Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2

บทที่ 2

Published by 6032040026, 2018-08-28 03:09:18

Description: บทที่ 2

Search

Read the Text Version

ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือข่าย (NOS)1.ความหมายของระบบปฏบิ ตั กิ ารเครอื ขา่ ย เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบเพ่ือจัดการงานด้านการส่ือสารระหว่างคอมพิวเตอร์ให้ สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น เคร่ืองพิมพ์ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะมีลักษณะการทางานคล้ายกับระบบปฏิบัติการดอส จะแตกต่างในส่วนของการเพ่ิมการจัดการเก่ียวกับเครือข่ายและการใช้อุปกรณ์ร่วมกันรวมทงั้ มีระบบป้องกนั การสูญหายของข้อมูล ปัจจบุ ันระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะใช้หลักการประมวลผลแบบไคลแอนด์เซิร์ฟเวอร์ (Client / Server) คือ การจัดการเรียกใช้ข้อมูลและโปรแกรมจะทางานอยู่บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ในขณะทสี่ ว่ นประกอบอื่น ๆ ของระบบปฏิบัตกิ ารเครือข่ายจะทางานอยู่บนเคร่ืองไคลแอนด์ เช่น การประมวลผลและการตดิ ตอ่ กับผใู้ ช้2.หนา้ ท่หี ลักของระบบปฏิบตั กิ ารคอื อะไร ระบบปฏบิ ัติการถูกสรา้ งโดยวัตถปุ ระสงค์เพือ่ อานวยความสะดวกแก่ผใู้ ช้งานผใู้ ช้งานสามารถโต้ตอบเพือ่ ใชง้ านกบั คอมพวิ เตอร์ไดโ้ ดยไมจ่ าเปน็ ไปยงุ่ เก่ียวหรอื ทราบถึงกลไกการทางานภายในระบบคอมพิวเตอร์ปล่อยใหเ้ ปน็ หนา้ ท่ีของระบบปฏบิ ตั กิ ารเองโดยหน้าท่ีของระบบปฏบิ ตั ิการมีหนา้ ท่หี ลกั สาคญั ต่อไปนี้

1.ตดิ ตอ่ ประสานงานกบั ผ้ใู ช้ (User Interface) 2.ควบคุมดูแลอปุ กรณ์ (Control Devices) 3.จัดสรรทรัพยากร (Resource) ต่างๆภายในระบบให้เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 3.1ทรพั ยากรของระบบมจี านวนจากดั 3.2ความต้องการทรพั ยากร3.ระบบปฏบิ ัติการ Novell Netware ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System) ท่ีพัฒนาโดยบริษัท Novellการทางานของระบบปฏิบัติการ NetWare น้ันเป็นลักษณะ File Sever ท่ีคอยให้บริการข้อมูลต่าง ๆ ในเครือข่ายรวมทง้ั การบรกิ ารให้ใชท้ รัพยากรตา่ งๆ ของเครอ่ื งในเครอื ผา่ นInternet4.ระบบปฏิบตั ิการ Windows Server 2012 Windows server รนุ่ ปี 2012 นี้ได้มีการพัฒนาระบบและเพิ่มฟีเจอร์ในการใช้งานต่างๆเพ่ิมข้ึนอย่างมากมาย และมีการเน้นที่ระบบ Cloud มากข้ึน เพื่อรองรับความต้องการสาหรับการใช้งานในปัจจุบัน ซึ่งฟีเจอร์ท่ีโดดเดน่ นน้ั มอี ยู่ด้วยกนั หลายอย่าง ดงั นี้

Hyper-V ซึ่งเป็นระบบเสมือนที่สามารถทาการจาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายๆเครื่องได้อย่างสะดวกง่ายดาย เพ่ือรองรับการขยายตัวของระบบ อีกทั้งฟีเจอร์ Hyper-V3 ยังทาให้การย้ายเซิร์ฟเวอร์เป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็วด้วยการย้ายเคร่ืองได้แบบ Real-time โดยไม่ต้องปิดระบบซึ่งเป็นการเพ่ิมความสะดวกและมีการทางานทยี่ ืดหยุ่นมากขน้ึ และ Storage Migration เปน็ ฟเี จอรท์ ่ที าใหส้ ามารถย้ายเซิร์ฟเวอร์ไปได้อย่างสะดวกโดยไม่มี Downtime ทาใหส้ ามารถเปดิ ใช้งานไดต้ ลอดเวลาโดยไมม่ สี ะดุด รองรับระบบ Cloud ซึ่งเหมาะสาหรับความต้องการในปัจจุบันท่ีธุรกิจต่างๆหันมาใช้ระบบ Cloudกันมากข้ึนเพ่ือความสะดวกในการทางานและการเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลารองรับการใช้งานแบบ Virtual ท่ีสามารถทางานได้ดกี บั Microsoft Private Cloud5.ระบบปฏิบัติการ Windows Server 2012 R2 ขอ้ มลู สาคัญ: บทความนแี้ ปลโดยซอฟต์แวร์การแปลด้วยคอมพิวเตอร์ของ Microsoft แทนที่จะเป็นนักแปลที่เป็นบุคคล Microsoft มีบทความที่แปลโดยนักแปลและบทความที่แปลด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คุณสามารถเข้าถึงบทความทั้งหมดในฐานความรู้ของเรา ในภาษาของคุณเอง อย่างไรก็ตาม บทความที่แปลด้วยคอมพิวเตอร์น้ันอาจมีข้อบกพร่อง โดยอาจมีข้อผิดพลาดในคาศัพท์ รูปแบบการใช้ภาษาและไวยากรณ์เช่นเดียวกับกรณีท่ีชาวต่างชาติพูดผิดเม่ือพูดภาษาของคุณ Microsoft ไม่มีส่วนรับผิดชอบต่อความคลาดเคล่ือนความผิดพลาดหรือความเสยี หายทเี่ กดิ จากการแปลเนอ้ื หาผิดพลาด หรอื การใช้บทแปลของลูกค้า และ Microsoftมกี ารปรับปรงุ ซอฟต์แวรก์ ารแปลด้วยคอมพวิ เตอร์อยู่เป็นประจา

6.ระบบปฏบิ ัติการ Windows Server 2016 Technical Preview Windows Server 2016 เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับเซิร์ฟเวอร์และศูนย์ข้อมูลรุ่นล่าสุดจากไมโครซอฟท์ ถูกออกแบบมาสาหรับงานยุคใหม่ รองรับทั้งการทางานร่วมกับคราวน์และอุปกรณ์ IoT อีกทั้งเตรยี มพร้อมสาหรบั งานประมวลผลชนดิ ใหม่ๆ อย่างการประมวลผลขอ้ มลู Big Dataเนอื่ งจาก Windows Server 2016 มีฟีเจอร์ใหม่มากมาย บทความนี้จงึ คดั เฉพาะ 10 ฟีเจอร์ท่ีน่าสนใจและควรค่าแกก่ ารอัพเกรดเปน็ Windows Server 20167.ระบบปฏิบัติการ UNIX ยนู กิ ซเ์ ป็นระบบปฏิบตั กิ ารประเภทหน่งึ ทเ่ี ป็นเทคโนโลยีแบบเปดิ (open system) ซ่ีงเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้อง ผูกติด กับระบบใดระบบหน่ึงหรืออุปกรณ์ย่ีห้อเดียวกัน นอกจากนี้ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพ่ือตอบสนองการใช้งานใน ลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลายคน ในเวลาเดียวกัน เรียกว่า มัลติยูสเซอร์ (multiusers)และสามารถทางานได้หลายๆงานใน เวลาเดยี ว กนั ในลักษณะที่เรียกว่า มลั ติทาสก้ิง (multitasking)8.ระบบปฏิบัตกิ าร Linux ลีนุกซ์ระบบปฏิบัติการแบบ 32 บิต ท่ีเป็นยูนิกซ์โคลน สาหรับเครื่องพีซี และแจกจ่ายให้ใช้ฟรีสนับสนุนการใช้งานแบบหลากงาน หลายผู้ใช้ (MultiUser-MultiTasking) มีระบบ X วินโดวส์ ซึ่งเป็นระบบการตดิ ต่อผู้ใช้แบบกราฟกิ ท่ไี มข่ ้ึนกบั โอเอสหรอื ฮาร์ดแวร์ใดๆ (มักใชก้ ันมากในระบบยนู กิ ซ์) และมาตรฐานการส่ือสารTCP/IPท่ีใช้เป็นมาตรฐานการส่ือสารในอินเทอร์เน็ตมาให้ในตัว ลีนุกซ์มีความเข้ากันได้ (compatible)กับมาตรฐาน POSIX ซึ่งเป็นมาตรฐานอินเทอร์เฟสท่ีระบบยูนิกซ์ส่วนใหญ่จะต้องมีและมีรูปแบบบางส่วนที่คล้ายกับระบบปฏบิ ัตกิ ารยูนิกซจ์ ากคา่ ย Berkeley และ System V

โดยความหมายทางเทคนคิ แล้วลีนกุ ซ์ เปน็ เพียงเคอร์เนล (kernel) ของระบบปฏิบตั ิการ ซึ่งจะทาหนา้ ที่ในดา้ นของการจัดสรรและบริหารโพรเซสงาน การจัดการไฟล์และอุปกรณ์ I/O ต่างๆ แต่ผู้ใช้ท่ัวๆไปจะรู้จักลีนุกซ์ผ่านทางแอพพลิเคชั่นและระบบอินเทอร์เฟสท่ีเขาเหล่านั้นเห็น (เช่น Shell หรือ X วินโดวส์) ถ้าคุณรันลีนุกซ์บนเคร่ือง386 หรือ 486 ของคุณ มันจะเปล่ียนพีซีของคุณให้กลายเป็นยูนิกซ์เวอร์กสเตช่ันชันท่ีมีความสามารถสูง เคยมีผู้เทียบประสิทธิภาพระหว่างลีนุกซ์บนเครื่องเพนเทียม และเครื่องเวอร์กสเตชั่นชันชันในระดับกลาง และได้ผลออกมาว่าให้ประสิทธิภาพท่ีใกล้เคียงกันและนอกจากแพลตฟอร์มอินเทลแล้ว ปัจจุบันลีนุกซ์ยังได้ทาการพัฒนาระบบเพื่อให้สามารถใชง้ านไดบ้ นแพลตฟอร์มอนื่ ๆด้วย เช่น DEC Alpha , Motorola Power-PC , MIPS เมื่อคุณสร้างแอพพลิเคชั่นข้ึนมาบนแพลตฟอร์มใดแพลตฟอร์มหนึ่งแล้ว คุณก็สามารถย้ายแอพพลิเคช่ันของคุณไปวิ่งบนแพลตฟอรม์ อน่ื ไดไ้ มย่ าก ลนี ุกซม์ ีทีมพฒั นาโปรแกรมทีต่ ่อเนื่อง ไม่จากัดจานวนของอาสาสมัครผรู้ ่วมงาน และส่วนใหญ่จะติดต่อกันผ่านทางอินเทอร์เน็ต เพราะท่ีอยู่อาศัยจริงๆของแต่ละคนอาจจะอยู่ไกลคนละซีกโลกก็ได้ และมีแผนงานการพัฒนาในระยะยาว ทาให้เรามั่นใจได้ว่า ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการท่ีมีอนาคต และจะยังคงพัฒนาตอ่ ไปได้ตราบนานเท่านาน9.ระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows 8 สามารถรองรบั กับเคร่ืองคอมพวิ เตอรเ์ ครอื่ งเกา่ หรือ โน๊ตบุ๊คเครอื่ งเกา่ ได้ ซง่ึ ไม่มีปัญหาในการใชง้ านเพราะระบบปฏิบัติการ Windows 8 รองรับได้ตั้งแต่ CPU RAM 1 GHz ในแท็บเล็ต (Tablet) ทาให้ระบบปฏิบตั กิ าร (Operating System) ทใ่ี ช้ทรพั ยากรเคร่ืองนอ้ ยมาก (น้อยกว่าระบบ Windows 7) และง่ายต่อการพัฒนา Application ซึ่งพัฒนา Application ในครง้ั เดยี ว ยังสามารถใชไ้ ด้กบั ทกุ อุปกรณ์ได้

แบบฝึกหดั บทท่ี 1รายชอื่ ต่อไปน้ีเปน็ รายชือ่ ของระบบปฏบิ ตั ิการตา่ ง ๆCP/M ซีพี/เอ็ม (CP/M ย่อมาจาก Control Program/Monitor) เป็นระบบปฏิบัติการ ซ่ึงเดิมเขียนเพ่ือทางานบนเคร่อื งไมโครคอมพวิ เตอร์ท่ีใชช้ ิพตระกูล 8080/85 ของอินเทล ซีพี/เอ็มเริ่มเขียนโดย แกรี คิลดัล (GaryKildall) แห่งบริษัท ดิจิทัล รีเสิร์ช (Digital Research, Inc.) เดิมเป็นระบบซิงเกิลทัสก์ และทางานกับเฉพาะโพรเซสเซอรข์ นาด 8 บิต และหน่วยความจาไม่เกิน 64 กิโลไบต์ แต่รุ่นหลังรองรับการทางานหลายผู้ใช้และขยายไปทางานบนโปรเซสเซอร์ซง่ึ ปจั จุบนั น้ลี ้าสมัยแล้วหลงั จากเครื่องไมโครคอมพวิ เตอรไ์ ดข้ ยายมาเป็นเครือ่ งขนาด 16บิตMP/M ระบบปฏิบตั กิ ารท่เี ป็นท่นี ยิ มในคอมพวิ เตอรส์ ่วนบคุ คลทุกวนั นี้ ได้แก่ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอส และลินุกซ์ นอกจากน้ี ยังมีระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ ซ่ึงได้รับความนิยมในเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ท่ีใช้กันในหน่วยงาน ระบบปฏบิ ัติการตระกูลยนู ิกซท์ ี่เปน็ ทีร่ จู้ ักกันดี ไดแ้ ก่ ยูนิกซ์ตระกูลบเี อสดี เอไอเอกซ์ และโซลาริส และรวมถึงลนิ ุกซซ์ ่งึ พัฒนาโดยอาศัยหลกั การเดยี วกนั กบั ยนู ิกซ์ระบบปฏิบตั ิการบางตวั ถูกออกแบบมาสาหรบั การเรยี นการสอนวิชาระบบปฏิบัติการโดยเฉพาะ เช่น มินิกส์ ชิน หรือ พินโทส ระบบปฏิบัติการ MacOSจากัดแค่คอมพิวเตอรข์ องแอปเปลิ เท่าน้ันในอปุ กรณ์อ่ืนๆ ที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ก็อาจมีระบบปฏิบัติการเช่นกันเชน่ ไอโอเอส แอนดรอยด์ หรือ ซเิ บยี น ในโทรศัพทม์ ือถือ หรือระบบปฏบิ ตั ิการ TRON ในเครื่องใช้ไฟฟ้าตามบ้านรายชื่อต่อไปน้ีเป็นรายช่ือของระบบปฏิบัติการต่าง ๆ ระบบปฏิบัติการMP/Mเป็นเวอร์ชันสาหรับผู้ใช้หลายคนรองรับการการเชื่อมต่อจากเครื่องอ่ืนๆในเครื่องเดียวกัน แต่ละเครื่องจะใช้หน้าจอแบ่งกัน ใช้ไมโครโฟนน้อยท่ีสุดสามารถจัดการงานหลายๆอย่างพร้อมๆกันและระบบปกป้องหน่วยความจา สามารถใช้งานโปรแกรมพร้อมๆกันและสลับใช้งานได้ ปัจจุบันมผี ูใ้ ชน้ ้อยมาก

TRS-DOS เป็นระบบปฏิบัติการไมโครคอมพิวเตอร์สาหรับสื่อสาร ระบบนี้รองรับแผ่นดิสถึงสี่แผ่น ระบบนี้จะทางานได้ถา้ มีแผ่นดสิ ปจั จุบันได้จดทะเบยี นกับ Microsoft แล้วProDOS เป็นระบบของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกที่บริษัทแอปเปิลผลิตออกมาสู่ตลาดคอมพิวเตอร์ชุดนี้ได้ก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลงท่ีเป็นประโยชน์ในเชิงการใช้สอยอย่างมหาศาล ในวงการคอมพวิ เตอร์ หลังจากที่แอปเปิลทูออกสู่ตลาดแล้ว บริษัทแอปเปิลก็ได้ผลิตแอปเปิลทูอี (Apple IIe) และแอปเปิลทรี (Apple III)ตามกันออกมาอยชู่ ่วั ระยะหน่ึง แล้วบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ก็ตัดสินใจหยุดผลิตชุดแอปเปิล ทรีหันมาผลติ ชุดแมคอินทอชซึ่งมีสว่ นแบ่งการตลาดสงู มากในปจั จบุ นัDOS ระบบปฏิบัติการ (operatingsystem)เป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญของระบบซอฟต์แวร์ระบบปฏิบตั ิการประกอบข้ึนจากชุดโปรแกรมทีท่ าหน้าท่ีควบคมุ ดแู ลการดาเนินการต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์และประสานการทางานระหว่างทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ ท้ังส่วนท่ีเป็นซอฟต์แวร์และส่วนที่เป็นฮาร์ดแวร์ให้เป็นไปย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ระบบคอมพิวเตอร์ในระดับไมโครคอมพิวเตอร์ โดยท่ัวไปใช้ระบบปฏิบัติการที่จัดเก็บอยู่บนแผ่นบันทึกหรือฮาร์ดดิสก์ ซึ่งเป็นท่ีรู้จักกันดีในชื่อของ เอ็มเอสดอส (MicrosoftDisk Operating System : MS-DOS) ซ่ึงพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์คอร์ปอเรช่ัน ระบบปฏิบัติการนี้ได้มีการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตามความต้องการของผู้ใชแ้ ละพฒั นาการทางดา้ นซอฟต์แวรแ์ ละฮารดแ์ วร์

Microsoft Windows Microsoft Windows คือกลุ่มของระบบปฏิบัติการหลายตระกูลซึ่งท้ังหมดน้ีพัฒนาขึ้นโดยมีการทาการตลาดและจาหน่ายโดย Microsoft แตล่ ะครอบครวั มีความสาคัญกับภาคอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ครอบครัวWindows ที่ใช้งานอยู่ ได้แก่ Windows NT และ Windows Embedded; เช่นนี้อาจรวมถึงอนุวงศ์เช่นWindows Embedded Compact (Windows CE) หรือ Windows Server ครอบครัว Windows ที่หมดอายุแล้ว ได้แก่ Windows 9x, Windows Mobile และ Windows PhoneLinux ระบบปฏบิ ตั ิการท่ีสร้างข้ึนรอบ ๆ ลินุกซ์เคอร์เนล โดยปกติ Linux จะบรรจุในรูปแบบท่ีเรียกว่าการแจกจา่ ย Linux (หรอื distort ส้ัน ๆ ) สาหรับการใชเ้ ดสก์ทอ็ ปและเซิรฟ์ เวอร์ การกาหนดส่วนประกอบของลินุกซ์คือลินุกซ์เคอร์เนล [11] ระบบปฏิบัตกิ ารเคอร์เนล แรกที่ปล่อยออกมาใน 17 กันยายน 2534 โดยไลนัสทอร์วาลด์ได้ [12] [13] [14] การกระจาย Linux จานวนมากใช้คาว่า \"Linux\" ในช่ือของพวกเขา มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรีใช้ชื่อGNU / Linux เพ่ืออ้างอิงถึงตระกูลระบบปฏิบัติการรวมถึงการแจกจ่ายเฉพาะเพื่อเน้นว่าการแจกแจงลีนุกซ์ส่วนใหญ่ไมไ่ ด้เป็นแค่เคอร์เนลเท่าน้ันและมสี ่วนรว่ มกันไม่เพยี ง แตเ่ คอร์เนลเทา่ น้ัน สาธารณูปโภคและห้องสมุดจานวนมากซ่ึงส่วนใหญม่ าจากโครงการ GNU เรื่องนี้นาไปสู่การโต้เถียง

Unix อปุ กรณ์ที่เปน็ สว่ นประกอบของคอมพิวเตอร์ก็มมี ากมายหลายชน้ิ แต่เคยสงสยั กนั บา้ งหรอื เปลา่ วา่ เจ้าคอมพิวเตอร์ รู้จักอุปกรณ์เหล่านี้ได้อย่างไรและติดต่อรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์เหล่านี้ได้อย่างไรการท่ีจะทาให้คอมพิวเตอร์ใช้อุปกรณ์ เหล่าน้ีร่วมกันทางานได้ก็จะต้องมีอะไรสักอย่างหน่ึงมาดูแลควบคุมใช่ไหม?ส่ิงท่ีทาหน้าที่ควบคุมการทางานของ อุปกรณ์ทั้งหมดท่ีรวมอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ก็คือ \"ระบบปฏิบัติการ\"(OperatingSystem) หรือที่เราเรียกกันสั้นๆ ว่า โอเอส (OS)เจ้าตัวระบบปฏิบัติการที่ว่านี้ไม่ได้ทาหน้าที่ ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่างๆเท่านั้นแต่มันยังมีหน้าที่ รับคาสั่งที่ป้อนจากผู้ใช้มาแปลเพื่อสั่งให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทางานตามที่เราต้องการอกี ด้วยในปจั จุบนั มรี ะบบปฏิบัติการ มากมายหลายชนดิ หลายระบบใหเ้ ลือกใช้ตามความต้องการของแต่ละบุคคล หรอื หน่วยงานเชน่ ดอส (DOS) วนิ โดวส์ (WINDOWS)โอเอส/ทู (OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX) เป็นต้นMac OS macOS คือระบบปฏบิ ตั ิการทเี่ ป็นหัวใจสาคัญของ Mac ทกุ เครอ่ื ง ซงึ่ จะช่วยใหค้ ณุ ทาส่งิ ต่างๆ ได้ในแบบท่ีคณุ จะไมม่ ีวนั พบจากคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองไหนๆ นั่นเป็นเพราะ macOS และฮาร์ดแวร์ออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อทางานร่วมกันโดยเฉพาะ และ macOS เองก็มาพร้อมแอพมากมายที่ล้วนออกแบบมาอย่างสวยงามนอกจากน้ียังทางานควบคู่กับ iCloud ในการทาให้รูปภาพ เอกสาร และไฟล์ประเภทอื่นๆ บนอุปกรณ์ทุกเครื่องของคุณตรงกันและอัพเดทอยเู่ สมอ

FreeBSD คือซอฟต์แวร์เสรีซ่ึงเป็นระบบปฏิบัติการที่เหมือนยูนิกซ์ (Unix-like) สืบทอดมาจาก AT&T UNIXผ่านทางสายของ Berkeley Software Distribution (BSD) คือ 386BSD และ 4.4BSD ฟรีบีเอสดีรองรับการทางานบนซพี ยี ตู ระกลู หลกั ๆ หลายตระกลู ด้วยกัน นอกจากตระกลู X86 ของอนิ เทลที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง ก็ยังมีDEC Alpha, UltraSPARC ของ Sun Microsystems, Itanium (IA-64), AMD64 และ PowerPC ส่วนของตระกูลรองได้แก่คอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมแบบ PC-98 การรองรับสาหรับตระกูล ARM และ MIPS กาลังอยู่ระหว่างการพัฒนา จดุ เดน่ ทีส่ าคญั ของฟรีบีเอสดคี ือประสทิ ธิภาพและเสถียรภาพ โลโก้ด้ังเดิมและตัวมาสคอตของโครงการฟรบี ีเอสดีคอื ตัวดมี อ่ นสแี ดงซงึ่ มาร์แชล เคริ ์ก แมคคูสิก (Marshall Kirk McKusick) เปน็ เจ้าของลิขสิทธ์ิโอเอส/2 เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ท่ีเร่ิมแรกพัฒนาโดยไมโครซอฟท์และไอบีเอ็ม แต่ต่อมาทางไอบีเอ็มได้พัฒนาต่อเพียงผู้เดียว ช่ือของโอเอส/2ย่อมาจาก \"Operating System/2\" การพัฒนาโอเอส/2เริ่มต้นเม่ือสิงหาคม พ.ศ. 2528 ภายใต้ชื่อรหัสว่า ซีพี/ดอส (CP/DOS) โดยใช้เวลาในการพัฒนาทั้งหมดสองปีในการออกรุ่นโอเอส/2 1.0 เม่ือเมษายน พ.ศ. 2530 จนกระทั่งในปี 2533 ไมโครซอฟท์ได้แยกและถอนตัวจากการพัฒนาเมือ่ ทางไมโครซอฟทไ์ ดอ้ อกซอฟต์แวร์ วินโดวส์ 3.0 ในขณะท่โี อเอส/2 ออกร่นุ 1.3

RISC OS เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ซึ่งได้รับการออกแบบโดย Acorn Computers Ltd ในเคมบริดจ์ประเทศอังกฤษ ไดร้ บั การออกแบบมาเป็นพิเศษเพ่ือใช้กับชิปเซ็ต ARM ซึ่ง Acorn ได้ออกแบบมาพร้อมกันเพ่ือใช้กับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของ Archimedes รุ่นใหม่ RISC OS ใช้ช่ือจาก RISC (ลดการสอนชุดคอมพิวเตอร์)สนบั สนนุ สถาปัตยกรรมBeOS เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลท่ีพัฒนาข้ึนครั้งแรกโดย Be Inc. ในปี พ. ศ.2534 เป็นครั้งแรกท่ีเขียนข้ึนเพื่อใช้งานกับ Be Box hardware BeOS ถูกสร้างข้ึนสาหรับงานด้านส่ือดิจิทัลและได้รับการเขียนข้ึนเพื่อใช้ประโยชน์จากส่ิงอานวยความสะดวกด้านฮาร์ดแวร์ท่ีทันสมัยเช่นการประมวลผลแบบหลายตัวประมวลผลแบบสมมาตรด้วยการใช้แบนด์วิดท์ I / O modular, multithreading ที่แพร่หลายระบบมัลติทาสก้ิงแบบ pre-emptive และระบบแฟ้มบันทึกประจาวันแบบ 64 บิตท่ีเรียกว่า BFS BeOS GUI ได้รับการพฒั นาบนหลักการของความชดั เจนและการออกแบบทส่ี ะอาดและไม่ซบั ซ้อน

Amiga เป็นตระกูลคอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คลที่ขายโดย Commodore เรมิ่ ตน้ ในปี 1985 รูปแบบเดิมเป็นส่วนหนึ่งของคล่ืนคอมพิวเตอร์ขนาด 16 และ 32 บิตที่มี RAM 256 KB หรือมากกว่า GUI ของเมาส์และกราฟิกและเสียงที่ดีข้ึนอย่างมีนัยสาคัญ ระบบ 8 บิต คล่ืนนี้รวม Atari ST-released ปีเดียวกัน Apple Macintosh และต่อมา Apple IIGS ขึ้นอยู่กับไมโครโปรเซสเซอร์ Motorola 68000 Amiga แตกต่างจากรุ่นเดิมโดยรวมเอาฮาร์ดแวร์ท่ีกาหนดเองเพ่ือเร่งกราฟิกและเสียงรวมทั้งสไปรต์และตัวกระพริบตาและระบบปฏิบัติการ แบบมัลติทาสก้ิงท่ีเรียกว่า AmigaOSPlan9 เป็นระบบปฏิบัติการตัวหน่ึงซ่ึงนาแนวคิดต่อมาจากยูนิกซ์ พัฒนาโดยห้องปฏิบัติการวิจัยเบลล์ แพลนไนน์ไมไ่ ดพ้ ัฒนามาจากยนู กิ ซโ์ ดยตรง แต่มีหลักการทางานใกลเ้ คียงกันมาก แพลนไนน์ถูกพัฒนาเป็นการภายในห้องปฏิบัติการมาช่วงระยะหน่ึง ก่อนจะเผยแพร่สู่สาธารณชนใน ค.ศ. 1993 ในปัจจุบันทางห้องปฏิบัติการวิจัยเบลล์ไมส่ นใจหาผลประโยชนเ์ ชงิ พาณชิ ย์กบั แพลนไนนอ์ ีกตอ่ ไป และประกาศใหใ้ ชส้ ญั ญาแบบโอเพน่ ซอรส์ รนุ่ลา่ สดุ คือ 4th editionNetWare เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเลิกใช้แล้วซึ่งพัฒนาขึ้นโดย Novell, Inc. ก่อนหน้าน้ีบริษัท ไดใ้ ชร้ ะบบมัลตทิ าสกง้ิ ร่วมกนั เพ่ือใช้บริการตา่ งๆบนคอมพวิ เตอร์ส่วนบคุ คลโดยใช้โปรโตคอลเครอื ขา่ ย IPX

MorphOS เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เลิกใช้แล้วซ่ึงพัฒนาขึ้นโดย Novell, Inc. ก่อนหน้าน้ีบริษทั ได้ใชร้ ะบบมลั ติทาสกงิ้ ร่วมกนั เพื่อใช้บรกิ ารต่างๆบนคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลโดยใช้โปรโตคอลเครือขา่ ย IPXZaurus เป็นระบบของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกท่ีบริษัทแอปเปิลผลิตออกมาสู่ตลาดคอมพิวเตอร์ชุดนี้ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ในเชิงการใช้สอยอย่างมหาศาล ในวงการคอมพวิ เตอร์ หลังจากท่ีแอปเปิลทูออกสู่ตลาดแล้ว บริษัทแอปเปิลก็ได้ผลิตแอปเปิลทูอี (Apple IIe) และแอปเปิลทรี (Apple III)ตามกันออกมาอยู่ชวั่ ระยะหนึ่ง แล้วบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ก็ตัดสินใจหยุดผลิตชุดแอปเปิล ทรีหนั มาผลติ ชุดแมคอนิ ทอชซึ่งมีส่วนแบง่ การตลาดสูงมากในปจั จบุ ันVMS ระบบติดตามเรือ (Vessel Monitoring System; VMS) หมายถึง ระบบท่ีใช้ในการติดต่อส่ือสารระหว่างเรือท่ีออกปฏิบัติงานอยู่กลางทะเลกับ เจ้าของเรือและศูนย์ปฏิบัติการ VMS ท่ีอยู่บนฝ่ัง ด้วยการส่งสัญญาณทางอิเล็กทรอนิกส์จากเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนเรือ ประมง (Embedded Tracking Unit –ETU) แล้วส่งสัญญาณมายังหน่วยรับท่ีติดต้ังเครื่องมืออุปกรณ์ภาครับหรือเครื่อง ควบคุมระบบที่อยู่บนฝั่งท่ีศูนย์ปฏบิ ตั ิการ (Monitoring & Controlling Center – MCC) เพ่อื บอกให้ทราบถึงตาแหน่างปัจจุบันของเรือ คามเร็วและทิศทางของเรือท่ีกาลังแล่น และข้อมูลจากเซนเซอร์ ตลอดจนมีการบันทึกข้อมูลต่างๆ ตามเวลาที่ผ่านมาในอดีต โดยเจ้าของเรือหรือเจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องสามารถเรียกดูข้อมูลย้อนหลังได้ ตามที่ต้องการ ซึ่งข้อมูลจะถูกส่งผ่าน GPRS (General Packet Radio Service) มายังหน่วยรับบนฝั่งผ่านเครือข่าย GSM (Global ServiceMobile)

EPOC เป็นระบบปฏิบัติการท่ีออกแบบสาหรับคอมพิวเตอร์-โทรศัพท์ขนาดเล็ก ท่ีเข้าถึงแบบไร้สายไปท่ีบริการโทรศัพท์และสารสนเทศอ่ืน ๆ EPOC มีพ้ืนฐานจากระบบปฏิบัติการรุ่นก่อนจาก Psion ซึ่ง เป็นผู้ผลิตรายใหญ่รายแรกของ personal digital assistants ช่ือน้ีมีท่ีมาจากบริษัทเชื่อว่าโลกกาลังสู่ “ยุคใหม่ของความสะดวกสบายส่วนบุคคล” EPOC เป็นระบบแรกท่ีเพ่ิมการสื่อสารแบบไร้สาย และสถาปัตยกรรมสาหรับการเพิ่มโปรแกรมประยุกต์ Psion ประกาศว่าเวอร์ชันแรกของ EPOC จะเป็นระบบปฏบิ ัติการเปิดและอนุญาตให้กับผู้ผลิตอุปกรณ์อ่ืน Psion ได้ต้ังบริษัทใหม่ร่วมกับ Ericson Nokia และ Motorola เรียกว่า symbian ซ่ึงเป็นเจ้าของใบอนุญาต EPOC ในปัจจุบันและพัฒนาต่อไป สาหรับผู้ผลิตอุปกรณ์ขนาดกระเป๋า EPOC เป็นทางเลือกนอกจากWindows CE ของ Microsoft (Palm pilot ของ 3 COM ใชร้ ะบบปฏบิ ตั กิ ารของตวั เองเรียกวา่ Palm OS)Solaris ช่ือเต็ม The Solaris Operating Environment (เดอะ โซลาริส โอปาเรต่ิง อิมวายเมน) เป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือขา่ ยทอี่ ยใู่ นตระกูลเดยี วกบั ระบบปฏิบตั ิการ Unix (ยนู ิกซ)์ พฒั นาขึ้นโดยบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์ สามารถรองรบั การทางานแบบเครือข่ายไดเ้ ชน่ เดยี วกับระบบอ่นืระบบปฏบิ ัติการโซลาริสใชไ้ ด้กับสถาปตั ยกรรมคอมพวิ เตอร์ 2 แบบ คือ แบบ สปารค์ และแบบ x86(แบบเดยี วกับในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วไป) รุ่นแรก ๆ ของโซลาริส ใช้ช่ือว่า SunOS (ซันโอเอส) โดยมีพื้นฐานมาจากยูนิกซ์ตระกูล BSD (บีเอสดี) และต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้โค้ดของ System V (ซิสเต็มส์ไฟว์) แทน และเปลี่ยนชื่อมาเป็น โซลาลิส ดงั เชน่ ในปัจจุบัน (เวอรช์ นั ลา่ สุดปจั จุบนั คือ Solaris 11.3 ท่ีออกในปี 2015)

IRIX เป็นระบบปฏิบัติการท่ียกเลิกโดย Silicon Graphics (SGI) เพ่ือทางานบนเวิร์กสเตชันและเซริ ์ฟเวอรข์ อง MIPS เป็นระบบ UNIX System V ทม่ี สี ่วนขยาย BSD IRIX เป็นระบบปฏิบัติการชุดแรกท่มี รี ะบบไฟล์ XFSDarwin เป็นนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ ผู้ทาการปฏิวัติความเช่ือเดิม ๆ เก่ียวกับท่ีมาของส่ิงมีชีวิต และเสนอทฤษฎีซ่ึงเป็นท้ังรากฐานของทฤษฎีวิวัฒนาการสมัยใหม่ และหลักการพ้ืนฐานของกลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) เขาตีพิมพ์ข้อเสนอของเขาในปี ค.ศ. 1859 ในหนังสือช่ือ The Origin of Species (กาเนิดของสรรพชีวิต) ซ่ึงเป็นผลงานท่ีมีชื่อเสียงที่สุดของเขาผลงานน้ีปฏิเสธแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ทั้งหมดที่เคยมีมาก่อนหน้านี้เกี่ยวกับการกลายพันธ์ุของปี ชีส์[1][2] ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 ชุมชนวิทยาศาสตร์และสาธารณชนส่วนมากจึงยอมรับทฤษฎีวิวัฒนาการในฐานะท่ีเป็นความจริง อย่างไรก็ดี ยังมีคาอธิบายท่ีเป็นไปได้ทางอื่นๆ อีก และยังไม่มีการยอมรับทฤษฎีน้ีเป็นเอกฉันท์ว่าเป็นกลไกพ้ืนฐานของวิวัฒนาการ ตราบจนกระทั่งเกิดแนวคิดการสังเคราะห์วิวัฒนาการยุคใหม่ (modern evolutionary synthesis) ขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930-1950[3][4] การค้นพบของดาร์วินยังถือเป็นรูปแบบการควบรวมทางทฤษฏีของศาสตร์เกี่ยวกับชีวิต ท่ีอธบิ ายถงึ ความหลากหลายทางชีวภาพของสง่ิ มชี ีวติ [5][6]

HPUX HP-UX (จาก \"Hewlett Packard Unix\") คือการใช้งานระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ของ Hewlett-Packard Enterprise โดยใชร้ ะบบ UNIX System V (ระบบแรกของระบบ III) และไดร้ บั การเผยแพร่เป็นคร้ังแรกในปีพศ. 2527 รุ่นล่าสุดสนับสนุนระบบคอมพิวเตอร์ HP 9000, บนพื้นฐานของสถาปัตยกรรมชุดคาสั่ง PA-RISCและระบบ HP Integrity บนสถาปตั ยกรรม Itanium ของ IntelUNICOS เป็นระบบซอฟต์แวร์ท่ีทาหน้าที่จัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และแหล่งซอฟต์แวร์และบริการโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ระบบปฏิบัติการมีหน้าท่ีหลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเร่ืองการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลท่ีจอภาพการส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การส่งสัญญาณเสียงไปออกลาโพงหรือจัดสรรพื้นท่ีในหน่วยความจา ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมทั้งทาหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลาง ในกรณที อ่ี นุญาตให้ซอฟต์แวร์ประยุกตห์ ลายๆ ตวั ทางานพร้อมๆ กันMINIXเป็นเหมือนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลขนาดเล็ก ข้อดีคือ ราคาถูก ประสิทธิภาพค่อนข้างดี ประหยัดไฟมากและนา้ หนกั เบา พกพาไปไหนมาไหนสะดวก เหมาะสาหรับงานทัว่ ไปและความบนั เทิง

AIXAIX ย่อมาจาก Advanced Interactive executive ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ของบริษัทไอบีเอ็มซ่ึงใช้ในสถาน่ีงานยนู ิกซ์ RS/6000 ระบบปฏิบตั กิ าร AIX เปน็ ยนู กิ ซ์ในกล่มุ System V และมีคาสัง่ ทคี่ รอบคลมุ ถงึ ยูนกิ ซใ์ นกลมุ่ BSDทางานได้บนเวริ ์กสเตชัน มินคิ อมพวิ เตอร์ และเมนเฟรมChrome OS กูเกิล โครมโอเอส (อังกฤษ: Google Chrome OS) เป็นโครงการระบบปฏิบัติการท่ีออกแบบและผลิตโดยกูเกิล โดยเป้าหมายสาหรบั คอมพิวเตอร์ท่ีใช้งานเวิลด์ไวด์เว็บเป็นหลัก เปิดตัวเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2552 ซอฟต์แวร์นี้พัฒนาต่อจากกูเกิลโครม และเคอร์เนิลลินุกซ์ โดยตัวระบบปฏิบัติการนี้มุ่งเน้นสาหรับคอมพิวเตอร์ในลักษณะของโน้ตบุ๊ก โดยวางแผนจะเปิดใช้งานในปี พ.ศ. 2553 ระบบปฏิบัติการจะทางานกับโพรเซสเซอร์ x86 หรือ ARM architectureSuriyan เปน็ ซอฟตแ์ วร์ระบบปฏบิ ตั กิ ารที่สามารถใช้งานได้บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ัวไป โดย SIPA เห็นว่าการที่ประชากรในชาติจะต้องใชซ้ อฟต์แวร์ระบบปฏิบตั ิการที่เป็น ซอฟตแ์ วร์เชงิ พานชิ นัน้ นอกจากจะส้ินเปลืองและไม่ปลอดภัยแล้ว เราจะไม่สามารถใช้งานได้อย่างย่ังยืนอีกด้วย ทาง SIPA จึงพัฒนาระบบปฏิบัติการ Suriyan ที่เป็นระบบปฏบิ ตั ิการโอเพนซอร์สทั้งระบบขึ้นมาให้ใช้งาน เพื่อเป็นทางเลือกในการใช้งานคอมพิวเตอร์ท่ีต้องการความประหยัด และความปลอดภยั ที่สามารถใช้งานไดอ้ ย่างยง่ั ยืน

IOS บริษัทแอปเปลิ Edit this on Wikidata C, C++, อ็อบเจกทฟี -ซ,ี จาวา (มขี อ้ ผ้พู ัฒนา พิพาท) เขียนดว้ ย แมคโอเอสเทน็ , ยนู ิกซ์ ยงั ใหบ้ รกิ ารอยู่ ตระกลู ซอฟต์แวรจ์ ากดั สิทธ์ิ สถานนะ มถิ นุ ายน 29, 2007; 10 ปกี ่อน รหัสต้นฉบบั 11.0.3 (15A432) (ตุลาคม 11, 2017; วันทีเ่ ปดิ ตวั 7 เดอื นก่อน) รนุ่ เสถยี ร 11.1 beta 3 (15B5086a) (ตลุ าคม 16, 2017; 7 เดอื นกอ่ น) รุน่ ทดลอง ARM (ไอโฟน, ไอพอด, ไอแพด, ไอแพด ท่ีรองรับ Cocoa Touch (มลั ติทชั , GUI) ส่วนตดิ ต่อผู้ใช้ปริยาย

ThaiOS Thai OS Thai OS เป็นซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการท่ีสามารถใช้งานได้บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทั่วไปโดย SIPA เห็นว่าการท่ีประชากรในชาติจะต้องใช้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการที่เป็น ซอฟต์แวร์เชิงพานิชนั้นนอกจากจะสิ้นเปลืองและไม่ปลอดภัยแล้ว เราจะไม่สามารถใช้งานได้อย่างย่ังยืนอีกด้วย ทาง SIPA จึงพัฒนาระบบปฏบิ ัตกิ าร Suriyan ที่เป็นระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์สท้ังระบบข้ึนมาให้ใช้งาน เพื่อเป็นทางเลือกในการใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ต้องการความประหยัด และความปลอดภัย ท่ีสามารถใช้งานได้อย่างยั่งยืน จากความสาเร็จในการพัฒนา Suriyan การตอบรับท่ีดีจากผู้ใช้ SIPA จึงประกาศ ความเป็นมาของ Thai OS Suriyan เป็นโครงการภายใต้การดแู ลของสานกั งานส่งเสรมิ อุตสาหกรรมซอฟตแ์ วรแ์ ห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ ซิป้า ซ่ึงเร่ิงโครงการเม่ือปี พ.ศ. 2549 โดยเป็นโครงการพัฒนาลินุกซ์เซิร์ฟเวอร์พร้อมใช้ (instant server)ให้ช่ือว่า SuriyanGNU/Linux การพัฒนา Suriyan ในแงม่ มุ ของการใช้งานเซิรฟ์ เวอรย์ งั ไม่เเพียงพอ อีกทง้ั การตอบรับยังไม่กว้างพอทาให้การพัฒนาโครงการ Suriyan GNU/Linux ล่าช้าลงและลดบทบาทการพัฒนาในเวอร์ชัน 1.0 สาหรับโครงการ Suriyan GNU/Linux ยังสามารถดาวนโ์ หลดได้ท่ี suriyan.organdroid คือระบบปฏิบัติการแบบเปิดเผยซอร์ฟแวร์ต้นฉบับ (Open Source) โดยบริษัท กูเกิ้ล (GoogleInc.) ท่ีได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง เน่ืองจากอุปกรณ์ท่ีใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ มีจานวนมาก อุปกรณ์มีหลากหลายระดับ หลายราคา รวมทัง้ สามารถทางานบนอุปกรณ์ทม่ี ีขนาดหนา้ จอ และความละเอียดแตกต่างกันได้ทาให้ผบู้ ริโภคสามารถเลือกได้ตามตอ้ งการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook