Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

-

Published by Guset User, 2022-02-16 13:00:57

Description: -

Search

Read the Text Version

สรุปหน่วยการเรียนรู้ บทที่1-9 วิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการอาชีพ



บทที่ 1 BIG DATA

BIG DATA(บิ๊ก ดาต้า) หากแปลตรงตัวก็คงหมายถึง ข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งจริงๆ แล้วคำนิยาม ของมันก็คือ จำนวนข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ที่มีมากมายมหาศาล ชนิดที่ เรียกว่าชอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ธรรมดานั้นไม่สามารถรองรับข้อมูล เหล่านี้ได้ โดยส่ วนใหญ่แล้วข้อมูลเหล่านี้มักจะถูกใช้ในเชิงธุรกิจเป็นข้อมูล ที่ถูกเก็บไว้ในองค์กร หรือบริษัท เช่น ข้อมูลบริษัท ข้อมูลสำคัญของ ลูกค้า วิดีโอ ไฟล์รูปภาพ หรือไฟล์เอกสารต่างๆ ฯลฯ เป็นต้น

คุณลักษณะของ Big da ta (4V) มีดังต่อไปนี้ มีปริมาณมาก (Volume) : อย่างที่ได้กล่าวไปแล้วในข้างต้นว่า Big Data เป็นข้อมูลที่มีขนาดใหญ่หรือเป็นข้อมูลที่มีปริมาณมากมาย มหาศาลไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบออนไลน์หรือออฟไลน์ โดยข้อมูลเหล่านี้ จะมีปริมาณมากกว่าหน่วย TB (Terabyte) ขึ้นไป มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Velocity) : เนื่องจากข้อมูล Big data มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ชนิดที่เรียกว่า Real Time จึงทำให้สามารถวิเคราะห์ง่ายๆ แบบ Manual ได้แต่ไม่สามารถ จับทิศทางหรือรูปแบบที่ชัดเจน หรือตายตัวของข้อมูลเหล่านั้นได้ หลากหลายประเภทหรือแหล่งที่มา (Variety) : ข้อมูลมีรูปแบบที่แตก ต่างกันออกไป ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลที่เป็นไฟล์ภาพรูปภาพ ตัวอักษร หรือวีดีโอ ฯลฯ ในขณะเดียวกันก็มีที่มาที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็น Platform, e-commerce, Social Network เป็นต้น ยังไม่ผ่านการประมวลผล (Veracity) : หาก Big Data นั้นไม่ผ่าน process หรือแปลงให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลดิบ (Raw Data) ก็จะ ไม่สามารถใช้งานหรือใช้ประโยชน์ต่อองค์กรหรือบริษัทได้

ขั้นตอนและกระบวนการทำงานของ Big Data มีอยู่ 3 ขั้นตอน 1. จัดเก็บข้อมูล (Storage) เป็นขั้นตอนการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดจากแหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลที่มีคุณภาพรวมถึงข้อมูลที่คาดว่าอาจจะเป็นประโยชน์ ไม่ว่า จะเป็นข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ไฟล์เอกสาร ไฟล์รูปภาพ ไฟล์วีดีโอ ไฟล์ เสี ยงที่ถูกบันทึก จะถูกเก็บรวบรวมไว้ที่นี่ 2. การประมวลผลข้อมูล (Processing) การประมวลผลข้อมูล หลังจากที่นำข้อมูลมารวบรวมไว้ได้ในที่เดียว แล้ว ข้อมูลต่างๆ จะถูกนำไปจัดหมวดหมู่ให้อยู่ในกลุ่มที่มีความ เกี่ยวข้องกันหรือความสั มพันธ์ใกล้เคียงกัน ให้ผลลัพธ์คล้ายคลึงกัน มากที่สุด แล้วจึงนำมาเปลี่ยนเป็นรูปแบบข้อมูลเพื่อนำเอาข้อมูลที่มี อยู่เหล่านี้เข้าระบบข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว 3. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyst) การวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอข้อมูล หลังจากที่ข้อมูลทั้งหมดได้ถูก จัดกลุ่มและแยกประเภทเรียบร้อยแล้วนั้น ต่อจากนั้นจะนำมาวิเคราะห์ หา Pattern ความเกี่ยวข้องกันทั้งหมด ที่อาจมองไม่เห็นได้เลยด้วย ตา ไม่ว่าจะเป็นการหา แนวโน้มของการตลาด ความต้องการของ ลูกค้า กระแสที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต และข้อมูลด้านอื่นที่เป็น ประโยชน์ และจัดมานำเสนอในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรูปภาพหรือ กราฟ

ประโยชน์ของการใช้ Big Data 1. สร้างธุรกิจใหม่จาก insight ผู้บริโภคอย่างแท้จริง 2. เข้าใจพฤติกรรมของลูกค้ามากขึ้น 3. พัฒนาศักยภาพธุกิจ และก้าวนำหน้าคู่แข่ง

บทที่ 2 LOT

Internet of Things

Internet of Things หรือ IoT คืออะไร Internet of Things (IoT) คือ การที่อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ สามารถเชื่อมโยงหรือส่ งข้อมูล ถึงกันได้ด้วยอินเทอร์เน็ต โดยไม่ต้องป้อนข้อมูล การ เชื่ อมโยงนี้ ง่ายจนทำให้เราสามารถสั่ งการควบคุมการใช้ งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ ผ่านทางเครือข่าย อินเตอร์เน็ตได้ ไปจนถึงการเชื่อมโยงการใช้งานอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้า กับการใช้งานอื่นๆ จนเกิดเป็นบรรดา Smart ต่างๆ ได้แก่ Smart Device, Smart Grid, Smart Home, Smart Network, Smart Intelligent Transportation ทั้งหลายที่เราเคยได้ยินนั่นเอง ซึ่ง แตกต่างจากในอดีตที่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นเพียง สื่ อกลางในการส่ งและแสดงข้อมูลเท่านั้น

ประโยชน์และความเสี่ ยง เทคโนโลยี Internet of Things มีประโยชน์ในหลายด้านทั้งเรื่อง การเก็บข้อมูลที่แม่นยำและเป็นปัจจุบัน ช่วยลดต้นทุน แถมยังช่วย เพิ่มผลผลิตของพนักงานหรือผู้ใช้งานได้ แม้ว่าแนวโน้มของ IoT มี แต่จะเพิ่มขึ้นด้วยคุณาประโยชน์ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว แต่ประโยชน์ใดๆ นั้นก็มาพร้อมกับความเสี่ ยง เพราะความท้าทายในการรักษาความ ปลอดภัยของเครือข่ายใหม่ที่เกิดขึ้นนั้น จะผลักดันให้ผู้เชี่ยวชาญมีการ รับมือทางด้านความปลอดภัยมากขึ้น ในทางตรงกันข้ามแฮกเกอร์หรือ ผู้ไม่หวังดีก็ทำงานหนักเพื่อที่จะเข้าควบคุม โจมตีเครือข่าย หรือเรียก ค่าไถ่ในช่องโหว่ที่ IoT มีอยู่ ฉะนั้นผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยทาง IoT จึงจำเป็นต้องพัฒนามาตรการ และระบบรักษาความปลอดภัย ไอทีควบคู่กันไป เพื่อให้ธุรกิจและการใช้งาน IoT สามารถขับเคลื่อน ต่อไปได้

ก่อนจะไปถึง 5G ลองมาไล่เลียงเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายในแต่ละยุคกัน เริ่มจากในยุคแรก 1G เราพูดคุยกันด้วยเสี ยงผ่านมือถือระบบ อนาล็อก ต่อมาเราเริ่มส่ งข้อความ MMS หากันในยุค 2G จน กระทั่งถึงจุดเปลี่ยนที่สำคัญคือ เมื่อเข้าสู่ ยุค 3G เราสามารถเชื่อมต่อ และเล่นอินเตอร์เน็ตผ่านมือถือได้ด้วยความเร็วที่สูงขึ้น (อยู่ระหว่าง 220 Kbps ถึง 42.2 Mbps) จนเข้ามาถึงยุค 4G เราสามารถดู ภาพ และเสี ยงหรือหนังออนไลน์ได้เนื่องจากมีความเร็วหลากหลาย ระดับให้เลือกใช้ ไม่ว่าจะเป็น 4G LTE (100 Mbps), LTE Advanced (1 Gbps) ตอนนี้คุณพร้อมหรือยัง? ที่จะก้าวเข้าสู่ ยุค 5G

5G เหนือกว่า 4G อย่างไร? ตอบสนองไวขึ้น สามารถสั่งงาน และควบคุมสิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว หรือเรียกว่าแทบจะทันที เนื่องจากมีความหน่วงที่ต่ำ ตอบสนองได้ไว ถึง 1 ส่ วนพันวินาที รองรับการ รับ-ส่ ง ข้อมูลได้มากกว่า ถ้าเป็น 4G จะสามารถ รับ-ส่ ง ข้อมูลได้ราว 7.2 Exabytes ต่อเดือน แต่สำหรับ 5G จะเพิ่มขึ้นราว 7 เท่า หรือ 50 Exabytes ต่อเดือน เร็วแรงกว่าเดิม 5G มีความเร็วมากกว่า 4G ถึง 20 เท่า ซึ่งเร็วมาก พอที่จะดูวิดีโอ 8K ออนไลน์แบบ 3 มิติ หรือดาวน์โหลดภาพยนตร์ 3 มิติ ได้ในภาย 6 วินาที ความถี่ให้เลือกใช้มากกว่า 5G จะสามารถใช้งานคลื่นความถี่ได้จนถึง 30GHz ซึ่งเป็นความถี่ย่านใหม่ที่ไม่เคยมีการใช้งานมาก่อน รองรับการใช้งานที่มากกว่า รองรับจำนวนผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น 10 เท่า จากที่สามารถรับคนได้ราว 1 แสนคนต่อพื้นที่ 1 ตร.กม. กลายเป็น 1 ล้านคนต่อพื้นที่ 1 ตร.กม.

บทที่3 BLOCK CHAIN

Blockchain คืออะไร คือเทคโนโลยีว่าด้วยระบบการเก็บข้อมูล (Data Structure) ซึ่ง ไม่มีตัวกลาง แต่ข้อมูลที่ได้รับการปกป้องจะถูกแชร์และจัดเก็บเป็น สำเนาไว้ในเครื่องของทุกคนที่ใช้ฐานข้อมูลเดียวกันเสมือนห่วงโซ่ (Chain) โดยทุกคนจะรับทราบร่วมกัน ว่าใครเป็นเจ้าของและมีสิ ทธิ ในข้อมูลตัวจริง เมื่อมีการอัปเดตข้อมูลใด ๆ สำเนาข้อมูลในฐาน เดียวกันก็จะอัปเดตตามไปด้วยทันที ทำให้การปลอมแปลงข้อมูลไม่ใช่ เรื่องง่าย เพราะทุกคนต้องรับทราบและตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลร่วมกันได้ อีกทั้งไม่มีระบบล่ม และภัยใด ๆ ก็ไม่อาจทำลาย อุปกรณ์ในระบบได้พร้อมกัน เช่นเดียวกับการถูกแฮ็ กข้อมูล ซึ่งต้องทำ การแฮ็ กทุกเครื่องในฐานเดียวกันพร้อม ๆ กัน

จุดกำเนิดของ Blockchain เมื่อปี 2008 ในช่วงวิกฤตเศษฐกิจครั้งใหญ่ที่เราเรียกว่า Global Financial Crisis บุคคลนิรนามที่ใช้ชื่อว่า Satoshi Nakamoto ได้ให้กำเนิดสิ่งที่เรียกว่าบิทคอยน์ขึ้นมา โดยออกแบบให้บิทคอยน์เป็น เงินดิจิทัลสกุลแรกในประวัติศาสตร์ที่ใครๆก็สามารถใช้ได้ ทุกคน สามารถถือเงินและโอนเงินหากันได้โดยไม่ต้องผ่านตัวกลางใด ๆ เช่น ธนาคาร และที่สำคัญ มันไม่ได้ถูกสร้างหรือควบคุมโดยรัฐหรือองค์กร ใด ๆ

1. A ต้องการโอนเงิน (ส่ งข้อมูล) ไปให้ B ผ่านเลขบัญชี โดยใช้ Private key+Password และ Public Key 2. เก็บ Transaction ไว้ใน Public Ledger 3. ยืนยันความถูกต้องโดย Miner และต้องไม่ถูกคัดค้านจากผู้ใช้

ทำไมถึงเรียกว่า Blockchain ? Blockchain คือวิธีการเก็บข้อมูลบัญชีรูปแบบหนึ่ง นึกภาพง่าย ๆ ว่า พอมีธุรกรรม Transaction ใหม่ ๆ เข้ามา มันก็จะถูกกองรวม ๆ กันไว้ พอได้จำนวนหนึ่งเราก็จะจัดบรรจุธุรกรรมเหล่านั้นลงกล่อง บัญชี (Block) และทำการปิดกล่อง พอเราปิดกล่องเสร็จ เราก็จะ ได้กล่องใหม่หรือ Block ใหม่ขึ้นมานั้นเอง

บทที่4 ธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล

ความหมายของระบบธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล การทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัลหมายถเนินการต่าง ๆ ในเรื่อง ของการเงินหรือแลกเปลี่นสิ นค้าและบริการโดยใช้เครื่องมือ สื่ อสารต่าง ๆ เช่นสมาร์ตโฟน Mobile App หรือ E- wallet ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและทุกคนสามารถ ทำได้ถ้ามีบัญชีธนาคารหรือพร้อมเพย์ ความสำคัญของระบบธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล ระบบธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัลมีความสำคัญที่จะช่วยส่ งเสริมให้การ ทำธุรกิจนั้นมีความมั่นคงขึ้นเพราะได้อำนวยความสะดวกให้การทำ ธุรกรรมทางการเงินเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลาและนำมาซึ่งความ เปลี่ยนแปลงทางสั งคมพฤติกรรมผู้บริโภคและเศรษฐกิจโลกจากผล สำรวจธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Mobile Banking ของ ธนาคารแห่งประเทศไทยพบว่าประเทศไทยมีจำนวนบัญชีลูกค้าที่ใช้ บริการ Mobile Banking มากกว่า 37 ล้านบัญชี

ความหมายของนวัตกรรมธุรกิจดิจิทัล นวัตกรรมธุรกิจดิจิทัล (Digital Business Innovation) หมายถึง ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ ที่เกิดจากการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล ที่ตอบสนองความต้องการและ พฤติกรรมของผู้บริโภค ที่ปรับเปลี่ยนไปตามบริบทของเทคโนโลยี ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ธุรกิจ ใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนบนพื้นฐานของการหลอมรวมเทคโนโลยี Digital Supply Chain (ห่วงโซ่อุปทานดิจิทัล) ซึ่งหมายถึง ขั้นตอนการด าเนินธุรกิจดิจิทัลซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ผลิตภัณฑ์ และบริการต้นน้ าไปจนกระทั่งผลิตภัณฑ์และบริการปลายน้ำ

โมเดลธุรกิจ (Business model) คืออะไร โมเดลธุรกิจก็คือแบบจำลองธุรกิจว่า ธุรกิจของเราจะให้บริการหรือ ขายอะไร ขายให้ใคร ขายอย่างไร ขายที่ไหน ผลิตด้วยอะไร ใครมาช่วย ผลิต และมีรายได้และค่าใช้จ่ายอย่างไร รวมถึงมีกำไรจากการให้ บริการและสิ นค้าตัวไหนบ้าง ดังนั้นโมเดลธุรกิจควรคิดก่อนการเริ่ม ธุรกิจ แต่ใครที่ได้ทำธุรกิจไปแล้วก็ยังสามารถนำโมเดลธุรกิจมา ปรับปรุงโดยปรับเปลี่ยนให้ดีขึ้น

องค์ประกอบทั้ง 9 ของ Business Model Canvas ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ Business Model Canvas ที่เชื่อมโยงกันตามภาพด้านล่างนี้ คือ 1.ลูกค้า (Customer Segments—CS) ผู้ซื้ อสินค้า หรือบริการ 2.คุณค่า (Value Propositions—VP) จุดขายของ สินค้า หรือ บริการนั้น 3.ช่องทาง (Channels—CH) วิธีในการสื่ อสารไปถึง ลูกค้า 4.ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships —CR) วิธีในการรักษาลูกค้าเดิม 5.กระแสรายได้ (Revenue Streams—RS) รายได้ ของธุรกิจนี้ 6.ทรัพยากรหลัก (Key Resources—KR) สิ่งที่ต้อง มีในการดำเนินธุรกิจ 7.กิจกรรมหลัก (Key Activities—KA) กิจกรรมที่ ต้องทำเพื่อให้โมเดลธุรกิจอยู่ได้ 8.พันธมิตรหลัก (Key Partners—KP) ส่วนที่ เกี่ยวข้องทั้งการช่วยป้อนวัตถุดิบและการช่วยขาย 9.โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure-CS) ต้นทุน ทั้งหมดของธุรกิจ

หน่วยที่5 สื่ อสั งคมออนไลน์กับธุรกิจ ดิจิทัล

สื่ อสั งคมออนไลน์ คือ สื่ อที่ผู้ส่ งสารแบ่งปันสาร ซึ่งอยู่ในรูปแบบ ต่างๆ ไปยังผู้รับสารผ่านเครือข่ายออนไลน์ โดยสามารถโต้ตอบ กัน ระหว่างผู้ส่ งสารและผู้รับสาร หรือผู้รับสารด้วยกันเอง ซึ่งสามารถ แบ่งสื่ อสั งคมออนไลน์ออกเป็นประเภทต่างๆ ที่ใช้กันบ่อยๆ คือ บล็อก (Blogging) ทวิตเตอร์และไมโครบล็อก (Twitter and Microblogging)เป็นต้น

ประเภทของสื่ อสั งคมออนไลน์ 1. Weblogs หรือเรียกสั้นๆ ว่า Blogs คือ สื่ อส่ วนบุคคลบน อินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึก ส่ วนตัว โดยสามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่นๆ 2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสั งคมในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายทางสั งคมที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อระหว่างบุคคล กลุ่ม บุคคล เพื่อ 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือที่เรียกกันว่า “บล็อกจิ๋ว” ซึ่งเป็นเว็บเซอร์วิสหรือเว็บไซต์ที่ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป สำหรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความสั้นๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ที่ เรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพื่อแสดงสถานะของตัวเองว่า กำลังทำอะไรอยู่ หรือแจ้งข่าวสารต่างๆ แก่กลุ่มเพื่อนในสั งคม ออนไลน์ให้เกิดเป็นกลุ่มสั งคม (Social Community) 4. Online Video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสี ยค่า ใช้จ่าย ซึ่งปัจจุบันได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและขยายตัวอย่าง รวดเร็ว เนื่องจากเนื้อหาที่นำเสนอในวิดีโอออนไลน์ไม่ถูกจำกัดโดยผัง รายการที่แน่นอนและตายตัว

5. Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้ บริการสามารถอัพโหลดและดาวน์โหลดรูปภาพเพื่อนำมาใช้งานได้ ที่ สำคัญนอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปันรูปภาพแล้ว ยัง สามารถใช้เป็นพื้นที่เพื่อเสนอขายภาพที่ตนเองนำเข้าไปฝากได้อีกด้วย 6. Wikis เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซึ่งผู้เขียนส่ วนใหญ่อาจจะเป็นนักวิชาการ นักวิชาชีพหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สั งคม วัฒนธรรม ซึ่งผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้ อย่างอิสระ 7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจำลองส่ วน หนึ่งของชีวิตลงไป จัดเป็นสื่ อสั งคมออนไลน์ที่บรรดาผู้ท่องโลก ไซเบอร์ใช้เพื่อสื่ อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ตในลักษณะโลกเสมือน จริง 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคำสองคำคือ Crowd และ Outsourcing เป็นหลักการขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือ ข่ายสั งคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทำในรูปของเว็บไซต์ที่มี วัตถุประสงค์หลักเพื่อค้นหาคำตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆทั้งทาง ธุรกิจ การศึกษา รวมทั้งการสื่ อสาร เป็นต้น 9. Podcasting หรือ Podcast มาจากการรวมตัวของสองคำ คือ “Pod” กับ “Broadcasting” ซึ่ง “POD” หรือ PersonalOn - Demand คือ อุปสงค์หรือความต้องการส่ วนบุคคล

ประโยชน์ของ Social networks เครือข่ายสั งคมออนไลน์ 1. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้ 2. เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอ และแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ หรือตั้งคำถาม ประโยชน์ของ Social networks เครือข่ายสั งคมออนไลน์ 1. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้ 2. เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอ และแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ หรือตั้งคาถามในเรื่อง ต่างๆ เพื่อให้บุคคลอื่นที่สนใจหรือมีคาตอบได้ช่วยกันตอบ 3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่ อสารกับคนอื่น สะดวก และรวดเร็ว 4.เป็นสื่ อในการนำเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้ามารับชมและแสดงความคิด เห็น 5. ใช้เป็นสื่ อในการโฆษณา ประชาสั มพันธ์ หรือบริการลูกค้า สาหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้า 6. ช่วยสร้างผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกิดการจ้าง งานแบบใหม่ๆ ขึ้น 7.คลายเครียดได้สำหรับผู้ใช้ที่ต้องการหาเพื่อนคุยเล่นสนุกๆ 8. สร้างความสั มพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่ เพื่อนได้

หน่วยที่6 ธุรกิจดิจิทัลโมไบล์

ธุรกิจดิจิทัลโมบาย (Digital Mobile Business) เป็นกระบวนการท าธุรกรรมออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีเคลื่อนที่ไร้สาย เนื้อหาของธุรกรรมอยู่ในรูปของข้อมูล สารสนเทศที่ เป็นสั ญญาดิจิทัลในรูปของข้อความ ภาพ และเสี ยง รวมถึงการให้บริการต่าง ๆ ผ่าน เทคโนโลยีเคลื่อนที่ ไร้สาย

คุณลักษณะของแพล็ตฟอร์มระบบธุรกิจดิจิทัลโมบาย 1. สามารถสนับสนุนให้ผู้ใช้งาน ท าธุรกรรมต่าง ๆ ได้ง่าย 2. สามารถปรับเปลี่ยนฟังก์ชันระบบการให้บริการได้ตามความ ต้องการของผู้ใช้งาน 3. สามารถรองรับโมบายแอปพลิคัน 4. สามารถรองรับเทคโนโลยีหรือเทคนิคใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวล 5. สามารถคงรักษาข้อมูลธุรกรรมส าคัญต่าง ๆ ไว้ได

โครงสร้างระบบบธุรกิจดิจิทัล กลุ่มผู้ใช้งานมีรายละเอียดดังนี้ 1.โครงสร้างพื้นฐานการเชื่ อมต่อเครือข่ายเคลื่อนที่ไร้สาย 2.มิดเดิลเเวร์ของระบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคลื่อนที่ไร้สาย 3.โครงสร้างพื้ นฐานระบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคลื่อนที่ไร้สาย 4.แอปพลิเคชั่ นธุรกิจดิจิทัลโมไบล์ กลุ่มพัฒนาระบบเเละองค์กรธุรกิจ 1.การให้บริการธุรกรรมต่างๆ 2.การให้ข้อมูลเเละเนื้ อหาต่างๆ 3.การพัฒนาแอปพลิเคชั่ น

การประยุคต์เทคโนโลยีสำหรับธุรกิจดิจิทัลโมไบล์ 1.ช่องทางธุรกิจดิจิทัลโมไบล์ผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคลื่อนที่ไร้สาย 2.การตลาดเคลื่อนที่ 3.การใช้โมไบล์คูปอง 4.การชำระเงินเคลื่อนที่ 5.ผู้ช่ วยส่ วนบุคคลดิจิทัล 6.การสร้างความภักดีในตัวสิ นค้าเเละบริการเคลื่อนที่ 7.การให้บริการธุรกิจเเบบเคลื่อนที่

หน่วยที่7 ความมั่นคงปลอดภัยในการทำ ธุรกิจดิจิทัล

ความเสี่ ยงและภัยคุกคามธุรกรรมดิจิทัล ความเสี่ ยงและภัยคุกคามธุรกรรมดิจิทัลทางซอฟต์แวร์ซึ่งมักจะ เกี่ยวข้องกับการคัดลอก ลบไฟล์ โปรแกรม หรือโปรแกรมทิ้งทั้งหมด หรือพยายามแก้ไขไฟล์ไม่สามารถทำให้โปรแกรมที่ใช้งานอยู่ไม่ สามารถ ทำงานได้ หรือทำให้โปรแกรมทำงานผิดพลาดเพื่อให้เกิด ความเสี ยหายต่อระบบอื่น ๆ ตามไปด้วย

ความเสี่ ยงและภัยคุกคามธุรกรรมดิจิทัล มักจะ เกี่ยงข้องกับสิ่งต่างๆดังต่ิไปนี้ 1.ทางระบบฮาร์ดเเวร์ 2.ทางซอฟแวร์ 3.ทางระบบข้อมูล

ประเภทเหตุการณ์ภัยคุกคามต่อธุรกรรมดิจิทัล 1.การยืนยันตัวตนล้มเหลว 2.โปรแกรมประสงค์ร้าย 3.การค้นหาช่องโหว่จากเว็บไซต์ผู้ไม่ประสงค์ดี 4.การโจมตีไปยังเป้าหมายโดยตรง 5.การปลอมแปลงเว็บไซต์ในกานทำธุรกรรมดิจิทัล 6.เว็บไซต์ที่ไม่พึงประสงค์เพื่อกระทำบางสิ่ง

ความเสี่ ยงและภัยคุกคามต่อธุรกรรมดิจิทัล จากผลการสำรวจของเวิลด์ อีโคโนมิก ฟอรัม (World Economic Forum: WEF) ในปีค.ศ. 2019 เรื่อง ความเสี่ ยงจากการรับรู้ทั่วโลก ซึ่งพิจารณาจากความเสี่ ยงที่ผู้มี อำนาจตัดสิ นใจจากทั่วโลกมอง และคิดว่าเป็น ความเสี่ ยงที่คาดการณ์จะมีโอกาศเกิดเพิ่มมากขึ้นในปีค.ศ. 2020 โดย สามารถสรุปแบ่งประเด็นที่เกี่ยวข้อง ออกเป็น 5 ความเสี่ ยงที่สำคัญ คือ ความเสี่ ยงด้านสภาพแวดล้อม ความเสี่ ยงด้านภูมิรัฐศาสตร์ ความเสี่ ยงด้าน สั งคม ความเสี่ ยงด้านเทคโนโลยี และความเสี่ ยงด้านเศรษฐกิจ ความมั่นคงปลอดภยัในการทา ธุรกรรมดิจิทลั ปจัจุบันมีผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตทั่วโลกมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดย เฉพาะจำนวนผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต ในภูมิภาคเอเชีย มีจำนวนถึง 2,300 ล้านคน เมื่อเปรียบเทียบกับ จำนวนภูมิภาคที่เหลือจำนวนผู้ใช้งาน อินเทอร์เน็ตทั้งหมดรวมกันแพียง 2,233 ล้านคน คิดเป็น 50.3 % ของประชากรที่ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก รองลง เป็นภูมิภาคยุโรป มีจ านวนถึง 727 ล้านคน คิดเป็น 15.9 % และ น้อยที่สุดคือภูมิภาคโอเซียนออสเตรเลียมี จำนวน 29 ล้านคน คิดเป็น 0.6 % ของประชากรที่ใช้อินเทอร์เน็ตทั่ว โลก

หน่วยที่8 กฎหมายเเละจริยธรรมเเละการ ทำธุรกรรมดิจิทัล

กฎหมาย คือ กฎเกณฑ์ คำสั่ง หรือข้อบังคับที่ถูกตั้งขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ สูงสุดเพื่อใช้เป็นเครื่อง มือสำหรับดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายอย่างหนึ่งอย่างใด ของสั งคม และมีสภาพบังคับเป็นเครื่องมือในการทำให้ บุคคลในสั งคมต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ คำสั่ง หรือข้อบังคับนั้น คำว่าจริยธรรมมีความหมายใกล้เคียงกับคำว่าจริยศาสตร์ นอกจากนี้ ยังมีคำที่มี ความหมายใกล้เคียงกันอีกหลายคำ บางครั้งก็มีการนำมาใช้แทนกัน ซึ่งให้ความ หมายทั้งที่เหมือนกันและแตกต่างกัน ดังนั้น การทำความเข้าใจความหมายและขอบข่ายของจริยธรรมกับศัพท์ เกี่ยวข้องในหลายมุมมอง ทำให้ทราบถึงทรรศนะมุมมองของผู้รู้ต่าง ๆ ที่พยายามศึกษาแนวคิดจริยธรรมในด้านที่แตกต่างกันออกไป

ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions) หมายถึง กิจกรรมที่ กระทำขึ้นระหว่างหน่วยธุรกิจ บุคคล รัฐ ตลอดจนองค์กรเอกชน หรือองค์กรของรัฐ ใดๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ การค้า การบริการ และการติดต่อ งานราชการ โดยใช้ วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งหมดหรือแต่บางส่ วน (ไม่จเป็นต้อง รวมถึงขั้นตอนการ จ่ายเงิน)

การทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล หมายถึง การดำเนินการต่าง ๆ ในเรื่อง ของการเงินหรือแลกเปลี่ยนสิ นค้าและบริการ โดยใช้เครื่องมือสื่ อสาร ต่าง ๆ เช่น สมาร์ทโฟน Mobile App หรือ E-wallet ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และทำได้ทุกคนที่มีบัญชีธนาคารหรือมีพร้อม เพย์ ความสำคัญของระบบธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล ระบบธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัลมีความสำคัญที่จะช่วยส่ งเสริมให้การทำ ธุรกิจนั้นมีความมั่นคงขึ้น เพราะได้อำนวยความสะดวกให้การทำ ธุรกรรมทางการเงินเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา และนำมาซึ่งความ เปลี่ยนแปลงทางสั งคม พฤติกรรมผู้บริโภค และเศรษฐกิจโลก จากผล สำรวจธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Mobile Banking ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย พบว่า ประเทศไทยมีจำนวนบัญชีลูกค้าที่ใช้ บริการ Mobile Banking มากกว่า 37 ล้านบัญชี เพิ่มขึ้นจากช่วง เวลาเดียวกันในปีที่แล้วกว่า 11 ล้านบัญชี

เพื่อการใช้ออนไลน์อย่างถูกกฎหมาย สำหรับสาระสำคัญที่หลายคนควร พึงระวังใน พ.ร.บ.ว่าด้วยกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หรือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฉบับ 2มีสาระสำคัญจำง่ายๆ ดังนี้ 1. การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 2. ส่ ง SMS โฆษณา โดยไม่รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธ ข้อมูลนั้นได้ ไม่เช่นนั้นถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 3. ส่ ง Email ขายของ ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 4. กด Like ได้ไม่ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ ยกเว้นการกดไลค์ เป็นเรื่องเกี่ยว กับสถาบัน เสี่ ยงเข้าข่ายความผิดมาตรา 112 หรือมีความผิดร่วม 5. กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากข้อมูลที่แชร์มีผลกระทบต่อผู้ อื่น อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพ์ฯ 6. พบข้อมูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเรา แต่ไม่ใช่สิ่งที่ เจ้าของคอมพิวเตอร์กระทำเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิด ชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออกเจ้าของก็จะไม่มีความผิดตาม กฎหมาย เช่น ความเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ที่ให้แสดง ความคิดเห็น หากพบว่าการแสดงความเห็นผิดกฎหมาย เมื่อแจ้งไปที่ หน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อลบได้ทันที เจ้าของระบบเว็บไซต์จะไม่มีความ ผิด 7.สำหรับ แอดมินเพจ ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น เมื่อพบข้อความที่ ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ เมื่อลบออกจากพื้นที่ที่ตนดูแลแล้ว จะถือเป็นผู้พ้น ผิด

หน่วยที่9 กรณีศึกษาธุรกิจดิจิทัล

ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ E-Banking คือ การทำธุรกรรมต่างๆ กับ ธนาคาร โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น การฝากเงิน ถอนเงิน โอนเงิน หรือ สอบถามยอดเงิน เป็นต้น E-Banking อาจเรียก ด้วยชื่ออื่น เช่น Internet Banking (ธนาคารอินเตอร์เน็ต), Online Banking (ธนาคารออนไลน์), Electronic Banking (ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ ), Cyber Banking (ธนาคารไซเบอร์) เป็นต้น การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Marketing) ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วที่เรียกกันว่ายุคนี้ คือ ยุคดิจิตอล ระบบการตลาดก็เช่นเดียวกัน ผลจากเทคโนโลยีทำให้ระบบ การตลาดเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีความ เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทำให้การตลาดต้องปรับตัวให้ทัน กับระบบ การค้า บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวคิดทางการตลาด อิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียกว่า Electronic Marketing หรือ E- Marketing เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความแตกต่างระหว่างการตลาด แบบ ดั้งเดิม (Traditional Marketing) กับการตลาดแบบ อิเล็กทรอนิกส์ ทั้งทางด้านแนวคิด ลูกค้า สิ นค้าและบริการ และ กลยุทธ์การตลาดที่สำคัญ

E-Education หรือการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการนำเทคโนโลยีที่จะช่วยให้กระบวนการจัดระบบการศึกษา (Education System) เป็นการทำงานตามขั้นตอน เป็นไปอย่างอัตโนมัติ จนเสร็จสิ้ นบนระบบเครือข่าย โดยในการลงทุนจะประกอบไปด้วยเพียง คอมพิวเตอร์พื้นฐาน ที่สามารถเชื่อมต่อกับเน็ตเวอร์ก ทั้งภายในและ ภายนอกผ่านอุปกรณ์โมเด็มได้ และคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ที่ทำหน้าที่เป็น เครื่อง Server และเลือกใช้ฮั บคุณภาพดีในการกระจายสั ญญาณเพิ่มใน เครือข่ายได้เท่านั้นโดยระบบ e-education ของสถานศึกษาอาจต้อง ประกอบด้วย ระบบการเรียนการสอน วัดประเมินผลการเรียน ตลอดจน ระบบการวิเคราะห์การเรียนการสอน การสอน วิเคราะห์ข้อสอบ เก็บประวัติ สถิติ และสามารถประมวลผล เกษตรอิเล็กทรอนิกส์

การสื่ อสารและเทคโนโลยีด้านข้อมูลเปลี่ยนกลยุทธ์ด้านเครือข่ายและ คอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล โรงพยาบาลหลายแห่งกำลังใช้ เทคโนโลยีใหม่ๆ และรวมเครือข่ายที่เคยแยกอยู่กระจัดกระจายให้เข้า มาอยู่ด้วยกัน เพื่อช่วยให้แพทย์และการให้บริการรักษาสามารถเข้าถึง ผู้คนได้มากขึ้น สะดวกขึ้น และมีประสิ ทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ประเภทของการขนส่ ง (Transportation) แบ่งทั้งหมด 5 ประเภท โดยการขนส่ งมีความเจริญก้าวหน้าและมีพัฒนาการมากยิ่งขึ้น มีวิธี การขนส่ งให้ผู้ประกอบธุรกิจเลือกหลายวิธี ผู้ประกอบธุรกิจต้องเลือก วิธีการขนส่ งให้เหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง 1.การขนส่ งทางน้ำ (Water Transportation) คือ การขนส่ งทางน้ำ เป็นวิธีการขนส่ งเก่าแก่มีมาตั้งสมัยโบราณ โดยการใช้แม่น้ำลำคลองเป็น เส้ นทางลำเลียงสิ นค้า รวมถึงการขนส่ งทางทะเล 2.การขนส่ งสิ นค้าระหว่างประเทศการขนส่ งทางบก (Road or Motor Transportation) จำแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 2.1 รถปิดหรือ รถไฟปิดทุกด้าน 2.2 รถขนส่ งทางรถยนต์ 3.การขนส่ งทางอากาศ (Air Tiansportation) การขนส่ งทางอากาศมี ความสำคัญมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะการขนส่ งระหว่างประเทศเพราะ ทำการขนส่ งได้รวดเร็วกว่าการขนส่ งประเภทอื่นๆ ไม่เสี ยเวลาในการขนส่ ง นาน สะดวกและปลอดภัย 4.การขนส่ งทางท่อ (Pipeline Transportation) เป็นการขนส่ ง สิ่งของประเภทของเหลวและก๊าซผ่านสายท่อ เช่น น้ำประปา น้ำมัน ก๊าซ ธรรมชาติ เป็นต้น ซึ่งการขนส่ งทางท่อจะแตกต่างกับการขนส่ งประเภทอื่น คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการขนส่ งไม่ต้องเคลื่อนที่ 5.การขนส่ งระบบคอนเทนเนอร์ (Container System) การขนส่ งระบบ คอนเทนเนอร์ เป็นการพัฒนาการขนส่ งอีกขั้นหนึ่ง โดยการบรรจุสิ นค้าที่จะ ขนส่ งลงในตู้หรือกล่องเหล็กขนาดใหญ่ ที่เรียกว่า คอนเทนเนอร์ แล้วทำการ ขนส่ งโดยรถบรรทุก รถไฟ หรือเครื่องบิน ไปยังจุดหมายปลายทางโดยไม่มีการ ขนถ่ายสิ นค้าออกจากตู้ระหว่างทำการขนส่ งเที่ยวนั้น


Share
Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook