การพมิ พแปนอกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ 16หน่วยการเรยี นรทู้ ่ีสาระการเรยี นรู้ 16.1 การพมิ พแ์ ปน้ อกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ 16.2 การวางนว้ิ ในการพิมพแ์ ป้นอักษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ 16.3 แบบฝึกหัดการพมิ พแ์ ป้นอักษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ 16.4 แบบฝกึ หัดทบทวนการพมิ พ์แป้นอกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ 16.5 แบบฝกึ หัดผสมคา� การพมิ พแ์ ป้นอกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ 16.6 แบบฝกึ หดั เพ่อื พฒั นาการพิมพแ์ ปน้ อักษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆสมรรถนะการเรียนรู้ 1. แสดงความรเู้ กี่ยวกับการวางนวิ้ และการพิมพแ์ ปน้ อกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ 2. ปฏิบัติการวางนว้ิ และการพมิ พแ์ ปน้ อักษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ 3. ปฏิบัติการพมิ พ์สมั ผัสไดอ้ ย่างถูกต้องและแม่นยา� 4. ปฏิบัติการบ�ารงุ รกั ษาเครอื่ งพิมพไ์ ด้อยา่ งถูกต้อง 5. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และใชว้ ัสดอุ ปุ กรณอ์ ยา่ งประหยดั 6. ปฏิบตั ิตนโดยยดึ หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงแบบฝกึ หดั เพ่ือพัฒนาการพิมพ์ การพมิ พแปนอกั ษร การพมิ พ์แป้นอกั ษร แปน้ อกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ ็ ฬฑฮฆ ็ฬฑฮฆ แบบฝึกหัดผสมค�าการพมิ พ์ การวางนว้ิ ในการพมิ พ์ แปน้ อักษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ แป้นอักษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ แบบฝึกหดั ทบทวนการพิมพ์ แบบฝึกหดั การพิมพ์ แปน้ อกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ แป้นอักษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ 91 พิมพดีดไทยเบื้องตน
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 16 การพมิ พ์แป้นอกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ16.1 การพิมพแ์ ปน้ อกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ การพิมพเ์ เปน้ อกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ ผ้เู รยี นจะตอ้ งฝึกทักษะการวางนวิ้ ให้ถกู ต้องเเละช�ำนาญ โดยฝึกพมิ พ์แปน้ อกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ จากเเบบฝึกหดั การพมิ พเ์ เละเเบบฝึกหดั การผสมค�ำ16.2 การวางนิว้ ในการพิมพ์แป้นอกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ มอื ข้างซา้ ย มอื ขา้ งขวาฑ ใชน้ ้วิ ช้ีข้างซ้าย (แป้นเดียวกนั กบั พ) ็ ใช้นิว้ ชี้ขา้ งขวา (แป้นเดยี วกันกบั ้ )ฮ ใชน้ ิว้ ชี้ขา้ งซา้ ย (แปน้ เดียวกันกับ อ) ฬ ใชน้ วิ้ นางขา้ งขวา (แปน้ เดยี วกันกบั ใ )ฆ ใช้นว้ิ นางขา้ งซา้ ย (แปน้ เดยี วกันกับ ห) 92พิมพ์ดีดไทยเบ้ืองต้น
16.3 แบบฝึกหดั การพมิ พ์แป้นอกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ ครงั้ ท่ี 1 ทท้ ็ ทท้ ็ ท้ท็ ท้ท็ ท้ท็ ทท้ ็ ทท้ ็ ท้ท็ ท้ท็ ทท้ ็ ท้ท็ ท้ท็ ทท้ ็ ทท้ ็ ครั้งท่ี 2 สฬส สฬส สฬส สฬส สฬส สฬส สฬส สฬส สฬส สฬส สฬส ครัง้ ที่ 3 ดฑด ดฑด ดฑด ดฑด ดฑด ดฑด ดฑด ดฑด ดฑด ดฑด ดฑด ครั้งที่ 4 ดฮด ดฮด ดฮด ดฮด ดฮด ดฮด ดฮด ดฮด ดฮด ดฮด ดฮด ดฮด คร้งั ที่ 5 หฆห หฆห หฆห หฆห หฆห หฆห หฆห หฆห หฆห หฆห หฆห16.4 แบบฝึกหัดทบทวนการพิมพแ์ ป้นอกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ คร้งั ที่ 1 ทา้ ท็ ทา้ ท็ ท้าท็ ท้าท็ ทา้ ท็ ทา้ ท็ ท้าท็ ทา้ ท็ ทา้ ท็ ท้าท็ ท้าท็ ท้าท็ ครง้ั ท่ี 2 ดพดฑด ดพดฑด ดพดฑด ดพดฑด ดพดฑด ดพดฑด ดพดฑด ดพดฑด ครงั้ ที่ 3 สใสฬส สใสฬส สใสฬส สใสฬส สใสฬส สใสฬส สใสฬส สใสฬส สใสฬส ครั้งที่ 4 ดอดฮด ดอดฮด ดอดฮด ดอดฮด ดอดฮด ดอดฮด ดอดฮด ดอดฮด คร้งั ที่ 5 หหฆหห หหฆหห หหฆหห หหฆหห หหฆหห หหฆหห หหฆหห หหฆหห 93พิมพ์ดีดไทยเบื้องต้น
16.5 แบบฝึกหดั ผสมคา� การพมิ พแ์ ป้นอักษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ คร้ังท่ี 1 เปน็ เป็น เป็น เปน็ เป็น เปน็ เป็น เป็น เปน็ เป็น เป็น เปน็ เป็น เป็น ครง้ั ท่ี 2 จณั ฑาล จัณฑาล จัณฑาล จณั ฑาล จณั ฑาล จัณฑาล จัณฑาล จัณฑาล ครั้งที่ 3 จุฬา จฬุ า จุฬา จฬุ า จฬุ า จุฬา จฬุ า จุฬา จฬุ า จุฬา จุฬา จฬุ า จฬุ า ครง้ั ที่ 4 เฮฮา เฮฮา เฮฮา เฮฮา เฮฮา เฮฮา เฮฮา เฮฮา เฮฮา เฮฮา เฮฮา เฮฮา ครั้งท่ี 5 ระฆัง ระฆัง ระฆงั ระฆงั ระฆงั ระฆงั ระฆงั ระฆงั ระฆัง ระฆงั ระฆงั16.6 แบบฝกึ หัดเพอื่ พฒั นาการพมิ พแ์ ป้นอกั ษร ็ ฬ ฑ ฮ ฆ 79 126(จบั เวลา 1 นาท)ี 74 คร้งั ท่ี 1 127 ระฆังดงั ข้นึ ในโรงเรยี นเลก็ ๆ ท่ามกลางป่าเขาลา� เนาไพร เดก็ ๆ กา� ลังเลน่ กฬี ากันอย่าง 88 159สนุกสนานเฮฮา เชน่ ตะกร้อ ฟตุ ซอล แบดมนิ ตัน เปน็ ต้น 78 172 ครั้งที่ 2 78 ชนชั้นของประเทศอินเดยี แบง่ ออกเปน็ หลายวรรณะด้วยกัน โดยวรรณะจัณฑาลเปน็ วรรณะ 172ที่ตา่� สดุ มคี วามยากจนและมอี ยเู่ ป็นจ�านวนมากของประเทศ ครง้ั ที่ 3 ว่าวจฬุ ากับว่าวปักเป้า เป็นว่าวที่นยิ มเลน่ กนั มาอยา่ งยาวนาน ที่ไหนมีว่าวจฬุ า กม็ ักจะมีว่าปกั เป้าอยู่ดว้ ยเช่นกนั นับวา่ เปน็ กฬี าอกี อยา่ งหนึ่งทน่ี ิยมเลน่ กนั ครั้งที่ 4 ฆราวาสธรรม เป็นธรรมทน่ี �ามาซ่ึงความสุข ความเจริญ และความสงบเยน็ แก่ผู้ปฏบิ ตั ิตามเป็นธรรมที่จะนา� พาครอบครวั ใหอ้ ยเู่ ยน็ เปน็ สขุ นา� พาใหช้ ีวติ การครองเรอื นเป็นไปดว้ ยความราบรืน่ ครั้งท่ี 5 การลา่ ปลาวาฬ บางประเทศถอื วา่ เปน็ กฬี าชนดิ หนงึ่ ซ่ึงมกั จะถกู ต่อตา้ นจากประเทศต่าง ๆเพราะเป็นกฬี าทีท่ ารุณ และอาจจะทา� ใหป้ ริมาณของปลาวาฬลดลง 94 พิมพดีดไทยเบื้องตน
ตารางบนั ทึกการพฒั นาทักษะครั้งท่ี วันเดือนปี จ�านวนดีด ค�าผดิ ค�าสทุ ธิ คะเเนน ลายมอื ชอ่ื ผสู้ อน 1 2 3 4 5 รวมจา� นวนค�าสทุ ธิ ตารางบันทึกความก้าวหน้าในการพิมพ์ 4 5 มากกว่า 20 ครงั้ ที่ 20 19 1 23 18 17 ลายมือช่อื ผ้สู อน 16 วันเดือนปี 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0วธิ ีการบันทกึ : ใหก้ าเครอ่ื งหมาย √ หรือระบายสี ในชอ่ งจ�านวนคา� สุทธทิ ไ่ี ด้ในแต่ละครัง้ 95 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
การพิมพแปน อักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ 17หน่วยการเรยี นรู้ที่สาระการเรียนรู้ 17.1 การพมิ พแ์ ปน้ อักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ 17.2 การวางน้วิ ในการพิมพ์แปน้ อักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ 17.3 แบบฝกึ หดั การพมิ พแ์ ป้นอกั ษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ 17.4 แบบฝกึ หดั ทบทวนการพิมพ์แป้นอักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ 17.5 แบบฝึกหดั ผสมคา� การพมิ พ์แป้นอักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ 17.6 แบบฝึกหดั เพ่ือพัฒนาการพิมพ์แปน้ อกั ษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌสมรรถนะการเรยี นรู้ 1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับการวางน้วิ และการพิมพ์แป้นอักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ 2. ปฏิบตั ิการวางน้วิ และการพมิ พ์แป้นอกั ษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ 3. ปฏิบตั ิการพิมพ์สัมผสั ไดอ้ ย่างถกู ต้องและแม่นย�า 4. ปฏิบตั ิการบา� รุงรกั ษาเครื่องพิมพ์ได้อยา่ งถูกต้อง 5. มคี ุณธรรม จริยธรรม และใช้วสั ดุอุปกรณ์อย่างประหยัด 6. ปฏบิ ัติตนโดยยึดหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบฝกึ หัดเพื่อพฒั นาการพมิ พ์ การพิมพแปน อักษร การพมิ พแ์ ปน้ อักษร แปน้ อักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ ์ ๋ ๊ฯฌ ์ ๋ ๊ ฯฌ แบบฝกึ หัดผสมค�าการพิมพ์ แปน้ อักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ การวางนิ้วในการพมิ พ์ แบบฝึกหดั ทบทวนการพิมพ์ แปน้ อกั ษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ แปน้ อักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ แบบฝกึ หดั การพมิ พ์ แป้นอกั ษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ 96 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 17 การพิมพแ์ ป้นอักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ17.1 การพิมพแ์ ปน้ อกั ษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ การพมิ พแ์ ปน้ อกั ษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ ผเู้ รยี นจะตอ้ งฝกึ ทกั ษะการวางนว้ิ ใหถ้ กู ตอ้ งเเละชา� นาญ โดยการฝกึ พมิ พ์แป้นอักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ จากเเบบฝึกหดั การพมิ พ์เเละเเบบฝกึ หัดการผสมค�า17.2 การวางน้ิวในการพมิ พ์แปน้ อกั ษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ มือขา้ งซา้ ย มอื ข้างขวาฌ ใช้นว้ิ ชข้ี า้ งซ้าย (แป้นเดียวกนั กับ เ) ์ ใชน้ วิ้ ชี้ขา้ งขวา (แป้นเดียวกนั กับ ื) ๋ ใช้น้ิวช้ขี ้างขวา (แปน้ เดยี วกนั กับ ่) ๊ ใชน้ ิ้วชี้ข้างขวา (แปน้ เดยี วกันกับ )ี ฯ ใชน้ ว้ิ นางข้างขวา (แปน้ เดียวกนั กบั น) 97พิมพดีดไทยเบื้องตน
17.3 แบบฝึกหดั การพิมพแ์ ปน้ อักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ(ครูผสู้ อนอาจบอกให้ผู้เรียนปฏิบัติตามเปน็ จังหวะทลี ะตัวอกั ษรกอ่ น) คร้งั ที่ 1 ทืท์ ทืท์ ททื ์ ทืท์ ททื ์ ททื ์ ททื ์ ทืท์ ททื ์ ททื ์ ททื ์ ททื ์ ททื ์ ครั้งที่ 2 จ่าจา๋ จา่ จ๋า จ่าจ๋า จ่าจ๋า จา่ จ๋า จ่าจา๋ จา่ จ๋า จ่าจา๋ จ่าจา๋ ครั้งท่ี 3 สีส๊ สสี ๊ สีส๊ สสี ๊ สสี ๊ สสี ๊ สสี ๊ สีส๊ สีส๊ สสี ๊ สีส๊ สสี ๊ สสี ๊ สีส๊ ครั้งท่ี 4 สนฯส สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ ครง้ั ที่ 5 ดเดฌ ดเดฌ ดเดฌ ดเดฌ ดเดฌ ดเดฌ ดเดฌ ดเดฌ ดเดฌ ดเดฌ17.4 แบบฝึกหดั ทบทวนการพิมพ์แปน้ อกั ษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ ครงั้ ท่ี 1 ททท์ ททท์ ทท์ท ททท์ ททท์ ททท์ ทท์ท ททท์ ททท์ ททท์ ททท์ ครงั้ ที่ 2 ววาว๋ ววาว๋ ววาว๋ ววาว๋ ววาว๋ ววาว๋ ววาว๋ ววาว๋ ววาว๋ ววาว๋ ววาว๋ ครั้งท่ี 3 ววาว๊ ววาว๊ ววาว๊ ววาว๊ ววาว๊ ววาว๊ ววาว๊ ววาว๊ ววาว๊ ววาว๊ ววาว๊ ครงั้ ที่ 4 สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ สนสฯ ครง้ั ที่ 5 ฌดเด ฌดเด ฌดเด ฌดเด ฌดเด ฌดเด ฌดเด ฌดเด ฌดเด ฌดเด 98 พิมพ์ดีดไทยเบื้องต้น
17.5 แบบฝกึ หัดผสมคา� การพมิ พแ์ ป้นอกั ษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ 76 154 ครง้ั ที่ 1 82 เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ 156 ครัง้ ท่ี 2 87 เก๋า เกา๋ เกา๋ เก๋า เก๋า เก๋า เก๋า เกา๋ เกา๋ เก๋า เกา๋ เกา๋ เกา๋ เก๋า 142 ครั้งท่ี 3 79 เจ๊ง เจง๊ เจง๊ เจง๊ เจง๊ เจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง เจง๊ เจง๊ เจ๊ง เจง๊ เจง๊ เจง๊ เจ๊ง 136 ครง้ั ที่ 4 85 ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ 145 ครง้ั ท่ี 5 เฌอ เฌอ เฌอ เฌอ เฌอ เฌอ เฌอ เฌอ เฌอ เฌอ เฌอ เฌอ17.6 แบบฝึกหดั เพ่ือพฒั นาการพมิ พแ์ ป้นอักษร ์ ๋ ๊ ฯ ฌ(จบั เวลา 1 นาท)ี คร้งั ที่ 1 การเกณฑ์ทหาร เปน็ กฎเกณฑท์ ีจ่ ะตอ้ งกระท�าสา� หรบั ชายไทยท่ีมีอายุครบการเกณฑท์ หารซึง่ จะต้องเขา้ ท�าการคัดเลอื กเพือ่ เปน็ ทหารเกณฑ์ ซ่ึงแตล่ ะปีจะมีอย่สู องครั้งดว้ ยกนั ครั้งท่ี 2 การพูดหรือการสนทนา มักมหี ลาย ๆ คา� ท่ีใชก้ นั บอ่ ย ๆ เชน่ จ้า จา๋ จะ๊ นะจ๊ะ จ๊บุ จุบ๊ ฯลฯซ่งึ ค�าเหล่าน้ี มักจะใช้กบั คู่สนทนาในกลมุ่ วัยรุน่ โดยเฉพาะในโลกอินเทอร์เน็ต ครัง้ ที่ 3 วันนี้ฟุตบอลไทยเลน่ ได้เจ๋งมาก ถ้ามกี ารประชาสัมพันธ์ให้ดีกวา่ นี้ ก็จะมผี ทู้ เ่ี ข้ามาชมมากยงิ่ ข้ึน โดยเฉพาะองค์การท่ีชอื่ สมาคมฟตุ บอลแหง่ ประเทศไทย ครง้ั ที่ 4 การจัดต้ังองคก์ ารนกั วิชาชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย จะช่วยฝึกฝนใหเ้ ยาวชนท่เี รยี นในสายอาชีวศึกษา ไดใ้ ชอ้ งค์ความรแู้ ละทกั ษะวชิ าชพี อยา่ งเตม็ ท่ี ครง้ั ท่ี 5 กิจกรรมการรับขวญั นอ้ งใหม่ฯ เป็นปญั หาเกิดขน้ึ ทุกปี ในปนี ี้กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ ไดข้ อให้ระงบั การจดั กจิ กรรมดังกลา่ ว เพ่ือปอ้ งกนั ปัญหาท่ีอาจจะเกดิ ขึ้น 99 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
ตารางบนั ทึกการพัฒนาทักษะครัง้ ที่ วนั เดอื นปี จา� นวนดดี คา� ผดิ คา� สทุ ธิ คะเเนน ลายมอื ชอ่ื ผสู้ อน 1 2 3 4 5 รวมจา� นวนค�าสทุ ธิ ตารางบันทึกความก้าวหน้าในการพิมพ์ 4 5 มากกวา่ 20 คร้ังท่ี 20 19 1 23 18 17 ลายมือช่อื ผ้สู อน 16 วันเดอื นปี 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0วธิ กี ารบันทกึ : ให้กาเครอ่ื งหมาย √ หรือระบายสี ในช่องจา� นวนค�าสทุ ธทิ ีไ่ ด้ในแต่ละครั้ง 100 พิมพดีดไทยเบื้องตน
แบบฝกึ หดั ทบทวนความจ�ำ ใหผ้ ูเ้ รยี นกรอกตัวอักษรที่ไดท้ ำ� การฝึกพิมพแ์ ล้ว ตามแปน้ พิมพใ์ ห้ถกู ต้องบนั ทกึ การให้คะแนน จ�ำนวนความถูกตอ้ ง คะเเนนที่ได้ ลายมอื ชอื่ ผสู้ อน วนั เดือนปีแบบฝึกหดั คัดลายมอื ให้ผเู้ รยี นคัดลายมือตัวอักษรท่ไี ด้เรยี นแลว้บนั ทกึ การให้คะแนน คะเเนนความสวยงาม ลายมอื ชอื่ ผสู้ อน วนั เดอื นปี 101 พิมพ์ดีดไทยเบ้ืองต้น
การพมิ พเ พ่ือพฒั นาทักษะ 18หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ีความเร็วและความแมน ยําสาระการเรยี นรู้ 18.1 แบบฝกึ หดั การพิมพ์จบั เวลา 1 นาที 18.2 แบบฝกึ หัดการพิมพ์จบั เวลา 2 นาทีสมรรถนะการเรียนรู้ 1. แสดงความร้เู กีย่ วกบั การพิมพ์เพอ่ื พัฒนาทกั ษะความเรว็ และความแมน่ ย�า 2. ปฏบิ ตั ิการพมิ พ์เพอื่ พัฒนาทักษะความเร็วและความแม่นยา� 3. ปฏิบัตกิ ารพิมพส์ มั ผัสได้อยา่ งถกู ต้องและแม่นย�า 4. ปฏบิ ัตกิ ารบ�ารุงรกั ษาเครือ่ งพิมพไ์ ด้อย่างถกู ตอ้ ง 5. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และใช้วสั ดอุ ุปกรณอ์ ยา่ งประหยัด 6. ปฏิบตั ิตนโดยยึดหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบฝึกหัดการพิมพ์ การพิมพเ พ่ือพัฒนา แบบฝกึ หดั การพมิ พ์ จบั เวลา 1 นาที ทักษะความเรว็ เเละ จับเวลา 2 นาที ความเเมนยํา 102 พิมพดีดไทยเบื้องตน
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 18การพมิ พเ์ พื่อพฒั นาทักษะความเร็วและความแม่นย�า18.1 แบบฝึกหดั การพิมพ์จบั เวลา 1 นาที 86 154(ถ้าพิมพเ์ สรจ็ ก่อนหมดเวลา ให้พมิ พ์ซ้า� ขอ้ ความเดมิ จนกวา่ จะมหดเวลา) 75 คร้งั ที่ 1 122 พระพทุ ธเจ้าตรสั ทกุ คา� เป็นค�าจริงหมด ไมม่ เี ลน่ ทกุ อยา่ งเมอื่ ไดม้ าแล้วกย็ อ่ มตอ้ งสญู เสียใน 91 192ทสี่ ุด คนส่วนใหญเ่ คยสูญเสยี มากนั ทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นโภคทรพั ยไ์ ปจนถึงชีวติ 78 165 ครั้งท่ี 2 205 จริยธรรม หมายถึง การน�าความดงี ามภายในจิตใจ นา� การรู้กฎธรรมชาตใิ นหลักธรรมค�าสอน 81มาประพฤติปฏบิ ัตใิ ห้เกิดประโยชนใ์ นการด�าเนินชีวิต 165 186 ครั้งท่ี 3 สังคมไทยยังขาดคนกล้าทจ่ี ะตัดสินใจ หรือกลา้ ท่จี ะย่นื มอื เขา้ ไปช่วยเหลือผอู้ ่ืน หากไมจ่ า� เป็นหรอื อาจเห็นวา่ เปน็ เรื่องปกติธรรมดา จึงอยากเชิญชวนให้ผคู้ นในสังคมได้หนั มาชว่ ยกนั ทา� ความดี คร้ังที่ 4 ความหลงใหลในความงามของธรรมชาตริ มิ แมน่ �า้ กระบีใ่ นจังหวดั กระบข่ี องสองสามภี รรยาชาวนอรเ์ วย์และชาวจีนคนู่ ้ี เกือบจบลงด้วยโศกนาฏกรรม นายชยั อุบลจินดา ได้พยายามทุกอยา่ งเพอ่ืช่วยเหลอื นักท่องเท่ยี วจนกลายเปน็ วรี บุรุษ ครัง้ ที่ 5 การแสดงน�า้ ใจชว่ ยเหลือผเู้ ดอื ดร้อนโดยไม่หวงั สง่ิ ตอบแทน ท�าให้ชชั กลายเป็นแรงบันดาลใจและสร้างความหวังให้คนในสงั คมท่ีกา� ลังโหยหาคนทพ่ี ร้อมจะเสียสละเพื่อคนอนื่ สถานการณ์มกัเปล่ียนชีวติ ของคนเสมอ 103พิมพดีดไทยเบื้องตน
ตารางบันทกึ การพัฒนาทกั ษะครง้ั ที่ วันเดือนปี จ�านวนดดี ค�าผดิ ค�าสุทธิ คะเเนน ลายมอื ชอื่ ผสู้ อน 1 2 3 4 5 รวมจ�านวนคา� สุทธิ ตารางบนั ทึกความก้าวหนา้ ในการพมิ พ์ 4 5 มากกวา่ 20 ครง้ั ท่ี 20 19 1 23 18 17 ลายมือชอื่ ผูส้ อน 16 วนั เดือนปี 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0วิธีการบันทกึ : ให้กาเครือ่ งหมาย √ หรือระบายสี ในชอ่ งจ�านวนคา� สทุ ธิทไ่ี ดใ้ นแตล่ ะคร้ัง 104 พิมพดีดไทยเบื้องตน
18.2 แบบฝึกหัดการพิมพ์จบั เวลา 2 นาที 80 168(ถ้าพมิ พ์เสรจ็ กอ่ นหมดเวลา ให้พิมพซ์ า�้ ข้อความเดิม จนกวา่ จะหมดเวลา) 244 คร้งั ท่ี 1 88 การด�ารงชีวิตประจา� วัน การปฏบิ ตั งิ านต่าง ๆ จะไดร้ ับผลสา� เร็จจ�าเปน็ ตอ้ งอาศัยคณุ ธรรม 176 236จรยิ ธรรม หลายประการมาประกอบในการปฏบิ ตั งิ าน เช่น ความซอื่ สตั ยต์ ่อตนเอง ซง่ึ สัตยต์ อ่ สังคม 89ท�าส่ิงทีเ่ กดิ ประโยชน์และศีลธรรม คอื ไมเ่ หน็ แก่ตวั เอารัดเอาเปรียบผ้อู ่นื ไมอ่ ิจฉารษิ ยาผอู้ ่ืน 176 262 ครัง้ ท่ี 2 284 คณุ ธรรม หมายถงึ คณุ ลักษณะหรอื คณุ ความดีทงั้ หลายท่มี ีอยใู่ นคา� สอน ซง่ึ จะต้องนา� มาศึกษา 82จนเกิดความเข้าใจแลว้ นา� มาปฏิบัตโิ ดยยดึ ถอื เป็นหลักธรรมประจา� ใจ น�ามาประพฤติปฏบิ ัติตามส่ิงทดี่ ี 164งามเหล่านั้นใหป้ รากฏด้วยความส�านึกในความดีเหลา่ นน้ั 246 ครง้ั ที่ 3 301 ถา้ พิจารณาสภาพสังคมไทยในปัจจุบัน จะเหน็ ว่ามีความสบั สนยุง่ ยากเดือดรอ้ น วุ่นวายไม่สงบ 80สุข ขาดความรักสามัคคี การทจุ รติ คอร์รปั ชนั มีอยู่แทบทุกวงการ นบั เป็นความบกพรอ่ งในคุณธรรม 165ของบคุ คลในสังคมท่ีเป็นฉดุ รง้ั การพัฒนาประเทศให้ลา้ หลัง การขาดคุณธรรม จรยิ ธรรมกอ่ ใหเ้ กดิ 250ปญั หาใหญ่ ๆ หลายประการ 255 ครั้งท่ี 4 เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรชั ญาที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวทรงมีพระราชด�ารสั ช้ีแนะแนวทางในการด�าเนินชวี ิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด ตง้ั แตก่ อ่ นมีวกิ ฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและเมือ่ ภายหลังไดท้ รงเน้นย้�าแนวทางการแก้ไขเพือ่ ใหร้ อดพน้ และสามารถด�ารงอยู่ไดอ้ ยา่ งม่นั คงและยงั่ ยืนภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ัตน์และการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ คร้ังที่ 5 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นปรชั ญาทช่ี ีถ้ ึงแนวทางการด�ารงอยู่และปฏบิ ัตติ นของประชาชนในทกุ ระดบั ต้ังแตร่ ะดบั ครอบครวั ระดับชมุ ชนจนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพฒั นาและบริหารประเทศให้ดา� เนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพื่อให้ก้าวทันตอ่ โลกยคุ โลกาภิวตั น์ 105พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
ครง้ั ที่ 6 81 ความพอเพยี งหมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถงึ ความจ�าเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมรี ะบบ 160ภมู คิ มุ้ กนั ในตัวท่ดี ีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อนั เกดิ จากการเปลยี่ นแปลงทัง้ ภายนอกและ 243ภายใน ท้ังนจ้ี ะตอ้ งอาศยั ความรู้ ความรอบคอบ ความระมัดระวงั อยา่ งยง่ิ ในการน�าวชิ าตา่ ง ๆ มาใช้ใน 277การวางแผนและการดา� เนินการทุกขนั้ ตอน 89 ครง้ั ที่ 7 176 สถานศกึ ษาระดบั อาชีวศึกษาจะตอ้ งเข้าไปสัมผัสกับชุมชน เพอ่ื ทา� ให้ชุมชนนั้นรูส้ ึกว่าต้อง 266พึ่งพาอาศยั เห็นว่าพวกเขามปี ระโยชน์ เช่น สายไฟในหมูบ่ า้ นทชี่ �ารดุ จะช่วยซอ่ มไดอ้ ยา่ งไร ท่อ 303น้า� ประปารว่ั จะชว่ ยแก้ไขได้อยา่ งไร ซงึ่ กระบวนตา่ ง ๆ เหลา่ นจ้ี ะน�ามาซงึ่ ความรัก ความสามคั คี และ 88จะนา� มาซึ่งการสนบั สนนุ โดยหน่วยงานหรอื สถาบันท่มี ีกา� ลงั พรอ้ ม 175 คร้ังที่ 8 267 สงั คมของฝรง่ั มีเรอื่ งจติ อาสาเปน็ ปกตใิ นชุมชน คนที่ครอบครวั มีปัญหาก็สามารถเยยี วยาดว้ ย 306วิธจี ติ อาสา เพราะจะท�าให้เห็นวา่ โลกน้ียังมคี นทีท่ กุ ขย์ ากกว่าเราอกี มากมาย ฝรั่งมีครูข้างถนนเยอะ 85มาก เพราะคนเราไม่ใช่จะเทา่ เทยี มกนั ทง้ั หมด ยงั มีคนอดมอ้ื กินมือ้ อยมู่ าก คนท่ที ุกข์ทรมานในโลกน้ีมี 171มหาศาล ลืมตายังไม่รู้เลยว่าจะเอาอะไรกนิ 257 ครั้งท่ี 9 283 การท่อี งคก์ รมแี ต่คนเกง่ ก็ไม่ไดห้ มายความว่าจะท�าให้บริษทั อยรู่ อดปลอดภยั ไปจนตลอดรอด 102ฝัง ถา้ คนเก่งเหล่านน้ั ใชค้ วามเก่งในทางทผี่ ิด เชน่ การคอร์รัปชนั การยกั ยอกทรัพยส์ นิ ของบริษัท การ 204หลอกลวงผ้บู ริโภค การไม่ซอื่ สตั ย์ตอ่ ลูกคา้ การเอาเปรยี บคคู่ า้ ในทางทีไ่ มถ่ ูกไมค่ วร ฯลฯ กส็ ามารถท�า 305ให้บริษัทเสยี หายไดเ้ ช่นกัน 397 ครงั้ ที่ 10 408 ดงั นั้น จงึ ไมน่ ่าแปลกใจทว่ี ันน้มี หี ลายองค์กรได้เห็นความส�าคัญในการส่งเสริมบุคลากรให้เปน็คนดดี ว้ ยการรวมพลังกนั ตอ่ ตา้ นคอรร์ ัปชัน ซง่ึ เวลาพดู ถึงก็มักจะนกึ ถึงแต่หน่วยงานภาครฐั กอ่ นเสมอซึง่ ไมน่ า่ จะเปน็ เชน่ นน้ั และถา้ จะให้ดคี วรขยายผลไปท่ภี าคเอกชนให้ร่วมกันสง่ เสรมิ ใหค้ นในองคก์ รของตนเองเป็นคนดี มคี วามซ่อื สัตยส์ จุ ริตควบคูไ่ ปกบั การเปน็ คนเก่ง กน็ า่ จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ประเทศชาติ 106พิมพดีดไทยเบื้องตน
ตารางบนั ทกึ การพัฒนาทกั ษะคร้ังที่ วนั เดือนปี จ�านวนดีด คา� ผดิ คา� สทุ ธิ คะเเนน ลายมือช่อื ผสู้ อน 1 4 5 2 3 4 5 678910 รวม ตารางบนั ทกึ ความกา้ วหน้าในการพมิ พ์จา� นวนค�าสุทธิ 1 ครัง้ ท่ี มากกว่า 20 23 20 19 ลายมือช่ือผสู้ อน 18 วนั เดอื นปี 17 16 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0วธิ ีการบันทกึ : ใหก้ าเคร่อื งหมาย √ หรอื ระบายสี ในชอ่ งจา� นวนคา� สทุ ธทิ ่ไี ดใ้ นแตล่ ะครั้ง 107 พิมพดีดไทยเบื้องตน
จ�ำนวนคำ� สุทธิ ตารางบนั ทึกความก้าวหนา้ ในการพิมพ์ 9 10 มากกวา่ 20 ครง้ั ท่ี 20 19 6 78 18 17 ลายมือช่ือผูส้ อน 16 วนั เดือนปี 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 108 พิมพ์ดีดไทยเบ้ืองต้น
การพมิ พแปนตัวเลข 19หนว่ ยการเรยี นรู้ที่๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐สาระการเรียนรู้ 19.1 การพมิ พแ์ ปน้ ตวั เลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ 19.2 การวางน้วิ ในการพิมพ์แปน้ ตัวเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ 19.3 แบบฝึกหดั การพมิ พ์แป้นตัวเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ 19.4 แบบฝกึ หดั ทบทวนการพิมพ์แป้นตวั เลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ 19.5 แบบฝกึ หัดผสมคา� การพิมพแ์ ป้นตัวเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ 19.6 แบบฝึกหัดเพือ่ พัฒนาการพมิ พ์แปน้ ตัวเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐สมรรถนะการเรยี นรู้ 1. แสดงความรูเ้ กย่ี วกับการวางน้ิวและการพมิ พแ์ ป้นตวั เลข 2. ปฏบิ ตั ิการวางนว้ิ และการพมิ พแ์ ปน้ ตัวเลขไดถ้ ูกตอ้ ง 3. ปฏบิ ัติการพมิ พ์สัมผัสไดอ้ ย่างถกู ต้องและแม่นยา� 4. ปฏบิ ัติการบ�ารงุ รักษาเคร่ืองพิมพไ์ ด้อย่างถกู ต้อง 5. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และใช้วสั ดุอุปกรณ์อย่างประหยัด 6. ปฏบิ ตั ติ นโดยยึดหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งแบบฝกึ หัดเพอ่ื พัฒนาการพิมพ์ การพิมพเ เปน ตวั เลข การพิมพแ์ ปน้ ตวั เลขแป้นตวั เลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐ ๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐ การวางนวิ้ ในการพิมพแ์ ป้นตัวเลข ๙๐ แบบฝกึ หัดผสมค�าการพมิ พ์ ๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐แป้นตัวเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ แบบฝึกหดั การพมิ พ์แปน้ ตวั เลข ๙๐ ๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐ แบบฝึกหัดทบทวนการพิมพ์แปน้ ตวั เลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙๐ 109 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 19 การพิมพ์แป้นตัวเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐19.1 การพิมพ์แปน้ ตวั เลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ การพมิ พ์แปน้ ตัวเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ ผ้เู รียนจะตอ้ งมที ักษะการวางน้วิ ทถี่ กู ตอ้ งเเละช�ำนาญโดยการฝกึ พิมพ์แป้นตวั เลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ จากเเบบฝึกหัดการพมิ พ์เเละเเบบฝึกหัดการผสมคำ�19.2 การวางนิว้ ในการพมิ พแ์ ป้นตวั เลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ มอื ข้างซา้ ย มอื ขา้ งขวา ๐ ๑ ใชน้ ้ิวก้อยข้างซ้าย (แปน้ เดยี วกนั กบั ๆ) ๕ ใช้น้ิวกลางข้างขวา (แปน้ เดียวกันกับ ค) ๒ ใช้นิ้วนางขา้ งซ้าย ๖ ใช้นว้ิ นางข้างขวา (แป้นเดียวกันกับ ต) ๓ ใชน้ ว้ิ กลางข้างซ้าย ๗ ใชน้ ิ้วก้อยขา้ งขวา (แปน้ เดียวกนั กับ จ) ๔ ใชน้ ว้ิ กลางขา้ งซา้ ย (แปน้ เดยี วกนั กบั ภ) ๘ ใชน้ ิว้ กอ้ ยข้างขวา (แป้นเดยี วกนั กับ ข) ใชน้ ิ้วชี้ขา้ งซา้ ย (แปน้ เดยี วกันกับ ถ) ๙ ใช้นวิ้ ก้อยขา้ งขวา (แป้นเดยี วกันกับ ช) 110 พิมพ์ดีดไทยเบ้ืองต้น
19.3 แบบฝกึ หดั การพมิ พ์แป้นตวั เลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐)ครูผูส้ อนอาจบอกให้ผเู้ รียนปฏบิ ัติตามเป็นจงั หวะทีละตวั อกั ษรกอ่ น( ๐๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐ ๑๑๑ ๑๑๑ ๑๑๑ ๑๑๑ ๑๑๑ ๑๑๑ ๑๑๑ ๑๑๑ ๑๑๑ ๒๒๒ ๒๒๒ ๒๒๒ ๒๒๒ ๒๒๒ ๒๒๒ ๒๒๒ ๒๒๒ ๒๒๒ ๓๓๓ ๓๓๓ ๓๓๓ ๓๓๓ ๓๓๓ ๓๓๓ ๓๓๓ ๓๓๓ ๓๓๓ ๔๔๔ ๔๔๔ ๔๔๔ ๔๔๔ ๔๔๔ ๔๔๔ ๔๔๔ ๔๔๔ ๔๔๔ ๕๕๕ ๕๕๕ ๕๕๕ ๕๕๕ ๕๕๕ ๕๕๕ ๕๕๕ ๕๕๕ ๕๕๕ ๖๖๖ ๖๖๖ ๖๖๖ ๖๖๖ ๖๖๖ ๖๖๖ ๖๖๖ ๖๖๖ ๖๖๖ ๗๗๗ ๗๗๗ ๗๗๗ ๗๗๗ ๗๗๗ ๗๗๗ ๗๗๗ ๗๗๗ ๗๗๗ ๘๘๘ ๘๘๘ ๘๘๘ ๘๘๘ ๘๘๘ ๘๘๘ ๘๘๘ ๘๘๘ ๘๘๘ ๙๙๙ ๙๙๙ ๙๙๙ ๙๙๙ ๙๙๙ ๙๙๙ ๙๙๙ ๙๙๙ ๙๙๙19.4 แบบฝึกหดั ทบทวนการพิมพแ์ ป้นตวั เลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ ฟฟ๐๐ ฟฟ๐๐ ฟฟ๐๐ ฟฟ๐๐ ฟฟ๐๐ ฟฟ๐๐ ฟฟ๐๐ หห๑๑ หห๑๑ หห๑๑ หห๑๑ หห๑๑ หห๑๑ หห๑๑ กก๒๒ กก๒๒ กก๒๒ กก๒๒ กก๒๒ กก๒๒ กก๒๒ กก๒๒ กก๓๓ กก๓๓ กก๓๓ กก๓๓ กก๓๓ กก๓๓ กก๓๓ กก๓๓ ดด๔๔ ดด๔๔ ดด๔๔ ดด๔๔ ดด๔๔ ดด๔๔ ดด๔๔ ดด๔๔ รร๕๕ รร๕๕ รร๕๕ รร๕๕ รร๕๕ รร๕๕ รร๕๕ รร๕๕ รร๕๕ สส๖๖ สส๖๖ สส๖๖ สส๖๖ สส๖๖ สส๖๖ สส๖๖ สส๖๖ ว๗๘๙ ว๗๘๙ ว๗๘๙ ว๗๘๙ ว๗๘๙ ว๗๘๙ ว๗๘๙ ว๗๘๙ 111 พิมพ์ดีดไทยเบ้ืองต้น
19.5 แบบฝึกหดั ผสมค�าการพมิ พแ์ ปน้ ตัวเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ คร้งั ที่ 1 เลขที่ ๗๘๙ เลขที่ ๗๘๙ เลขท่ี ๗๘๙ เลขที่ ๗๘๙ เลขที่ ๗๘๙ คร้งั ท่ี 2 โทร ๑๐๑๒ โทร ๐๑๐๒ โทร ๐๑๐๒ โทร ๐๑๐๒ โทร ๐๑๐๒ ครั้งท่ี 3 รหัส ๕๖๔ รหสั ๕๖๔ รหสั ๕๖๔ รหัส ๕๖๔ รหสั ๕๖๔ รหสั ๕๖๔ ครั้งท่ี 4 ตอ่ ๑๒๓ ต่อ ๑๒๓ ตอ่ ๑๒๓ ต่อ ๑๒๓ ตอ่ ๑๒๓ ต่อ ๑๒๓ ต่อ ๑๒๓ ครง้ั ที่ 5 ท่ี ๕๖๗ ท่ี ๕๖๗ ท่ี ๕๖๗ ท่ี ๕๖๗ ท่ี ๕๖๗ ท่ี ๕๖๗ ท่ี ๕๖๗ ที่ ๕๖๗19.6 แบบฝกึ หดั เพ่อื พฒั นาการพมิ พแ์ ปน้ ตัวเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ ครง้ั ท่ี 1 ฉันอาศยั อยูท่ ี่ บ้านเลขท่ี ๑๐๖ หมู่ ๔ ซอย ๓ อ�าเภอเมอื ง จงั หวดั ลพบุรี รหัสไปรษณีย์ ๑๕๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๕๑๒๓๔๘๙ ครั้งท่ี 2 ขณะนว้ี ทิ ยาลยั กา� ลงั จะเปดิ รบั สมคั รนกั ศกึ ษาใหม่ ทจี่ บจากชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ และชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖รบั จ�านวนจา� กดั เพยี ง ๒๕๐ คนเทา่ นั้น ครั้งท่ี 3 จ�านวนประชากรในกลุ่มประเทศอาเชียน ประเทศไทยมีประชากรประมาณ ๖๗ ล้านคน ส่วนประเทศเวยี ดนามมีประชากร จ�านวน ๙๑ ล้านคน ครั้งท่ี 4 ข้อมูลที่แตล่ ะจังหวัดส่งมาให้กระทรวงครั้งล่าสุด เมื่อวนั ท่ี ๑๔ มนี าคม ๒๕๖๐ และไดม้ กี ารประกาศเปน็ทางการ เมอื่ วนั ท่ี ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๐ คร้ังที่ 5 คณะท�างานฉายภาพประชากรฯ ไดต้ ้ังข้อสมมุตวิ ่าความยนื ยาวชีวิตของประชากรไทยจะเพม่ิ ขึ้นไปอกี เร่ิมจากในปี ๒๕๔๘ ซ่ึงเป็นปฐี าน อายขุ ัยเฉล่ียเมอ่ื แรกเกิดของผชู้ ายเทา่ กับ ๖๘ ปี และของผ้หู ญงิ เทา่ กับ ๗๕ ปี 112 พิมพดีดไทยเบื้องตน
แบบฝกึ หดั ทบทวนความจ�ำ ใหผ้ ูเ้ รยี นกรอกตัวอักษรที่ไดท้ ำ� การฝึกพิมพแ์ ล้ว ตามแปน้ พิมพใ์ ห้ถกู ต้องบนั ทกึ การให้คะแนน จ�ำนวนความถูกตอ้ ง คะเเนนที่ได้ ลายมอื ชอื่ ผสู้ อน วนั เดือนปีแบบฝึกหดั คัดลายมอื ให้ผเู้ รยี นคัดลายมือตัวอักษรท่ไี ด้เรยี นแลว้บนั ทกึ การให้คะแนน คะเเนนความสวยงาม ลายมอื ชอื่ ผสู้ อน วนั เดอื นปี 113 พิมพ์ดีดไทยเบ้ืองต้น
การพมิ พเ พอื่ พฒั นาทกั ษะ 20หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ีความเรว็ และความแมนยาํสาระการเรียนรู้ 20.1 แบบฝึกหดั การพมิ พจ์ บั เวลา 1 นาที 20.2 แบบฝกึ หดั การพิมพจ์ ับเวลา 2 นาที 20.3 แบบฝึกหัดการพิมพ์เพอ่ื พฒั นาทกั ษะความเร็วและความแม่นยา�สมรรถนะการเรยี นรู้ 1. แสดงความรู้เกยี่ วกับการพิมพ์เพอ่ื พัฒนาทักษะความเรว็ และความแม่นยา� 2. ปฏบิ ตั ิการพิมพ์เพื่อพฒั นาทกั ษะความเร็วและความแมน่ ย�า 3. ปฏบิ ตั ิการพมิ พส์ ัมผัสได้อยา่ งถูกต้องและแมน่ ยา� 4. ปฏิบัติการบา� รงุ รักษาเครอื่ งพิมพไ์ ด้อยา่ งถูกตอ้ ง 5. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และใชว้ สั ดอุ ุปกรณอ์ ยา่ งประหยดั 6. ปฏิบตั ติ นโดยยดึ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งแบบฝกึ หดั การพิมพ์เพอื่ แบบฝึกหัดการพมิ พ์พัฒนาทักษะความเร็วและ จับเวลา 1 นาที ความแมน่ ย�า การพมิ พเ พื่อพัฒนาทกั ษะ ความเร็วเเละความเเมนยํา แบบฝกึ หัดการพมิ พ์ จบั เวลา 2 นาที 114 พิมพดีดไทยเบื้องตน
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 20 การพิมพเ์ พอ่ื พัฒนาทักษะความเรว็ และความแม่นยา�20.1 แบบฝกึ หดั การพิมพจ์ บั เวลา 1 นาที คร้ังที่ 1 โครงการพระราชด�าริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชดา� ริของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เชน่ โครงการเกยี่ วกับดนิ น้า� ปา่ และวิศวกรรมหน่วยงานราชการพิเศษที่ประสานงานโครงการ คือ ส�านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชด�าริ ครัง้ ท่ี 2 การพัฒนาการเรียนรู้และการพัฒนานักเรียนเป็นปัจจัยหลักที่ส�าคัญในการจัดกระบวนการให้ผู้เรียนเข้าสู่มาตรฐานและได้รับการพัฒนาตนเอง กระบวนการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส�าคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ศกั ยภาพ ครง้ั ท่ี 3 สถาบนั การศกึ ษาทกุ ๆ แหง่ ควรจะเรง่ ปลกู ฝงั นสิ ยั การรกั การอา่ นใหเ้ ขา้ สจู่ ติ ใจของครอู าจารยแ์ ละนกั เรยี นทุกคน เพราะหนงั สอื น้นั เปรียบเสมือนการย่อโลกทง้ั ใบมาไว้ในมอื เรา เปรยี บเสมือนการได้เรียนร้สู ง่ิ ต่าง ๆ ไดโ้ ดยท่ีเราไม่จ�าเปน็ ตอ้ งเจ็บตัวเสยี เวลาไปลองผดิ ลองถกู แต่ในปัจจบุ ันถือวา่ การรณรงค์ให้เยาวชนไทยรกั การอา่ นน้ันยงั ไม่ประสบความส�าเรจ็ เทา่ ท่คี วร คร้งั ท่ี 4 ผู้ประกาศท่ีดีต้องมีลีลาในการใช้เสียงเพ่ือสื่อความหมายอย่างเป็นธรรมชาติ เม่ือได้รับบทผู้ประกาศต้องสามารถตีความบทที่ได้รับและใช้น้�าเสียงถ่ายทอดความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม ควรรู้ว่าเมื่อใดควรเว้นวรรค เม่ือใดควรเนน้ นา�้ หนักเสียง เม่อื ใดควรจรงิ จัง เมื่อใดควรผอ่ นเสยี งใหม้ คี วามเป็นกันเอง เปน็ ต้น คร้ังท่ี 5 สถิติบรรยาย ใช้เพื่ออธิบายข้อมูลทเ่ี กบ็ รวบรวมไดก้ ารเลือกใชข้ ้นึ กบั วตั ถุประสงค์การวิจัย ชนดิ ของตวั แปรเพ่ือวเิ คราะหแ์ ลว้ จะนา� เสนอดว้ ยตารางหรือแผนภูมิ ตามความเหมาะสม สถิติบรรยายทอี่ ธบิ ายลักษณะตวั แปรเชิงปริมาณ 115 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
ตารางบันทกึ การพฒั นาทักษะครัง้ ที่ วนั เดือนปี จา� นวนดีด ค�าผิด คา� สุทธิ คะเเนน ลายมอื ชอื่ ผสู้ อน 1 2 3 4 5 รวมจา� นวนคา� สทุ ธิ ตารางบนั ทกึ ความก้าวหนา้ ในการพมิ พ์ 4 5 มากกว่า 20 ครง้ั ที่ 20 19 1 23 18 17 ลายมือชอื่ ผู้สอน 16 วันเดอื นปี 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 116 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
20.2 แบบฝึกหดั การพมิ พจ์ ับเวลา 2 นาที ครัง้ ที่ 1 การคน้ พบตวั เอง และรถู้ งึ ความชอบ ความสามารถของตวั เอง นา� ไปสกู่ ารมเี ปา้ หมายทชี่ ดั เจนในการดา� เนนิชวี ิต ท�าให้รู้วา่ ควรจะเลอื กเรยี นอะไร เพ่ือสรา้ งเส้นทางไปสอู่ าชีพในฝัน แต่ปจั จบุ นั เด็กไทยบางส่วน ยังคน้ หาตัวเองไมเ่ จอ บางคนเลือกเรียนตามค่านิยม หรอื เลอื กตามเพอ่ื น ทา� ให้ตอ้ งเรยี นในส่งิ ที่ตัวเองไมช่ อบหรอื ไม่ถนดั และในท่ีสุดก็จะไม่มีความสุขกับการเรียน พอกา้ วเข้าสู่วยั ท�างานกย็ ังหาความสขุ ไม่ได้ เพราะไม่ได้ทา� งานทตี่ ัวเองรกั ส่งผลกระทบตอ่ การด�าเนนิ ชีวิต ไม่วา่ จะเป็นการเปลีย่ นงานบอ่ ย ถกู เลิกจ้าง ขาดความมน่ั คงในชีวติ ครั้งท่ี 2 การเรียนอาชีวศึกษาเวลานี้คงต้องพูดถึง ๒ ส่วน โดยส่วนแรกเป็นความต้องการก�าลังคนในสาขาอาชีพตา่ ง ๆ จากข้อมูลสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทยที่แจ้งถงึ การขาดแคลนหลายสาขา โดยเฉพาะความต้องการ ๑๔กลุ่มอตุ สาหกรรม และด้วยทีเ่ รามีภารกจิ ผลติ และพฒั นากา� ลงั คน ซ่งึ ไดจ้ ัดการเรียนการสอนครอบคลุมทุกสาขาท่มี ีความตอ้ งการอยู่แล้ว แต่บางสาขาทผ่ี ลติ อาจยงั ไม่เพยี งพอ ครง้ั ที่ 3 การเรียนอาชีวศึกษาในปัจจุบันมีการท�าความร่วมมือกับสถานศึกษาและสถานประกอบการในประเทศอาเซียนและอีกหลายประเทศ นักเรียนนักศึกษาเดินทางไปฝึกงาน ฝึกอาชีพและแลกเปลี่ยนกับประเทศต่าง ๆนอกจากได้ประสบการณ์การท�างานแล้ว ยังเป็นการฝึกฝนทักษะด้านภาษาและเรียนรู้วัฒนธรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรที่เป็นมาตรฐานอาเซียน ส่วนอีกด้านท่ีอาจยังไม่ทราบส�าหรับการเรียนอาชีวศึกษาคือการรับค่าตอบแทนจากการทา� งาน บางสาขาได้รบั ค่าตอบแทนสงู อย่างเช่น ปโิ ตรเคมี พาณชิ ย์นาวีและอีกหลายสาขาดา้ นอตุ สาหกรรมที่ยงั มคี วามตอ้ งการ ขาดแคลนมาก ครงั้ ที่ 4 การเลน่ กรอื โตะ๊ นยิ มเลน่ กนั ในวนั สา� คญั ของหมบู่ า้ นหรอื หลงั จากการเกย่ี วขา้ ว โดยแตล่ ะหมบู่ า้ นจะนา� กรอืโตะ๊ ท่มี ีอย่ใู นหมูบ่ ้านประมาณ ๕ ถงึ ๑๐ ใบ หรอื แลว้ แต่ตกลงกัน มาตปี ระชันแขง่ ขนั กนั เปน็ ทีม ทมี ไหนทมี่ ีผตู้ ีกรอืโตะ๊ ไดเ้ สยี งดงั มคี วามพรอ้ มและอดทนในการตกี รอื โตะ๊ ไดน้ านกวา่ ทมี อนื่ กจ็ ะเปน็ ฝา่ ยชนะ ผลชนะของทมี เสมอื นวา่เป็นการชนะของคนท้ังหมู่บ้าน การตีกรือโต๊ะ นอกจากจะเป็นการตีเพ่ือความสนุกสนานแล้วยังแสดงออกถึงความสมานสามคั คขี องคนในชุมชนอีกด้วย ครง้ั ที่ 5 เครอื่ งดนตรีกนั ตรึม ประกอบด้วย ปีออ้ ๑ เลา ซอกนั ตรึมหรอื ซอกลาง ๑ คัน กลองโทน ๒ ใบ เครอื่ งประกอบจังหวะมีฉิ่ง ฉาบ กรับ ท�านองเพลงใช้แมบ่ ทเพลงพื้นบ้าน เชน่ มะโลบ้ โดง ผการัญเจก โอมตกุ๊ สบื ทอดกันมาจากพอ่ ครแู มค่ รเู พลง เนอื้ เพลงทใี่ ชร้ อ้ งจะเปน็ ภาษาเขมรสงู มเี นอ้ื หาทสี่ ะทอ้ นถงึ ความเปน็ มา ความรกั และการบรรยายให้เห็นถึงวิถชี ีวิตความเป็นอยู่ ผู้เลน่ ส่วนใหญจ่ ะเปน็ ผชู้ าย จ�านวน ๔ ถึง ๕ คน 117 พิมพดีดไทยเบื้องตน
ตารางบันทกึ การพฒั นาทักษะครัง้ ที่ วนั เดือนปี จา� นวนดีด ค�าผิด คา� สุทธิ คะเเนน ลายมอื ชอื่ ผสู้ อน 1 2 3 4 5 รวมจา� นวนคา� สทุ ธิ ตารางบนั ทกึ ความก้าวหนา้ ในการพมิ พ์ 4 5 มากกว่า 20 ครง้ั ที่ 20 19 1 23 18 17 ลายมือชอื่ ผู้สอน 16 วันเดอื นปี 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 118 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
20.3 แบบฝึกหดั การพมิ พเ์ พื่อพฒั นาทักษะความเร็วและความแมน่ ย�า ครัง้ ที่ 1 ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชาชนส่วนใหญ่เลี้ยงชีพโดยอาศัยความอุดมสมบูรณ์ของดินมาชา้ นาน แผน่ ดินจึงเป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศอยา่ งแท้จรงิ ด้วยพระปรชี าญาณอันย่ิงใหญ่ พระบาทสมเดจ็พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชทรงตระหนกั ถงึ ความเสอื่ มโทรมของดนิ อนั เกดิ จากสาเหตทุ างธรรมชาติ เชน่ บางแห่งเปน็ ดินเปร้ยี ว ดินด่าง ดนิ เค็ม และบางแหง่ ก็ไม่มีดนิ เลย นอกจากน้ี ความเส่อื มโทรมของดนิ ยังเกิดจากการกระท�าอันรู้เท่าไมถ่ ึงการณ์ของประชาชน เช่น การตัดไมท้ า� ลายป่า และการใชพ้ ืน้ ทีโ่ ดยขาดการอนรุ กั ษ์ จงึ พระราชทานแนวพระราชด�าริในการป้องกัน แก้ไข และพัฒนาทรัพยากรดินเป็นอเนกประการ ซ่ึงล้วนแต่น�าประโยชน์สุขมาสู่เกษตรกรท่ัวประเทศ ครั้งท่ี 2 ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กล่าวถึงการเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและรูปแบบทวิศึกษา การเพิ่มโอกาสการศึกษาด้านวิชาชีพและโอกาสในตลาดแรงงานว่า จากนโยบายการพัฒนาศักยภาพก�าลังคนของรัฐบาลสู่นโยบายกระทรวงศึกษาธิการซึ่งต้องการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนอาชีวศึกษาให้เป็นมาตรฐานสากล เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั การพัฒนาความสามารถการแขง่ ขนั ของประเทศ โดยประสานและยกระดับความรว่ มมือกบั ภาครฐั ภาคเอกชนและทกุ ภาคส่วนร่วมกนั ขับเคลอ่ื น กา� หนดแนวทางการพัฒนาก�าลังคน เพ่อื ใหส้ อดคล้องกบัความตอ้ งการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ ครั้งที่ 3 ๑๔ กลมุ่ อตุ สาหกรรมทมี่ คี วามตอ้ งการจากการสา� รวจ บางกลมุ่ อาจมตี วั เลขลดลงเนอื่ งดว้ ยสภาวะเศรษฐกจิในปัจจุบัน แต่ยังคงอยู่ในกลุ่มเหล่าน้ีด้วยเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมหลักซ่ึงยังคงต้องใช้ช่างฝีมือที่มีทักษะสูง ส่วนเรียนแลว้ ไมต่ กงานขน้ึ อยกู่ บั ความสามารถ การพฒั นาศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คล อกี ทง้ั การมวี นิ ยั ความซอื่ สตั ย์ อดทนยอ่ มมีโอกาสในตลาดงาน การจัดการศึกษาระบบทวิภาคีผู้เรียนมีโอกาสจะได้งานท�า ทั้งนี้ผู้เรียนใช้เวลาในสถานศึกษาอาชีวศึกษาและเรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ ฝึกฝนเรียนรู้กับของจริงต่อเนื่องจึงท�าให้เกิดความเช่ียวชาญชา� นาญ เม่ือเรียนจบหากผา่ นการทดสอบมาตรฐานฝีมอื แรงงานยิ่งมผี ลต่อคา่ ตอบแทนซ่ึงเป็นไปตามคุณวฒุ ิวิชาชพี ครั้งท่ี 4 การขาดแคลนส่วนหนง่ึ มาจากคา่ นิยม ขาดความเข้าใจทแี่ ท้จรงิ เกยี่ วกับการเรียนอาชวี ศึกษา คงต้องผสานความรว่ มมอื ชว่ ยกนั สง่ เสรมิ ฝมี อื ชน คนสรา้ งชาติ สง่ิ นม้ี คี วามชดั เจน ฝมี อื ชนไมไ่ ดห้ มายถงึ ทกั ษะทว่ั ไปหรอื พดู ถงึ การเรียนอาชวี ศึกษาทีผ่ า่ นมา ปัจจุบันอาชีวศึกษามเี รยี นต่อเนื่องถึงระดับปริญญาตรีเป็นการเรยี นที่ไมไ่ ดม้ แี ต่ฝมี อื แต่มีเรอ่ื งของทกั ษะการจดั การ การคดิ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ อาชวี ศกึ ษารนุ่ ใหมท่ ค่ี รบดว้ ยทกั ษะอาชพี และการบรหิ ารจดั การ อกีทงั้ จดุ หมายการเรยี นไมไ่ ดเ้ รยี นจบเพอื่ ทา� งานในสถานประกอบการอยา่ งเดยี ว แตม่ คี วามพรอ้ มประกอบอาชพี อสิ ระเป็นเจา้ ของธุรกจิ ของตนเอง 119 พิมพดีดไทยเบื้องตน
ครง้ั ท่ี 5 ประวัติความเป็นมาของการเซิ้งผ้าหม่ี พบว่ามีมานานแล้วเกิดมาก็เห็นการเซ้ิงผ้าหมี่ และจากการศึกษาเอกสารของโรงเรียนชุมชนบ้านขวาวสันนิษฐานว่าได้รูปแบบมาจากประเทศลาว โดยผู้เซ้ิงจะต้องเป็นผู้ชายเท่านั้นไมจ่ า� กดั ว่าอายุเทา่ ไร และการเซง้ิ จะเซ้งิ ในงานประเพณบี ญุ บั้งไฟโดยเซ้งิ กอ่ นวนั งาน ๓ วันปจั จุบนั เซ้ิงก่อนวันงาน๑ วนั ความเช่อื คา่ นยิ มการเซง้ิ ผา้ หม่ี ชาวบ้านขวาวมีความเช่ือในเรือ่ งผี เทวดา และสิง่ ศักด์ิสทิ ธ์ิ การเซิง้ ผา้ หมี่ ชาวบ้านจะเชือ่ และมคี วามศรทั ธา ที่พรอ้ มเพรยี งกนั โดยไมม่ กี ารบังคบั มาเซิ้ง เพอื่ การรา� เซงิ้ ถวายแด่พญาแถนบนสรวงสวรรคใ์ หป้ ระทานฝน เพอื่ ทา� ไร่ ทา� นา และอกี อยา่ งหนงึ่ เพอื่ ถวายสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธใิ์ นหมบู่ า้ นไดป้ กปกั รกั ษาคนในหมบู่ า้ นไดอ้ ยูอ่ ยา่ งมีความสุขอุดมสมบูรณ์ 120 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
การพมิ พเครอ่ื งหมาย 21หน่วยการเรียนรูท้ ่ี/ - ” , () ? .สาระการเรียนรู้ 21.1 การพมิ พเ์ คร่ืองหมาย / - “ , ( ) ? . 21.2 การวางน้วิ ในการพิมพเ์ คร่ืองหมาย / - “ , ( ) ? . 21.3 แบบฝกึ หัดการพิมพ์เครื่องหมาย / - “ , ( ) ? . 21.4 แบบฝึกหัดทบทวนการพมิ พเ์ ครื่องหมาย / - “ , ( ) ? . 21.5 แบบฝึกหดั ผสมคา� การพมิ พ์เครอื่ งหมาย / - “ , ( ) ? . 21.6 แบบฝึกหดั เพือ่ พัฒนาการพิมพ์เครอ่ื งหมาย / - “ , ( ) ? .สมรรถนะการเรียนรู้ 1. แสดงความร้เู กีย่ วกับการวางนวิ้ และการพมิ พ์แป้นเครื่องหมาย 2. ปฏบิ ัตกิ ารวางน้ิวและการพมิ พ์แป้นเครื่องหมาย 3. ปฏบิ ัติการพมิ พส์ ัมผสั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและแมน่ ยา� 4. ปฏบิ ัติการบา� รุงรกั ษาเครื่องพมิ พ์ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 5. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และใชว้ ัสดุอุปกรณ์อย่างประหยดั 6. ปฏบิ ัติตนโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบฝกึ หดั เพ่อื พฒั นาการพมิ พ์ การพิมพเ คร่ืองหมาย การพิมพเ์ ครื่องหมายเคร่ืองหมาย / - “ , ) ( ? . / - ” ' () ? . /-“,)(?. การวางน้วิ ในการพิมพ์ แบบฝึกหดั ผสมคา� การพิมพ์ เครือ่ งหมาย / - “ , ) ( ? .เครอ่ื งหมาย / - “ , ) ( ? . แบบฝกึ หัดการพิมพ์ เครอื่ งหมาย / - “ , ) ( ? . แบบฝกึ หดั ทบทวนการพิมพ์เครือ่ งหมาย / - “ , ) ( ? . 121 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
การพมิ พห์เคนรว่ อ่ืยงกหามราเรยยี น/ร-้ทู ่ี“21, ) ( ? .21.1 การพิมพเ์ ครื่องหมาย / - “ ' ) ( ? . การพิมพ์แป้นเคร่ืองหมาย / - “ , ( ) ? . ผู้เรียนจะต้องมีทักษะการวางน้ิวที่ถูกต้องเเละช�ำนาญโดยการฝึกพิมพ์แป้นเครือ่ งหมาย / - “ , ( ) ? . จากเเบบฝึกหัดการพิมพเ์ เละเเบบฝกึ หดั การผสม21.2 การวางนิ้วในการพิมพเ์ ครือ่ งหมาย / - “ ' ) ( ? . มือขา้ งซ้าย มอื ขา้ งขวา/ ใชน้ ว้ิ นางขา้ งซา้ ย (แปน้ เดยี วกนั กบั ๑) , ใช้นวิ้ ก้อยข้างขวา (แป้นเดียวกนั กับ ล)- ใชน้ วิ้ กลางขา้ งซา้ ย (แปน้ เดยี วกนั กบั ๒) ? ใชน้ ิว้ ช้ีข้างขวา (แป้นเดยี วกันกับ ท)“ ใชน้ ว้ิ นางข้างซา้ ย (แปน้ เดียวกนั กบั ไ) . ใชน้ ้ิวก้อยขา้ งขวา (แป้นเดียวกันกบั ง)( ใชน้ ิว้ ก้อยข้างซา้ ย (แป้นเดยี วกันกับ ผ)) ใชน้ ิ้วนางข้างซา้ ย (แปน้ เดยี วกันกบั ป) 122 พิมพ์ดีดไทยเบ้ืองต้น
21.3 แบบฝกึ หัดการพิมพเ์ ครื่องหมาย / - “ ' ) ( ? .)ครูผสู้ อนอาจบอกให้ผเู้ รยี นปฏิบัตติ ามเป็นจงั หวะทลี ะตวั อักษรกอ่ น( ครั้งที่ 1 ห/ห ห/ห ห/ห ห/ห ห/ห ห/ห ห/ห ห/ห ห/ห ห/ห ห/ห ห/ห ห/ห ครั้งที่ 2 กก-ก กก-ก กก-ก กก-ก กก-ก กก-ก กก-ก กก-ก กก-ก กก-ก กก-ก ครั้งท่ี 3 (ผป) (ผป) (ผป) (ผป) (ผป) (ผป) (ผป) (ผป) (ผป) (ผป) (ผป) (ผป) คร้งั ที่ 4 วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. ครั้งท่ี 5 ทท? ทท? ทท? ทท? ทท? ทท? ทท? ทท? ทท? ทท? ทท? ทท? ทท?21.4 แบบฝกึ หัดทบทวนการพมิ พ์เครอ่ื งหมาย / - “ ' ) ( ? . ครัง้ ท่ี 1 “หไห/ห” “หไห/ห” “หไห/ห” “หไห/ห” “หไห/ห” “หไห/ห” “หไห/ห” ครง้ั ที่ 2 ก�ำก-ก กำ� ก-ก ก�ำก-ก กำ� ก-ก ก�ำก-ก ก�ำก-ก ก�ำก-ก ก�ำก-ก กำ� ก-ก ครง้ั ท่ี 3 ฟผฟ(ฟ) ฟผฟ(ฟ) ฟผฟ(ฟ) ฟผฟ(ฟ) ฟผฟ(ฟ) ฟผฟ(ฟ) ฟผฟ(ฟ) ฟผฟ(ฟ) ครั้งที่ 4 วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. วล,ว. ครง้ั ท่ี 5 ท่ท?ท ท่ท?ท ทท่ ?ท ท่ท?ท ทท่ ?ท ทท่ ?ท ท่ท?ท ท่ท?ท ทท่ ?ท ทท่ ?ท 123 พิมพ์ดีดไทยเบื้องต้น
21.5 แบบฝกึ หดั ผสมค�าการพิมพ์เคร่ืองหมาย / - “ ' ) ( ? . ครั้งที่ 1 ฝ่าย/งาน ฝา่ ย/งาน ฝา่ ย/งาน ฝ่าย/งาน ฝา่ ย/งาน ฝ่าย/งาน ครง้ั ท่ี 2 พ.ศ.- พ.ศ.- พ.ศ.- พ.ศ.- พ.ศ.- พ.ศ.- พ.ศ.- พ.ศ.- พ.ศ.- พ.ศ.- ครง้ั ท่ี 3 (ปลา) (ปลา) (ปลา) (ปลา) (ปลา) (ปลา) (ปลา) (ปลา) (ปลา) คร้ังที่ 4 วาง, วาง, วาง, วาง, วาง, วาง, วาง, วาง, วาง, วาง, วาง, วาง, ครั้งที่ 5 “ท�าไม?” “ท�าไม?” “ท�าไม?” “ทา� ไม?” “ท�าไม?” “ท�าไม?”21.6 แบบฝึกหัดเพื่อพัฒนาการพมิ พ์เครือ่ งหมาย / - “ ' ) ( ? . ยครง้ั ที่ 1การจัดท�าแผนงาน จะประกอบด้วย โครงการ/กิจกรรม/งาน โดยแต่ละหน่วยงานจะต้องน�าไปปฏิบัติเพอ่ื ให้เปน็ ไปตามโครงการ/กจิ กรรม/งาน น้นั ๆ ครง้ั ที่ 2 ยุทธศาสตรก์ ารบรหิ ารจัดการสถานศึกษา เรอ่ื ง “นโยบายและแผนงาน” ฉบับท่ี ๑ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)และฉบับท่ี ๒ จะอยใู่ นช่วง พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ เปน็ การเตรียมความพร้อมในการบรหิ ารจัดการ ครั้งที่ 3 ผอ.กลมุ่ สถานศกึ ษาระดบั อาชวี ศกึ ษา ไดน้ ดั หมายใหม้ กี ารประชมุ หารอื กนั ในวนั ที่ ๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑ระหว่างเวลา ๙.๐๐ น. – ๑๒.๐๐ น. ณ. ห้องประชมุ ของเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา ครง้ั ที่ 4 ร.ต.อ.นายหนึง่ ไดเ้ ข้าชว่ ยเหลอื นักศึกษาทีป่ ระสบอุบัติเหตุรถยนตช์ นกัน ตอ้ งขอบพระคุณ ร.ต.อ.ทา่ นนัน้ดว้ ย ท่ีไดเ้ ข้าชว่ ยเหลอื อยา่ งทนั ทว่ งที แตท่ า� ไม? ไทยมุงทัง้ หลายจึงยนื เฉย ๆ ครง้ั ท่ี 5 ฝา่ ย/สาขาวชิ าทไ่ี ดส้ ง่ รายงานการประชมุ เรยี บรอ้ ยแลว้ ใหส้ ง่ งานทย่ี งั คา้ งอยู่ เชน่ บนั ทกึ หลงั การสอน, สมดุประเมนิ ผล, คะแนนการสอบ ฯลฯ ไดท้ ่ฝี า่ ยวิชาการ 124 พิมพดีดไทยเบื้องตน
แบบฝกึ หดั ทบทวนความจ�ำ ใหผ้ ูเ้ รยี นกรอกตัวอักษรที่ไดท้ ำ� การฝึกพิมพแ์ ล้ว ตามแปน้ พิมพใ์ ห้ถกู ต้องบนั ทกึ การให้คะแนน จ�ำนวนความถูกตอ้ ง คะเเนนที่ได้ ลายมอื ชอื่ ผสู้ อน วนั เดือนปีแบบฝึกหดั คัดลายมอื ให้ผเู้ รยี นคัดลายมือตัวอักษรท่ไี ด้เรยี นแลว้บนั ทกึ การให้คะแนน คะเเนนความสวยงาม ลายมอื ชอื่ ผสู้ อน วนั เดอื นปี 125 พิมพ์ดีดไทยเบ้ืองต้น
การพิมพเพ่ือพัฒนาทักษะ 22หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ความเร็วและความแมนยาํสาระการเรียนรู้ 22.1 แบบฝกึ หดั การพมิ พจ์ ับเวลา 1 นาที 22.2 แบบฝกึ หดั การพมิ พจ์ บั เวลา 2 นาที 22.3 แบบฝกึ หดั การพิมพ์เพ่อื พัฒนาทักษะความเรว็ และความแม่นย�าสมรรถนะการเรียนรู้ 1. แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับการพมิ พเ์ พอื่ พัฒนาทักษะความเรว็ และความแม่นยา� 2. ปฏบิ ัติการพิมพ์เพอ่ื พฒั นาทักษะความเรว็ และความแม่นยา� 3. ปฏิบตั กิ ารพมิ พ์สัมผัสไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและแม่นย�า 4. ปฏบิ ัติการบา� รงุ รักษาเคร่ืองพมิ พ์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 5. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์อยา่ งประหยัด 6. ปฏิบตั ิตนโดยยดึ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงเ เ บ บ ฝ ึ ก หั ด ก า ร พิ ม พ ์ เเบบฝึกหัดการพิมพ์เพื่อพัฒนาทักษะความเร็ว จบั เวลา 1 นาทีและความแมน่ ยา� การพมิ พเพอื่ พฒั นาทกั ษะ ความเร็วเเละความเเมน ยํา เเบบฝกึ หัดการพมิ พจ์ ับ เวลา 2 นาที 126 พิมพดีดไทยเบื้องตน
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 22 การพมิ พ์เพื่อพัฒนาทกั ษะความเรว็ และความแม่นยา�22.1 แบบฝกึ หดั การพมิ พจ์ ับเวลา 1 นาที ครั้งที่ 1 เมอ่ื วันที่ ๒๗ เมษายนทผ่ี า่ นมา นายประสงค์ ปรีรยาจติ ต์ เลขาธิการคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปราบการทจุ รติ ในภาครฐั (ป.ป.ท.) ในฐานะเลขาฯ ศูนย์อ�านวยการต่อต้านการทจุ ริตแห่งชาติ (ศอตช.) แถลงผลการตรวจสอบโครงการอดุ กลบบอ่ น้า� บาดาลปีงบประมาณ ๒๕๕๒-๒๕๕๘ พบข้อพริ ธุ และมีเหตุอนั ควรสงสยั คร้งั ท่ี 2 หลักธรรมาธิบาลมีหัวใจสา� คญั ๖ เรื่อง คือ หลักนติ ธิ รรม หลกั คณุ ธรรม หลกั ความโปรง่ ใส หลักการมสี ว่ นร่วม หลกั ความรับผิดชอบ และหลักความคมุ้ ค่า สิง่ ที่ กต.ตร.ของเราได้รับมอบหมาย คอื หลกั การมีสว่ นรว่ มในการบริหารราชการ ตัวแทนภาคประชาชนที่คัดเลือกมาท�าหน้าที่แทนประชาชน กต.ตร.จึงมีความส�าคัญและมีหน้าที่สา� คญั คร้งั ที่ 3 ตามระเบียบ ก.ต.ช.ว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานต�ารวจ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๑ ข้อ ๑๑ กต.ตร.จังหวดั มีอา� นาจหน้าที่ แต่งตง้ั คณะอนกุ รรมการ คณะทา� งาน หรือท่ีปรึกษา เพื่อดา� เนินการอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งตามที่ กต.ตร.จังหวัด มอบหมาย น้นั ครงั้ ท่ี 4 พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ การอาชวี ศกึ ษา การฝกึ อบรมวชิ าชพี ให้จดั ในสถานศกึ ษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรอื โดยความรว่ มมือระหว่างสถานศกึ ษากับสถานประกอบการทง้ั นีใ้ หเ้ ป็นไปตากฎหมายวา่ ดว้ ยการอาชีวศกึ ษาและกฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ้ ง คร้งั ที่ 5 ความเหมาะสมกับต�าแหน่งพนักงานขาย จะต้องมีทักษะในการรับฟังและจับใจความ แสดงกิริยาท่ีสุภาพและเหมาะสมในการตอบข้อซกั ถามกับผู้อนื่ สามารถปรบั ตัวเข้ากบั สง่ิ แวดล้อมและผอู้ ่ืนได้งา่ ย สามารถระบสุ ภาวะอารมณ์ของตนเองทีเ่ กดิ ข้นึ ในสถานการณต์ ่าง ๆ ได้ประสบการณต์ ่าง ๆ ที่ผา่ นมา 127 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
ตารางบันทกึ การพฒั นาทักษะครัง้ ที่ วนั เดือนปี จา� นวนดีด ค�าผิด คา� สุทธิ คะเเนน ลายมอื ชอื่ ผสู้ อน 1 2 3 4 5 รวมจา� นวนคา� สทุ ธิ ตารางบนั ทกึ ความก้าวหนา้ ในการพมิ พ์ 4 5 มากกว่า 20 ครง้ั ที่ 20 19 1 23 18 17 ลายมือชอื่ ผู้สอน 16 วันเดอื นปี 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 128 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
22.2 แบบฝกึ หัดการพิมพจ์ ับเวลา 2 นาที คร้งั ท่ี 1 การศกึ ษาระบบทวภิ าคี เปน็ การจดั การศกึ ษาวชิ าชพี ทเ่ี กดิ จากขอ้ ตกลงระหวา่ งสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาหรอืสถานบนั กบั สถานประกอบการ รัฐวสิ าหกิจ หรือหนว่ ยงานของรัฐในเรื่องการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดยผเู้ รียนใชเ้ วลาส่วนหนึ่งในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาหรอื สถาบนั และเรียนภาคปฏิบัตใิ นสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรอื หน่วยงานของรัฐ ครง้ั ที่ 2 สถาบนั หลกั ของสงั คม ทงั้ สถาบนั ครอบครวั สถาบนั การศกึ ษา สถาบนั ศาสนาขาดความเขม้ แขง็ ในการปลกูฝังหล่อหลอมกล่อมเกลาสมาชิกในสังคม ด้วยสาเหตุหลักจากการขาดแบบอย่างท่ีดีจากผู้น�า ระบบการศึกษาและการเรียนรู้ทัง้ ในและนอกระบบไม่เออื้ และไมเ่ หมาะสม อีกทัง้ ขาดพลังในการปลกู ฝัง กล่อมเกลาคุณธรรม จรยิ ธรรมความซอ่ื สัตย์ ซ่อื ตรง ทา� ใหไ้ มส่ ามารถพฒั นา “ความรู้ค่คู ุณธรรม” ได้อย่างแท้จริง ครั้งท่ี 3 “พ่อครับ ถอนหายใจท�าไมมีเรื่องไม่สบายใจเหรอครับ” เสียงลูกชายถามพ่อที่นั่งหันหลังให้ลูก พ่อเรียกลูกชายวัย ๒๕ ปี มาคุย ใช้มอื โอบกอดลกู และพูดว่า “ซื่อกนิ ไม่หมด คดกนิ ไมน่ าน” จา� ค�าที่พอ่ สอนนะลูก ลูกจะอยู่จดุ ไหนของสงั คมตอ้ งรกั ศกั ดศิ์ รี หลกี เลย่ี งการทจุ รติ ทกุ อยา่ ง กฎแหง่ กรรมมจี รงิ นะ ลกู ดคู รอบครวั ของลุงกบั ปา้ เปน็ตวั อยา่ ง ครั้งที่ 4 วชิ ัยและมานพถกู มอบหมายให้รับผดิ ชอบในการซ่อมรถจักรยาน ซึง่ มีประมาณ ๕ – ๖ คนั ซ่งึ อาการทที่ กุคนนา� มาใหซ้ อ่ มนน้ั ชน้ิ สว่ นตา่ ง ๆ แทบจะแยกออกจากกนั เพราะเกา่ แตท่ ง้ั วชิ ยั และมานพตา่ งกม็ คี วามพยายามทจี่ ะใช้ทกั ษะทเ่ี รยี นมาซ่อมใหเ้ สร็จจนได้ อีกทงั้ ยังไมย่ อมรบั เงินจากผ้ทู ่เี อามาซอ่ มอีกดว้ ย เพราะมคี วามสา� นกึ วา่ จรรยาบรรณในวิชาทเี่ รยี นมาถ้าไม่ได้นา� มาใช้ มนั กห็ มดคุณคา่ ของมนษุ ยแ์ ละสิ่งส�าคัญคอื ท�าใหว้ งการวิชาชพี น้มี วั หมอง คร้ังที่ 5 ประเทศไทยเปน็ เมอื งแหง่ พทุ ธศาสนาทสี่ บื ตอ่ กนั มาตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั บา้ นเมอื งมปี ญั หา แตถ่ า้ ทกุ คนหนั กลบั มามองและพรอ้ มใจกนั ปรบั ปรงุ และพฒั นา ทกุ สถาบนั ใหค้ วามรว่ มมอื รว่ มใจ คอ่ ยคดิ แกไ้ ข โดยนา� คณุ ธรรมจรยิ ธรรม เปน็ บรรทดั ฐานในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ คดิ วา่ อกี ไมน่ านประเทศไทยคงเขา้ สดู่ นิ แดนแหง่ ความสงบสขุ ได้ ขอให้ทุกคนได้ช่วยกันตอกเสาเข็มเพ่ือเป็นฐานรากแห่งความดีที่ม่ันคงแข็งแรง ย่อมส่งผลต่อความม่ันคงของชาติบ้านเมอื งในอนาคต 129 พิมพดีดไทยเบื้องตน
ตารางบันทกึ การพฒั นาทักษะครัง้ ที่ วนั เดือนปี จา� นวนดีด ค�าผิด คา� สุทธิ คะเเนน ลายมอื ชอื่ ผสู้ อน 1 2 3 4 5 รวมจา� นวนคา� สทุ ธิ ตารางบนั ทกึ ความก้าวหนา้ ในการพมิ พ์ 4 5 มากกว่า 20 ครง้ั ที่ 20 19 1 23 18 17 ลายมือชอื่ ผู้สอน 16 วันเดอื นปี 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 130 พิมพดีดไทยเบ้ืองตน
22.3 แบบฝึกหดั การพิมพ์เพ่ือพัฒนาทกั ษะความเรว็ และความแมน่ ยา� ครั้งที่ 1 สา� นักงาน ป.ป.ท. สนองนโยบายรัฐบาลดา้ นการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตคอรปั ชนั ในภาครฐั เปิดรบั สมัครข้าราชการต้นแบบคนดีของแผน่ ดนิ ประจา� ปี ๒๕๕๘ ปลูกฝังคา่ นิยม คุณธรรม จริยธรรม และจิตสา� นกึ ในการรกั ษาศกั ดิ์ศรขี องความเป็นข้าราชการ และความซ่อื สตั ย์สุจริต เน้นย้า� “คนดคี วรเชิดชู” หนง่ึ ในการขับเคล่อื นยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ภาครฐั เชญิ ชวนขา้ ราชการทวั่ ประเทศหรอื ประชาชนท่ีมีความประทับใจในข้าราชการท่ีมีคณุ งามความดี ครงั้ ที่ 2 การนา� หลกั ธรรมมาพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ จะทา� ใหบ้ คุ คลมที ศั นคตทิ ดี่ งี าม มแี นวทางปฏบิ ตั ทิ ถี่ กู ตอ้ ง มที ศิ ทางทเ่ี ดนิ ไปขา้ งหนา้ อยา่ งมสี ติ และมปี ญั ญาเปน็ สง่ิ กา� กบั ในการดา� เนนิ ชวี ติ นา� ไปสกู่ ารแกไ้ ขปญั หาไดถ้ กู ตอ้ ง นน่ั คอื การหลดุ พน้ จากความทกุ ข์ การปฏบิ ตั ธิ รรมจงึ เปน็ การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ใหต้ นเอง และสงั คมเปน็ การสรา้ งคนดใี หเ้ กดิ ขน้ึ ในแผน่ ดนิ หลกั ธรรมสา� คญั ทจ่ี ะนา� มาศกึ ษาในครง้ั นเี้ ปน็ หลกั ธรรมหริ โิ อตตปั ปะ ซง่ึ เปน็ ธรรมทคี่ มุ้ ครองโลก หริ ิ คอื การละอายต่อการทา� ชั่ว สว่ น โอตตปั ปะ คอื การเกรงกลัวต่อบาป ครง้ั ที่ 3 การตงั้ ครรภใ์ นวยั รนุ่ และวยั เรยี นเปน็ ปญั หาสา� คญั ของประเทศไทย โดยมจี า� นวนคณุ แมว่ ยั ใสอายุ ๑๕-๑๙ ปีเพ่ิมข้ึนทุกปี ในปี ๒๕๕๔ มีแม่อายุต�่ากว่า ๒๐ ปีจ�านวนมากถึง ๑๑๔,๐๐๑ คน หรือ คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๒๒ของแม่ทง้ั หมดในประทศไทย ซึง่ ในจ�านวนนี้พบว่าแมว่ ยั เด็กท่นี อ้ ยที่สุดมีอายเุ พียง ๘ ปีเทา่ นน้ั ในขณะท่ีแม่วัยรุน่มจี า� นวนเพม่ิ ขน้ึ แตค่ แู่ ตง่ งานชนชน้ั กลางซง่ึ มคี วามพรอ้ มในการมลี กู มากกวา่ กลบั มบี ตุ รนอ้ ยลง ปญั หาใหญท่ ตี่ ามมาคือ คุณภาพชีวิตที่ตกต่�าของท้ังแม่และเด็ก โดยเฉพาะเด็กท่ีเกิดมาจากแม่ท่ีไม่พร้อมน้ันมีโอกาสสูงที่จะไม่ได้รับการศึกษา หรือ ไดร้ บั โอกาสทางสงั คมในดา้ นตา่ ง ๆ ตา่� กวา่ มาตรฐาน และมคี วามเสยี่ งทจ่ี ะถกู ทอดทงิ้ จนกลายเปน็ภาระของสงั คมดว้ ย การตง้ั ครรภโ์ ดยไมพ่ รอ้ มของวยั รนุ่ และการมบี ตุ รลดลงของชนชน้ั กลางสว่ นใหญ่ จงึ นบั เปน็ ปญั หาทางดา้ นประชากร และ ปญั หาทางดา้ นเศรษฐกจิ ทต่ี อ้ งใหค้ วามสา� คญั ไมน่ อ้ ยไปกวา่ ปญั หาดา้ นอน่ื ๆ ในประเทศไทยเลยทเี ดยี ว ครง้ั ที่ 4 สภาวะทเี่ ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั เมอื่ เกดิ ปญั หา ผใู้ หญท่ เี่ กย่ี วขอ้ งมกั หาทางออกดว้ ยการจบั เดก็ ทตี่ งั้ ครรภแ์ ตง่ งานและอยกู่ นิ ฉนั สามภี รรยากบั ฝา่ ยชายทม่ี กั จะเปน็ เดก็ ดว้ ยกนั ทงั้ สองฝา่ ย ในความเปน็ จรงิ การแตง่ งานมไิ ดแ้ กไ้ ขปญั หาเนอื่ งจากเด็กท้งั สองฝ่ายยังไมม่ ีวุฒิภาวะเพยี งพอที่จะปฏิบัตหิ นา้ ท่ใี นฐานะสามภี รยิ ารวมทง้ั การเป็นพ่อแม่ ทสี่ �าคญัคือพวกเขายงั ต้องพง่ึ พิงผู้ปกครองในฐานะที่ยังเป็นเดก็ จงึ ยังไม่อาจพึง่ ตนเอง ยงั ตอ้ งการเวลาและโอกาสอีกมาก ในการพัฒนาตนเองข้ึนมาจนสามารถพ่ึงตนเองและเป็นท่ีพ่ึงให้แก่สมาชิกคนอ่ืนๆในครอบครัว จนสามารถก่อก�าเนิดครอบครัวใหมแ่ ยกจากครอบครัวเดิมของตนทง้ั เด็กหญงิ เดก็ ชาย รวมทั้งยงั ต้องรับผิดชอบรว่ มกนั ดแู ลอกี ชวี ิตหนึง่ ที่ก�าลงั จะเกดิ มา 131 พิมพดีดไทยเบื้องตน
คร้ังท่ี 5 ด้วยแผนกวิชาคหกรรมศาสตร์ ได้จัดการเรียนการสอนด้านวิชาชีพคหกรรม มีห้องปฏิบัติการ จ�านวน ๔หอ้ งเรยี น หอ้ งสา� หรบั เกบ็ วสั ดอุ ปุ กรณภ์ ายในแผนกจา� นวน ๑ หอ้ ง ใชใ้ นการจดั กจิ กรรมเรยี นการสอนผเู้ รยี นภาคปกติโดยเฉล่ยี ๓๕ ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ และเปน็ หอ้ งสา� หรบั จัดการเรยี นการสอนหลกั สูตรระยะสั้น สา� หรับบุคคลทวั่ ไปท่มี าใชบ้ รกิ ารวชิ าชพี ของแผนกวชิ า หอ้ งดงั กลา่ วไดใ้ ชง้ านมาเปน็ เวลานาน ทา� ใหส้ ภาพภายในหอ้ งทรดุ โทรมและไมเ่ หมาะแกก่ ารเรียนรู้ โดยเฉพาะหอ้ งศลิ ปประดษิ ฐ์ ๑ และ ๒ ท่ีไม่มีแผงกั้นหอ้ งท่เี ปน็ สัดส่วน เม่ือท�าการสอนเสียงจะดงั มากท�าใหบ้ รรยากาศในการเรียนไมน่ า่ เรยี น อกี ทง้ั หนา้ ตา่ งบานเกล็ดช�ารุด ไมส่ ามารถปรบั ระดับได้ ส่งผลให้แสงสว่างไม่เพียงพอและอากาศถ่ายเทไม่สะดวก ต้องใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าช่วยในเรื่องแสงสว่าง และอากาศถ่ายเทได้สะดวกย่ิงขึ้นจึงส่งผลใหต้ ้องใช้พลังงานไฟฟา้ มากขึน้ ครง้ั ท่ี 6 จากงานเสวนาในครงั้ นจ้ี ะพบวา่ การทจ่ี ะทา� ใหก้ ารปลกู ฝงั นสิ ยั การรกั การอา่ นเขา้ สจู่ ติ ใจของทงั้ องคก์ รไดน้ น้ัจะตอ้ งเรม่ิ จากการท่ี “หวั ” ขององคก์ รนน้ั ๆ ตอ้ งมนี สิ ยั รกั การอา่ นตดิ ตวั อยแู่ ลว้ เปน็ ทนุ เดมิ จงึ จะสามารถเขา้ ถงึ จติ ใจและเขา้ ถงึ ความรสู้ กึ เหน็ ความสา� คญั รวมไปถงึ ประโยชนข์ องการอา่ นทมี่ มี ากมายมหาศาลไดอ้ ยา่ งถอ่ งแท้ ซง่ึ จะทา� ให้มแี รงกายแรงใจ ทจ่ี ะฝา่ ฟนั อปุ สรรคตา่ งๆ ทถ่ี าโถมเขา้ มาในระหวา่ งการดา� เนนิ การปลกู ฝงั สงิ่ เหลา่ นใ้ี หเ้ ขา้ ไปสจู่ ติ ใจของคนในองคก์ รของตนในแต่ละล�าดบั ไดอ้ ยา่ งแน่นหนามั่นคง ดังค�าที่ ผอ.ประทิน พรหมครี ี ได้กล่าวไวว้ า่ “หัวส่ายหางกระดิก” ซง่ึ อาจจะฟงั ดธู รรมดา แต่แน่นอนว่า ผอ. ทั้งสามโรงเรียนทมี่ าร่วมเสวนาในครั้งนที้ ่านเห็นดว้ ยและนา�ไปปฏบิ ตั เิ หมอื นๆ กนั จงึ สามารถประสบความส�าเร็จในการเปน็ “โรงเรียนส่งเสริมการรกั การอ่านยอดเยี่ยม” คร้งั ที่ 7 ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชาชนส่วนใหญ่เล้ียงชีพโดยอาศัยความอุดมสมบูรณ์ของดินมาชา้ นาน แผ่นดนิ จงึ เป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศอยา่ งแท้จริง ด้วยพระปรชี าญาณอนั ยงิ่ ใหญ่ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชทรงตระหนกั ถงึ ความเสอ่ื มโทรมของดนิ อนั เกดิ จากสาเหตทุ างธรรมชาติ เชน่ บางแห่งเปน็ ดนิ เปรีย้ ว ดินด่าง ดนิ เคม็ และบางแห่งกไ็ มม่ ดี นิ เลย นอกจากน้ี ความเสื่อมโทรมของดนิ ยังเกดิ จากการกระทา� อนั รู้เท่าไมถ่ งึ การณข์ องประชาชน เชน่ การตดั ไมท้ �าลายป่า และการใชพ้ ้นื ท่โี ดยขาดการอนรุ ักษ์ จงึ พระราชทานแนวพระราชด�าริในการป้องกัน แก้ไข และพัฒนาทรัพยากรดินเป็นอเนกประการ ซึ่งล้วนแต่น�าประโยชน์สุขมาสู่เกษตรกรทั่วประเทศ คร้ังท่ี 8 สดุ ทา้ ยขอเปน็ กา� ลงั ใจใหส้ ถาบนั การศกึ ษาทกุ แหง่ และครอู าจารยท์ กุ ทา่ นทก่ี า� ลงั ใชค้ วามพยายามอยา่ งทมุ่ เททั้งแรงกายแรงใจในการที่จะปลูกฝัง “นิสัยการรักการอ่าน” เข้าสู่จิตใจของลูกหลาน “ไทย” ทุกคนให้ได้ หรือแม้กระทง่ั พอ่ แมผ่ ปู้ กครองทกุ คนกต็ าม ดงั เชน่ ทท่ี า่ นผอู้ า� นวยการทง้ั สามโรงเรยี นนไี้ ดแ้ สดงใหเ้ หน็ เปน็ ตวั อยา่ งแลว้ ดว้ ยการทา� อยา่ งประสบความสา� เรจ็ ทง้ั ในระดบั องคก์ รคอื ทกุ คนในโรงเรยี น (แมก้ ระทง่ั ภารโรง) และในระดบั ชมุ ชนทที่ า่ นทงั้ หลายไดม้ กี าร “บรู ณาการ” ดว้ ยการขยายโครงการนลี้ งไปสสู่ งั คมชมุ ชนรอบ ๆ โรงเรยี น และสงั คมของครอบครวัได้เป็นอยา่ งดี และขอขอบคณุ แม่พิมพ์ พ่อพมิ พข์ องชาตทิ ุกทา่ น และขอเปน็ สว่ นหนึง่ ในการขบั เคลอ่ื น “การปลกู ฝงันสิ ัยรกั การอา่ น” ใหเ้ ขา้ สหู่ วั ใจคนไทย ซึ่งถอื ว่าเปน็ รากฐานทสี่ า� คญั สา� หรบั “สงั คมไทย” ตอ่ ไปในอนาคต 132 พิมพดีดไทยเบื้องตน
คร้ังท่ี 9 นายหวัง อ้ี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการตา่ งประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจีน มีกา� หนดเดนิ ทางเยือนไทยอย่างเปน็ ทางการ ระหวา่ งวันที่ ๒๓ – ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เขา้ เยยี่ มคารวะพลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ทที่ �าเนยี บรฐั บาล และหารือทวภิ าคกี บั นายดอน ปรมตั ถว์ ินยั รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ ที่กระทรวงการตา่ งประเทศ ในวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ท้ังนี้ ภายหลังการหารือกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศท้ังสองฝ่ายมีก�าหนดแถลงข่าวร่วมต่อส่ือมวลชนในเวลาประมาณ ๑๑.๓๐ น. ท่ีกระทรวงการต่างประเทศการเยอื นครงั้ นจี้ ะเปน็ โอกาสสา� คญั ใหท้ ง้ั สองฝา่ ยการหารอื และตดิ ตามประเดน็ ความสมั พนั ธแ์ ละความรว่ มมอื ทวภิ าคีระหวา่ งกัน รวมทั้งหารอื แลกเปล่ยี นข้อคดิ เห็นในประเด็นส�าคญั ในภมู ภิ าค อาทิ ความร่วมมอื ในกรอบอาเซยี นดว้ ย ครั้งที่ 10 “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปน็ ปรชั ญาชถี้ งึ แนวการดา� รงอยแู่ ละปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบัครอบครัว ระดับชมุ ชน จนถึงระดบั รัฐ ทง้ั ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศใหด้ า� เนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจเพอื่ ให้ก้าวทนั ตอ่ ยคุ โลกาภิวตั น์ ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถงึ ความจา� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมรี ะบบภมู คิ มุ้ กนั ในตวั ทดี่ พี อสมควรตอ่ การมผี ลกระทบใด ๆ อนั เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงทง้ัภายนอกและภายใน ทงั้ นจ้ี ะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวงั อย่างยง่ิ ในการนา� วชิ าการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดา� เนนิ การทกุ ขน้ั ตอน และขณะเดยี วกนั จะตอ้ งเสรมิ สรา้ งพน้ื ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทขี่ องรัฐ นกั ทฤษฎีและนกั ธรุ กิจในทุกระดบั ใหม้ ีสา� นึกในคณุ ธรรม ความซ่ือสตั ย์ สจุ ริต และให้มคี วามรอบรู้ทเี่ หมาะสม ดา� เนนิ ชวี ติ ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มสี ติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพอื่ ใหส้ มดลุ และพรอ้ มตอ่ การรองรบั การเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ทง้ั ดา้ นวตั ถุ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อย่างดี 133 พิมพดีดไทยเบื้องตน
บตั รสมนาคณุ คะแนนวิชาพิมพ์ดดี คำ� ชีแ้ จงชื่อ................................................. หอ้ ง....................... 1. บัตรน้เี ป็นสิทธิส่วนบคุ คลหา้ มมิใหผ้ ู้อน่ื ใช้แทน 2. ให้อาจารยผ์ ู้สอนทกุ ครง้ั เมื่อผา่ นเกณฑ์แต่ละบท 3. เม่อื ครบ 10 ชอ่ ง จะได้คะแนนปฏบิ ัติเต็ม 10 คะแนน และถ้าครบ 3 ใบ จะไดค้ ะแนนปฏบิ ตั เิ ตม็................................................................ครผู ูส้ อน 30 คะแนนบตั รสมนาคณุ คะแนนวชิ าพิมพด์ ดี คำ� ชี้แจงชอ่ื ................................................. ห้อง....................... 1. บตั รนีเ้ ปน็ สทิ ธิสว่ นบุคคลหา้ มมิใหผ้ อู้ ื่นใช้แทน 2. ใหอ้ าจารยผ์ ้สู อนทกุ คร้ังเมอ่ื ผ่านเกณฑแ์ ต่ละบท 3. เม่อื ครบ 10 ชอ่ ง จะไดค้ ะแนนปฏิบัตเิ ตม็ 10 คะแนน และถ้าครบ 3 ใบ จะไดค้ ะแนนปฏบิ ัตเิ ตม็................................................................ครผู ู้สอน 30 คะแนนบัตรสมนาคณุ คะแนนวชิ าพิมพด์ ีด ค�ำชี้แจงชือ่ ................................................. หอ้ ง....................... 1. บตั รนี้เปน็ สทิ ธสิ ่วนบคุ คลหา้ มมใิ หผ้ ู้อ่นื ใชแ้ ทน 2. ใหอ้ าจารยผ์ สู้ อนทุกครง้ั เมอ่ื ผ่านเกณฑ์แต่ละบท 3. เมอ่ื ครบ 10 ช่อง จะได้คะแนนปฏบิ ัติเต็ม 10 คะแนน และถา้ ครบ 3 ใบ จะไดค้ ะแนนปฏบิ ตั ิเต็ม................................................................ครผู สู้ อน 30 คะแนนบัตรสมนาคุณคะแนนวชิ าพิมพ์ดีด คำ� ชีแ้ จงชอ่ื ................................................. หอ้ ง....................... 1. บตั รนเี้ ปน็ สิทธิสว่ นบุคคลหา้ มมใิ ห้ผอู้ ่ืนใชแ้ ทน 2. ให้อาจารยผ์ ู้สอนทกุ ครงั้ เมอื่ ผา่ นเกณฑแ์ ตล่ ะบท 3. เม่อื ครบ 10 ชอ่ ง จะไดค้ ะแนนปฏบิ ตั ิเต็ม 10 คะแนน และถา้ ครบ 3 ใบ จะได้คะแนนปฏิบัตเิ ต็ม..............................................................ครยู ์ผสู้ อน 30 คะแนน 134 พิมพ์ดีดไทยเบื้องต้น
เพลงมาเรยี นพิมพด์ ีดกนั เถิด มาเรยี นวิชาพิมพ์ดดี เสียงดดี ไพเราะจบั ใจ ตัวอกั ษรมมี ากหลาย ตวั อกั ษรมมี ากหลาย จ�ำใส่ใจ เอาไวใ้ หด้ ี จ�ำใส่ใจ เอาไวใ้ หด้ ี แป้นเหย้าน้ันมีแปดตัว ทนู หวั จงจ�ำอย่าทอ้ ฟอ หอ กอ ดอ ฟอ หอ กอ ดอ เอก อา สอ วอ จงจ�ำข้ึนใจ เอก อา สอ วอ จงจ�ำข้นึ ใจ มาเรียนพิมพด์ ดี กันเถดิ เปน็ เลิศในการพิมพไ์ ทย หมั่นซ้อมเข้าไว้ หมัน่ ซอ้ มเข้าไว้ หอ้ งพมิ พ์ไทยหมนั่ มา หม่นั มา หอ้ งพมิ พไ์ ทยหมนั่ มา หมน่ั มา 135 พิมพ์ดีดไทยเบื้องต้น
บรสรณาารนบุกัญรมมอื ใหมพ่ มิ พ์ดีดไทย-องั กฤษ. กรุงเทพฯ: ซิมพลิฟาย, 2555เชญิ ศริ ิ รุง่ สบเเสง. คมู่ ือพมิ พ์ดีดฉบบั สมบรู ณ.์ กรุงเทพฯ: ไอดซี ี พรเี มียร์, 2556พาณิ ลอ้ อุทัย; เเละ สุธรรม วิชชุรงั ษี. พิมพด์ ดี ไทย 1. กรุงเทพฯ: พฒั นาวชิ าการ, 2553อารรี ตั น์ พรหมภ;ู่ เเละ ชนธัญ วฒั นสุทธ.ิ์ พิมพ์ดดี ไทยเบือ้ งตน้ . กรงุ เทพฯ: คอมพิวเตอร์ เอจ เทคโนโลยี, 2556นานา ศีลธรรมศกั ด.์ิ คู่มอื ฝึกพิมพด์ ีดไทย-องั กฤษ สำ� หรับมือใหม่ใน 6 วนั . กรงุ เทพฯ: โปรวชิ ัน่ , 2552พจน์ นวลปลอด. พิมพด์ ดี ไทยเบื้องต้น. กรงุ เทพฯ: สถาบันพฒั นาคณุ ภาพนักวิชาการ, 2556 136 พิมพ์ดีดไทยเบ้ืองต้น
Note 137พิมพดีดอังกฤษเบ้ืองตน
Note 138 พิมพดีดอังกฤษเบ้ืองตน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150