงั งานในรูปแบบอน่ื กต็ าม ด้วย ประการนเี ้ราจงึ ต้องมกี ารสร้างแรงกระเพอ่ื มให้โครงการดำ� เนนิ ตอ่ ไป โดยได้รบั ความร่วมมอื จากทกุ ภาคสว่ นทมี่ คี วามเกย่ี วข้อง ซงึ่ แรงกระเพอื่ มนเี ้อง จะชว่ ยสง่ ผลในวงกว้างมากขนึ ้ กลา่ วคอื จากอาคารหนงึ่ ไปสเู่ ครือขา่ ยในกลมุ่ อาคารตลอดจนยงั ชว่ ยสง่ ผลไปยงั รอบข้าง ในสงั คม ครอบครัว ได้น�ำกลบั ไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวนั ด้วย 26

การประหยัดพลงั งาน จดุ ส�ำคัญอยู่ทกี่ าร สรา้ งความรว่ มมอื หากเราลดการใชพ้ ลงั งานลง เกนิ กวา่ ระดับท่ีคนจะรับได้ คณุ ภาพชวี ติ กจ็ ะลดลง กรรมการ ท�ำใหไ้ มเ่ กิดความรว่ มมอื ผ้ทู รงคณุ วุฒิ เพราะฉะน้ันจงึ ต้องลดลง ในระดบั ทีค่ ณุ ภาพชีวิต oxoxooxoxoxooxooxooxoxooxoxooxoดxoำ� oรxงoอoxยoไู่xดo้oสxoาxมoาoรxถox- ooxxooooxxooxxoooxoxxooxoxoooxxooxooxxooxooxooxxooxxooxxooxooxooxxoooxxoooxxoooทoxxำ� ooงoxาoxนxooxไooดoxอ้ oxxoยoxา่ xoงooสoxxoะoxดooว-- ก xooxoxooxoxooxoxooxooxoxooxoxooxoxoxooxoxoxoxoxooxooxoxoox oxoxooxoxoxooxooxooxoxooxoxooxoxooxooxoxooxoxooxoxoxooxox- oxoxoxooxooxoxoox oxoxooxoxoxooxooxooxoxooxoxooxoxooxooxox- ooxoxooxoxoxooxoxoxoxoxooxooxoxoox oxoxooxoxoxooxooxooxoxooxoxooxoxooxooxoxooxoxooxox- oxooxoxoxoxoxooxooxoxoox oxoxooxoxoxooxooxooxoxooxoxooxoxo- oxooxoxooxoxooxoxoxooxoxoxoxoxooxooxoxoox oxoxooxoxoxooxoo- xooxoxooxoxooxoxooxooxoxooxoxooxoxoxooxoxoxoxoxooxooxoxoox oxoxooxoxoxooxooxooxoxooxoxooxoxooxooxoxooxoxooxoxoxooxox- oxoxoxooxooxoxoox oxoxooxoxoxooxooxooxoxooxoxooxoxooxooxox- นายสนั ติooxoxooxoxoxooxoxoxoxoxooxooxoxoox นำ� สินวเิ ชษฐชัย ผ้อู ำ� นวยการฝ่ายบริการระบบไฟฟ้า การไฟฟา้ นครหลวง 27

กรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ทศั นคตทิ ดี่ ี จะเป็นจดุ เริ่มต้นในการทำ� โครงการให้สำ� เร็จ เราต้องตระหนกั ถงึ การ ใช้พลงั งาน วา่ พลงั งานเป็นสง่ิ ทใ่ี ช้แล้วหมดไป และมรี าคาทค่ี อ่ นข้างสงู ประกอบกบั ประเทศ ของเราไมม่ พี ลงั งานสำ� รองทเี่ พยี งพอในการรองรับการใช้พลงั งานภายในประเทศทงั้ หมด สว่ นใหญเ่ ราจงึ ต้องนำ� เข้า ทำ� ให้เกดิ เป็นคา่ ใช้จา่ ย และมตี ้นทนุ ตามมา หากไมม่ กี ารจดั การ เรื่องพลงั งานทด่ี ี จะสง่ ผลตอ่ เนอื่ งให้การพฒั นาประเทศทำ� ให้ศกั ยภาพในการแขง่ ขนั ของ ประเทศลดลงได้ และอกี ประเดน็ หนงึ่ ทส่ี ำ� คญั คอื การผลติ พลงั งาน และการใช้พลงั งาน นนั้ ยงั สง่ ผลกระทบทางด้านสง่ิ แวดล้อมอกี ด้วย เราจงึ ต้องใช้พลงั งานอยา่ งค้มุ คา่ ประหยดั และใช้เทา่ ท่ีจ�ำเป็นจริงๆ ด้วยการเกดิ ทศั นคตทิ ด่ี นี เี ้อง ทำ� ให้เกดิ เป็นอกี สง่ิ หนงึ่ ทสี่ ำ� คญั ทไี่ ด้จากการประเมนิ นน่ั คอื อาคารทเี่ ป็นอาคารประหยดั พลงั งาน เราจะพบวา่ ผ้คู นทอ่ี ยใู่ นอาคารนนั้ ๆ จะถกู ปรบั พฤตกิ รรมด้วยกระบวนการบริหารการจดั การพลงั งานโดยอตั โนมตั ิ เกดิ ทศั นคตทิ ดี่ ี รู้จกั ประหยดั มชี วี ติ ทเ่ี รียบงา่ ย และเป็นอยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ทำ� ให้เกดิ การปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม และน�ำกลบั ไปใช้ในชีวิตประจ�ำวนั หากกลา่ วถงึ มาตรฐานของการใช้พลงั งานภายในอาคาร เราจะมดี ชั นเี ป็นตวั วดั การใช้พลงั งานนนั่ คอื MEA Index ในการประเมนิ อาคารทว่ั ๆ ไป วา่ มรี ะดบั การใช้พลงั งาน อยทู่ เ่ี ทา่ ไร เรามโี ปรแกรมในการคำ� นวณวา่ ถ้าอาคารลกั ษณะแบบนใี ้ ช้เทคโนโลยแี บบนี ้ จะต้องมีระดบั การใช้พลงั งานเทา่ ไร โดยก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐาน และเราเอาเกณฑ์นี ้ เป็นหลกั แตต่ ้องครอบคลมุ ไปถงึ การชว่ ยสง่ เสริมคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี องคนทอี่ ยใู่ นอาคารด้วย นอกจากนจี ้ ะเหน็ ได้วา่ อาคารทไี่ ด้รับรางวลั ชนะเลศิ ในการแขง่ ขนั ทงั้ 2 ปีทผี่ า่ นมา มกี าร ดำ� เนนิ การตอ่ ยอด กลา่ วคอื ภายหลงั จากการประกวดกบั ทาง กฟน.แล้ว ยงั มกี ารไปประกวด ต่อในระดบั ประเทศ ในอาเซียน ก้าวส่เู ทียบเท่าระดบั โลก และได้รับรางวลั กลบั มา นั่นแสดงให้เห็นว่า เกณฑ์ในการพิจารณาตดั สินของเรา สามารถท่ีจะท�ำให้อาคาร ประหยดั พลงั งานท่ีชนะเลศิ ได้ก้าวตอ่ ไปสรู่ ะดบั สากล 28

อีกสิง่ หน่งึ ทสี่ ำ� คญั ที่ไดจ้ ากการประเมนิ น่ันคอื อาคารทเี่ ปน็ อาคารประหยดั พลังงาน เราจะพบวา่ ผคู้ น ทอี่ ยใู่ นอาคารนนั้ ๆ จะถูก ปรบั พฤติกรรมด้วย กระบวนการบรหิ าร การจดั การพลงั งานโดยอตั โนมตั ิ เกดิ ทศั นคตทิ ด่ี ี รจู้ กั ประหยดั มีชวี ติ ทีเ่ รียบงา่ ย และเป็นอยู่ อย่างพอเพียง ทำ� ใหเ้ กดิ การ ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม และ นำ� กลบั ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั นายวิลาศ เฉลยสัตย์ ผชู้ ่วยผู้อ�ำนวยการฝา่ ยบริการระบบไฟฟา้ การไฟฟา้ นครหลวง 29

เราถอื วา่ การประหยดั พลงั งาน เป็น Key of Success ของการ ประกอบธรุ กจิ ท่ีส�ำคัญในการ ดำ� เนนิ กจิ การ หากกิจการใด สามารถดำ� เนนิ การใหก้ ารใชพ้ ลงั งาน เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ เรยี กไดว้ า่ เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามใสใ่ จ และมรี ะบบการบรหิ ารจดั การทดี่ ี นายเกชา ธีระโกเมน ผู้เช่ยี วชาญด้านระบบปรบั อากาศ 30

กรรมการ ผ้ทู รงคุณวุฒิ การสร้าง และการดำ� เนนิ การให้เป็นอาคารอนรุ ักษ์พลงั งาน หรืออาคารประหยดั พลงั งานนนั้ ต้องมนี โยบายและระบบการบริหารการจดั การด้านการอนรุ ักษ์พลงั งาน หรือ การประหยดั พลงั งานทเ่ี ป็นรูปธรรม มคี า่ Energy intensity ตำ่� กวา่ คา่ อ้างองิ มคี ณุ สมบตั ิ ของอาคารเขยี ว สง่ เสริมคณุ ภาพชวี ติ ให้สามารถใช้พลงั งานได้อยา่ งปกติ แตใ่ ช้แล้วเป็นไป อยา่ งประหยดั ด้วยเทคโนโลยี และการออกแบบอาคารทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการเป็นอาคาร ประหยดั พลงั งานตลอดจนการเป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม ซง่ึ สง่ิ เหลา่ นเี ้ราถอื วา่ การประหยดั พลงั งานเป็น Key of Success ของการประกอบ ธรุ กิจท่ีสำ� คญั ในการด�ำเนินกิจการ หากกิจการใดสามารถด�ำเนินการให้การใช้พลงั งาน เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ เรียกได้วา่ เป็นผ้ทู ม่ี คี วามใสใ่ จ และมรี ะบบการบริหารจดั การ ท่ีดี แตห่ ากกิจการใดใช้พลงั งานอยา่ งไมม่ ีประสทิ ธิภาพ ก็เชื่อได้วา่ การบริหารจดั การ ต้องมีการปรับปรุง ดงั ทก่ี ลา่ วมาข้างต้น อาคารทกุ อาคารจงึ ควรเป็นอาคารอนรุ ักษ์พลงั งาน มกี าร รับรองตามเกณฑ์มาตรฐานของอาคารเขียว ท�ำให้สาธารณะเข้าใจ และตระหนกั ใน เร่ืองของการอนรุ ักษ์พลงั งาน อนั เป็น Key of Success ของธรุ กิจ มงุ่ เน้นมาตรการ ด้านการอนรุ ักษ์พลงั งานทงั้ ด้านนโยบาย การออกแบบกอ่ สร้างปรับปรุง และการใช้งาน มกี ารใช้เทคโนโลยใี ห้มกี ารผลติ และจำ� หนา่ ยอปุ กรณ์อนั เป็นวสั ดดุ ้านการอนรุ กั ษ์พลงั งาน ภายในประเทศ ตลอดจนให้มกี ารประชาสมั พนั ธ์ และเผยแพร่กรณีศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่ือง สง่ เสริม และพฒั นาบคุ ลากร และงานวจิ ยั ด้านการอนรุ กั ษ์พลงั งาน เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ได้อยา่ งแท้จริง 31

กรรมการ ผูท้ รงคุณวฒุ ิ ปัจจยั แหง่ ความสำ� เร็จในการดำ� เนนิ การปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพให้ได้ประสทิ ธิภาพ สูงสุดในการใช้พลงั งาน จะต้องมีการรักษามาตรฐานการบริการระดับสูงไว้ ซ่ึงจะ ประกอบด้วย การบริหารจัดการ โดยเร่ิมจากการมีนโยบาย เช่นการเป็ นผ้นู �ำในเรื่องการ อนุรักษ์พลงั งาน มีการจดั สรรงบประมาณอย่างเหมาะสม ผู้บริหารลงมาร่วมปฏิบตั ิ ให้เป็นตวั อยา่ งแก่คนทวั่ ไป บคุ ลากรในองค์กร ถือเป็นสว่ นหนงึ่ ทม่ี คี วามสำ� คญั ในการดำ� เนนิ การอนรุ ักษ์ พลงั งาน แม้วา่ จะมีการใช้อปุ กรณ์ที่ดีเลศิ อยา่ งไร แตห่ ากผ้ใู ช้ไมไ่ ด้มีการใช้บ�ำรุงรักษา อย่างถูกวิธี ก็คงไม่บังเกิดผลตามวัตถุประสงค์ การเสริมสร้ างความรู้ความเข้าใจ และชกั จูง ให้บุคลากรได้เข้ามามีส่วนร่วมการอนุรักษ์พลงั งานด้วยความร่วมมือจาก จิตสำ� นกึ จะมีคณุ คา่ กวา่ ที่ถกู บงั คบั ให้ด�ำเนินการ เทคโนโลยี ปัจจบุ นั มมี ากมายและราคาค้มุ คา่ ตอ่ การลงทนุ เชน่ ระบบปรบั อากาศ แสงสวา่ ง การควบคมุ ล้วนแล้วแตช่ ว่ ยอนรุ ักษ์พลงั งานและคนื ทนุ อยา่ งรวดเร็วเมอื่ เทยี บ กบั ในอดีต นอกจากนี ้ในการเป็นอาคารประหยดั พลงั งาน ยงั สง่ ผลประโยชนอ์ อกสสู่ าธารณะ สงั คมและประเทศชาตดิ ้วย กลา่ วคอื จะชว่ ยลดมลภาวะจากการปลอ่ ยก๊าซคาร์บอนได ออกไซด์อนั เป็ นผลจากการลดการใช้ไฟฟ้ าของอาคาร บุคลากรขององค์กรสามารถ น�ำความรู้จากการใช้พลงั งานอย่างมีประสิทธิภาพในสถานที่ท�ำงานไปใช้กบั ครอบครัว ทบี่ ้านได้ ตลอดจนการประชาสมั พนั ธ์ให้ผ้มู าตดิ ตอ่ ใช้บริการในอาคารสามารถนำ� ความรู้ ไปเผยแพร่และปฏิบตั ิต่อไปได้ 32

บคุ ลากรในองคก์ ร ถอื เปน็ สว่ นหนงึ่ ทม่ี คี วามสำ� คญั ในการดำ� เนนิ การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน แมว้ า่ จะมกี ารใชอ้ ปุ กรณท์ ดี่ เี ลศิ อยา่ งไร แตห่ ากผใู้ ชไ้ มไ่ ดม้ กี าร ใชบ้ ำ� รงุ รกั ษาอยา่ งถกู วธิ ี กค็ งไมบ่ งั เกดิ ผลตาม วตั ถปุ ระสงค์ นายพงษ์จรูญ ศรีโสวรรณา กรรมการมลู นิธิอนุรกั ษ์พลังงานแห่งประเทศไทย 33

ในความสำ� คญั อกี ประการหนง่ึ น่ันคอื การมีสว่ นร่วมของคน ในองค์กร ใหไ้ ดร้ ับรูแ้ ละ ร่วมกิจกรรม อันเป็นส่วนช่วย ในการสรา้ งทศั นคตทิ างความคดิ ให้มคี วามเข้าใจในเรือ่ งของการ อนรุ กั ษพ์ ลงั งาน โดยการ ด�ำเนินการนัน้ จะตอ้ ง ไดร้ ับการสนับสนุน จากผ้บู ริหารในการ ผลกั ดนั และเปน็ แรงกระตุ้นใหค้ น ในองคก์ รทัง้ หมด ไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ ม นายวิญญู วานชิ ศริ โิ รจน์ เลขานกุ ารและกรรมการสถาบันอาคารเขยี วไทย 34

กผทู้ รรรงคมณุ กวาฒุ ริ หลกั ของการประหยดั พลงั งานนนั้ ไม่ใช่การไปมองว่าให้ลดความต้องการลง แต่มีนกั วิชาการได้กล่าวไว้อย่างน่าสนใจว่า ให้ลดท่ีตวั ของส่ิงที่เราต้องใช้ กล่าวคือ เม่ือสงิ่ ท่ีเราต้องใช้นนั้ เป็นสงิ่ ท่ีมีความประหยดั พลงั งานด้วยตวั มนั เอง อยา่ งเชน่ ในการ ดำ� เนินโครงการนีน้ ี่เอง ท่ีต้องทำ� อยา่ งไรให้อาคารนนั้ เป็นอาคารที่มีประสทิ ธิภาพในการ ประหยดั พลงั งาน และในความส�ำคญั อีกประการหนงึ่ นน่ั คือการมีสว่ นร่วมของคนในองค์กรให้ ได้รับรู้และร่วมกจิ กรรมอนั เป็นสว่ นชว่ ยในการสร้างทศั นคตทิ างความคดิ ให้มคี วามเข้าใจ ในเร่ืองของการอนรุ ักษ์พลงั งาน โดยการด�ำเนินการนนั้ จะต้องได้รับการสนบั สนนุ จาก ผ้บู ริหาร ในการผลกั ดนั และเป็นแรงกระต้นุ ให้คนในองค์กรทงั้ หมดได้เข้ามามีสว่ นร่วม จงึ จะเกดิ ความสมั ฤทธผิ ล เมอื่ ผ้บู ริหารสามารถสร้างทศั นคตใิ ห้กบั คนในองคก์ รได้แล้วนนั้ การให้บุคคลภายนอกได้รับรู้ และสามารถท�ำให้เกิดความสนใจตลอดจนการมามี สว่ นร่วมได้นนั้ จะถือได้วา่ เป็นอีกหนง่ึ ความสำ� เร็จท่ีมีประสทิ ธิภาพสงู สดุ โครงการส่งเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคาร หรือ การประกวดอาคารประหยดั พลงั งาน ในขณะนีถ้ ือได้วา่ หลายๆ หนว่ ยงานเริ่มที่จะรู้จกั และให้ความสนใจกันมากขึน้ มีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ ในสว่ นของการประกวดท่ีผ่านมา ซง่ึ นน่ั ถือเป็ นนิมิตหมายอนั ดี และจะสร้างประโยชน์ ให้กบั ตวั อาคารของเราเอง ไปสภู่ ายนอก สงั คม และประเทศชาตไิ ด้ในเวลาตอ่ มา 35

กรรมการ ผทู้ รงคุณวุฒิ สาเหตทุ ี่มีการใช้พลงั งานสงู ภายในอาคารนนั้ ส่วนหนึ่งอาจเกิดได้จากการท่ี อาคารไม่ได้มีการออกแบบให้แสงธรรมชาติสามารถสอ่ งเข้ามาได้เพียงพอ ตลอดจน ในสว่ นของการใช้เคร่ืองปรับอากาศอาจมศี กั ยภาพในการทำ� งานทไี่ มไ่ ด้สงู มากเทา่ ทค่ี วร ประกอบกบั การออกแบบอาคารที่ไม่สามารถถ่ายเทความร้อนได้มากพอท�ำให้เคร่ือง ปรับอากาศต้องมกี ารทำ� งานทห่ี นกั ขนึ ้ สง่ ผลให้ใช้พลงั งานเยอะ การปรับปรุงทง่ี า่ ยทสี่ ดุ และเหน็ ผลได้อยา่ งรวดเร็ว นน่ั คอื การเปลยี่ นหลอดไฟฟ้ ามาเป็นแบบ LED มกี ารเปลย่ี น เครื่องปรับอากาศให้มีความเหมาะสม หรือเปล่ียนเคร่ืองผลิตน�ำ้ เย็นของเครื่องปรับ อากาศตามอายกุ ารใช้งานท่ีเหมาะสม การลดการใช้พลงั งานในอาคาร ถือได้วา่ มีความส�ำคญั ยิ่งในการชว่ ยอนรุ ักษ์ พลงั งาน อนั จะสง่ ผลตอ่ สภาพแวดล้อม ด้วยเหตเุ พราะการลดการใช้พลงั งานในสาขา อตุ สาหกรรมนนั้ มีความเป็ นได้ยาก การเปลี่ยนแปลงอาคาร เป็ นอาคารท่ีมีศกั ยภาพ ในการประหยดั พลงั งานได้สงู นนั้ จะชว่ ยลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ชว่ ยลดก๊าซเรือน กระจก เพราะยิ่งใช้พลงั งานมาก จะท�ำให้มีการเผาผลาญเชือ้ เพลงิ มากอนั สง่ ผลท�ำให้ บรรยากาศโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง ซ่ึงปี นีเ้ ป็ นปี ที่สามารถสังเกตได้อย่างชัดเจน แสดงให้เหน็ ถงึ ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงในบรรยากาศโลก ทมี่ อี ณุ หภมู คิ อ่ นข้างสงู อากาศร้อนมากขนึ ้ ดงั นนั้ เราจงึ ต้องชว่ ยกนั ลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงให้มาก 36

การปรบั ปรุงท่งี า่ ยทสี่ ดุ และเหน็ ผลไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ นน่ั คอื การเปล่ียนหลอดไฟฟ้า มาเป็นแบบ LED มกี ารเปลยี่ นเครอื่ งปรบั อากาศ ใหม้ คี วามเหมาะสม ศ.ดร.สุรพงษ์ จิระรัตนานนท์ บมหัณาฑวิทิตยวทิาลยัยาลเทัยครโ่วนมโลดย้านพี พรละจงั องมานเกแลลา้ะธสนงิ่ แบวรุ ดี ล้อม (JGSEE) 37

กผู้ทรรรงคมุณกวาฒุ รแิ ละเลขานกุ าร เร่ืองพลังงานถือได้ว่าเป็ นเรื่องที่มีความส�ำคัญมาก ถึงแม้ว่าในปัจจุบันนี ้ เชือ้ เพลิงจะมีราคาท่ีถูกลงกว่าแต่ก่อนก็ตามที แต่พลงั งานนนั้ ถือได้ว่ามีอย่างจ�ำกดั ไม่สามารถเพียงพอต่อความต้องการ ท�ำให้จ�ำเป็ นต้องหาแหล่งพลงั งานใหม่มาใช้ ซ่ึงการหาแหล่งพลงั งานใหม่มาใช้นนั้ จะส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมอย่างมากมาย อีกทงั้ ยงั เป็ นผลลบกบั สภาพทวั่ ไปของโลกมากขนึ ้ เรื่อยๆ เพราะฉะนนั้ แทนท่ีจะม่งุ เน้น ไปทกี่ ารหาแหลง่ พลงั งานใหมม่ าใช้อยเู่ รื่อยๆ ในเวลาทม่ี พี ลงั งานไมเ่ พยี งพอให้เราหนั มาใช้ พลงั งานให้น้อยลง รู้จกั ใช้อยา่ งประหยดั และร่วมอนรุ ักษ์พลงั งาน ซงึ่ ในความเป็นจริง แล้วนัน้ การรู้จักใช้อย่างประหยัดราคาและต้นทุนถือได้ว่าดีกว่าการไปหาพลังงาน จากแหลง่ อื่นมาใช้ และสงิ่ สำ� คญั ที่สดุ คือ ยงั มีสว่ นชว่ ยสภาพแวดล้อมให้ดีขนึ ้ อีกด้วย ในปัจจุบันเรามีความจ�ำเป็ นอย่างมากที่จะต้องดูแลเรื่องของส่ิงแวดล้อม ดงั ที่กล่าวมาข้างต้นถึงแม้ว่าต้นทุนของน�ำ้ มนั จะถูกลง ก็ไม่ใช่ว่าเราจะสามารถใช้ พลงั งานได้อย่างฟ่ มุ เฟื อย เพราะวา่ จะสง่ ผลกระทบกบั สิ่งแวดล้อมอย่างมากและส่ิงที่ เป็ นเร่ืองท่ีต้องด�ำเนินการต่อสภาพแวดล้อมและโลกของเราเลย ก็คือ ต้องร่วมด้วย ช่วยกนั ประหยดั พลงั งาน ไม่ให้อณุ หภมู ิของโลกเพ่ิมขึน้ เกิน 2 องศา จากการส�ำรวจ จากทั่วโลกพบว่าหากเพิ่มขึน้ เกิน 2 องศา จะมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและ โลกของเราเป็ นอย่างมาก เพราะในขณะนีอ้ ณุ หภมู ิของทงั้ โลกขยบั ขนึ ้ มา 1 องศาแล้ว จึงท�ำให้เกิดปรากฏการณ์อย่างการเกิดพายุ หรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล เป็ นต้น เราจงึ ไมค่ วรละเลย และหนั มาชว่ ยกนั ประหยดั พลงั งาน 38

ในปจั จุบนั เรามีความจ�ำเป็น อย่างมากที่จะต้อง ดแู ลเรื่องของสง่ิ แวดล้อม ถงึ แม้วา่ ต้นทนุ ของนำ้� มัน จะถกู ลง ก็ไมใ่ ชว่ า่ เราจะ สามารถใช้พลังงานไดอ้ ยา่ ง ฟุ่มเฟือย เพราะว่า จะส่งผลกระทบกบั สิง่ แวดล้อมอยา่ งมาก รศ.ดร.อภิชิต เทอดโยธนิ คมหณาบวิทดยีคาณลยัะพเทลคงั โงนาโนลสย่งิ ีพแวรดะจลออ้ มมเกแลละา้ วธสั นดบุ ุรี 39

แนะนำ� อาคารประหยัดพลังงาน MEA Energy Saving Building 2015 40

แนะน�ำอาคารประหยดั พลงั งาน มหาวิทยาลยั กรุงเทพ วทิ ยาเขตกล้วยนำ�้ ไท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนนั ทา มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย มหาวทิ ยาลัยหัวเฉยี วเฉลมิ พระเกยี รติ มหาวทิ ยาลยั อสั สัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภมู ิ ศนู ย์การค้าเซน็ ทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ ศนู ย์การค้าแฟช่ันไอสแ์ ลนด์ ศนู ย์การคา้ เดอะมอลล์ สาขาบางแค 41

BU THINK-ACT FOR OUR ENERGY FUTURE แนะนำ� อาคารประหยดั พลงั งาน มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ วิทยาเขตกลว้ ยน�้ำไท

อาคารมหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ Creative University เข้าร่วมประกวด และเป็นอนั ดบั 9 จาก14 มหาวทิ ยาลยั : Creative Environment ได้เปิดดำ� เนนิ การตงั้ แต่ พ.ศ. 2505 ของประเทศไทยที่เข้าร่วม มหาวิทยาลยั ได้ท�ำการผลิต เป็นต้นมา เพอ่ื เป็นสถานศกึ ษาอนั จะพฒั นาบณั ฑติ ยคุ ใหม่ BU Green Products เชน่ นำ� ้ ยาล้างห้องนำ� ้ นำ� ้ สกดั ชวี ภาพ ให้มคี ณุ ภาพพร้อมด้วยความรู้ทางด้านวชิ าการและทกั ษะ เป็นต้น โครงการ Bio Diesel โครงการ Solar Cell รวมถงึ ในการปฏิบัติซึ่งจะเป็ นก�ำลังส�ำคัญของประเทศชาติ การฝึ กอบรมหรือการจดั กิจกรรมเพื่อส่งสริมการอนรุ ักษ์ ตอ่ ไปในอนาคต ภายใต้หลกั การบริหารของมหาวทิ ยาลยั พลงั งานประจำ� ปี การนำ� บคุ ลากรเข้าศกึ ษาดงู านในอาคาร สร้างสรรค์ มีการก�ำหนดนโยบายด้านอนุรักษ์พลงั งาน ที่ประสบความส�ำเร็จ การปรับปรุงประสิทธิภาพของ และการใช้ พลังงานทดแทนมาใช้ ในอาคารเพื่อการใช้ เครื่องจกั รอปุ กรณ์ท่ีมีนยั ส�ำคญั การน�ำเทคโนโลยีการ พลงั งานให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขนึ ้ มหาวิทยาลยั ยงั มี ประหยดั พลงั งานเข้ามาปรบั ใช้ การตดิ ตงั้ อปุ กรณป์ ระหยดั แนวคิดในการพัฒนามุ่งสู่อาคารเพื่อสิ่งแวดล้ อม (Green Architecture) ประหยดั พลงั งาน เป็นอาคารท่ีมี ระบบควบคมุ อตั โนมตั ิ ภายใต้มาตรฐานความปลอดภยั ระดบั สากล ปัจจบุ นั ภายในมหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ มีจ�ำนวน นกั ศกึ ษาและบคุ ลากรรวม 38,000 คน การใช้พลงั งาน ไฟฟ้ ามีปริมาณสูงขึน้ ทุกปี ปัจจุบันค่าไฟฟ้ าประมาณ 15-20 ล้านบาท/ปี หรือประมาณ 2 ล้านบาทตอ่ เดือน ถือว่าเป็ นค่าใช้จ่ายท่ีสงู มาก มหาวิทยาลยั จึงมีแนวคิด ในการลดปริมาณการใช้พลังงานตัง้ แต่อดีตมาจนถึง ปัจจบุ นั อยา่ งตอ่ เนื่อง นอกจากนี ้ มหาวิทยาลยั ยงั ได้ด�ำเนินโครงการ ด้านพลงั งานและส่ิงแวดล้อมอื่นๆ อาทิ การจดั กิจกรรม เพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมโดยการปลูกป่ าลดโลกร้ อน การเข้าร่วมโครงการ UI Green Metric ซงึ่ มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพอยใู่ นอนั ดบั 77 จากทงั้ หมด 301 มหาวิทยาลยั ที่ ขอ้ มูลอาคาร 43 ปรมิ าณการใช้ไฟฟา้ รวมปี 2557 : 5,419,000 kWh/ปี ผลประหยัดจากโครงการ : 26,208 kWh/ปี (112,694 บาท/ปี) ลดปริมาณ CO2 : 15 ตัน/ปี

พลงั งานที่มีประสทิ ธิภาพสงู ซงึ่ มีทงั้ มาตรการแบบลงทนุ จากการท่ีเข้าร่วมโครงการอนุรักษ์พลังงาน และไม่ลงทนุ ซง่ึ ด�ำเนินการในอาคารที่ส่งเข้าแข่งขนั คือ สง่ิ แวดล้อม และ MEA Energy Saving Building 2015 อาคาร 3, อาคาร 4, อาคารหอสมดุ และอาคาร 9 (อาคาร ตงั้ แตอ่ ดีตเป็นต้นมา ท�ำให้บคุ ลากรได้เรียนรู้เร่ืองแนวคดิ ดร.เจริญ คนั ธวงศ์) เชน่ มาตรการลดการใช้ เคร่ืองท�ำ วธิ กี าร และเทคโนโลยใี นการใช้พลงั งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ นำ� ้ เยน็ แบบศนู ย์รวม 50% การปรับเปลย่ี นเวลาการทำ� งาน ประเด็นส�ำคัญคือการเป็ นส่วนหนึ่งในการสร้ างความ ของปั๊มในระบบ Chiller การจดั การควบคมุ การใช้พลงั งาน ตระหนัก สร้ างจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์พลังงานให้กับ ไฟฟ้ านอกเวลาท�ำการปกติ การลดจ�ำนวนหลอด และ บคุ ลากรภายในมหาวทิ ยาลยั โดยได้รับการสนบั สนนุ จาก ควบคมุ การเปิ ด ปิ ด ไฟฟ้ าแสงสวา่ งหน้าโถงลฟิ ต์ รวมถงึ ผู้บริหาร ในการมีส่วนร่วมท�ำให้มหาวิทยาลยั ประหยดั ป๊ัมน�ำ้ พุ น�ำ้ ล้น น�ำ้ ตกเรื่องเหลา่ นีเ้ป็นเร่ืองของการบริหาร พลงั งานมากขึน้ นอกจากนีผ้ ลพลอยได้จากผลิตภณั ฑ์ จดั การและเพอ่ื ใช้พลงั งานอยา่ งมปี ระสทิ ธิทงั้ สนิ ้ เราทำ� ได้ จากสง่ิ แวดล้อมที่ผลติ และใช้ภายในมหาวทิ ยาลยั ท�ำให้ เลยโดยไมต่ ้องลงทนุ ประหยดั ค่าใช้จ่ายในการซือ้ ผลิตภณั ฑ์ดงั กล่าว และยงั ส�ำหรับมาตรการปรับปรุงระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง สามารถเพิ่มรายได้จากการขายผลิตภณั ฑ์เหล่านนั้ ด้วย ได้เปลยี่ นบาลาสตอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และปรับปรุงโคมไฟ T8 ทกี่ ลา่ วมาทงั้ หมดนถี ้ อื เป็นการสง่ เสริมการใช้ทรพั ยากรให้เกดิ เป็น T5 พร้อมกบั ตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ลดการใช้พลงั งานไฟฟ้ า ประโยชนส์ งู สดุ โดยเริ่มจากตวั เรา ครอบครวั มหาวทิ ยาลยั ในเคร่ืองปรับอากาศแบบแยกสว่ น DR-20 อาคาร 5 และ อนั จะกอ่ ให้เกดิ ความมน่ั คง และความยง่ั ยนื ทางพลงั งาน เปล่ยี นเครื่องปรับอากาศแบบแยกสว่ นแบบ VRF สงิ่ แวดล้อมตอ่ สว่ นรวมและประเทศตอ่ ไป 44

ในอนาคต มหาวิทยาลยั กรุงเทพ มีความมงุ่ มน่ั มาตรการอนรุ ักษ์พลงั งาน ในการอนรุ กั ษ์พลงั งานอยา่ งตอ่ เนอื่ งเพอื่ ให้เกดิ ประสทิ ธิผล มากยงิ่ ขนึ ้ โดยกำ� หนดนโยบายเกยี่ วกบั การจดั ซอื ้ อปุ กรณ์ มาตรการเปลีย่ นหลอด Halogen และ Compact ให้จดั ซือ้ อปุ กรณ์ประหยดั พลงั งานมาใช้ในการปรับปรุง Fluorescent เป็นหลอด LED อาคารทงั้ หมด และจะจดั การแขง่ ขนั การประหยดั พลงั งาน ภายในส�ำนกั งาน (BU Energy Contest) โดยมีการตดิ ตงั้ ผลประหยดั : 26,208 kWh/ปี (112,694 บาท/ป)ี มเิ ตอร์แบบออนไลน์ เพอื่ ตรวจวดั และแสดงผลคา่ พลงั งาน เงินลงทนุ : 82,845 บาท (คืนทนุ 9 เดือน) ท่ีใช้ในหน่วยงานที่เข้าร่วมการแข่งขัน ซึ่งอุปกรณ์และ โปรแกรมจะถูกพัฒนาโดยบุคลากรและนักศึกษาของ มหาวิทยาลยั กรุงเทพ สอดคล้องกบั แนวคิดของเรา คือ “BU THINK - ACT FOR OUR ENERGY FUTURE” 45

ชาวเกษตรศาสตร์ รว่ มใจประหยัดพลังงาน ช่วยชาติอยา่ งย่งั ยืน แนะน�ำอาคารประหยดั พลังงาน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตบางเขน

มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เป็นมหาวทิ ยาลยั ของ ต่อมาพฒั นาและปรับปรุงเป็ นอาคารประหยดั พลงั งาน รฐั แหง่ แรกของประเทศไทยทเ่ี ปิดสอนหลกั สตู รทางด้านการ ที่มีประสิทธิภาพตามหลกั การด้านการจัดการพลงั งาน เกษตร กอ่ ตงั้ เป็นลำ� ดบั ที่ 3 ของประเทศเมอ่ื ปี พ.ศ. 2486 และยงั คงไว้ซงึ่ พืน้ ที่การเรียนรู้ตลอดชีวติ โดยมีปณิธานในการก่อตัง้ เพื่อเป็ นคุณประโยชน์แก่ สำ� หรับอาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เปิด การกสกิ รรม และการเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจบุ นั เป็น ใช้งานปี 2543 และปัจจบุ นั ก�ำลงั ก่อสร้างอาคารหลงั ท่ี 3 มหาวทิ ยาลยั ในกำ� กบั ของรัฐ มที ตี่ งั้ สว่ นกลางอยทู่ บี่ างเขน คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2560 ใช้หลกั การออกแบบให้ และมี 3 วทิ ยาเขต ได้แก่ วทิ ยาเขตก�ำแพงแสน วทิ ยาเขต สอดคล้องกบั สภาพภมู อิ ากาศของประเทศไทย ล้อมพนื ้ ที่ ศรีราชา วิทยาเขตเฉลมิ พระเกียรติ จงั หวดั สกลนคร ว่างเพื่อเป็ นลานกิจกรรมอเนกประสงค์ตรงกลางซ่ึงเป็ น เข้าร่วมโครงการสง่ เสริมการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพ พืน้ ท่ีสีเขียวมีการปลกู ต้นไม้ใหญ่เพื่อสร้างร่มเงาและลด การใช้พลงั งานในอาคาร โดยสง่ ตวั แทนอาคาร 3 อาคาร คอื ความร้อน และอาคารสารนเิ ทศ 50 ปี สำ� นกั งานอธกิ ารบดี อาคารสำ� นกั หอสมดุ อาคารช่วงเกษตรศลิ ปการ มพี นื้ ท่ี เป็ นอาคารส�ำนกั งานบริหารส่วนกลางสงู 10 ชนั้ พืน้ ท่ี 6,700 ตารางเมตร ซง่ึ เชอ่ื มตอ่ กบั อาคารเทพรตั นว์ ทิ ยาโชติ 24,931 ตารางเมตร เป็ นส�ำนักงานและห้องประชุม โดยเน้นความเป็ นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) มีต้นไม้รอบอาคารและมีสระน�ำ้ ขนาดใหญ่ ข้อมูลอาคาร ปริมาณการใช้ไฟฟ้ารวมปี 2557 : 3,953,579 kWh/ปี ผลประหยัดจากโครงการ : 80,887 kWh/ปี (381,295บาท/ปี) ลดปรมิ าณ CO2 : 47 ตนั /ปี 47

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์มีความม่งุ มน่ั ส่กู าร ปรับอากาศและแสงสว่างในอาคาร มหาวิทยาลยั จึงได้ เป็นมหาวิทยาลยั สีเขียว (Green University) สนบั สนนุ ก�ำหนดแนวทางการอนรุ ักษ์พลงั งานออกเป็น 2 แนวทาง การบริหารจดั การทางด้านกายภาพและส่ิงแวดล้อมเพ่ือ หลกั คือ การปรับปรุงด้านกายภาพอาคารเพื่อลดการใช้ การเป็นอาคารอนรุ กั ษ์พลงั งาน และเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม พลงั งานของเคร่ืองปรับอากาศและระบบแสงสวา่ ง รวมทงั้ เน้นการพฒั นาและปรับปรุงให้มหาวทิ ยาลยั มีพืน้ ท่ีสเี ขียว การรณรงค์สร้างจิตส�ำนึก การสร้างความรู้ความเข้าใจ ที่เอือ้ ประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้พร้อมทงั้ สง่ เสริมการอนรุ ักษ์ และก�ำหนดเป้ าหมายในการอนรุ ักษ์พลงั งานร่วมกนั พลงั งานและสง่ิ แวดล้อมให้แกผ่ ้บู ริหาร คณาจารย์ บคุ ลากร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์เป็นองคก์ รขนาดใหญ่ นิสติ และผ้ใู ช้บริการในทกุ ระดบั โดยมีเป้ าหมายส�ำคญั ที่จดั การศกึ ษาและพฒั นาการค้นคว้าวิจยั และการผลิต คอื การสร้างแนวความคดิ ทต่ี ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของการ บณั ฑิตท่ีมีคณุ ภาพ ตลอดจนการให้บริการวิชาการและ ประหยดั พลงั งานและรกั ษาสง่ิ แวดล้อมเพอื่ ลดโลกร้อน โดย การวจิ ยั แก่สงั คมเพ่ือความกินดีอยดู่ ีของคนในชาติ เรามี มอี าคารสำ� นกั หอสมดุ อาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ความมงุ่ มนั่ อยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะนำ� องคก์ รไปสกู่ ารเป็นมหาวทิ ยาลยั อาคารสารนิเทศ 50 ปี เป็นต้นแบบอาคารสเี ขียว สีเขียว (Green University) จึงได้เร่งพฒั นาทางด้าน ปัจจุบนั มหาวิทยาลยั มีจ�ำนวนผู้ใช้บริการเพ่ิม กายภาพที่เป็ นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม เน้นการปรับปรุงให้ มากขนึ ้ ท�ำให้อตั ราการใช้พลงั งานเพิ่มขนึ ้ อยา่ งหลีกเลี่ยง มหาวิทยาลัยมีพืน้ ที่สีเขียวเพ่ิมมากขึน้ รวมทัง้ ส่งเสริม ไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงอตั ราการใช้พลงั งานกบั เครื่อง สร้างการตระหนกั รู้ถงึ คณุ คา่ ของพลงั งานและสง่ิ แวดล้อม 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook